Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 6

ชื่อ POCHANKOSAL รหัสนิสิต 60020147 วิชา เศรษฐศาสตร์แรงงาน

รหัสวิชา 25749759
ตอนที่ 1
1.ลักษณะของเส้น Isocost คือ จำนวนต้นทุนที่อยูบนเส้นไม่เปลี่ยนแปลง
c w
เส้นที่อยู่สูงกว่าเป็ นเส้นที่แสดงว่ามีต้นทุนสูงสุด slope คือ K= − E
r r

อธิบาย Slope ของ Isocost คือหมายความว่า ถ้าเราเพิ่ม E มาก k จะ


ต้องลดลงคือ และถ้าเราเพิ่ม w/r มากจะทำให้k ลดลงเหมือนกัน โดย c/r
เป็ น intercept และ w/r เป็ น slope ของ isocost
3. หาค่าแรงและจานวนการจ้างงาน ณ จุดดุลยภาพ
จุดดุลยภาพคือจุดที่ Demand function = Supply function
เราจได้ 100+6E = 150-4E
6E+4E = 150-100
จะได้ E= 5 เอาไปแทนใน Demand function จะได้ 100 +6x5 = w
จะได้ w= 130
ดังนั้น จุดดุลยภาพ ขิงค่าแรง w= 130 และ จำนวนการจ้างวาน E = 5
2. MPE/MPK = 1/3 slope of isoquant
เมื่อราคาของเครื่องจักร เท่ากับ 7500 บาทต่อสัปดาห์ และค่าแรงแต่
สัปดาห์เท่ากับ 3000 บาท
อัตราส่วนของปั จจัยการผลิตจะเท่ากับ 3000/ 7500 = 0.4
เมื่อราคาของเครื่องจักรเท่ากับ 10000 บาทต่อสัปดาห์ อัตราส่วนของ
ปั จจัยการผลิตจะเท่ากับ 3000/10000 = 0.3

1
ชื่อ POCHANKOSAL รหัสนิสิต 60020147 วิชา เศรษฐศาสตร์แรงงาน
รหัสวิชา 25749759

ตอนที่ 2
1 a. function utility ของ นาย อาดัม ศามิดคือ U(C,L) = Ln(c) +
ln(l)
b. หา consumption function โดย C= WH+ V , W= 500 , H= T-
L , T=80
จะได้ C= 500(80-L) +V = 40000 – 500L + V
ดังนั้น Consumption function ของ อาดัม ศามิด คือ C=40000−500 L+V

C. กรณีที่ นาย อาดัม ศามิด ไม่มีรายได้อื่น และไม่ได้ร่วมโครงการสัวสดิ


การใดๆ
ดังนั้น เราจะสมมติให้ V = 0

2
ชื่อ POCHANKOSAL รหัสนิสิต 60020147 วิชา เศรษฐศาสตร์แรงงาน
รหัสวิชา 25749759
จาก function ข้างบน เราจะได้ utility maximization process คือ
maxΩ= Ln( C ) + ln(L) +( C - 40000 + 500L )
จะได้ ∂Ω/∂c = 1/C +  = 0 (1) , ∂Ω/∂L = 1/L + 500 = 0 (2) ,
∂Ω/∂ = C - 40000 + 500L = 0 (3)
(1)ได้ = -1/C เอาไปแทนใน (2) , ได้ 1/L - 500/C = 0
C - 500L = 0 ,C = 500L เอาไปแทนใน 3
500L - 40000 + 500L = 0 , L = 40 จะได้ C = 20000 H = T – L =
80 – 40 = 40
ดังนั้น นาย อาดัม ศามิดจะเลอืกที่จะทางานเพราะจะทำให้ได้รับความ
พอใจ
เขาเลือกทางานจะทางานจานวน 40 hours per week
d. ถ้าเขาจึงจะตัดสินใจที่จัดสรรเวลาทั้งหมดเพื่อการพักผ่อน เมื่อ
เส้น budget constraint ของอยู่ที่จุด Endowment point จึงจุดนี้
Time จะ เท่ากับ leisure ( L=T ) และ H = 0 จาก function ที่หามาได้
เราจะได้ C= W( T-L) + V เมือ T=L เราจะได้ V=C , v คือ unearned
income
ดังนั้น V = 20000 นาย อาดัม ศามิด จะต้องตัดสินใจที่จัดสรรเวลา
ทั้งหมดเพื่อการพักผ่อน
2. a. Adjustment cost ในบริบทของอุปสงค์แรงงาน คือ ค่าใช้จ่ายเกี่ยว
กับการเปลี่ยนแปลงหรือปรับขนาดของจำนวนแรงงานในบริษัทใดๆ
ความเข้าใจของผมเกี่ยวกับ Adjustment cost คือ adjustment cost

