โจทย์กลศาสตร์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 30

1

โจทย์กลศาสตร์ สสวท. ค่าย 1 (มกราคม 2564)


1. เครืองบินลําหนึงต้องการเคลือนทีไปทางทิศเหนือจากจุด A ไปยังจุด B และกลับมาทีจุด A
ในวันทีไม่มีลม เครืองบินบินด้วยอัตราเร็วคงที 𝑣 และใช้เวลาไปกลับเท่ากับ 𝑇
-

ในวันต่อมามีลมพัดด้วยความเร็วคงที 𝑘𝑣 (0 < 𝑘 < 1) ในทิศทางทํามุม 𝜃 กับเส้นตรง AB นักบินต้องการรักษาอัตราเร็ว


𝑣 เทียบกับอากาศ และให้เครืองบินเคลือนทีในแนวเส้นตรง AB ไปกลับใช้เวลาเท่ากับ 𝑇
a) จงพิสจู น์ว่า
𝑇 √1 − 𝑘 sin 𝜃
=
𝑇 1−𝑘
b) จงเขียนกราฟระหว่าง 𝑇⁄𝑇 และ 𝜃 (0 ≤ 𝜃 ≤ 𝜋) พร้อมกับหา 𝜃 ทีทําให้ 𝑇 น้อยทีสุด
2. ในวันทีไม่มีลม เครืองบินเคลือนทีด้วยอัตราเร็วคงที 𝑣 เป็ นวงกลมในแนวระดับ 1 รอบใช้เวลา 𝑇 ถ้ามีลมพัดด้วยอัตราเร็ว
คงที 𝑘𝑣 ในทิศทางหนึงในแนวระดับ จงแสดงว่าเวลาทีเครืองบินใช้ในการเคลือนที 1 รอบจะเพิมขึนประมาณ 3𝑘 𝑇⁄4 ถ้า
𝑘≪1
3. อนุภาคมวล 𝑚 มีประจุไฟฟ้า 𝑄 เคลือนทีภายใต้สนามโน้มถ่วงสมําเสมอ 𝑔 ในแนวดิง และสนามไฟฟ้าสมําเสมอ 𝐸 ใน
แนวระดับในทิศทาง +x เริมต้นอนุภาคมีความเร็วต้น 𝑢 ทํามุม 𝜃 (𝜃 > 0) กับแกน +x
a) จงแสดงว่า range (ระยะทางในแนวระดับขณะทีอนุภาคกลับมาอยู่ทีความสูงเดียวกันกับจุดเริมต้น) คือ
2𝑢 sin 𝜃 𝑄𝐸
Range = sin 𝜃 + cos 𝜃
𝑔 𝑚𝑔
b) จงหามุม 𝜃 ทีทําให้ได้ range มากทีสุด
4. รถยนต์คนั หนึงกว้าง 2.0 m เคลือนทีเป็ นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที 8.0 m. s ไปตามขอบถนน ชายคนหนึงยืนอยู่ทขอบ

ถนนตัดสินใจข้ามถนนเมือรถยนต์อยู่ห่างจากตัวเขา 12.0 m และเขาจะข้ามถนนด้วยความเร็วคงที 𝑣 โดยเดินเป็ นเส้นตรง
จงหาความเร็ว 𝑣 ทีน้อยทีสุดทีเขาสามารถข้ามถนนได้อย่างปลอดภัยพอดี

5. เชือกเส้นหนึงยาว 𝑅 มีวตั ถุมวล 𝑚 ทีปลายข้างหนึง และปลายอีกข้างหนึงถูกตรึงไว้ทจุี ด 𝑃 ใต้จดุ 𝑃 มีหมุด 𝑃 ซึงอยู่


ตําลงมาเป็ นระยะ 3𝑅⁄7

เริมต้นเชือกอยู่ในแนวระดับ จากนันปล่อยให้วตั ถุเคลือนที จงแสดงว่าวัตถุจะเคลือนทีขึนไปได้สงู สุดเป็ นระยะ 27𝑅⁄28


จากจุดตําสุดของการเคลือนที
2

6. วัตถุมวล 𝑚 มีโครงสร้างภายในประกอบด้วยมวล 2 ส่วนซึงยึดเหนียวกันอยู่ เริมต้นวัตถุนีเคลือนทีเป็ นเส้นตรงโดยมี


