บทที่2 การวิเคราะห์สินเชื่อลูกค้าในสำนักงานธุรกิจรุ่งเรือง สังกัดธนาคารกรุงสยาม จำกัด (มหาชน) ปารัชญ์ หลักคำ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 35

บทที่ 2

ทฤษฎี งานวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยไดศกึ ษาคนควาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วของ และไดนําเสนอ


เปนหัวขอตามลําดับ ดังนี้
1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกีย่ วของ
1.1 แนวคิดพืน้ ฐานเกี่ยวกับการบริหารเงินใหสินเชื่อ
1.2 แนวคิดและทฤษฎีดานการตลาดสําหรับธุรกิจใหบริการ
1.3 แนวคิดและทฤษฎีดานการเงิน และการบริหารการเงิน
2. งานวิจยั ที่เกี่ยวของ
3. กรอบแนวคิดในการศึกษา
4. เอกสารที่เกี่ยวของ
4.1 หนาที่รับผิดชอบของสํานักงานธุรกิจ
4.2 กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานดานสินเชื่อ
4.3 หลักเกณฑและแนวทางการวิเคราะหสินเชื่อของธนาคาร

1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ
1.1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการบริหารเงินใหสินเชื่อ
การให สิ น เชื่ อ ของสถาบั น การเงิ น หมายถึ ง บริ ก ารชนิ ด หนึ่ ง ของสถาบั น การเงิ น ที่
กอใหเกิดรายไดหลักแกสถาบันการเงิน และมีความสําคัญที่อาจกอใหเกิดผลกระทบกระเทือนตอ
ระบบธุรกิจของชุมชนเปนอยางยิ่งดวย โดยเปนความเชื่อถือและไววางใจระหวางบุคคล 2 ฝาย ใน
การที่จะใหเงินไปใชกอน โดยมีสัญญากําหนดเงื่อนไข และเงื่อนเวลาการชําระคืนในอนาคต และ
สิ่งที่ฝายผูใหสินเชื่อจะตองรับภาระตามมาคือความเสี่ยง ดังนั้นสินเชื่อนอกจากจะตั้งอยูบนรากฐาน
ของความเชื่อถือแลว จะตองอาศัยหลักประกันซึ่งอาจเปนไดทั้งบุคคล หรือสินทรัพย (วิศิษฐ วงศ
กิตติรักษ, 2543)
หลักการจัดการสินเชื่อ แบงงานออกได 2 ลักษณะใหญๆ คือการปลอยสินเชื่อและการเรียก
เก็บหนี้ ซึ่งงาน 2 ลักษณะนี้นับวาเปนงานหลักของการจัดการสินเชื่อ ที่จะตองดําเนินควบคูกันไป
7

เสมือนตาชั่ง กลาวคือ ถางานใดหยอนยานอีกงานจะตองเขมงวด จึงจะทําใหงานจัดการสินเชื่อ


ลุลวงไปดวยดี (ดารณี พุทธวิบูลย, 2530)
การปลอยสินเชื่อ เมื่อสถาบันการเงินไดกําหนดนโยบายการใหสินเชื่อแลว ผูพิจารณาการ
ใหสินเชื่อแกลูกคาแตละรายจะตองประเมินความเสี่ยงภัยในการไดรับชําระคืนเงิน การประเมิน
ความเสี่ยงภัยมีนโยบายหลักในการวิเคราะหดังนี้คือ
1. นโยบาย 5 C (5 C’s Policy) การวิเคราะหเครดิตโดยวิธีนี้เดิมเรียกวานโยบาย C (C’s
Policy) นโยบายนี้มีมากกวา 50 ปแลว โดยพัฒนามาจาก 3 C ไดแก Character, Capital และ
Capacity กอน ตอมาจึงเพิ่ม Collateral และ Condition ซึ่งเรียกวานโยบาย 5 C (C’s Policy) มี
รายละเอียดดังนี้
1.1 Character คือคุณสมบัติของผูขอสินเชื่อ เปนการวิเคราะหถึงอุปนิสัย ใจคอ
และพฤติกรรมของผูขอสินเชื่อวาจะมีความรับผิดชอบและความเต็มใจในการชําระหนี้มากนอย
เพียงใด โดยพิจารณาไดเปน 2 ประเภท คือ
- คุณสมบัติและประวัติสวนตัว เชน อุปนิสัยทั่วไป ขอมูลเกี่ยวกับครอบครัว อายุ
นิติภาวะ การคา สังคม ความซื่อสัตย ความรับผิดชอบตอหนี้สิน ความตรงตอเวลาในการชําระหนี้
ความสม่ําเสมอในการชําระหนี้ ชื่อเสียงสวนตัว เปนตน
- คุ ณ สมบั ติ เ ฉพาะด า น เช น หนา ที่ ก ารงาน ความสามารถ ความชํ า นาญ
ประสบการณ ความคิด เปนตน
1.2 Capital คือทุนของธุรกิจ เปนการวิเคราะหถึงฐานะการเงิน ซึ่งไดแก สินทรัพย
หนี้สิน และทุนของธุรกิจนั้นๆ วาเปนอยางไร สําหรับทุนของธุรกิจนั้น หมายถึง สวนที่เจาของ
หรือผูประกอบการนํามาลงไวในธุรกิจ ในการวิเคราะหจะพิจารณาสวนของสินทรัพยที่มีเหนือ
หนี้สินเพื่อเปนหลักประกันความปลอดภัยในกรณีที่คุณสมบัติ และความสามารถในการชําระหนี้
ของผูขอกูไมคอยดีนัก โดยดูจากอัตราสวนกําไรตอทุนและอัตราสวนหนี้สินตอทุน อยางไรก็ตามมี
ขอควรระวังวาสวนของเจาของที่รวมทั้งสินทรัพยที่มีตัวตน และไมมีตัวตนจะมีมูลคาเทาใด แยก
เปนสัดสวนไดหรือไมในกรณีที่ตองมีการชําระบัญชี
1.3 Capacity คือความสามารถในการชําระหนี้คืน เปนการวิเคราะหสมรรถภาพ
ในการหารายได ถาเปนการขอสินเชื่อสวนบุคคล จะพิจารณาจากคุณสมบัติของผูขอสินเชื่อในรูป
คาจางเงินเดือน รายไดอื่นๆ เปนหลัก แตถาเปนนิติบุคคลจะวิเคราะหถึงผลการดําเนินงานของธุรกิจ
เพื่อดูความสามารถในการทํากําไรของธุรกิจ โดยวิเคราะหรายได รายจาย และกําไรของธุรกิจ จะใช
8

พิจารณาจากงบการเงิน แผนการบริหารงาน แผนการชําระเงินคืน โดยปกติเงินที่จะนํามาชําระหนี้


ควรจะเปนเงินรับสุทธิจากการดําเนินงาน นั่นคือ กําไรของธุรกิจ นั่นเอง
1.4 Collateral คือหลักประกัน ในการพิจารณาและตัดสินใจเกี่ยวกับเครดิต
หลักประกันเพียงอยางเดียวยอมไมเพียงพอที่จะตัดสินใจ ตองพิจารณารวมกับปจจัยอื่นๆ ดวย
หลักประกันเปนเพียงการชวยลดความเสี่ยงภัยทางการเงิน ในกรณีที่ผลการดําเนินงานและฐานะ
ทางการเงินในอนาคตไมเปนไปตามที่คาดคะเนไว คือเปลี่ยนแปลงในทางที่ไมดี หลักทรัพยที่ใชค้ํา
ประกัน ไดแก ที่ดิน โรงเรือน สิทธิการเชา พันธบัตร หุนของบริษัทอื่น หรือ บุคคลที่เชื่อถือไดมาค้ํา
ประกัน
1.5 Condition คือสภาวการณทั่วๆ ไป เชน ภาวะเศรษฐกิจ นโยบายของรัฐบาล
การเมือง กฎหมาย ภาษี ดินฟาอากาศ การขึ้นราคาของน้ํามันดิบ ปญหาวัตถุดิบ ปญหาแรงงาน การ
เปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ภาวะเงินเฟอ เทคโนโลยี
เทคนิคการผลิต เปนตนเหลานี้ อาจมีผลกระทบกระเทือนตอการชําระหนี้ได จําเปนจะตองวิเคราะห
ใหไดขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ
2. นโยบาย 5 P (5 P’s Policy) เปนอีกวิธีหนึ่งที่ใชในการวิเคราะหเครดิต ซึ่งประกอบดวย
2.1 People เปนปจจัยดานตัวบุคคล ซึ่งแยกเปนหลักใหญๆ 2 ประการ
- ตองพิจารณาวาบุคคลที่มาขอกูเงินนี้เปนผูที่มีความรับผิดชอบแคไหน และมี
ความสําเร็จในการงานมากนอยเพียงใด โดยการสืบหาขอมูลของผูนั้นผานทางผูที่มีอาชีพเดียวกัน
ซึ่งรูจักบุคคลผูนี้ ผูที่เคยขายสินคาให หรือคูแขง จะแสดงใหเห็นวาบุคคลนั้นมีความรับผิดชอบ
เพียงใด การดูแนวโนมของการปฏิบัติงาน การลงทุน ผลกําไร เมื่อเปรียบเทียบกับคูแขงจะชี้ใหเห็น
ความสําเร็จของบุคคลนั้น ถึงแมวาบริษัทสวนตัวจะไมคอยแสดงผลกําไรที่แทจริง เนื่องจากกลัวเสีย
ภาษีมากก็ตาม ทําใหการพิจารณาเครดิตของบริษัทสวนตัวทําไดลําบากมากกวาบริษัทมหาชน
- ความสามารถในการชําระหนี้จะตองพิจารณาถึงการใหความรวมมือกับธนาคาร
ในการให ข อมูลแก ธนาคารเกี่ ย วกับธุรกิจของตนอย างตรงไปตรงมา เป น การแสดงให เ ห็ น ถึ ง
อุปนิสัยของผูนั้นวาอยางไร และธนาคารควรติดตอดวยไดหรือไม
2.2 Purpose คือความมุงหมายในการกูยืม ในการพิจารณาสินเชื่อเราตองการทราบ
วาเงินกูนั้นจะเอาไปใชอยางมีประสิทธิภาพหรือไม ถาดูจากงบดุล เงินกูจากธนาคารเอาไปใชใน
เรื่องใหญๆ 5 ประเภท คือ
9

