Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 89

แบบจําลองของระบบไฟฟากําลัง

Power System Modeling

ปยดนัย ภาชนะพรรณ
เนื้อหา
• สัญลักษณของอุปกรณในระบบไฟฟากําลัง
• การแทนระบบไฟฟากําลังดวยแผนภาพ
• คาตอหนวย (Per-Unit Values)
• แบบจําลองเครื่องกําเนิดไฟฟาและหมอแปลงไฟฟา
• การคํานวณระบบไฟฟากําลัง เพื่อทําแผนภาพแบบตางๆ
แบบจําลองระบบไฟฟากําลัง
• ระบบไฟฟากําลังที่มีการผลิตและสงกําลังไฟฟาไปยังโหลด
สามารถเขียนวงจรไฟฟาแทนระบบดังกลาวได
สัญลักษณอุปกรณในระบบไฟฟากําลัง
สัญลักษณอุปกรณในระบบไฟฟากําลัง (2)
การแทนระบบไฟฟากําลังดวยแผนภาพ (Diagram)
ระบบไฟฟากําลัง สามารถเขียนเปนแผนภาพได 4 แบบ คือ
1. แผนภาพแสดงดวยวงจรสามเฟส (Three – Phase Diagram)
2. แผนภาพแสดงดวยเสนเดียว (Single Line Diagram)
3. แผนภาพแสดงดวยอิมพีแดนซ (Impedance Diagram)
4. แผนภาพแสดงดวยคารีแอคแตนซ (Reactance Diagram)
แผนภาพแสดงดวยวงจรสามเฟส (Three – Phase Diagram)
Generator Transformer Transmission Line Load

n
แผนภาพแสดงดวยวงจรสามเฟส (Three – Phase Diagram)
แผนภาพแสดงดวยวงจรสามเฟส (Three – Phase Diagram)
• ใชหาคาทางไฟฟาของสายสง
• ดูการตออุปกรณไฟฟาทั้งสามเฟส
• ซับซอนเกินความจําเปน ในการวิเคราะหระบบไฟฟากําลังทั่วไป
แผนภาพแสดงดวยเสนเดียว (Single Line Diagram)

• ใชแสดงใหเห็นวาอุปกรณไฟฟากําลังตอกันอยางไรในระบบ
• ลดความซับซอนของจํานวนเสนลง
แผนภาพแสดงดวยอิมพีแดนซ (Impedance Diagram)
เหมือนระบบเปอรเฟส

• ประกอบดวยคาความตานทาน, รีแอคแตนซชนิดเหนี่ยวนํา และ


ชนิดความจุ
• เขียนพารามิเตอรใหตรงตามแผนภาพแสดงดวยเสนเดี่ยว
แผนภาพแสดงดวยรีแอคแตนซ (Reactance Diagram)
• ใชในการคํานวณกระแสลัดวงจร
• การศึกษา Load Flow ไมสามารถใชแผนภาพนี้วิเคราะหได
• สามารถตัดคาความตานทาน, กระแส magnetizing ของหมอ
แปลง และ คารีแอคแตนซชนิดความจุของสายสงออกได
เหตุผลในการไมพิจารณาคาพารามิเตอรดังกลาว
• ความตานทาน – มีคานอยมากเมือ่ เทียบกับคารีแอกแตนซรวม
ของทั้งระบบ

• โหลดคงที่ และ คาปาซิเตอร – ในขณะลัดวงจร กระแสสวนนี้


จะนอยมาก เมื่อเทียบกับกระแสรวมของสาย (total line current)

• ชันตแอตมิแตนซในหมอแปลง –กระแสกระตุน จะมีคานอยมาก


เมื่อเทียบกับกระแสโหลดเต็มพิกัด (full load current)
ตัวอยางที่ 1

จงเขียนแผนภาพรีแอคแตนซ จากแผนภาพเสนเดี่ยวที่กําหนดให

แผนภาพรีแอคแตนซ Æ คิดเฉพาะคารีแอคแตนซของอุปกรณเทานัน้
จาก

จะได
ระบบตอหนวย หรือ เปอรยนู ิต (Per Unit System)

ปริมาณแทจริง (actual quantity)


เปอรยูนติ คือ
ปริมาณฐานอางอิง (reference base quantity)

