Prednisolone

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

- เด็ก อาจทาให้เด็กเติบโตช้ากว่าปกติ หรือตัวเตี้ย

เพรดนิโซโลน 5 มิลลิกรัม - ผู้สูงอายุ เพิ่มความเสี่ยงต่ออันตรายจากยา 3. วิธีใช้ยา


ชนิดเม็ด - โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือเคยมีกล้ามเนื้ออ่อนแรงหลังจาก 3.1 ขนาดและวิธีใช้
ใช้ยาสเตอรอยด์  ควรใช้ยาตามคาแนะนาของแพทย์หรือเภสัชกรเท่านั้น
- โรคความดันโลหิตสูง  กินยานี้พร้อมอาหารหรือหลังอาหารทันที หรือกินยาพร้อม
- โรคต้อหิน โรคต้อกระจก นม และดื่มน้ามาก ๆ เพื่อลดอาการปวดมวนท้อง
- โรคตับ  ถ้ากินยาวันละ 1 ครั้ง ให้กินหลังอาหารมื้อเช้าเพือ ่ ลด
- โรคติดเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อราที่ยังไม่ได้รักษา ผลข้างเคียงของยา
- โรคไต 3.2 หากลืมกินยาควรทาอย่างไร
- โรคไทรอยด์บางชนิด  ให้กินยาวันละ 1 ครั้ง และนึกออกภายใน 12 ชั่วโมงให้กินยา

1. ยานี้ชื่อยาอะไร - โรคเบาหวาน ทันทีที่นึกได้ แต่ถา้ ลืมกินเกิน 12 ชัว่ โมง ไม่ต้องกินยามื้อนั้นให้รอกินยา