- เอาไปใชเปนทุนหมุนเวียน
- เอาไปซื้อสินทรัพยหรือเครื่องจักร
- เอาไปใชชําระหนี้เจาหนี้อื่น
- เอาไปใชแทนทุน
- เอาไปใชบริโภค
2.3 Payment คือการชําระหนี้ เปนหัวใจในการพิจารณาใหสินเชื่อ เปนการ
พิจารณาวาผูกูมีความสามารถที่จะชําระหนี้เงินคืนใหธนาคารภายในระยะเวลาที่ตกลงไวไดหรือไม
เจาหนาที่สินเชื่อของธนาคารตองทราบที่มาของเงินที่จะชําระหนี้คืน และความสามารถชําระคืนได
ภายในกําหนดระยะเวลาหรือไม ความยากลําบากในการพิจารณาขอนี้คือ เจาหนาที่สินเชื่อจะตอง
พิ จ ารณาสิ่ ง ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต โดยใช ข อ มู ล ในอดี ต มาพิ จ ารณาประกอบ ซึ่ ง อาจมี สิ่ ง ที่
เปลี่ยนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้นไดในอนาคต ทําใหไมสามารถชําระหนี้ได
2.4 Protection คือหลักการปองกันโครงสรางของเงินกู จะตองรวมทางออกที่
ปองกันความเสี่ยงไวดวย ในเมื่อการดําเนินธุรกิจ หรือการจายเงินที่คิดไวไมเปนไปตามแผนที่วาง
ไวแตแรก หลักการปองกันสามารถแยกออกได 2 ประเภท คือ
(1) Internal หมายถึง ธนาคารจะมองจากผูกูเงินโดยเฉพาะ
(2) External หมายถึง จะมองถึงบุคคลภายนอกเขามารับผิดชอบหนี้สินดวยการ
ปองกันภายใน อาจมาจากหลักประกันของผูกูนั้นเอง หรือของบุคคลอื่น จะตองพิจารณาถึงผูที่
ควบคุ ม หลั ก ประกั น นั้ น ว า เป น ธนาคาร หรื อ ผูกู และสามารถจะขายได ทั น ที ห รื อไม ควรจะมี
สวนเกิน (Margin) เทาไร สวนเครดิตของธุรกิจนั้นจะวิเคราะหในแงของหนี้สินกับทุน และสภาพ
คลองของสินทรัพยนั้น หลักประกันภายนอกนั้นตามธรรมดาจะอยูในรูปการค้ําประกัน การสลัก
หลังการมอบอํานาจ หรือการรับซื้อคืนเงินกูที่ธนาคารใหโดยหวังพึ่งผูค้ําประกันเปนคนชําระอยาง
เดีย วมี ค วามเสี่ ย งภัย สู ง เพราะวา แหล งที่ มาของการชํา ระหนี้ม าจากแหลง เดี ย ว โดยมิ ไ ดมีก าร
พิจารณาถึงความสามารถชําระเงินของผูกูเปนอันดับแรก
2.5 Prospective (Overview) หมายถึงวาการพิจารณารวมๆ กันทั้งหมดทุกอยางวา
ควรจะใหกูหรือไม โดยเปรียบเทียบระหวางอัตราสวนของดอกเบี้ยกับการเสี่ยงภัยในธุรกิจนั้น
ธนาคารจะตองพิจารณาถึงความเสี่ยงที่เงินกูจะสูญ ความยุงยากในการเก็บ การเสียเวลาในการเปน
คดีความฟองรองจะตองนํามาพิจารณากับรายไดที่จะไดรับจากเงินกูนั้น และความสัมพันธกับลูกคา
รายนั้นในอนาคตในแงตางๆ ไดแก
10

- ดอกเบี้ยคูณกับระยะเวลาที่เงินกูคางอยู บวกกับคาธรรมเนียมตางๆ
- เงินฝากที่หักคาใชจายตางๆ แลว
- โอกาสที่จะไดลูกคาซึ่งอยูในเครือเดียวกันในปจจุบัน และอนาคตซึ่งเปนสิ่ง
ลําบากในการวิเคราะห
เนื่องจากนโยบาย 5 C (5 C’s Policy) และนโยบาย 5 P (5 P’s Policy) เปนหลักการดาน
สินเชื่อที่ธนาคารพาณิชยใชในการวิเคราะหคัดเลือกสินเชื่อลูกคาที่ดี โดยในการวิเคราะหนั้นจะ
พิจารณาคัดเลือกตัวแปรบางตัวจากหลักการ 5 C’s และ 5 P’s ซึ่งประกอบไปดวยปจจัยหลายๆ
ประการ ไดแก รายไดของผูกู อาชีพ ประสบการณในการทํางาน ความนาเชื่อถือ เปนตน ในสวน
ของธนาคารพาณิชยไทย จํากัด (มหาชน) ปจจุบันมีหลักการพิจารณาความเสี่ยงในการใหสินเชื่อ
โดยใชแนวคิดในการพิจารณา ดังนี้คือ
1. นโยบายธนาคาร (Policy)
- หลักประกัน
- ประเภทธุรกิจขัดตอนโยบายหรือไม
2. ความตั้งใจในการชําระหนี้ (Willingness)
- อยูระหวาง/เคยถูกดําเนินคดีหรือไม
- เคยผิดนัดชําระหนี้หรือไม
3. ความสามารถในการชําระหนี้ (Service Ability)
- ระยะเวลาที่ดําเนินธุรกิจ
- จํานวนผูซื้อ/ผูขาย
- ระดับการศึกษา
4. ความสามารถในการบริหาร (Management)
- ประสบการณของผูบริหาร
- รูปแบบกิจการ
- ระดับการศึกษา
5. หลักประกัน (Collateral)
- กรรมสิทธิ์
- เปนที่ประกอบการหรือไม
- ขัดกับ Policy หรือไม
11

1.2 แนวคิดและทฤษฎีดานการตลาดสําหรับธุรกิจใหบริการ
ผูศึกษานําแนวความคิดของ ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ(2541) ในเรื่องการจัดการธุรกิจ
บริการซึ่งไดกลาวถึงลักษณะของบริการ (Characteristics of Service) ไวหลายประการดังนี้
1. ไมสามารถจับตองได (Intangibility) บริการไมสามารถมองเห็นหรือเกิดความรูสึกได
กอนที่จะมีการซื้อบริการ ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยงของผูซื้อ ผูซื้อตองพยายามวางกฎเกณฑเกี่ยวกับ
คุณภาพและประโยชนจากบริการที่เขาจะไดรับ เพื่อสรางความเชื่อมั่นในการซื้อ ในแงของสถานที่
ตัวบุคคล เครื่องมือ วัสดุที่ใชในการติดตอสื่อสาร สัญลักษณ และราคา สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ผูขาย
บริการซึ่งในที่นี้หมายถึงธนาคาร
2. ไมสามารถแบงแยกการใหบริการ (Inseparability) การใหบริการเปนการผลิตและการ
บริโภคในขณะเดียวกัน กลาวคือ ผูขายรายหนึ่งสามารถใหบริการลูกคาในขณะนั้นไดหนึ่งราย
เนื่องจากผูขายแตละรายมีลักษณะเฉพาะตัว ไมสามารถใหคนอื่นบริการแทนได เพราะตองผลิตและ
บริโภคในเวลาเดียวกัน ทําใหการขายบริการอยูในวงจํากัดในเรื่องของเวลา เชน การชําระคางวด
ของลู ก ค า ต อ งรั บ ชํ า ระรายต อ ราย หรื อ การสอบถามยอดเงิ น คงค า งในบั ญ ชี ข องลู ก ค า ก็ ต อ ง
ใหบริการเปนรายๆ ไป
3. ไมแนนอน (Variability) ลักษณะของการบริการไมแนนอน ขึ้นอยูกับวาผูขายบริการ
เปนใคร จะใหบริการเมื่อไร ที่ไหน และอยางไร สําหรับผูขายบริการจะตองมีการควบคุมคุณภาพ
ซึ่งสามารถทําได 3 ขั้นตอน คือ
3.1 ตรวจสอบ คัดเลือก และฝกอบรมพนักงานที่ใหบริการ รวมทั้งมนุษยสัมพันธ
ของพนักงานที่ใหบริการ
3.2 การมีมาตรฐานในกระบวนการใหบริการที่มีสมรรถนะตลอดทั่วทั้งองคกร
3.3 ตองสรางความพอใจใหลูกคา โดยเนนการใชการรับฟงคําแนะนํา และ
ขอเสนอแนะของลูกคา การสํารวจขอมูลลูกคา และการเปรียบเทียบ ทําใหไดรับขอมูลเพื่อแกไข
ปรับปรุงบริการใหดีขึ้น
4. ไมสามารถเก็บไวได (Perish ability) บริการไมสามารถผลิตเก็บไวไดเหมือนสินคาอื่นๆ
ถาความตองการมีสม่ําเสมอ การใหบริการก็จะไมมีปญหา แตถาลักษณะความตองการไมแนนอน
จะทําใหเกิดปญหา คือ การบริการไมทัน หรือไมมีลูกคา เชน การอนุมัติสินเชื่อของธนาคาร หากมี
ลูกคามายื่นคําขอจํานวนมาก แตธนาคารอนุมัติลาชามีผลใหธนาคารตองมีตนทุนคาเสียโอกาสใน
การบริหารเงินทุนของธนาคารเอง อยางนี้เปนตน
12

ในการตอบสนองความตองการของลูกคาใหไดรับความพอใจ งานที่สําคัญของ
ธุรกิจใหบริการมี 3 ประการ ไดแก
1. ความแตกตางจากคูแขง (Competitive Differentiation) งานการตลาดของ
ผูขายบริการจะตองทําใหผลิตภัณฑแตกตางจากคูแขงขัน เปนการบากที่จะสรางใหเห็นขอแตกตาง
ของบริการอยางเด น ชัดในความรูสึกของลูก คา การพัฒนาคุณ ภาพการใหบริการที่เ หนื อกวาคู
แขงขัน สามารถทําไดในลักษณะตางๆ กลาวคือ
1.1 ลักษณะดานนวัตกรรม (Innovation Features) เปนการเสนอบริการในลักษณะ
ที่มีแนวคิดริเริ่มแตกตางจากบริการของคูแขงขันทั่วไป
1.2 การใหบริการพื้นฐานเปนชุด (Primary Service Package) ซึ่งไดแกสิ่งที่ลูกคา
คาดวาจะไดรับจากกิจการ
1.3 ลักษณะการใหบริการเสริม (Secondary Service Features) ไดแก บริการที่
กิจการมีเพิ่มเติมใหนอกเหนือจากบริการพื้นฐานทั่วไป
2. คุณภาพการใหบริการ (Service Quality) สิ่งสําคัญสิ่งหนึ่งในการสรางความ
แตกตางของธุรกิจบริการ คือ การรักษาระดับการใหบริการที่เหนือกวาคูแขงโดยเสนอคุณภาพการ
ใหบริการตามที่ลูกคาคาดหวังไว ขอมูลตางๆ เกี่ยวกับคุณภาพการใหบริการที่ลูกคาตองการจะได
จากประสบการณในอดีตจากการพูดปากตอปาก จากการโฆษณาของธุรกิจใหบริการ ลูกคาจะพอใจ
หากลูกคาไดรับในสิ่งที่ลูกคาตองการ เมื่อลูกคาตองการวิธีการสรางความแตกตางของธุรกิจบริการ
คือ การส งมอบบริ การที่ มี คุณ ภาพอยางสม่ําเสมอไดเ หนือ กวาคูแ ขง โดยการตอบสนองความ
คาดหวังในคุณภาพการใหบริการของผูบริโภค ความคาดหวังเกิดจากประสบการณในอดีต คําพูด
การโฆษณาของธุรกิจ ลูกคาเลือกธุรกิจใหบริการ โดยถือเกณฑภายหลังจากการรับการใหบริการ
ลูกคาจะเปรียบเทียบบริการที่รับรูกับบริการที่คาดหวัง หากบริการที่รับรูต่ํากวาบริการที่คาดหวังไว
ลูกคาจะไมสนใจ แตถาหากบริการที่รับรูสูงกวาความคาดหวังของลูกคา ลูกคาจะใชบริการซ้ํา และ
สิ่งที่จะทําใหผูใชบริการเห็นวาบริการมีคุณภาพ ไดแก
2.1 การเขาถึงลูกคา (Access) สถานที่ตั้งงายตอการเขาไปใชบริการสะดวกตอการ
ติดตอ เวลาในการไปใชบริการไมตองรอคอยนาน
2.2 การติดตอสั่งการ (Communication) มีการติดตอสื่อสารที่ดี มีการใชภาษาที่
ลูกคาเขาใจงาย อธิบายถึงสิ่งที่ใหบริการอยางถูกตอง
13