• เปนปริมาณที่ไมมีหนวย
• ทําใหคํานวณไดผลลัพธที่รวดเร็วและถูกตอง
• นํามาใชคํานวณหาคา กระแสและแรงดันลัดวงจร และโหลด
โฟลว ได
ปริมาณทางไฟฟากําลัง ที่ตองทําเปนคาเปอรยูนติ เพื่อการคํานวณ คือ
1. คาอิมพีแดนซ (Impedance)
2. คาแรงดัน (Voltage)
3. คากระแส (Current)
4. กําลังไฟฟา (Power)
ลักษณะการใชปริมาณเปอรยนู ิต
115 kV 12 kV

E
I ≠ [A]
jxt+600

ตองแปลงคาใหอยู
แรงดันคนละระดับ เนื่องจากหมอแปลงไฟฟา ในฐานเดียวกันกอน
คาแทจริง (actual value, actual quantity)

• คาซึ่งวัดได หรือ คํานวณไดจากคุณสมบัติของอุปกรณไฟฟากําลัง


• มักระบุมากับรายละเอียด (specification) หรือ แผนปาย (name
plate) ของอุปกรณนั้นๆ
คาฐาน (base value, base quantity)

• คาที่กําหนดขึ้นเปนเกณฑเพื่อนําคาแทจริงมาเปรียบเทียบ
• มักกําหนดจากพิกัดของอุปกรณไฟฟาตัวใดตัวหนึ่งในระบบ

• โดยมากมักจะกําหนดจากพิกัดเครื่องกําเนิดไฟฟา
คาฐานในทางไฟฟา

มีอยู 4 ปริมาณ คือ


1. แรงดันฐาน (base voltage, V, kV)
2. กระแสฐาน (base current, A)
3. อิมพีแดนซฐาน (base impedance, Ohm)
4. กําลังไฟฟาฐาน (base power, kVA, MVA)

•ปกติจะเลือกใชคาฐาน 2 ตัว แลวเอาความสัมพันธทางไฟฟามาหา


คาที่เหลือ - กําลังไฟฟาฐาน ปกติจะใช 2 คานี้
- แรงดันฐาน
การหาปริมาณคาฐานตางๆ

เครื่องกําเนิดไฟฟามีแรงดันพิกัดเปน VLN และคากําลังไฟฟาพิกัด


เปน VA1p
จะได คาฐานเปน
VLN - แรงดันฐาน ระหวางสายกับสายนิวทรัล [V]
VA1p - กําลังไฟฟาฐานใน 1 เฟส [VA]
กรณีระบบไฟฟา 1 เฟส
หาคากระแสฐาน

จาก I=
S
V

กระแสฐาน = กําลังไฟฟาฐาน
แรงดันฐาน
= VA 1p
VLN
กรณีระบบไฟฟา 1 เฟส
หาคาอิมพีแดนซฐาน

จาก Z=
V
I

อิมพีแดนซฐาน = แรงดั นฐาน


กระแสฐาน
= VLN
I
เนือ่ งจาก S
= VA1p
I=
V
VLN
คาอิมพีแดนซฐาน ยังหาไดจาก
อิมพีแดนซฐาน = VLN
I
VLN
= ⎛ VA1P ⎞
⎜ V ⎟
⎝ LN ⎠

( VLN )
2
=
VA1P
กรณี แรงดันฐานมีหนวยเปน กิโลโวลท (kVLN)
กําลังไฟฟาฐานมีหนวยเปน เมกะโวลท.แอมป (MVA1P)

จะได
( kVLN )
2
อิมพีแดนซฐาน =
MVA1P
กรณีระบบไฟฟา 3 เฟส
กําหนด
แรงดันฐาน คือ แรงดันระหวางสาย (VLL)
กําลังไฟฟาฐาน คือ กําลังไฟฟา 3 เฟส (VA3p)

แรงดันฐาน VLL
แรงดันฐาน VLN =
3

กําลังไฟฟาฐาน VA3p
กําลังไฟฟาฐาน VA3p =
3
กรณีระบบไฟฟา 3 เฟส

คากระแสฐาน
จาก S = 3VI

กําลังไฟฟาฐาน VA3p
กระแสฐาน =
3 x แรงดันฐาน VLL
กรณีระบบไฟฟา 3 เฟส

คาอิมพิแดนซฐาน
( )
2
V
จาก Z= 3
( VA 3 )
(แรงดันฐาน VLL)2
อิมพีแดนซฐาน =
กําลังไฟฟาฐาน VA3p
พบวา