- โรคลมชัก ของมื้อต่อไป และห้ามกินยาเพิ่มเป็น 2 เท่า
 ยานีเ้ ป็นยากลุ่มสเตอรอยด์มีชื่อสามัญว่า เพรดนิโซโลน - โรคหัวใจ  ถ้ากินยามากกว่าวันละ 1 ครั้ง หรือกินยาแบบวันเว้นวัน ให้
(prednisolone)  แจ้งแพทย์หากท่านอยู่ในกลุ่มต่อไปนี้ ปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร
 ยานี้ใช้เพื่อบรรเทาการแพ้ หรือลดการอักเสบที่รุนแรง และ - กาลังตั้งครรภ์ โดยเฉพาะในช่วง 3 เดือนแรกเพราะอาจมี 3.3 ถ้ากินยานี้เกินขนาดที่แนะนา ควรทาอย่างไร
การใช้รักษาโรคบางชนิดที่เกิดจากภูมิคุ้มกันผิดปกติ ซึ่งต้องวินิจฉัยโดย อันตรายต่อทารกในครรภ์ แต่แพทย์อาจพิจารณาสั่งใช้ยานี้  ให้สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด หากมีอาการผิดปกติ ให้รีบนาส่ง
แพทย์ หากมีเหตุผลทางการแพทย์ โรงพยาบาลทันที
 การใช้ยานีอ้ าจจะทาให้เกิดอันตรายรุนแรงได้จึงต้องสั่งจ่าย - กาลังให้นมบุตร เพราะยาถูกขับออกทางน้านม
โดยแพทย์เท่านั้น ไม่ควรใช้ยานี้ร่วมกับยาหรือเครื่องดื่มต่อไปนี้เพราะอาจมี
 4. ข้อควรปฏิบัติระหว่างใช้ยา
ผลต่อการรักษาหรือเกิดอันตรายได้ เช่น ยากดภูมิคุ้มกัน
2. ข้อควรรู้ก่อนใช้ยา - ยากดภูมิคุ้มกัน  ใช้ยานี้ตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด หากอาการแย่ลงหรือมี
- ยาแก้อักเสบทีไ่ ม่ใช่สเตอรอยด์ (เช่น ไพร็อกซิแคม ผลข้างเคียงจากยาทีท่ นไม่ได้ให้แจ้งแพทย์
2.1 ห้ามใช้ยานีเ้ มือ่ ไร ไอบูโปรแฟน)  ห้ามลดหรือหยุดกินยาเอง เพราะอาจทาให้อาการของโรค
 เมื่อเคยแพ้ยานี้ หรือ ยากลุ่มสเตอรอยด์ชนิดอื่น
- ยากันชัก กาเริบหรือเกิดอาการขาดยา ทาให้ความดันเลือดต่า หมดสติได้
 กาลังเป็นโรคแผลในกระเพาะอาหาร หรือลาไส้ เพราะยานี้
- ยาขับปัสสาวะ  อย่าอยู่ใกล้ชิดผู้ติดเชือ้ วัณโรคและไวรัส เช่น อีสุกอีใส หัด
ทาให้แผลรุนแรงขึ้นและกระเพาะอาหารหรือลาไส้ทะลุได้ - ยาต้านการแข็งตัวของเลือด เพราะยานีท้ าให้ติดเชือ้ ได้งา่ ยขึ้น และมีอาการติดเชือ้ รุนแรง หากมีอาการ
 กาลังเป็นวัณโรค หรือ กาลังติดเชือ้ ไวรัส เช่น อีสุกอีใส งูสวัด - ยาต้านเบาหวาน ติดเชื้อรุนแรง เช่น มีไข้ มีผื่น ให้รีบไปพบแพทย์
หัด หรือเริมที่กระจกตา เพราะทาให้โรคติดเชื้อเหล่านี้รุนแรงขึ้น - ยาต้านวัณโรค  แจ้งแพทย์หรือทันตแพทย์ว่ากาลังใช้ยานี้หากต้องผ่าตัดหรือ
 กาลังเป็นโรคกระดูกพรุน เพราะทาให้กระดูกพรุนมากขึ้น
- ยาต้านไวรัสเอดส์ ทาฟัน เนื่องจากอาจต้องเพิ่มขนาดยาเพิ่ม
และกระดูกแตกหักง่ายขึ้น - ยาต้านเชื้อแบคทีเรีย  พบแพทย์ตามนัดอย่างสม่าเสมอ เพื่อติดตามผลการรักษา
 เป็นโรคทางจิตขั้นรุนแรง เพราะทาให้อาการทางจิตรุนแรงขึ้น
- ยาต้านเชื้อรา หรืออันตรายจากยา
- วัคซีน
2.2 ข้อควรระวังเมือ่ ใช้ยานี้ - เครื่องดื่มที่ผสมเหล้า
 ควรหลีกเลี่ยงหรือปรึกษาแพทย์กอ่ นใช้ยานี้ในกรณีต่อไปนี้
เพราะอาจทาให้โรครุนแรงขึน้ หรือเกิดอันตรายจากยานี้มากขึ้น
5. อันตรายที่เกิดจากยา
ข้อมูลยานี้เป็นข้อมูลโดยย่อ
5.1 อาการที่ตอ้ งหยุดยาแล้วรีบไปพบแพทย์ทันที หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร
 กล้ามเนือ้ อ่อนแรง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดเส้นเอ็น ด้วยความปรารถนาดีจากฝ่ายเภสัชกรรม รพ.ปากน้าชุมพร
 คันช่องคลอดหรือตกขาวผิดปกติ
 บวมที่ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปาก ลมพิษ
 ประจาเดือนผิดปกติ
 ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน รุนแรง
 ปวดหลัง ปวดกระดูก กระดูกแตกหัก
 ปวดหัว ปวดตา ตาพร่า มองเห็นไม่ชัด
 ผื่นแดง ตุ่มพอง ผิวหนังหลุดลอด
 มีจ้าเลือดตามผิวหนยัง รอยฟกช้า หรือเลือดออกผิดปกติ
 มีอาการชัก
 มีอาการติดเชือ้ เช่น มีไข้ หนาวสั่น เจ็บคอ
 รู้สึกอ่อนเพลียรุนแรง
 หน้ากลมบวม ตัวบวม น้าหนักขึ้นเร็วผิดปกติมือและเท้าบวม
 หน้ามืด เป็นลม แน่นหน้าอก หายใจลาบาก
 อารมณ์แปรปรวน นอนไม่หลับ ประสาทหลอน ซึมเศร้า
อยากฆ่าตัวตาย
 อุจจาระมีสีดาคล้ายยางมะตอยหรือมีเลือดปน
5.2 อาการที่ไม่จาเป็นต้องหยุดยา แต่ถ้ามีอาการรุนแรงให้ไปพบ
แพทย์ทันที
 ปวดมวนท้อง อาหารไม่ย่อย
 เป็นสิว
 ผิวหนังบางลง ผิวหนังแตก
 มีขนตามร่างกายมากขึ้น
 เหงื่อออกมาก
 อยากอาหารมากขึ้น และน้าหนักตัวเพิ่ม
6. ควรเก็บยานี้อย่างไร
 เก็บยานี้ไว้ในภาชนะบรรจุเดิมตามที่ได้รับมา
 เก็บยาในทีแ่ ห้ง อย่าให้โดนแสงโดยตรงโดยทั่วไปควรเก็บที่
อุณหภูมิห้อง (ไม่เกิน 30 องศาเซลเซียส)
 เก็บยาให้พ้นมือเด็ก

You might also like