2.3 ความสามารถ (Competence) พนักงานที่ใหบริการตองมีทักษะ มีความรู


ความสามารถในงาน
2.4 ความมีน้ําใจ (Courtesy) พนักงานมนุษยสัมพันธ มีความเอาใจใสและมีความ
เปนกันเองกับลูกคา
2.5 ความนาเชื่อถือ (Credibility) ธนาคารและพนักงานตองสรางความนาเชื่อถือ
และความไววางใจในการบริการ โดยเสนอบริการที่ดีที่สุดแกลูกคา
2.6 ความไววางใจ (Reliability) การบริการที่ใหตอลูกคา ตองมีกฎเกณฑปฏิบัติที่
แนนอน มีความสม่ําเสมอ และถูกตอง
2.7 การตอบสนองลูกคา (Responsiveness) พนักงานตองสามารถใหบริการ
ตอบสนองตอความตองการของลูกคาไดอยางรวดเร็ว และสามารถแกไขปญหาใหลูกคาได
2.8 ความปลอดภัย (Security) การบริการที่ใหตองปราศจากอันตราย ความเสี่ยง
และปญหาตางๆ
2.9 การสรางบริการใหเปนที่รูจัก (Tangible) บริการที่ลูกคาไดรับจะทําใหลูกคา
สามารถคาดคะเนถึงผลลัพธที่ลูกคาจะไดรับจากการใชบริการ
2.10 การเขาใจและรูจักลูกคา (Understanding/Knowing Customer) พนักงาน
จะตองมีความเขาใจในความตองการของลูกคา และใหความสนใจตอบสนองความตองการดังกลาว
3. ประสิทธิภาพในการใหบริการ (Productivity) ในการเพิ่มประสิทธิภาพของการ
ใหบริการ ธุรกิจใหบริการสามารถทําได 6 วิธี คือ
3.1 การใหพนักงานทํางานมากขึ้นหรือมีความชํานาญสูงขึ้น โดยจายคาจางเทาเดิม
3.2 เพิ่มปริมาณการใหบริการ โดยยอมสูญเสียคุณภาพบางสวนลง
3.3 เปลี่ยนบริการใหเปนแบบอุตสาหกรรม โดยเพิ่มเครื่องมือเขามาชวยและสราง
มาตรฐานการใหบริการ
3.4 การใหบริการที่ไปลดการใชบริการหรือสินคาอื่นๆ
3.5 การออกแบบริการใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน การนําระบบ Queuing มาใช
ในการใหบริการของธนาคาร
14

3.6 การใหสิ่งจูงใจลูกคาใหใชแรงงานของตนเองแทนแรงงานของบริษัท เชน การ


ใหลูกคากรอกแบบฟอรมเอกสารดวยตนเองมาประกอบการพิจารณาดวย
ปณิศา ลัญชานนท (2548) ไดกลาวถึง การบริหารธุรกิจบริการแบบประสมประสาน 8
ประการ (The eight components of integrated service management) หมายถึง การวางแผนและการ
บริการกิจกรรมการตลาด (Marketing) การปฏิบัติการ (Operations) และทรัพยากรมนุษย (Human
resources) โดยใหมีการประสานงานกันเปนอยางดีเพื่อใหบรรลุความสําเร็จของธุรกิจ
นิติพล ภูตะโชติ (2550) สวนประสมทางการตลาดอุตสาหกรรมธุรกิจบริการ (Marketing
Mix for Hospitality industry) หมายถึง กลุมเครื่องมือทางการตลาดที่ทางธุรกิจ นํามาใชรวมเพื่อให
เกิดประโยชนสามารถบรรลุตามวัตถุประสงคและเปาหมายทางการตลาดของธุรกิจ นอกจากนี้ยัง
สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาใหไดรับความพึงพอใจ ซึ่งมีองคประกอบที่สําคัญ 8
ประการ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ผลิตภัณฑหรือบริการ (Product or Service) หมายถึง สิ่งที่ธุรกิจมีไวเพื่อนําเสนอขาย
ใหกับลูกคา หรือผูบริโภคผลิตภัณฑหรือบริการในอุตสาหกรรมบริการจะแตกตางกันกับธุรกิจที่
ผลิตสินคาเพื่อขาย เพราะปจจัยหลักของอุตสาหกรรมบริการ คือ การใหบริการซึ่งเปนบริการหลัก
(Core Service) และอุตสาหกรรมบริการจะมีบริการแกลูกคาที่แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภท
ของอุตสาหกรรมบริการนั้นๆ
2. ราคา (Price) ในอุตสาหกรรมบริการ ดานราคาจะมีความแตกตางจากธุรกิจที่ผลิตสินคา
เพื่อขาย ปจจัยที่ทําใหราคาของอุตสาหกรรมธุรกิจบริการ มีความแตกตางกับธุรกิจประเภทอื่น ดังนี้
2.1 อุตสาหกรรมธุรกิจบริการ มีคาใชจายอื่นๆ นอกจากตนทุน
2.2 อุตสาหกรรมธุรกิจบริการจะใชแรงงานจากพนักงานเปนหลัก
2.3 ลูกคามีความตองการความสะดวกสบาย รวดเร็ว ไมยุงยาก
2.4 ราคาคาบริการแตละชวงมีความแตกตางกัน
2.5 คุณภาพของการใหบริการจะเปนสิ่งหนึ่งในการกําหนดราคาบริการ
2.6 คุณภาพเครื่องมือและอุปกรณตางๆ ที่ใชในการใหบริการก็เปนอีกปจจัยหนึ่ง
ในการกําหนดราคาคาบริการ
3. สถานที่หรือชองทางการจัดจําหนาย (Place) เปนการเลือกใชชองทางการจัดจําหนาย
สินคาและบริการเพื่อไปใหถึงผูใชบริการ ธุรกิจบริการแตละประเภทอาจใชคนกลางมากนอย
แตกตางกัน แตสิ่งสําคัญคือ เพื่อกระจายสินคาและบริการที่มีอยูเพื่อใหไปทั่วถึงกลุมลูกคาเปาหมาย
15

ใหไดมากที่สุด จะจัดตั้งสถานที่ใหบริการที่ใดบาง จํานวนเทาไร ทําการขนสงอยางไรเพื่อความ


สะดวก รวดเร็ว ประหยัดและปลอดภัย
โดยปกติชองทางการจัดจําหนายของอุตสาหกรรมธุรกิจบริการ จะมีความแตกตางจาก
ธุรกิจประเภทอื่นๆ เพราะลูกคาจะเปนผูเดินทางไปใชบริการ ดังนั้นชองทางในการจัดจําหนายของ
อุตสาหกรรมธุรกิจบริการ จึงมีความสําคัญมาก เพราะจะทําใหสามารถเขาถึงกลุมลูกคาเปาหมายได
อยางทั่วถึง ปจจัยที่เกี่ยวของกับชองทางการจัดจําหนาย ประกอบดวย
3.1 ทําเลที่ตั้งของสถานบริการ (Locations)
3.2 เวลาการใหบริการ (Time of Service)
3.3 จํานวนสาขาที่ทั่วถึง (Distribution Coverage)
3.4 ระบบการบริหารจัดการ (Managing System)
3.5 การขนสง (Transportation)
3.6 การเขาถึงไดงาย (Accessibility)
3.7 การจัดเก็บและการดูแลรักษา (Storage)
3.8 ความรวดเร็วในการสั่งการ (Spend of Order)
3.9 การสงมอบบริการ (Delivery of Service)
3.10 ชองทางการจัดจําหนาย (Channel Distribution)
4. การสงเสริมการตลาด (Promotion) การสงเสริมการตลาดรวบรวมวิธีการหลากหลาย
ของการสื่อสารตลาดตางๆ ไมวาจะผานการโฆษณา กิจกรรมการขายโดยบุคลากร กิจกรรมสงเสริม
การขาย และรูปแบบอื่นๆ ทั้งทางตรงสูสาธารณะและทางออมผานสื่อ เชน การประชาสัมพันธ
5. กระบวนการ (Process) ในกลุมธุรกิจบริการ กระบวนการในการสงมอบบริการมี
ความสัมพันธเชนเดียวกับเรื่องทรัพยากรบุคคล แมวาผูใหบริการจะมีความสนใจดูแลลูกคาอยางดี ก็
ไมสามารถแกปญหาใหลูกคาไดทั้งหมด เชน การเขาแถวรอ ระบบการสงมอบบริการ จะครอบคลุม
ถึงนโยบายและกระบวนการที่นํามาใช ระดับการใชเครื่องจักรกลในการใหบริการ อํานาจตัดสินใจ
ของพนักงาน การที่มีสวนรวมของลูกคาในกระบวนการใหบริการ อยางไรก็ตามความสําคัญของ
ประเด็นปญหาดังกลาวไมเพียงแตจะสําคัญตอฝายปฏิบัติการเทานั้น แตยังมีความสําคัญตอฝาย
การตลาดดวย เนื่องจากเกี่ยวของกับความพอใจที่ลูกคาไดรับ จะเห็นไดวาการจัดการทางการตลาด
ตองใหความสนใจในเรื่องของกระบวนการใหบริการและการนําสง ดังนั้นสวนประสมการตลาดก็
ควรครอบคลุมถึงประเด็นของกระบวนการนี้ดวย
16

6. บุคลากร (People) ดานบุคลากรจะครอบคลุม 2 ประเด็นดังนี้


6.1 บทบาทของบุคลากร สําหรับธุรกิจบริการ ผูใหบริการนอกจากจะทําหนาที่
ผลิตบริการแลว ยังตองทําหนาที่ขายผลิตภัณฑบริการไปพรอมๆ กันดวย การสรางความสัมพันธกบั
ลูกคามีสวนจําเปนอยางมากสําหรับการบริการ
6.2 ความสัมพันธระหวางลูกคาดวยกัน คุณภาพการบริการของลูกคารายหนึ่งอาจ
มีผลมาจากลูกคาอื่นแนะนํามา ตัวอยางที่เกิดขึ้น เชน กลุมลูกทัวรหรือลูกคาจากรานอาหารที่บอก
ตอกันไป แตปญหาหนึ่งที่ผูบริหารการตลาดจะพบก็คือการควบคุมระดับของคุณภาพการบริการให
อยูในระดับคงที่
7. ผลิตภาพ (Productivity) จากการที่บริการเปนการกระทําของบุคคล 2 ฝาย เมื่อฝายหนึ่ง
ไดกระทําเพื่อใหเกิดงานบริการ อีกฝายหนึ่งก็จะไดรับบริการในเวลาเดียวกัน ไมสามารถแยกออก
จากกันได และไมสามารถเก็บเปนสินคาคงคลังไวได สงผลใหกิจการตองเขามาจัดการกับความ
ตองการซื้อบริการของลูกคาเพื่อใหความตองการบริการลูกคา กระจายไปในชวงเวลาตางๆที่
ใหบริการ เพื่อใหความตองการในแตละชวงเวลาตางๆ ในแตละชวงเวลาจะไดใกลเคียงกันดวย
นอกจากนี้ กิจการตองจัดการกับกําลังการผลิตงานบริการ เพื่อใหเกิดความสมดุลกับความตองการ
8. ลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) ธุรกิจบริการจํานวนไมมากนักที่นําลักษณะ
ทางกายภาพเขา มาใช ใ นการกํ า หนดกลยุ ท ธก ารตลาด แมว า ลั ก ษณะทางกายภาพจะเป น
สวนประกอบที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาหรือผูใชบริการก็ตามที่ปรากฏใหเห็น สวนใหญจะ
เปนการสรางสภาพแวดลอม การสรางบรรยากาศ การเลือกใชแสง สี และเสียงภายในราน เปนตน
หรือใชลักษณะทางกายภาพ เพื่อสนับสนุนการขาย เชน ยี่หอและคุณภาพของรถของบริษัทรถให
เชา ถุงสําหรับใสเสื้อผาซักแหงตองสะอาด เปนตน

1.3 แนวคิดและทฤษฎีดานการเงิน และการบริหารการเงิน


ความหมายของเงิน (Money) ในแงของเศรษฐศาสตร “เงิน” คืออะไรก็ไดที่สังคมยอมรับ
ใชเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน และมีมูลคาคอนขางคงที่
เหตุที่เราศึกษาเรื่องเงิน เพราะ ∆ Ms ของเงินมีผลตอตัวแปรทางเศรษฐกิจ เชน GNP, i, I, P
และการจางงาน
17