• คาตอหนวยของ VLN ที่เทียบกับคาแรงดันฐาน VLN ยอมเทากับ


คาตอหนวยของ VLL เทียบกับคาแรงดันฐาน VLL

• คาตอหนวยของ VA1p ที่เทียบกับคา กําลังไฟฟาฐาน VA1p ยอมเทากับ


คาตอหนวยของ VA3p เทียบกับคากําลังไฟฟาฐาน VA3p

ปกติในระบบไฟฟากําลัง - แรงดันที่บอก คือ แรงดันระหวางสาย


- กําลังไฟฟาที่บอก คือ กําลังไฟฟา 3 เฟส
พิสูจน
กําหนด กําลังไฟฟาฐาน, kVA3p = 60,000 kVA
แรงดันฐาน, kVLL = 230 kV

จะได กําลังไฟฟาฐาน, kVA1p = 60,000 kVA


3
= 20,000 kVA
แรงดันฐาน, kVLN = 230 kV
3
= 132.8 kV
กําหนด คาแทจริง, kVLL = 115 kV
จะได คาแทจริง, kVLN = 115 = 66.4 kV
3

ค า แท จ ริ ง , kV 115
คาตอหนวย, kVLL = LL = = 0.5
แรงดันฐาน, kVLL 230

ค า แท จ ริ ง , kV 66.4
คาตอหนวย, kVLN = LN = = 0.5
แรงดันฐาน, kVLN 132.8
กําหนด คาแทจริง, kVA3p = 15,000 kVA
จะได คาแทจริง, kVA1p = 15,000 = 5,000 kVA
3

คาแทจริง, kVA3p 15,000


คาตอหนวย, kVA3p = =
60,000
กําลังไฟฟาฐาน, kVA3p
= 0.25

คาแทจริง, kVA1p 5,000


คาตอหนวย, kVA1p = =
กําลังไฟฟาฐาน, kVA1p 20,000

= 0.25
ตัวอยางที่ 2
ระบบเปนวงจร 3 เฟส ตอโหลดแบบ Y ซึ่งมีคาอิมพีแดนซ
- มีแรงดันครอมโหลดเปน 2.4 kV (line-line)
- โหลดแตละเฟส มีอิมพีแดนซ เปน 10∠60°
- มีอิมพีแดนซจากสถานีไฟฟาถึงโหลดเปน Z = 1.2∠80°
L

จงคํานวณหาแรงดันระหวางสายที่สถานีไฟฟา
สายสง
สถานี โหลด
1. คํานวณโดยใชคาแทจริง
- แรงดันเฟสที่โหลด มีคาเปน
2400
= ∠0° = 1385.7∠0° V
3

- กระแสเฟสที่โหลด มีคาเปน
Ian = Van / Zan

= 1385.7∠ 0 O
10 ∠ 60O
= 138.57 ∠-60O
จาก KCL จะไดแรงดันเฟสที่สถานีไฟฟาเปน
Van + I an Z L = 1385.7∠0° + (138.57∠− 60°×1.2∠85°)

= 1,543∠2.11°

ขนาดแรงดันระหวางสาย (line-line) ที่สถานีไฟฟาเปน


= 3×1,543

= 2,672 V

= 2.672 kV
จะไดรูปวงจร 1 เฟส ของระบบเปน

12∠80° Ω

1543∠2.11° V 1385.7∠0° V 10∠60° Ω


2. คํานวณโดยใชคาตอหนวย (per unit)
กําหนด แรงดันฐาน (kVLL) มีคา 2.4 kV
กระแสฐาน มีคา 138.57 A
** ใชกระแสฐาน เนือ่ งจาก คา kVA ไมเกี่ยวของในการคํานวณ

จะได แรงดันฐาน kVLN


คาอิมพีแดนซฐาน =
กระแสฐาน
2, 400 3
=
138.57

= 10 Ω
สามารถหาคาตอหนวยไดดังนี้
1.2∠80°
• คาตอหนวยของอิมพีแดนซ =
10
= 0.12∠80°

2, 400 3 ∠0°
• คาตอหนวยของ Van =
2, 400 3
= 1.0∠0°

138.57∠− 60°
• คาตอหนวยของ Ian =
138.57
= 1.0∠− 60°
จะไดแรงดันตอหนวยที่สถานีไฟฟาเปน
Van + I an Z L = 1.0∠0° + (1.0∠− 60°× 0.12∠80°)
= 1.1135∠2.11°