3
ชื่อ POCHANKOSAL รหัสนิสิต 60020147 วิชา เศรษฐศาสตร์แรงงาน
รหัสวิชา 25749759
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ มี Variable adjustment cost ( ขึ้นอยู่กับ
จำนวนแรงงานที่บริษัทจะจ้างหรือไล่ออก )
Fix adjustment cost ( ไม่ได้ขึ้นอยู่กับจำนวนแรงงานที่บริษัทจะจ้าง
หรือไล่ออก )
ค่าใช้จ่ายทั้ง 2 ประเภทนี้ จะมีผลต่อพฤติกรรมของบริษัทในทางที่แตก
ต่างกัน
ถ้า Fix Adjustment cost ต้นทุนน้อยใช้เวลาน้อย ถ้า Variable
Adjustment cost ต้นทุนสูงใช้เวลามาก
b. วาดรูป เมื่อต้นทุนการจ้างแรงงานใหม่ต่อหัวเพิ่มขึ้น และ wage ไม่

เปลี่ยน

อธิบาย เมื่อต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นจะทำให้เกิด substitution effect ขึ้นมา


ก็คือบริษัทจะต้องมีการเปลี่ยนจาก input ที่มีราคาแพงกว่ามาเป็ น input
ที่มีราคาถูกก่วา กล่าวคือบริษัทจะต้องปรับตัวให้เข้ากับต้นทุน
หมายความว่า เมื่อต้นทุนการจ้างแรงงานใหม่ต่อหัวเพิ่มเขาจะยอมจ้างคน
เพิ่มเพื่อทดแทนการให้คนทำงานเพิ่มเวลา และ เมื่อ Fix cost ของบริษัท

4
ชื่อ POCHANKOSAL รหัสนิสิต 60020147 วิชา เศรษฐศาสตร์แรงงาน
รหัสวิชา 25749759
เพิ่มจะส่งผลต่อ scale effect ด้วย เพราะจะทำให้ marginal cost of
production เพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลทำให้บริษัทต้องการงานคนน้อยลง
C. เมื่อ (1) ค่าแรงล่วง เวลาเพิ่มขึ้น ( จาก 1.5 เท่า เป็ น 2.0 เท่า ) จะ
สามารถช่วยให้บริษัทลดลงต้นทุนได้0.5 เทาจากการที่เขาต้องจ่ายค่าให้
กับคนงานใหม่เช่นในการทำสัญญาต่างๆ( ทำประกันสุขภาพ ประกันชีวิต
)
เมื่อต้นทุนการ จ้างงานแรงงานใหม่ต่อหัวเพิ่มขึ้น (เช่น เพิ่มขึ้นร้อยละ
30 ) จะทำให้บริษัทต้องเพิ่มต้นทุนมากขึ้นเพื่อจะทำแบบ form ต่างๆ ค่า
ใช้จ่ายในการจ้างงานเหล่านี้อาจรวมถึงค่าใช้จ่ายในการดำเนินการบุคคล
ผ่านสำนักงานบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการฝึ กอบรมและผลประโยชน์ที่
รัฐบาลกำหนดเช่นโครงการด้านสุขภาพและเงินบำนาญ
3. a. งานวิจัยที่เกี่ยวกับการหา Discount rates ในประเทศไทย คือ
Eliciting Individual Discount rate in Thailand: A Tale Of Two
Cities ( Nuttaporn Rochanahastin and Shinawat Horayangkura
2020 )
การตัดสินใจในการเรียนหนังสือในระดับมหาวิทยาลัยของ Anne และ
Adam กรณี wage school locus เท่ากัน คือ 2 คนนี่จะตัดสินใจโดยดู
จาก MRR ( marginal rate of return school of schooling )
โดย 2 คนนี่ จะเอา Discount rate มาเปรียบเทียบกับ MRR ถ้า
discount rate ของ 2 คนนี่น้อยเขาจะตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัยจนถึง
MRR = r

5
ชื่อ POCHANKOSAL รหัสนิสิต 60020147 วิชา เศรษฐศาสตร์แรงงาน
รหัสวิชา 25749759
b. งานวิจัยที่เกี่ยวกับการหา Discount rates ในประเทศไทย คือ
Eliciting Individual Discount rate in Thailand: A Tale Of Two
Cities ( Nuttaporn Rochanahastin and Shinawat Horayangkura
2020 )
กรณี น.ส. Anne และ นาย Adam โดยสมมติให้ทังสองคนมี Wage-

schooling locus แตกต่างกัน คือที่นี่หมายความว่า MRR ของ 2 คนนี่จะ


แตกต่างกัน เพราะมี่ ability bias ขึ้น จากรูป ถ้า Anne ได้ศึกษา
เพิ่ม 1 ปี

ความแตกต่างค่าจ้างระหว่าง Anne and Adam ( Wuni – WDrop) โดย


anne จะเรียนต่อ 1 ปี และเธอจะมีAbility. โดยสรุปมาความแตกต่าง
ระหว่างค่าจ้างไม่สามารถบอกเราได้ว่า Adam จะได้ค่าจ้างเพิ่มขึ้นเท่า
ไหร่ถ้าเขาได้เรียนต่อเพิ่มขึ้น 1 ปี
c. ถ้า อยากให้ Anne เพิ่มมูลค่าปั จจุบันและสามารถทำงานได้ตลาดชีวิต
เธอต้องเรียนต่อมหาวิทยาลัยและต้องเริ่มฝึ กทักษะใหม่ตั้งแต่อายุยังน้อย
W<w2<VMP2

You might also like