หนาที่ของเงิน (The function of Money) เงินสามารถทําหนาที่ซึ่งมีความสําคัญทาง


เศรษฐกิจ 4 ประการ คือ
1. เปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
- อํานวยความสะดวกใหแลกเปลี่ยนสินคาและบริการ ระหวางบุคคลในสังคม
เปนไปไดคลอง
- ชวยใหสามารถแบงงานกันทําและเกิดความชํานาญ (Division labor and
Specialization) ซึ่งทําใหเกิดความสะดวก และมีการขยายตัวในการซื้อขายมากยิ่งขึ้น
2. เปนมาตรฐานในการวัดมูลคา และเปนหนวยบัญชี (Standard of value and unit of
Account)
- เงินเปนเครื่องมือวัดมูลคาของสิ่งของและบริการตาง ๆ ทั้งนี้ดวยการเทียบคาของ
สิ่งของและบริการเหลานั้นออกมาเปนหนวยเงินตรา เชน หมูราคา กก.ละ 35 บาท ไขไกฟองละ 2
บาท เปนตน ในการทําบัญชี เพราะสามารถรวมมูลคาสิ่งของตางๆ เขาดวยกันไดเนื่องจากเปน
หนวยเดียวกัน
3. เปนมาตรฐานการชําระหนี้ภายหนา (Standard of deferred payment)
- สามารถชําระหนี้สินกันดวยเงิน ซึ่งอํานวยความสะดวกใหแกทั้งลูกหนี้และ
เจาหนี้
4. เปนเครื่องรักษามูลคา (Store of value)
- เงินเปนสินทรัพยรูปหนึ่งที่คนทั่วไปนิยมสะสมไวเปนสมบัติ ทั้งนี้เพราะเงินเปน
สินทรัพยที่มีสภาพคลองมากที่สุด สามารถซื้อสินคาและบริการทุกชนิดตามความตองการไดทันที
แตการสะสมทรัพยในรูปของเงินมีขอเสียอยูประการหนึ่ง คือ ไมเกิดดอกผลใหกับเจาของ ซึ่งตรง
กับหุน, พันธบัตร จะใหดอกผล
ประเภทของเงิน ปจจุบันมีเงินอยูหลายประเภทแยกออกได ดังนี้
1. เหรียญเงิน (Coin) ออกโดยกรมธนารักษ กระทรวงการคลังทําดวยโลหะ
2. ธนบัตร (Paper Money) เปนเงินที่พิมพโดยธนาคารกลาง ใชเปนสิ่งที่ชําระหนี้
ไดตามกฎหมาย
18

3. เงินธนาคาร (Bank Money) หมายถึง เงินฝากแบบกระแสรายวัน ที่เรียกวา (ธ.


แหงประเทศไทยเรียกเงินฝากเพื่อเรียก)
ขอ 1 + ขอ 2 = (เงินตรา)

2. งานวิจัยที่เกี่ยวของ
ชญานุช ผดุงลาภยศ (2550) ไดศึกษาปจจัยที่ทําใหเกิดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดของสินเชื่อ
กรุงไทย ธนวัฏ ในเขตราชวงศ กรณีศึกษา : สินเชื่อกรุงไทยธนวัฏของ บมจ.ธนาคารกรุงไทย จาก
การศึกษาพบวา ภาระหนี้ของผูกูที่มีหนี้คางชําระหรือหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดมาก มีภาระหนี้ใน
ปจจุบันตั้งแต 30,001 บาทขึ้นไป เปนผูที่มีสถานภาพสมรส มีอาชีพรับราชการครูเปนสวนใหญ มี
รายไดของครอบครัวมากกวา 8,000 บาทตอเดือนขึ้นไป มีอายุงานตั้งแต 14 ปขึ้นไป และเคยมีการ
โอนยายงานในรอบ 5 ปประมาณ 3 ครั้ง ซึ่งจะมีผลทําใหขาดการวางแผนที่ดีทางดานการเงิน และ
สงผลใหเกิดปญหาหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอสถาบันผูใหกู
ผลการศึกษาถึงปจจัยเกี่ยวกับธนาคารที่ใหกูพบวา ปจจัยสําคัญที่มีผลตอการเกิดปญหาหนี้
ที่ไมกอใหเกิดรายได คือเจาหนาที่ขาดการติดตามทวงถาม ขาดผูรับผิดชอบในการแกไขและติดตาม
หนี้ ความไมรัดกุมของหลักเกณฑและนโยบายในการใหสินเชื่อของสถาบันการเงินผูใหกู
สายชล ใจสันทัด (2542) ศึกษาเรื่องการศึกษาวิเคราะหหลักเกณฑในการพิจารณาสินเชื่อ
ในภาวะเศรษฐกิจ ถดถอยโดยมี วั ตถุป ระสงคเ พื่ อศึก ษาหลัก เกณฑ ใ นการพิจ ารณาสิ น เชื่ อ ของ
ธนาคารพาณิ ช ย ที่ จ ดทะเบีย นในประเทศไทยซึ่ งดํ า เนิ น การวิ จัย โดยใช แ บบสอบถามและการ
สัมภาษณเจาหนาที่อํานวยสินเชื่อผลการศึกษา พบวาหลักเกณฑในการพิจารณาสินเชื่อของธนาคาร
พาณิชยที่จดทะเบียนในประเทศไทยจะพิจารณาจากขอมูล 2 ประเภท คือ 1. ขอมูลเชิงคุณภาพ
ประกอบ ดวย ขอมูลลักษณะนิสัย ขอมูลความสามารถในการชําระหนี้ขอมูลเงินทุน ขอมูล
หลักประกัน ขอมูลภาวะเศรษฐกิจขอมูลเกี่ยวกับประเทศคูคาและขอมูลคูแขงขัน 2.ขอมูลเชิง
ปริมาณประกอบดวยขอมูลดานสินทรัพยเพื่อนําขอมูลมาวิเคราะหคุณภาพที่เกี่ยวกับหลักประกัน
มากที่สุดรองลงมาคือขอมูลที่เกี่ยวกับคุณสมบัติสวนตัวของลูกคาซึ่งผูวิจัยมีความเห็นวาหลักเกณฑ
ในการพิจารณาสินเชื่อในสภาวะ เศรษฐกิจถดถอยนี้ นอกจากจะคํานึงถึงขอมูล 2 ประการ ขางตน
ธนาคารพาณิชยควรให ความสนใจกับความสามารถในการประกอบวิชาชีพ และทางดานเงินทุน
ของลูกคาดวยเพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นจากการปลอยสินเชื่อ
19

จิราภรณ ธิยะสืบ (2552) ไดศึกษาเรื่องการบริหารสินเชื่อเพื่อลดปญหาหนี้ที่ไมกอใหเกิด


รายไดของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) สํานักงานเขตลําปาง ผลการวิเคราะหความสัมพันธ
ระหวางประวัติในการผิดนัดชําระหนี้และจํานวนครั้งในการปรับปรุงโครงสรางหนี้ กับลักษณะ
ทั่วไปของลูกหนี้ ซึ่งทดสอบโดยวิธีไค-สแควร (Chi-square Test ) กําหนดระดับนัยสําคัญที่ 0.05
พบวาประวัติในการผิดนัดชําระหนี้ มีความสัมพันธกับ รายไดเฉลี่ยตอเดือน ภาระการเลี้ยงดูสมาชิก
ในครอบครัว จํานวนเงินผอนชําระตองวด และจํานวนครั้งในการเขามาปรับปรุงโครงสรางหนี้กับ
ธนาคาร สวนจํานวนครั้งในการปรับปรุงโครงสรางหนี้ พบวามีความสัมพันธกับ รายไดเฉลี่ยตอ
เดือน ภาระการเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัว จํานวนเงินผอนชําระตองวด และประวัติในการผิดนัด
ชําระหนี้
ผลการศึ ก ษาความพึ ง พอใจของลู ก หนี้ ที่ มี ต อ มาตรการที่ นํ า มาใช ใ นการลดหนี้ ที่ ไ ม
กอใหเกิดรายได ทั้งหมด 6 มาตรการ พบวา ลูกหนี้มีความพอใจตอมาตรการทั้ง 6 อยูในระดับปาน
กลาง และเมื่อพิจารณาแตละมาตรการ พบวา มาตรการที่ลูกหนี้มีความพึงพอใจมากที่สุด ไดแก
มาตรการขยายระยะเวลาการชําระหนี้ระยะยาวออกไป หรือการปรับหนี้ระยะสั้นเปนหนี้ระยะยาว
ผลการศึกษาปญหาและอุปสรรคของลูกหนี้ที่มีตอมาตรการที่นํามาใชในการลดหนี้ที่ไม
กอใหเกิดรายได พบวา ดานบุคลากรของธนาคาร พนักงานสินเชื่อไมสามารถอธิบายมาตรการของ
ทางธนาคาร รวมถึงขั้นตอนการชําระหนี้ใหลูกหนี้เขาใจไดอยางถูกตองและชัดเจน ขณะที่ดาน
ผลิตภัณฑ ลูกหนี้ไมสามารถปฏิบัติตามมาตรการที่ทางธนาคารจัดใหเนื่องจากไมมีความสามารถใน
การชําระหนี้ สวนดานกระบวนการ ขั้นตอนการขออนุมัติปรับปรุงโครงสรางหนี้ใชเวลานานและ
ดานการสงเสริมการตลาด ธนาคารไมมีการประชาสัมพันธใหกับลูกหนี้ทราบวาธนาคารมีนโยบาย
ใหลูกหนี้สามารถเจรจาปรับปรุงโครงสรางหนี้ได
ชัยณรงค ดาวสุวรรณ (2544) ศึกษาหลักเกณฑในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อของสถาบัน
การเงินตัวอยางสําหรับโครงการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) การศึกษาหลักเกณฑ
การพิจารณาอนุมัติสินเชื่อสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม SMEs โดยมีวัตถุประสงค
ศึกษาวิธีการพิจารณาสินเชื่อสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม SMEs ซึ่งดําเนินการศึกษา
โดยการสัมภาษณผูบริหารและผูปฏิบัติการดานสินเชื่อของสถาบันการเงินตัวอยางและรวมถึง
ขอมูลที่ไดจากการศึกษาเอกสารโดยอาศัยขอมูลจากหนังสือ วิทยานิพนธ งานในอดีตผลการศึกษา
พบวาการพิจารณา การอนุมัติสินเชื่อสําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม SMEs นั้นการ
เตรียมขอมูล หรือแผนธุรกิจที่จะนํามาเสนอขอสินเชื่อประกอบดวยประวัติการชําระหนี้ 1 ปที่ผาน
พิจารณาการศึกษาของผูประกอบการอยูในระดับใดพิจารณาการทําธุรกิจของผูประกอบการอยูใน
20