คาแรงดันแทจริง ที่สถานีไฟฟาเปน
= คาตอหนวย x คาฐาน
= 1.1135× 2.4 kV

= 2.672 kV [แรงดันระหวางสาย]
คาตอหนวยที่มีการเปลี่ยนแปลงคาฐาน
• การคํานวณระบบไฟฟากําลัง บางทีจําเปนตองเปลี่ยนแปลงคา
ฐานของอุปกรณ
• คาฐานที่เปลี่ยนไป Æ คาตอหนวยเดิมจะเปลี่ยนแปลงไปดวย
จาก Per - Unit Impedance Æ p.u. Z

จะได p.u. Z = อิมพีแดนซแทจริง


อิมพีแดนซฐาน

= (อิมพีแดนซแทจริง) x2(กําลังไฟฟาฐาน)
(แรงดันฐาน)
(actual impedance, Ω)× base MVA
p.u. Z =
(base kV) 2

(actual Z, Ω)(base MVA given )


คาเดิม p.u. Zgiven =
(base kVgiven ) 2

คาใหม p.u. Znew =


(actual Z, Ω)(base MVA new )
(base kVnew ) 2

สามารถเขียนความสัมพันธไดเปน
⎡ base kVgiven ⎤
2
⎡ base MVA ⎤
p.u. Z new = p.u. Z given ⎢ ⎥ ⎢ new ⎥
⎢⎣ base kVnew ⎥⎦ ⎢ base MVA ⎥
⎣ given ⎦
ตัวอยางที่ 3
เครื่องกําเนิดไฟฟา มีคาซิงโครนัสรีแอคแตนซ (Synchronous
Reactance), X = 0.2 p.u. ซึ่งเทียบจากคาฐานตามแผนปาย (name plate)
ของเครื่อง คือ 13.8 kV, 100 MVA
ถาหากกําหนดใหใชคาฐานใหมเปน 15 kV, 300 MVA จงหาคา
X ที่คาฐานใหม
คา X ที่แทจริง มีคา
X = p.u. x base impedance
2
⎛13.8⎞
= 0.2×⎜⎜ ⎟

⎝ 100 ⎠⎟
= 0.38088 Ω

คา base impedance ใหม มีคา 152


= 0.75 Ω
300

จะไดคา X ที่คาฐานใหม มีคาเปน


0.38088 Ω
p.u. X =
0.75 Ω

= 0.5078 p.u.
หรือหาคา X ที่คาฐานใหม ไดจาก
⎡ base kVgiven ⎤
2
⎡ base MVA ⎤
p.u. Z new = p.u. Z given ⎢ ⎥ ⎢ new ⎥
⎢⎣ base kVnew ⎥⎦ ⎢ base MVA ⎥
⎣ given ⎦

จะได
2
⎛13.8⎞ ⎛ 300⎞
X = 0.2×⎜⎜ ⎟ ×⎜
⎟ ⎟

⎟ ⎜
⎝ 15 ⎠ ⎝100 ⎠⎟

= 0.5078 p.u.
แบบจําลองเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส
สามารถเขียนเปนแบบจําลอง ไดเปน
XS Ra

+
Ef Ia Vt Vt = E f − I a ( Ra + jX s )
-

เมื่อ Vt คือ แรงดันที่ขั้ว (terminal voltage)


Ef คือ แรงดันที่ผลิตขึ้น (generated voltage)
XS คือ ซิงโครนัสรีแอคแตนซ (synchronous reactance)
Ra คือ ความตานทานของอารมาเจอร (armature resistance)
Ia คือ กระแสอารมาเจอร (armature current)
เนือ่ งจากคา XS มีคามากกวา Ra มาก Æ ตัดคา Ra ได

Ef เขียนแทนดวย Eg กรณีเปนเครื่องกําเนิดไฟฟา
Em กรณีเปนมอเตอรไฟฟา
jXS jXm

Ia + Vt = Eg − jI a X s
+ +
Eg Vt Em Vt = Em + jI a X m
- -
-
เฟสเซอรของเครื่องกําเนิดไฟฟา
จาก Vt = Eg − jI a X s จะได

Ia
Eg
-jIaXg
δ θ Eg -jIaXg
θ Vt δ
Ia Vt

มุม δ เรียกวา - มุมแรงบิด (torque angle)