ระดับใดพิจารณาดูจากคุณภาพมาตรฐานสินคาหรือระบบบริหารงานของผูประกอบการ พิจารณา
ความนาเชื่อถือของงบการเงินที่ไดจากผูประกอบการ การวิเคราะหเชิงปริมาณเปนการพิจารณาถึง
ความสามารถในการชําระหนี้ความสามารถในการทํากําไรจากเงินทุนของกิจการ อัตราหนี้สิน
สวนรวมตอสวนของผูถือหุนอัตราสวนสินทรัพยหมุนเวียนตอหนี้สินหมุนเวียน โดยพิจารณาสภาพ
คลองของผูกูแหลงเงินทุนสํารองของกิจการเพื่อดูวากิจการมีแหลงเงินทุนสํารองหรือแหลงเงินที่ยัง
ไมเบิกใชสําหรับการหมุนเวียนในกิจการหรือไมและการนําขอมูลทั้งหมดมาสรุปผลการพิจารณา
แตละรายการโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปเปนเครื่องมือในการสรุปผลขอมูลและยังคํานึงถึงความ
เปนไปไดของโครงการทั้งทางดานการเงินการตลาดและดานเทคนิคการผลิต รวมถึงความเสี่ยงตาง
ๆ ของโครงการที่คาดวาจะเกิดขึ้นตลอดจนความสามารถในการชําระหนี้ของลูกคาเปนสําคัญ
นอกจากนั้นสถาบันการเงินตัวอยางยังคํานึงถึงผลกระทบตอเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศเปน
ประการสําคัญในลักษณะของความสามารถที่จะกอใหเกิดการจางงานเพิ่มขึ้นและยังใหความสําคัญ
ตอโครงการสงออกซึ่งจะชวยทํารายไดใหประเทศ
บุญเลิศ เสถียรดี (2541) ศึกษาเรื่องปญหาและอุปสรรคในการพิจารณาสินเชื่อ กรณีศึกษา :
ธนาคารศรีนคร จํากัด (มหาชน) สาขาภายในเขตนครหลวง 5 ซึ่งประกอบดวยสาขา จํานวน 13
สาขา วัตถุประสงคของการศึกษาเพื่อ 1.เพื่อศึกษาถึงปญหาและอุปสรรคในกระบวนการพิจารณา
ใหสินเชื่อ 2.เพื่อศึกษาในเรื่องกระบวนการบริหารสินเชื่อการติดตามตลอดจนการประเมิน ผลการ
ใหสินเชื่อ การวิจัยในครั้งนี้จะทําการวิจัยในสวนของปจจัยภายในเฉพาะบุคคล 3 ประเด็น หลักคือ
1.ความรูความเขาใจในนโยบายสินเชื่อของธนาคาร 2.ความรูความเขาใจในขอบเขตความ
รับผิดชอบของงานบริหารสินเชื่อ 3.ความรูความเขาใจในการวิเคราะหสินเชื่อ วิธีการวิจัยเปนการ
สํารวจความคิดเห็นของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานสินเชื่อของธนาคารโดยใชแบบสอบถามแจกให
กลุมประชากรศึกษาตอบจํานวน 61 ชุด และไดรับแบบสอบถามคืนมาครบทั้ง 61 ชุด คิดเปน 100
เปอรเซ็นต แลวนําผลที่ไดจากแบบสอบถามมาวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมSPSS/PC ตัวแปรที่ใช
ในการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธแบงออกเปน 2 ตัวแปรคือ 1.ตัวแปรอิสระไดแกปจจัยภูมิหลังของ
เจาหนาที่พิจารณาสินเชื่อ 2.ตัวแปรตาม ไดแกปญหาและอุปสรรคในการพิจารณาสินเชื่อ จาก
ผลการวิจัยพบวาปจจัยภูมิหลังของเจาหนาที่สินเชื่อไมมีความสัมพันธกับปญหาและอุปสรรคใน
การพิจารณาใหสินเชื่อ
นเรศวร สุกัณศีล (2539) ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอหนี้จัดชั้นของธนาคารพาณิชยหนึ่งใน
จังหวัดเชียงใหมพบวา ลูกหนี้ขาดประสบการณและมีความรูในการบริหารธุรกิจที่กูยืมเงินไปลงทุน
ไมดีพอ ดังนั้นจึงมีผลกระทบตอรายไดตอบแทนจากการลงทุนซึ่งมีจํานวนนอยไมเพียงพอแกการ
ชําระหนี้คืนได นอกจากนี้ลูกหนี้ยังปดบังขอมูลที่แทจริงตอธนาคารทําใหเมื่อเกิดปญหาตอธุรกิจ
21

นั้นๆ แลวธนาคารไมสามารถติดตามชวยแกไขปญหาใหได ประกอบกับลูกหนี้มีหนี้ภายนอกระบบ


ธนาคารที่เสียดอกเบี้ยในอัตราสูงและมุงชําระหนี้เหลานั้นกอน จึงเปนผลกระทบตอวงจรหมุนเวียน
ของเงินในระบบธนาคาร และทําใหธุรกิจยิ่งซบเซาและขาดสภาพคลองมากยิ่งขึ้น กลาวไดวาเพราะ
สาเหตุของการใชเงินที่ผิดวัตถุประสงคโดยลูกหนี้ ในสวนที่เกี่ยวกับหลักทรัพยค้ําประกันพบวา
หลักทรัพยบางประเภทเกิดปญหาเสื่อมสภาพและราคาตกต่ํา และเมื่อการชําระหนี้คืนมีการยืด
ระยะเวลาออกไป จึงยิ่งทําใหมูลคาหลักทรัพยใกลเคียงกับภาระหนี้มากขึ้น และในสวนที่เกี่ยวกับ
ภาวะเศรษฐกิจของประเทศก็พบวาสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจตลอดจนปญหาภัยธรรมชาติก็เปน
อุปสรรค และปญหาสําคัญที่ไมเอื้อตอการจําหนายผลผลิตที่ทําใหผูลงทุนเกิดรายไดที่เพียงพอชําระ
หนี้คืนได
บุษราคัม ไกรฤทธิ์ (2537) ไดทําการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการใหสินเชื่อของธนาคาร
พาณิชยในประเทศไทย : กรณีศึกษาในระดับภาค วัตถุประสงคหลักของการศึกษานี้ก็เพื่อศึกษาถึง
ปจจัย ที่มีผลตอการใหสินเชื่อของธนาคารพาณิชยในประเทศไทย โดยใชวิธีการทางเศรษฐมิติสราง
สมการในรูปของสมการ ถดถอยเชิงซอน และใชวิธีกําลังสองนอยที่สุดมาทําการ วิเคราะหหา
ความสัมพันธของการใหสินเชื่อในแตละภาคกับ ตัวแปรตางๆ โดยอาศัยขอมูลทุติยภูมิแบบอนุกรม
เวลาที่ รวบรวมจากหนวยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวของในชวง ระหวางป พ.ศ.2521-2534 จาก
ผลการศึกษาพบวาปจจัยที่เหมือนกันมีผลตอการให สินเชื่อตางกันในแตละภาคตามความสําคัญ
ของแตละปจจัย ซึ่งพบวาตัวแปรอิสระที่มีความสําคัญมากที่สุดคือ ผลิตภัณฑภาคที่แทจริงเฉลี่ยตอ
หัวในปที่ผานมา นั่นคือหากผูกูมีรายได มาก ความสามารถในการชําระหนี้ยอมมากขึ้น ทําให
ธนาคาร พาณิชยตองการปลอยสินเชื่อมากตามไปดวย รองลงมาไดแก จํานวนประชากรตอสาขา
ของธนาคารพาณิชย ปริมาณเงินฝาก ที่แทจริงของธนาคารพาณิชยและอัตราดอกเบี้ยเงินใหกูยืม ที่
แทจริงแกลูกคาทั่วไป ตามลําดับ จากการที่สินเชื่อของธนาคารพาณิชยมีความสําคัญ อยางมากตอ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นรัฐบาลควร มีการกําหนดนโยบายและมาตรการการใหธนาคาร
พาณิชย กระจายสินเชื่อไปยังภาคอื่นๆ โดยคํานึงถึงปจจัยสําคัญตางๆ ที่มีผลกระทบตอการให
สินเชื่อเพื่อชวยในการแกปญหาอยาง ถูกตอง ทั้งนี้เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหมีความเจริญ
เติบโตอยางทั่วถึง
22

3. เอกสารที่เกี่ยวของ
3.1 หนาที่รับผิดชอบของสํานักงานธุรกิจ
(1) การปฎิบัติงานใหบรรลุเปาหมายของธนาคาร
- การปฏิบัติงานดานการเพิ่มยอดสินเชื่อใหกับธนาคาร และปองกันลูกคาไมให
ยกเลิกวงเงินไปใชกับสถาบันการเงินอื่น
- การลดหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPLs)
- การเพิ่มธุรกรรมทางการเงินดานตางประเทศ
- การเพิ่มรายได และคาธรรมเนียมตางๆ เชน การหาเงินฝากภาคเอกชน การ
รับประกันคุณภาพการบริการ การบันทึกขอมูลในระบบของธนาคารใหถูกตองและเปนปจจุบัน
- การขายผลิตภัณฑและบริการ เพื่อสนับสนุนยอดขายใหกับบริษัทในเครือเชน
บัตรเครดิต ประกันชีวิต เปนตน
- การสงตอวงเงินสินเชื่อใหกับสายงานอื่นตามหนาที่ความรับผิดชอบ
- กระตุนใหลูกคาใชวงเงินในสวนที่มีวงเงินเหลืออยู
- การติดตามใหสินเชื่อที่ปลอยใหมตองไมเปน NPLs ภายใน 1 ป
(2) การดูแลลูกคาในความรับผิดชอบ
- ดูแลลูกคาในความรับผิดชอบและพัฒนาความสัมพันธอยางตอเนื่อง ตองเปนที่
ปรึกษา ใหคําแนะนําชวยเหลือลูกคาได และออกไปเยี่ยมเยียนลูกคาเพื่อสัมพันธภาพที่ดี
- เปนผูประสานงานกับสาขาและหนวยงานอื่นเพื่อใหงานเกิดความตอเนื่อง
- เปนผูเจรจาตอรองกับลูกคาเพื่อจัดประเภทสินเชื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงค
ในการขอกู
- การตออายุสัญญากู การจัดอันดับความเสี่ยง หรือ Risk Rating และจัดทํารายงาน
การใชวงเงินของลูกคาทุกสิ้นเดือน
23

(3) หนาที่ในการอํานวยสินเชื่อ
- หนาที่ในการอํานวยสินเชื่อจะตองมีการรวบรวมเอกสารหลั กฐานจากลูกคา
ตรวจสอบขอมูล เอกสาร ภาระหนี้ฯ เพื่อประกอบการพิจารณาสินเชื่อและทําการวิเคราะหสินเชื่อ
- ติ ด ตามควบคุ ม การใช ว งเงิ น ให เ ป น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค ติ ด ตามทวงถาม
ปรับปรุงหนี้ พิจารณาทบทวนผลประกอบการของธุรกิจ
- รับผิดชอบการประกันภัย การลงนามเปนพยาน การจัดเก็บเอกสาร แฟม สัญญา
โฉนด ฯลฯ เพื่อปองกันขอมูลของลูกคาสูญหาย
- รับผิดชอบการบันทึกขอมูลในระบบใหถูกตองและเปนปจจุบัน
(4) หนาที่ในการพัฒนาตนเอง
ผูที่ทํางานดานสินเชื่อจะตองหมั่นศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ตองศึกษาและเขาใจระเบียบ
ปฏิบัติของธนาคาร เชนอํานาจการอนุมัติสินเชื่อ ตองเขาใจธุรกิจและความเสี่ยงของลูกคา มี
จิตสํานึกดานการตลาด
(5) การปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชา
24

3.2 กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานดานสินเชื่อ
ในดานกระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานดานสินเชื่อ มีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ดัง
แสดงในแผนภาพดังนี้

วิเคราะหขอมูล จัดทําบันทึกเสนอ
รวบรวมขอมูล การทํานิติกรรมสัญญา การติดตาม
ประเมินหลักประกัน อนุมัติสินเชือ่

- ถูกตอง - Credit Bureau - ทําบันทึกเสนอ - ทํานิติกรรมสัญญา - ติดตามให


- ครบถวน - BOL ตามระเบียบ ตามระเบียบ ลูกคาปฏิบัติ
- เปนปจจุบัน - Statement ธนาคาร ธนาคาร ตามเงื่อนไข
- ตรวจสอบได - ประเมินราคา - Full From - ติดตามการ
หลักประกัน - Short From ผอนชําระหนี้
- ปรับปรง/หารือ - อนุมัติสินเชือ่ - ติดตาม
- หาขอสรุป กิจการลูกคา
เชน Visit
ภาพที่ 1 กระบวนการและขัน้ ตอนการปฏิบัติงานดานสินเชื่อ

3.3 หลักเกณฑและแนวทางการวิเคราะหสินเชื่อของธนาคาร
1. หลักเกณฑและแนวทางการวิเคราะหสินเชื่อ (ดานการเงิน)
ตารางที่ 1 สรุปสูตรการวิเคราะหสภาพคลองทางการเงิน
RATIOS สูตรที่ใชคํานวณ
Liquidity Ratios
Current Ratio สินทรัพยหมุนเวียน
หนี้สินหมุนเวียน
Quick Ratio เงินสดและเงินฝากธนาคาร + หลักทรัพยในความตองการ
ของตลาด + ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ
หนี้สินหมุนเวียน
Modified Current Ratio* Cash Flow From Operating
หนี้สินหมุนเวียนถัวเฉลี่ย
25

ตารางที่ 2 สรุปสูตรการวิเคราะหความสามารถในการหากําไร
RATIOS สูตรที่ใชคํานวณ
Profitability Ratios
Gross Profit Margin กําไรขั้นตน
ยอดขาย
Operating Profit Margin* EBIT
ยอดขาย
Net Profit Margin กําไรสุทธิ
ยอดขาย
Return On Total Asset กําไรสุทธิกอนหักดอกเบี้ยจายและภาษี
(อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยรวม) สินทรัพยรวมโดยเฉลี่ย
Return On Equities กําไรสุทธิ – เงินปนผลหุนบุริมสิทธิ์
(อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน) สวนของผูถือหุนสามัญโดยเฉลี่ย
หมายเหตุ # Ratio ที่มีเครื่องหมาย* การใชขอมูลในการวิเคราะหใหอยูในดุลยพินิจ
สําหรับ Ratio อื่น ใหใชเปนมาตรฐานในการวิเคราะหทุก Ratio
26

ตารางที่ 3 สรุปสูตรการวิเคราะหความสามารถ (ประสิทธิภาพ) ในการดําเนินงาน


RATIOS สูตรที่ใชคํานวณ
Efficiency Ratios
Account Receivable Turnover ยอดขายเชื่อ
ลูกหนี้การคาโดยเฉลี่ย
Account Receivable in Days 365
Account Receivable Turnover
Inventory Turnover :
กิจการซื้อมาขายไป ตนทุนขาย
- Inventory Turnover สินคาสําเร็จรูปคงเหลือเฉลี่ย
- จํานวนวันถัวเฉลี่ยที่สินคาอยู 365
ในสต็อค Inventory Turnover
กิจการผลิต
- Raw Material Turnover ตนทุนวัตถุดิบใชไป
วัตถุดิบคงเหลือถัวเฉลี่ย
- จํานวนวันถัวเฉลี่ยทีว่ ัตถุดบิ อยู 365
ในสต็อค Raw Material Turnover
- Work in process Turnover ตนทุนสินคาผลิตเสร็จ
งานระหวางทําถัวเฉลี่ย
- จํานวนวันเฉลี่ยที่สินคาอยูใน 365
กระบวนการผลิต Work in process Turnover
- Finished Goods Turnover ตนทุนขาย
สินคาสําเร็จรูปคงเหลือเฉลี่ย
- จํานวนวันถัวเฉลี่ยที่สินคา 365
สําเร็จรูปอยูในสต็อค Finished Goods Turnover
27

ตารางที่ 3 สรุปสูตรการวิเคราะหความสามารถ (ประสิทธิภาพ) ในการดําเนินงาน (ตอ)


RATIOS สูตรที่ใชคํานวณ
Accounts Payable Turnover ยอดซื้อเชื่อ
เจาหนี้การคาถัวเฉลี่ย
Accounts Payable in Days 365
Accounts Payable Turnover

ตารางที่ 4 สรุปสูตรการวิเคราะหโครงสรางของเงินทุนหรือภาระหนีส้ ิน
RATIOS สูตรที่ใชคํานวณ
Leverage Ratios
Debt Ratios หนี้สินรวม
สินทรัพยรวม
Debt to Equity Ratio หนี้สินรวม
สวนของผูถือหุน
Times Interest Earned กําไรกอนหักดอกเบี้ยจายและภาษี
ดอกเบี้ยจาย
Debt Coverage Ratio กําไรกอนหักดอกเบี้ยจายและภาษี
ดอกเบี้ยจาย + เงินตน + เชาซื้อ

ตารางที่ 5 สรุปสูตรการคํานวณอัตราการเติบโต
RATIOS สูตรที่ใชคํานวณ
Growth Ratios (ยอดขายปนี้ – ยอดขายปกอน) x 100
Sales Growth ยอดขายปกอน
Net Profit Growth (กําไรสุทธิปนี้ - กําไรสุทธิปกอน) x 100
กําไรสุทธิปกอน
Total Assets Growth (สินทรัพยรวมปนี้ – สินทรัพยรวมปกอน) x 100
สินทรัพยรวมปกอน
28

2. การประมาณการเงินทุนหมุนเวียน และการกําหนดวงเงินสินเชื่อทุกประเภท
(1) การประมาณการเงินทุนหมุนเวียน
ตามหลั ก การทางการเงิ น เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นของธุ ร กิ จ สามารถคํ า นวณได จ ากการนํ า
(สินทรัพยหมุนเวียน - หนี้สินหมุนเวียน) ธนาคารในฐานะผูใหการสนับสนุนสินทรัพยหมุนเวียน
และหนี้สินหมุนเวียน เฉพาะในสวนที่เกี่ยวพันโดยตรงกับการคาของธุรกิจ และมีขอมูลสนับสนุน
ในการคํานวณ เบื้องตนใชวิธีคํานวณดังนี้

ในประเทศ = ยอดขาย x % ตนทุนขาย x % ขายเชือ่ x ระยะเวลา


/365
ตางประเทศ = ยอดขาย x % ตนทุนขาย x % ขายเชือ่ x ระยะเวลา/365
ลูกหนี้การคา XXX,XXX

วัตถุดิบ = ยอดขาย x % ตนทุนวัตถุดิบ x ขายเชื่อ x ระยะเวลา /365


สินคาระหวางผลิต = ยอดขาย x % ตนทุนการผลิต x ระยะเวลา/365
สินคาสําเร็จรูป = ยอดขาย x % ตนทุนขาย x ระยะเวลา/365

สตอควัตถุดิบ/สินคาสําเร็จรูป XXX,XXX
ในประเทศ = ยอดขาย x % ตนทุนวัตถุดิบ x % ซื้อเชื่อ x% ซื้อในประเทศ x
ระยะเวลา /365
ตางประเทศ = ยอดขาย x % ตนทุนวัตถุดิบ x % ซื้อเชื่อ x% นําเขา x ระยะเวลา /365

เจาหนี้การคา (XXX,XXX)

เมื่อไดเงินทุนหมุนเวียนที่ธุรกิจตองการใชแลว จึงนําเงินทุนหมุนเวียนที่มีอยูเดิมมาหัก
ออก ก็จะไดเงินทุนหมุนเวียนที่ตองการเพิ่ม
เงินทุนหมุนเวียนที่ตองการ XXX,XXX
เงินทุนหมุนเวียนที่มีอยูเดิม (XXX,XXX)
เงินทุนหมุนเวียน ที่ตองการเพิ่ม XXX,XXX

ทั้งนี้ ผลลัพธที่ได เปนเพียงความตองการเงินทุนหมุนเวียนอยางคราวๆ การพิจารณาขั้น


สุดทายในการกําหนดวงเงินสินเชื่อเพื่อธุรกิจนั้นๆ ไมจําเปนตองมีจํานวนเทากับตัวเลขที่ประมาณ
29

การได หากเปนวงเงินสินเชื่อที่สามารถควบคุมวัตถุประสงคไดระดับหนึ่ง เชน สินเชื่อเพื่อการ


สงออก, เลตเตอร ออฟ เครดิต, สินเชื่อเพื่อการนําเขา และจําเปนตองแขงขันกับสถาบันการเงินอื่นๆ
อาจพิจารณาวงเงินสินเชื่อเฉพาะวงเงินดังกลาว เกินกวาจํานวนเงิน ทุนหมุนเวียนที่คํ านวณได
เงินทุนหมุนเวียน ในสวนของเจาหนี้การคา จะไมนับรวมเจาหนี้ธนาคาร ที่ใหวงเงินทั้งในประเทศ
(เลตเตอร ออฟ เครดิต, อาวัลตั๋วแลกเงิน, หนังสือค้ําประกันการซื้อสินคา) และตางประเทศ (เลต
เตอร ออฟ เครดิต, สินเชื่อเพื่อการนําเขา)
ตารางที่ 6 การคํานวณเงินทุนหมุนเวียน
วงเงิน สูตร การกําหนดเงือ่ นไขการใช ขอมูลและเอกสาร
วงเงินเพื่อปองกันความเสี่ยง ประกอบการพิจารณา
อาวัลตั๋ว ยอดขาย x% ตนทุน(ซื้อเชื่อ) x% - กําหนด Approved - ตรวจสอบเครดิตของ
แลกเงิน, ซื้อแบบ อาวัลตั๋วแลกเงิน, หนังสือ List/Sub limit ผูขาย
หนังสือค้ํา ค้ําประกัน(สินคา) x ระยะเวลา - ระยะเวลาไมเกิน 90-120 - ขอสําเนา Contract,
ประกัน /365 วัน Purchase Order,
(สินคา) - กําหนด 12 เดือน Review - ขอรายชือ่ และ
วงเงินทุกป รายละเอียดเจาหนี้
การคา(วงเงินที่ให
เครดิต, ระยะเวลาให
เครดิต)
เงินกูเบิก ประมาณการเงินทุนหมุนเวียน – - ตั๋วสัญญาใชเงิน กําหนด - มีเอกสารประกอบการ
เกินบัญชี, วงเงินทุนหมุนเวียน อื่นๆ ที่จัดสรร 12 เดือน, ตั๋วแตละฉบับไม ออกตั๋วฯ, ใบแจงหนี้
ตั๋วสัญญาใช ใหแลว เกิน 90 วัน หรือใบสงของหรือ
เงิน Invoice
หนังสือค้ํา ยอดขาย x%ตนทุนวัตถุดิบ/สินคา - ใหนํา Export Bill มาผาน - เอกสาร Export Bill
ประกัน x%การนําเขา xอัตราภาษี x ธนาคาร เชน L/C, B/L, Invoice
(ลอย) ระยะเวลา/365 - ตรวจสอบการนําเขา/
สงออกจาก
Statements/Slip ดาน
ตางประเทศ
30

ตารางที่ 6 การคํานวณเงินทุนหมุนเวียน (ตอ)