- มุมกําลัง (power angle)
แบบจําลองหมอแปลงไฟฟา

• หมอแปลง 1 เฟส

• หมอแปลง 3 เฟส
สามารถเขียนเปนแบบจําลอง ไดเปน

N1
I2
r1 x1 N2 r2 x2

+ IE +
+ +
I1 I2
V1 V2
B G E1 E2
- -
- -

N1 N2
สามารถเขียนรวมวงจร ไดเปน
r1 x1 a2r2 a2x2

+ IE +
I1 I2
V1 aV2
B G

- -

N1
a = อัตราสวนจํานวนรอบ = N2
IE คือ กระแสสรางอํานาจแมเหล็ก (Magnetizing Current)
ปกติ กระแสสรางอํานาจแมเหล็กมีคานอยมาก สามารถยุบวงจรเปน
r1 x1 a2r2 a2x2

+ +

V1 aV2

- -

ยุบวงจรไดเปน
R1 = r1+a2r2
X1 = x1+a2x2
เนือ่ งจากคา X1 มีคามากกวา R1 เปนจํานวนมาก Æ ตัด R1 ได

รีแอคแตนซรั่ว (leakage reactance)


คาอิมพีแดนซตอหนวย ในวงจรหมอแปลง 1 เฟส
• คาอิมพีแดนตตอ หนวย ขึ้นอยูก ับ วัดทางดานแรงสูง หรือ แรงต่ํา
ของหมอแปลง
ถา base kV เปนดานแรงสูง Æ อิมพีแดนซจะอางอิงดานแรงสูง
ถา base kV เปนดานแรงต่ํา Æ อิมพีแดนซจะอางอิงดานแรงต่ํา

** คา base MVA ก็คือคาขนาดพิกัด MVAของหมอแปลง


ตัวอยางที่ 4
หมอแปลง 1 เฟส พิกัด 230/400 V 2.5 kVA คารีแอคแตนซรั่ว
(leakage reactance) วัดทางดานแรงต่าํ มีคาเทากับ 0.6 โอหม จง
แสดงคารีแอคแตนซรั่ว เปนคาตอหนวย (per unit)
วิธีทํา เนือ่ งจากคาจริงที่วัดได มาจากดานแรงต่ํา
พิจารณาดานแรงต่าํ จะได
( 230 )
2
Base impedance ดานแรงต่ํา =
2.5 ×103

= 21.16 Ω

0.6
จะได p.u. X =
21.16

= 0.028
พิจารณาดานแรงสูง จะได
คา รีแอคแตนซรั่ว เมื่อวัดทางดานแรงสูง หาจาก

X HV
⎛ VHV ⎞
= X LV × ⎜
2
X HV =
VHV
และ X LV =
VLV

V ⎟ I HV I LV
⎝ LV ⎠
X HV VHV I LV
2 = ×
= 0.6 × ⎛⎜
400 ⎞ X LV I HV VLV

⎝ 230 ⎠

= 1.81 Ω จาก
I LV VHV
= จะได
I HV VLV

X HV VHV VHV
= ×
X LV VLV VLV
พิจารณาดานแรงสูง จะได
(100 )
2
Base impedance ดานแรงสูง =
2.5 ×103

= 64.0 Ω

1.81
จะได p.u. X =
64.0

= 0.028

สรุป ไมวาดานแรงดันต่าํ หรือ ดานแรงดันสูงของหมอแปลงไฟฟา


คารีแอคแตนซตอหนวยยอมเทากัน
คาอิมพีแดนซตอหนวย ในวงจรหมอแปลง 3 เฟส
• หมอแปลงไฟฟา 3 เฟส ประกอบดวยหมอแปลงไฟฟาเฟสเดียว
3 ตัว มาตอกัน
• สามารถตอเปนรูปแบบตางๆ ไดดังนี้
1. Y - Y
2. Y - Δ
3. Δ - Y
4. Δ - Δ
กรณีหมอแปลงตอแบบ Y - Y
หมอแปลง 1 เฟส 3 ตัว พิกัด 25 MVA, 39.8/3.98 kV นํามาตอเปน
หมอแปลง 3 เฟส แบบ Y-Y ไดเปน

• พิกัดของหมอแปลง 3 เฟส คือ 3x25 = 75 MVA


• แรงดันระหวางสายมีคาเปน 3 × 39.8 / 3 × 3.98 = 69 / 6.9 kV
ตอโหลดดานแรงต่าํ แตสามารถคิดคาอิมพีแดนซแตละเฟสที่ดานแรงสูงได
2
Zแรงสูง ⎛
= 0.6 ⎜
39.8 ⎞

⎝ 3.98 ⎠
2

= 0.6 ⎛⎜
69 ⎞

⎝ 6.9 ⎠
= 60 Ω
กรณีหมอแปลงตอแบบ Y - Δ

สามารถคิดคาอิมพีแดนซแตละเฟสที่ดานแรงสูงได
2

Zแรงสูง = 0.6 ⎜ ⎟69 ⎞
⎝ 3.98 ⎠
= 180 Ω
ถาไมคิดผลของมุมเฟสที่เปลี่ยนไป สามารถเขียนการตอ Y- Δ ใหอยู
ในรูป Y-Y ไดเปน

3.98
3
สามารถคิดคาอิมพีแดนซแตละเฟสที่ดานแรงสูงได
2
Zแรงสูง ⎛
= 0.6 ⎜
38.1 ⎞
⎟ = 180 Ω
⎝ 2.2 ⎠
ตัวอยางที่ 5
หมอแปลงเฟสเดียว พิกัด 25 MVA, 38.1/3.81 kV จํานวน 3 ตัว นํามา
ตอเปนแบบ 3 เฟส แบบ Y - Δ ใหใชคาฐาน 50 MVA, 69 kV ดาน
แรงสูง จงหา
- คาตอหนวยของภาระไฟฟา (RL) ขนาด 0.6 ohm โดยใชคา
ฐานดานแรงดันต่าํ
- คา RL เมื่อยายมาดานแรงสูง พรอมหาคาตอหนวยของ RL
ดานแรงสูง
แบบ Y - Δ 31.8 / 3.81 kV - ดานแรงสูงเปนแรงดันเฟส
- ดานแรงต่ําเปนแรงดันระหวางสาย

66 kV
38.1 kV 3.81 kV

V1 66
อัตราสวนแรงดัน คือ =
V2 3.81
กําลังไฟฟาฐาน ดานแรงต่ํา = 50 MVA
แรงดันฐาน ดานแรงต่ํา ⎛
= 69 × ⎜
3.81 ⎞

⎝ 66 ⎠

= 3.98 kV

จะไดคาอิมพีแดนซฐานดานแรงต่ําเปน
( 3.98 )
2

Base ZLV = = 0.3168 Ω


50

จะได คาตอหนวยของ RL (ดานแรงต่ํา)


0.6
p.u. RL = = 1.89 p.u.
0.3168
จะไดคาอิมพีแดนซฐานดานแรงสูงเปน
( 69 )
2

Base ZLV = = 95.22 Ω


50

RL ยายมาดานแรงสูงมีคาเปน
2
RL,HV = 0.6 ⎛⎜ 66 ⎞⎟ = 180 Ω
⎝ 3.81 ⎠

จะได คาตอหนวยของ RL (ดานแรงต่ํา)


0.6
p.u. RL = = 1.89 p.u.
0.3168
การคํานวณเพื่อเขียนแผนภาพรีแอคแตนซ
• ใชแผนภาพรีแอคแตนซ เพื่อใชวิเคราะหการลัดวงจรในระบบ
• ถาใชโปรแกรมคอมพิวเตอรวิเคราะหการลัดวงจร อาจใช
แผนภาพอิมพีแดนซในการวิเคราะห
แผนภาพเสนเดี่ยว

แผนภาพอิมพีแดนซ

แผนภาพรีแอคแตนซ
หลักการคํานวณเพื่อเขียนแผนภาพรีแอคแตนซ
1.คาฐานของระบบ 3 เฟส คือคาแรงดันฐานระหวางสาย และคา
กําลังไฟฟาฐานที่คิดทั้ง 3 เฟสรวมกัน
2.คาฐานที่อกี ดานของหมอแปลง คาแรงดันฐานหาจากอัตราสวน
ของแรงดันระหวางสายของหมอแปลงตัวนัน้ แตคากําลังไฟฟาฐาน
เทากันทุกจุดในระบบไฟฟากําลัง

3. คาอิมพีแดนซ หรือ รีแอคแตนซหมอแปลง 3 เฟส มักบอกเปนคา


ตอหนวย หรือ % เทียบจากพิกัดของหมอแปลงนั้น
หลักการคํานวณเพื่อเขียนแผนภาพรีแอคแตนซ
4. หมอแปลง 3 เฟส ที่ประกอบจากหมอแปลง 1 เฟส 3 ตัว
- คากําลังไฟฟาแทจริง หาจากกําลังไฟฟาหมอแปลง 1 เฟส 3 ตัว
- คาอิมพีแตนซของหมอแปลง 3 เฟส = คาอิมพีแดนซของหมอ
แปลง 1 เฟส