วงเงิน สูตร การกําหนดเงือ่ นไขการใช ขอมูลและเอกสาร
วงเงินเพื่อปองกันความเสี่ยง ประกอบการพิจารณา
หนังสือค้ํา มูลคางานทั้งป x อัตราหนังสือค้ํา - หนังสือค้ําประกัน(ซอง) - หนังสือค้ําประกัน
ประกัน ประกัน(%) x ระยะเวลา/365 อัตรา 5% ของมูลคางาน (ซอง) ระยะเวลา 3
(ซอง), - หนังสือค้ําประกัน(สัญญา) เดือน
(สัญญา), อัตรา 10% ของมูลคางาน - หนังสือค้ําประกัน
(ผลงาน) - หนังสือค้ําประกัน (สัญญา) ระยะเวลา
(ผลงาน) อัตรา 10-20% เทากับสัญญาจางฯ
ของมูลคางาน - หนังสือค้ําประกัน
(ผลงาน) ระยะเวลา 1
– 2 ป หลังจากงาน
เสร็จ
เงินกู 50%-70%x มูลคาสินทรัพยถาวร - D/E หลังกู 2-2.5 : 1 แต - ใหทํา Sensitivity
ประจํา หากเปนธุรกิจบริการ D/E Analysis โดยจัดทํา
หลังกูไมเกิน 1.5 : 1 Cash Flow เปน 3
- ใหลูกคาจายคาที่ดินเอง Scenarios ไดแก Best,
- ใหเบิกจายคางวดงานตาม Base, Worst Case
ราคาประเมิน/ราคา พรอมระบุขอ
กอสราง แลวแตราคาใดจะ สมมุติฐานใหชัดเจน
ต่ํากวา ถามูลคางานเกิน โดยคํานึงถึงความ
กวา 50.0 ลบ ใหสํานัก Sensitive ในเรื่องของ
หลักประกัน/บจ.พาณิชย Capacity, ราคาขาย,
ไทยแลนดแอนดเฮาส/ ตนทุนขาย, ดอกเบี้ย,
บริษัทประเมินอิสระที่ การเติบโตของภาวะ
ไดรับการรับรองประเมิน เศรษฐกิจ
กอน อุตสาหกรรมและ
- เบิกจายเงินกู ธุรกิจของลูกคา
31

ตารางที่ 6 การคํานวณเงินทุนหมุนเวียน (ตอ)


วงเงิน สูตร การกําหนดเงือ่ นไขการใช ขอมูลและเอกสาร
วงเงินเพื่อปองกันความเสี่ยง ประกอบการพิจารณา
- Cost Overrun ใหลูกคา - วิเคราะห NPV, IRR
ออกเงินลงทุนเอง ทุกครั้ง
- หามจายปนผล, คืนเงินยืม - ใหเปรียบเทียบกับ
กรรมการหรือกอหนี้เพิ่ม อุตสาหกรรมเดียวกัน
โดยไมไดรับความยินยอม และขนาดใกลเคียงกัน
จากธนาคาร ไปของเงินทุน พรอม
- ระยะเวลากูไ มเกิน 5-7 ป ขอสมมติฐานในการ
Grace Period ไมเกิน 1 – จัดทําที่ชัดเจน
2 ป - แผนที่ทําเลที่ตงั้
- หากโรงงานยังไมเริ่มผลิต - พิมพเขียวสิ่งปลูกสราง
หามใชวงเงิน Working , สัญญากอสราง,
Capital เวนแตจะไดรับ ใบอนุญาตกอสราง
อนุญาตจากธนาคาร Proforma Invoice,
- กรรมการบริษัทค้ําประกัน Purchase Order,
- ใหทําประกันภัยสิ่งปลูก Contract ของ
สราง/เครื่องจักร โอน เครื่องจักร
ประโยชนใหธนาคาร
- กําหนดคา Fee กรณี
Refinance 2%
Management 0.5 – 1%,
Commitment 1%
32

ตารางที่ 6 การคํานวณเงินทุนหมุนเวียน (ตอ)


วงเงิน สูตร การกําหนดเงือ่ นไขการใช ขอมูลและเอกสาร
วงเงินเพื่อปองกันความเสี่ยง ประกอบการพิจารณา
- กรณีเปด L/C สั่งซื้อ
เครื่องจักรใหทํา Forward
Contract, ใหทํา T/R 90-
180 วันและใหรีบจด
ทะเบียน, ประเมินราคา
และจํานองเครื่องจักรให
เรียบรอยภายในกําหนด
- เมื่อกอสรางเสร็จให
ประเมินราคาหลักทรัพย
ใหมใหเปนปจจุบัน
- การผอนชําระใหแยกเงิน
ตนและดอกเบีย้ โดยให
ชําระหนีภ้ ายในกําหนด
สัญญา
33

3. การจัดอันดับความเสี่ยง
ในการจัดอันดับความเสี่ยงของลูกคามีหลักเกณฑ ขอสมมุติฐาน ขอควรระวังและการ
ตรวจสอบขอมูลที่ใชในการจัดทํางบการเงินเพื่อการวิเคราะหและการจัดอันดับความเสี่ยงดังนี้
ตารางที่ 7 การจัดอันดับความเสี่ยง
รายการ หลักเกณฑขอสมมติฐานและการตรวจสอบ ขอควรระวัง กรณีที่ใชงบการเงินจริง
ขอมูลใชในการจัดทํางบการเงิน ของลูกคามาวิเคราะห
งบกําไรขาดทุน
1. ยอดขาย 1.1 จากการสอบถามลูกคา - คาขายต่ํากวาความเปนจริง
- ยอดขายปจจุบนั สัดสวนขายมี VAT และไม 1. ขายไมออกใบเสร็จ
มี VAT 2. ขายออกใบเสร็จแตไมลงบัญชี
- กําลังการผลิตและราคาตอหนวย 3. เกลี่ยยอดขายหลบในเงินกูยมื
- กรณีทราบตนทุนขาย สอบถาม Margin จาก กรรมการ
ลูกคาแลวคํานวณกลับหายอดขาย
- กรณียอดขายสัมพันธกับฤดูกาล ให
สอบถามยอดขายในและนอกฤดูกาล หา
สาเหตุที่ทําใหกําไรเพิ่มขึ้น/ลดลง, นโยบาย
ราคาของลูกคาแตละป
- เยี่ยมชมกิจการใหสังเกตสินคาใหม/เกา
เหลือมาก/นอยและสอบถามนโยบายสินคา
1.2 จากเอกสาร
- งบภายใน
- งบสรรพากร
- รายงานภาษีขาย
- ใบสงสินคา
1.3 จากยอดเงินเขาใน Bank Statement ทุก
บัญชี ซึ่งหักรายการนับซ้ํา รายการระหวาง
บัญชี Error และ Return
34

ตารางที่ 7 การจัดอันดับความเสี่ยง (ตอ)


รายการ หลักเกณฑขอสมมติฐานและการตรวจสอบ ขอควรระวัง กรณีที่ใชงบการเงินจริง
ขอมูลใชในการจัดทํางบการเงิน ของลูกคามาวิเคราะห
1.4 จาก Export Volume ที่ผานธนาคาร
พาณิชยไทย ถาสินคามีโควตาใหถาม
ปริมาณโควตา
1.5 จากอัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้
(Recievable Turnover)
2. ตนทุนขาย 2.1 จากการสอบถามลูกคา - ตนทุนขายอาจจะสูง/ต่ํากวาความเปน
2.2 จากเอกสาร จริง
- งบภายใน, งบสรรพากร 1. ไมรวมคาขนสง
- รายงานภาษีซื้อ 2. รวมดอกเบีย้ จาย
- ใบสั่งซื้อวัตถุดิบ 3. ไมรวมยอดซื้อวัตถุดิบบางสวน
2.3 จากคาเฉลี่ยอุตสาหกรรม (คาเฉลี่ยตนทุน
จากทุกบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกัน)
2.4 Cross Check กับลูกคารายอื่นๆ ที่มีธุรกิจ
ประเภทเดียวกันและขนาดธุรกิจใกลเคียงกัน
2.5 คํานวณตนทุน
ตนทุนขาย = สินคาตนงวด + ซื้อ –
สินคาปลายงวด
2.6 เปรียบเทียบตนทุนขายกับดานเดบิทจาก
Statement
3. คาใชจายใน 3.1 จากการสอบถามลูกคา รายละเอียดของ - มีรายการแปลกปลอมไดแก
การขายและ คาใชจายในการขายและบริหาร แลวนํามา 1. ซื้อวัตถุดิบ(ปองกันการขาดทุน)
บริหาร เทียบเคียงกับงบสรรพากร 2. คาเบี้ยประกันภัย (สวนของเจาของ)
3.2 Cross Check กับลูกคารายอื่นๆ ที่มีธุรกิจ 3. คาเชาซื้อกับคาเสื่อมราคา(กรณีเชา
ประเภทเดียวกันและขนาดธุรกิจใกลเคียงกัน ทรัพยสิน แตบันทึกในลักษณะเชาซื้อ)
3.3 แยกคาใชจายคงที่และผันแปร การปรับงบ 4. คาขนสงสินคาเขา
การเงินควรปรับกับคาใชจายผันแปร 5. ดอกเบี้ยจาย
35

ตารางที่ 7 การจัดอันดับความเสี่ยง (ตอ)


รายการ หลักเกณฑขอสมมติฐานและการตรวจสอบ ขอควรระวัง กรณีที่ใชงบการเงินจริง
ขอมูลใชในการจัดทํางบการเงิน ของลูกคามาวิเคราะห
4. ดอกเบี้ยจาย 4.1 ตามงบสรรพากร - บันทึกบัญชีไมครบถวน
4.2 คํานวณจากวงเงินสินเชือ่ ที่มีสถาบันการเงิน 1. หลบไวในคาใชจายในการขาย
ทุกแหง (กรณีลูกคาใชวงเงินนอย จะคูณอัตรา และบริหาร
การใชวงเงินดวย) 2. หักกลบกับดอกเบี้ยรับ
4.3 ดอกเบี้ยจายจริง จาก Bank Statement 3. หลบไวในบัญชีที่ดิน
4. ตั้งเปนคาใชจายรอตัดบัญชี
5. ภาษีเงินได 5. ตามงบสรรพากร - ไมแสดงเปนคาใชจาย แตกลับพบ
เปนภาษีคางจาย* ในงบดุล
6. รายไดอื่น 6.1 จากการสอบถามลูกคา
6.2 ตามงบสรรพากร
7. คาใชจาย 7.1 คาใชจายกอนเริ่มดําเนินงาน คาใชจายทั้ง 6 รายการ ปจจุบัน
อื่นๆ 7.2 คาใชจายในการตั้งบริษทั สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีใหตัด
7.3 คาฝกอบรม จายเปนคาใชจา ยทั้งจํานวนในปที่เกิด
7.4 คาสงเสริมการจําหนาย
7.5 คาโยกยายอาคารสถานที่
7.6 คาปรับโครงสรางองคกร
งบดุล
สินทรัพย
1. เงินสดและ 1.1 ตามงบสรรพากร - เงินฝากแสดงเปนทรัพยสิน แตไม
เงินฝาก 1.2 จากงบกระแสเงินสด พบ*ดอกเบีย้ รับ*ในงบกําไร
ธนาคาร 1.3 จากบัญชีเงินฝากธนาคาร ขาดทุน
- มีเงินฝากธนาคาร แตไมพบ*เงิน
ฝากธนาคาร*ในงบดุล มีแตเงิน
สด
36

ตารางที่ 7 การจัดอันดับความเสี่ยง (ตอ)