5. คาอิมพีแดนซตอ หนวยที่มีฐานอืน่ ไมตรงกับคาฐานของระบบ ให


เปลี่ยนแปลงคาฐานใหตรงกับคาฐานของระบบ
ตัวอยางที่ 6
เครื่องกําเนิดไฟฟา 3 เฟส ขนาด 300 MVA, 20.0 kV มีซับทราน
เซียนรีแอคแตนซ 20 % เครื่องกํานิดไฟฟานีจ้ ายกําลังไฟฟาผานสาย
สงยาว 64 km ใหแกมอเตอรแบบซิงโครนัสจํานวนหนึ่ง ดังรูป
M1
T1 T2 M
p
k l m n
G
r
M
M2
มอเตอรทุกตัวมีแรงดันพิกัด 13.2 kV แทนดวย M1 และ M2 โดยที่ M1
มีสายกลางตอลงดินผานรีแอคแตนซ สวน M2 มีสายกลางไมตอ ลงดิน
(ซึ่งเปนกรณีไมเกิดขึ้นตามปกติ) พิกัดของอุปกรณตางๆ เปนดังนี้
M1 200 MVA, x” = 20 %
M2 100 MVA, x” = 20 %
หมอแปลงในระบบ มีคาตางๆดังนี้
T1 เปนหมอแปลง 3 เฟส, 350 MVA, 230/20 kV, x = 10 %
T2 เปนหมอแปลง 1 เฟส 3 ตัว, 100 MVA, 127/13.2 kV, x = 10 %
คารีแอคแตนซอนุกรมของสายสง = 0.5 ohm / km
จงเขียนแผนภาพรีแอคแตนซพรอมคาตอหนวย โดยใชคาฐานเปนคา
พิกัดของเครื่องกําเนิดไฟฟา

จะเขียนแผนภาพรีแอคแตนซ สงที่ตองการหาคือ
• รีแอคแตนซของเครื่องกําเนิดไฟฟา
• รีแอคแตนซของหมอแปลง T1 และ T2
• รีแอคแตนซของสายสงไฟฟา
• รีแอคแตนซของมอเตอรไฟฟา M1 และ M2
วิธีทํา คาฐานที่ดานแรงต่าํ ของหมอแปลง T1 จะได
แรงดันฐาน = 20 kV กําลังไฟฟาฐาน = 300 MVA
พิจารณาที่หมอแปลง T1 ซึ่งตอแบบ Δ− Y
• T1 เปนหมอแปลง 3 เฟส แรงดันทีบ่ อกคือคาแรงดันระหวาง
สายทั้งดานแรงสูงและแรงต่ํา
• อัตราสวนแรงดัน = 230 / 20 kV จะได
230
แรงดันฐาน ดาน Y = 20× = 230 kV
20

กําลังไฟฟา ของ T1 = 350 MVA


จาก ⎡ base kVgiven ⎤
2
⎡ base MVA ⎤
⎢ new ⎥
p.u. Z new = p.u. Z given ⎢ ⎥
⎢⎣ base kVnew ⎥⎦ ⎢ base MVA ⎥
⎣ given ⎦

จะไดคา x ของหมอแปลง T1 เปน


2
⎡ 230 ⎤ ⎡ 300 ⎤
p.u. x new = (0.1) ⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎢⎣ 230 ⎥⎦ ⎢⎣ 350 ⎥⎦

จะได
xT1 = 0.0857 p.u.
พิจารณาที่หมอแปลง T2 ซึ่งตอแบบ Y −Δ
• T2 เปนหมอแปลง 1 เฟส 3 ตัว แรงดันที่บอก คือ คาแรงดันเฟสทั้งดาน
แรงสูงและแรงต่ํา ตองแปลงเปนแรงดันระหวางสาย ตามการตอ

3×127
= 220 kV 13.2 kV

• อัตราสวนแรงดัน = 220 / 13.2 kV จะได


13.2
แรงดันฐาน ดาน Δ = 230×
220
= 13.8 kV

กําลังไฟฟาของ T2 = 3 x 100 = 300 MVA


จาก ⎡ base kVgiven ⎤
2
⎡ base MVA ⎤
⎢ new ⎥
p.u. Z new = p.u. Z given ⎢ ⎥
⎢⎣ base kVnew ⎥⎦ ⎢ base MVA ⎥
⎣ given ⎦

จะไดคา x ของหมอแปลง T2 เปน


2
⎡13.2 ⎤ ⎡ 300 ⎤
p.u. x new = (0.1) ⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎢⎣13.8 ⎥⎦ ⎢⎣ 300 ⎥⎦

จะได xT2 = 0.0915 p.u.