รายการ หลักเกณฑขอสมมติฐานและการตรวจสอบ ขอควรระวัง กรณีที่ใชงบการเงินจริง
ขอมูลใชในการจัดทํางบการเงิน ของลูกคามาวิเคราะห
2. ลูกหนี้ 2.1 จากการสอบถามลูกคา ถึงเงื่อนไขการขาย - ไมตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
การคา สินคา = ยอดขาย *สัดสวนการขายเชื่อ*
ระยะเวลา การเก็บหนี้ - บันทึกบัญชีต่ํากวาความเปนจริง
2.2 นําขอ 2.1 เปรียบเทียบกับงบสรรพากร ถา เนื่องจากบันทึกตามเกณฑเงินสด
ใกลเคียงกันใชงบสรรพากร แตถาแตกตางกัน - หลบเงินใหกยู มื กรรมการ/ลูกจาง
จะใชตามขอ 2.1 เขามาในบัญชีลูกหนี้
- ไมแปลงรายการบัญชีที่เปน
เงินตราตางประเทศเปนเงินบาท
3. สินคาคง 3.1 จากการสอบถามลูกคา ถึงมูลคาการสตอ - ไมตั้งคาเผื่อสินคาลาสมัย (ณ วันสิ้น
คลัง คสินคา หรือระยะเวลาการสต็อคสินคา งวดในทางปฏิบัติถาทราบราคาตลาด
= สตอควัตถุดิบ + งานระหวางทํา + สตอค ลดลงใหบันทึก
สินคาสําเร็จรูป Dr. ขาดทุนสินคาลาสมัย
วัตถุดิบ = ยอดขาย x% วัตถุดิบ x ระยะเวลา และ Cr. คาเผื่อสินคาลาสมัย
งานระหวางทํา = ยอดขาย x% วัตถุดิบ x ระยะ - หลบคาใชจา ยคลังสินคาไวในบัญชี
ระยะ สินคา
สินคาสําเร็จรูป = ยอดขาย x% ตนทุนขาย x
ระยะเวลา
3.2 นําขอ 3.1 เปรียบเทียบกับงบสรรพากร
เลือกใชจากคาที่สูงกวา
4. ที่ดิน 4.1 จากงบสรรพากร - ไมแยกสินทรัพยสวนตัวของ
อาคาร และ 4.2 กรณีที่ไมไดบันทึกรายการหลักทรัพยหรือ ผูบริหารออกจากบริษัท
อุปกรณสุทธิ บันทึกต่ํามากจะบวกเพิ่ม ดวยมูลคาหลักทรัพย - ไมตัดคาเสื่อมราคา
ตามราคาประเมินดวยธนาคารพาณิชยหักคา - นําเงินใตโตะ/ดอกเบี้ยจายหลบเขา
เสื่อมราคาตามอายุการใชงาน รายการที่ดิน
37

ตารางที่ 7 การจัดอันดับความเสี่ยง (ตอ)


รายการ หลักเกณฑขอสมมติฐานและการตรวจสอบ ขอควรระวัง กรณีที่ใชงบการเงินจริง
ขอมูลใชในการจัดทํางบการเงิน ของลูกคามาวิเคราะห
5. เงินใหกูยืม 5. ตามงบสรรพากร บวกเพิม่ ดวยสวนตาง
แกกรรมการ ระหวางรายการสินทรัพย และรายการหนีส้ ิน
และลูกจาง และสวนของผูถือหุน ซึ่งไดทําการ Recast
หมดทุกรายการแลว (เปนรายการที่
ผูประกอบการนําผลกําไรไปใชสวนตัว)
6. สินทรัพย 6. ตามงบสรรพากร
อื่นๆ
หนี้สินและ
สวนของผูถือ 7.1 จากงบสรรพากร เปรียบเทียบกับวงเงินที่มี
หุน อยู และอัตราการใชวงเงิน - หายไปจากงบดุลเพราะยายไปหัก
7. เงินเบิกเกิน 7.2 จากยอดหนีจ้ ริงใน Bank Statement กลบกับเงินฝาก
บัญชีและเงิน 7.3 กรณีที่ไมมีขอมูล 7.1 – 7.2 ถาไมบันทึกใน - มีการเลื่อนรายการบัญชีไปแสดงใน
กูยืมธนาคาร งบสรรพากรคํานวณโดยสมมติฐานวาลูกคาใช หนี้สินระยะยาวเพื่อให Current Ratio
เต็มวงเงิน มีคาสูงขึ้น
8. เจาหนี้ 8.1 จากการสอบถามลูกคา ถึงเงื่อนไขการซื้อ - ไมแปลงคาเงินเจาหนี้เงินสกุลตรา
การคา สินคา = ยอดซื้อวัตถุดิบตนทุนขายตอเดือน * ตางประเทศเปนเงินสกุลบาท
สัดสวนการซือ้ เชื่อ* ระยะเวลา ที่ไดเครดิต - บริษัทบางแหงชอบยายเจาหนี้ไปหัก
(เดือน) กลบลบหนี้กนั (ทําใหรายการหายไป
8.2 คํานวณยอนกลับจาก Days Payable ของ จากงบดุล)
งบสรรพากรกรณีเปรียบเทียบกับเงื่อนไขการซื้อ
สินคาแลวมีระยะใกลเคียงกันโดยใชตนทุนขาย
ที่ Recast แลว
8.3 จากงบสรรพากร กรณีที่ Days Payable
ใหมที่คํานวณไดเปรียบเทียบกับเงื่อนไขการซื้อ
สินคาแลว ใกลเคียงกัน
38

ตารางที่ 7 การจัดอันดับความเสี่ยง (ตอ)


รายการ หลักเกณฑขอสมมติฐานและการตรวจสอบ ขอควรระวัง กรณีที่ใชงบการเงินจริง
ขอมูลใชในการจัดทํางบการเงิน ของลูกคามาวิเคราะห
9. คาใชจาย - บันทึกไวไมครบจํานวนทีม่ ีภาระ
คางจาย ผูกพัน
10. เงินกูยืม 10.1 ตามงบสรรพากร เปรียบเทียบกับวงเงิน
ระยะยาว สินเชื่อที่มีกับสถาบันการเงินทุกแหง
10.2 จากยอดหนี้จริงใน Bank Statement
11. เงินกูยืม 11.1 ตามงบสรรพากร บวกเพิ่มดวยสวนตาง - นํายอดขายมาหลบไวในรายการนี้
กรรมการ ระหวางรายการสินทรัพย และรายการหนีส้ ิน (ควรตรวจดูสญ ั ญากูกับกิจการวาทําไว
และสวนของผูถือหุน ซึ่งไดทําการ Recast เมือ่ ไร)
หมดทุกรายการแลว
11.2 เปรี ย บเทีย บกับ การใช ว งเงิ น สิน เชื่ อกั บ
ลูกคา หากมีการใชวงเงินสินเชื่อนอย แสดงวา
มีการใชทุนสวนตัวมาก สอดคลองกัน
11.3 บางครั้งลูกคาหลบยอดขายเขาบัญชีเงินยืม
กรรมการเพื่อหลีกเลี่ยงภาษี
12. หุนกู - กูเงินมาแลวแตไมผานสัญญาใหฝาย
บัญชีลงบันทึกบัญชี
- ไมเลื่อนหนี้สนิ ระยะยาวที่ใกลครบ
กําหนดชําระภายใน 1 ป ไปเปน
หนี้สินระยะสัน้
13. ทุนเรือน 13. ตามหนังสือรับรองบริษัท
หุน
14. กําไร 14.1 จากงบกําไรสะสม
สะสม 14.2 กรณีที่ไมไดปรับสวนตางของรายการ
สินทรัพยและรายการหนี้สินและสวนของผูถือ
หุน ในเงินกูยมื จากกรรมการจะนําสวนตางมา
ปรับปรุงใหกําไรสะสม
39

หมายเหตุ.- รายการสัมพันธกัน ไดแก กําไรสัมพันธกับภาษีเงินได, เงินฝากสัมพันธกับ


ดอกเบี้ยรับ, เงินกูสัมพันธกับดอกเบี้ยจาย สวนลด คาธรรมเนียมธนาคาร, สินทรัพยถาวรสัมพันธ
กับคาเสื่อมราคา
4. เครื่องมือ RAROC
ตามที่ธนาคารแหงประเทศไทย ไดกําหนดใหธนาคารพาณิชยทุกแหงเขาสูหลักเกณฑการ
บริหารความเสี่ยงตามแนวทางของ Basel II (Basel II เปนเกณฑมาตรฐานสากลอันหนึ่งที่ผูกํากับ
ดูแลในประเทศตางๆ นํามาปรับใชในการกํากับดูแลการบริหารความเสี่ยงของสถาบันการเงิน ดวย
การกําหนดใหสถาบันการเงินมีเงินกองทุนเพียงพอที่จะรองรับความเสี่ยงหรือความเสียหายที่ไมได
คาดการณไว ทั้งนี้ สถาบันการเงินจะตองพัฒนาเครื่องมือการติดตามดูแลการดําเนินธุรกิจของ
ตนเองวามีความเสี่ยงในดานใด มากนอยแคไหน รวมถึงทําอยางไรจึงจะลดความเสี่ยงนั้นได) ซึ่ง
จะตองมีการดํารงเงินกองทุนตามความเสี่ยงของลูกคาแตละราย ลูกคาที่มีความเสี่ยงสูงจะตองดํารง
เงินกองทุนสูง ทําใหธนาคารตองมีการปรับตัวในการบริหารความเสี่ยง โดยเฉพาะสินเชื่อ ซึ่งเปน
สินทรัพยที่ใหญที่สุดของธนาคาร สิ่งที่สําคัญคือการบริหารพอรตสินเชื่อใหมีคุณภาพ และ
ผลตอบแทนที่ไดรับจะตองคุมกับคาความเสี่ยง ดังนั้นจึงตองพิจารณาผลตอบแทนในรูปของ
RAROC (Risk Adjusted Return on Capital) ซึ่งเปนผลตอบแทนเทียบกับเงินกองทุนและคํานึงถึง
คาความเสี่ยงดวย
ฝายบริหารความเสี่ยงดานสินเชื่อ สายงานบริหารความเสี่ยงและบรรษัทภิบาล จึงไดพัฒนา
เครื่องมือเพื่อชวยใหสายงานดานสินเชื่อมีเครื่องมือในการพิจารณาอัตราผลตอบแทนที่ไดรับจาก
ลูกคา (RAROC) โดยแปลงความเสี่ยงใหเปนตัวเลขเพื่อสามารถนําไปคํานวณเปรียบเทียบระหวาง
ลูกคาที่มีความเสี่ยงแตกตางกันได โดยไดพัฒนา เปน Web-based Application เพื่อความสะดวกใน
การใชงาน
40

4. กรอบแนวคิดในการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดมีแนวคิดในการศึกษา โดยทําการศึกษาวิธีการพิจารณาสินเชื่อ
ของธนาคารกรุงสยาม จํากัด (มหาชน) โดยใชเครื่องมือ Risk Adjusted Return on Capital
(RAROC) ซึ่งเปนระบบที่ธนาคารนํามาใชเพิ่มเติมในการพิจารณาสินเชื่อเพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหกับ
ธนาคาร โดยใชกําไรทางเศรษฐศาสตรเปนตัวชี้วัด ทั้งนี้เนื่องจากวิธีการพิจารณาสินเชื่อเดิม ไมได
คํานึงถึงกําไรที่หักคาความเสี่ยงแลวจากการปลอยสินเชื่อของลูกคา ซึ่งทําการศึกษาวาลูกคาที่มี
กําไรทางเศรษฐศาสตรมากกวาศูนย หรือมีคาเปนบวกจากการคํานวณดวยระบบจะมีโอกาสเปน
ลูกหนี้ดอยคุณภาพในอนาคตหรือไม โดยใชกลุมตัวอยางเปนลูกคาในความดูแลของสํานักงาน
ธุรกิจรุงเรือง สังกัด บมจ.ธนาคารกรุงสยาม ทั้งหมดทั้งที่มีสถานะหนี้ปกติ และที่มีสถานะเปนหนี้ที่
ไมกอใหเกิดรายไดหรือ NPLs มาวิเคราะหยอนกลับวา หากในอดีตมีการนําระบบนี้มาใช ลูกหนี้
ปกติที่นํามาทดสอบจะผานเกณฑการพิจารณาหรือไม และ ลูกหนี้ NPLs ที่นํามาทดสอบจะผาน
เกณฑการพิจารณาหรือไม ทั้งนี้ไดศึกษาสาเหตุการเกิดหนี้ NPLs จากรายงานผลการดําเนินงาน
และการติดตามหนี้ของสํานักงานธุรกิจรุงเรือง สังกัด บมจ.ธนาคารกรุงสยาม รวมดวยเพื่อใชเปน
แนวทางในการพิจารณาสินเชื่อเพื่อใหไดสินเชื่อที่มีคุณภาพตอไป

You might also like