จะไดแรงดันฐานที่ตําแหนงตางๆ ในระบบ เปน

20 kV 230 kV 13.8 kV
M1
T1 T2 M
p
k l m n
G
r
M
M2
สายสง
คาอิมพีแดนซทั้งสายสง = 0.5 x 64 = 32 Ohm
คาอิมพีแดนซฐานของสายสง
(Base kVสายสง)2
=
Base MVA
2
(230)
= = 176.3 Ohm
300
จะไดคารีแอคแตนซตอหนวยของสายสงเปน
32
= = 0.1815 p.u.
176.3
มอเตอรไฟฟา
M1 13.2 kV, 200 MVA, x” = 20 %
หาคารีแอคแตนซตอ หนวยจาก
⎡ base kVgiven ⎤
2
⎡ base MVA ⎤
p.u. Z new = p.u. Z given ⎢ ⎥ ⎢ new ⎥
⎢ base MVA ⎥
⎣⎢ base kVnew ⎦⎥ ⎣ given ⎦

จะได ⎛ 300 ⎞⎛13.2⎞


2
xM1 = (0.2)⎜⎜ ⎟⎟⎜ ⎟⎟
⎝ 200 ⎠⎝13.8⎠⎟
⎟⎜

= 0.2745 p.u.
มอเตอรไฟฟา (2)
M2 13.2 kV, 100 MVA, x” = 20 %
หาคารีแอคแตนซตอ หนวยจาก
⎡ base kVgiven ⎤
2
⎡ base MVA ⎤
p.u. Z new = p.u. Z given ⎢ ⎥ ⎢ new ⎥
⎢ base MVA ⎥
⎣⎢ base kVnew ⎦⎥ ⎣ given ⎦

จะได ⎛ 300⎞⎛13.2⎞
2
xM1 = (0.2)⎜⎜ ⎟⎟⎜ ⎟⎟
⎝100 ⎠⎝13.8⎠⎟
⎟⎜

= 0.5490 p.u.
สามารถเขียนรีแอคแตนซไดอะแกรม ไดเปน
j0.0857 j0.1815 j0.0915
k l m n

p r
j0.2
j0.2745 j0.5490

+ + +
Eg Em1 Em2
- - -
ตัวอยางที่ 7
จากตัวอยางที่ 6 มอเตอร M1 และ M2 มีกําลังไฟฟาเขาไป 120 MW
และ 60 MW ตามลําดับ ที่แรงดัน 13.2 kV และตัวประกอบกําลัง 1.0
ใหคํานวณหาแรงดันที่เครื่องกําเนิดไฟฟา
j0.0857 j0.1815 j0.0915
k l m n

p r
j0.2 +
j0.2745 j0.5490

+ + V +
Eg Em1 Em2
- - -
(120 MW) - (60 MW)
กระแสในระบบ = กระแสไหลใน M1 + กระแสไหลใน M2
I = IM1 + IM 2

SM 1 SM 2 SM 1 + SM 2
= + =
V V V

หาคากําลังไฟฟาและแรงดันตอหนวย
PM 1 PM 2
SM 1 = SM 2 =
cos θM 1 cos θM 2

120 60
= =
1 1

= 120 MVA = 60 MVA


จะได S M 1 + S M 2 = 120 + 60

= 180 MVA

จากคากําลังไฟฟาฐาน = 300 MVA ทําเปนคาตอหนวยไดเปน


S M 1 + S M 2 = 180 = 0.6 p.u.
300

จากแรงดันฐาน = 13.8 kV จะไดคาแรงดันตอหนวยเปน


13.2
V=
13.8
= 0.9565∠0° p.u.
SM 1 + SM 2
จะได I=
V
0.6
=
0.9565∠0°

= 0.6273∠0° p.u.

j0.0857 j0.1815 j0.0915


k l m n

+ +

j0.2
VG V = 0 .9 5 6 5 ∠ 0 °
+ I =0.6273∠0°
Eg
-
- -
จะไดแรงดันที่เครื่องกําเนิดไฟฟาเปน
VG = 0.9565 + 0.6273( j 0.0915 + j 0.1815 + j 0.0857)
= 0.9565 + j 0.2250

= 0.9826∠13.2° p.u.
แรงดันคาที่แทจริง เทากับ
0.9826× 20 = 19.65 kV

You might also like