พลังงานจลน์ 𝐸 ต่อมาเกิดแยกออกเป็ น 2 ส่วน ส่วนหนึงมีมวล 𝛼𝑚 และอีกส่วนหนึงมวล (1 − 𝛼)𝑚 โดยทีทังสองส่วน
เคลือนทีทํามุม 𝜃 เท่ากันกับแนวการเคลือนทีของวัตถุก่อนแยก จงแสดงว่า “พลังงานยึดเหนียว” มีค่าอย่างน้อย 𝐸 tan 𝜃
7. ในการเล่นบาสเกตบอล ขว้างลูกบอลออกไปด้วยความเร็วต้น 𝑢 ทํามุม 𝜃 กับแนวระดับ เพือให้ลกู บอลลงห่วงซึงอยู่หา่ ง
ออกไปเป็ นระยะทาง 𝐿 ในแนวระดับและอยู่สงู ℎ ในแนวดิงจากจุดทีขว้างลูกบอลออกไป (ไม่คาํ นึงถึงขนาดของลูกบอล
และแรงต้านจากอากาศ)

a) จงแสดงว่าจะมีค่า 𝑢 ทีสามารถทําให้ลกู บอลลงห่วงได้ก็ต่อเมือ tan 𝜃 > 2ℎ⁄𝐿


b) จงแสดงว่ามุม 𝜃 ทีใช้ความเร็วต้นน้อยทีสุดเป็ นไปตามสมการ
ℎ ℎ
tan 𝜃 = + +1
𝐿 𝐿
8. แมลงตัวหนึงเคลือนทีด้วยความเร็วเชิงมุมคงที 𝜃̇ = 𝜔 ตามเส้นทาง spiral ตามสมการ 𝑟 = 𝑒 √ จงหาขนาดของมุม
ระหว่างความเร็วและความเร่ง

9. อนุภาคตัวหนึงเคลือนทีด้วยอัตราเร็วคงที 𝑣 ตามเส้นทาง 𝑟 = 𝑘(1 + cos 𝜃) ใน plane polar coordiantes โดยที 𝑘 เป็ น


ค่าคงที
a) จงแสดงว่าความเร่งในแนวรัศมีมีค่าคงที
b) จงหา 𝜃̇ และขนาดของความเร่งลัพธ์เป็ นฟั งก์ชนั ของ 𝑟
3

10. สถานีอวกาศโคจรรอบโลกเป็ นวงกลม จุดศูนย์กลางมวลของสถานีอวกาศอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของโลกเป็ นระยะทาง


𝑅 ในยานอวกาศมีอนุภาคฝุ่นทีระยะห่าง ℎ (ℎ ≪ 𝑅) จากจุดศูนย์กลางมวลของยานอวกาศ

a) จงพิสจู น์ว่า
𝑑 ℎ ℎ
≈ 3𝑔
𝑑𝑡 𝑅
โดยที 𝑔 คือสนามโน้มถ่วง
b) กําหนดให้รัศมีโลกเท่ากับ 6370 km และสถานีอวกาศอยู่สูงจากพืนโลก 300 km เริมต้นอนุภาคอยู่ที ระยะ
ℎ(0) = 1.0 m จงคํานวณหาเวลาทีอนุภาคฝุ่นเคลือนทีระยะทางได้ 1.0 m (330 s)
11. ทรงกลมผิวเรียบ A เคลือนทีเข้าชนกับทรงกลม B ทีมีมวลเท่ากันซึงหยุดนิง ทิศทางการเคลือนทีของ A ก่อนชนและหลัง
ชนทํามุม 𝛼 และ 𝛽 ตามลําดับกับเส้น line of impact กําหนดให้ ที 𝑒 คือ coefficient of resitution

a) จงแสดงว่า
1−𝑒
cot 𝛽 = cot 𝛼
2
b) จงแสดงว่ามุมที A เบียงเบนไปจากการชน (angle of deflection) จะมีค่ามากทีสุดเมือ
1−𝑒
tan 𝛼 =
2
12. ปล่อยลูกบอลจากความสูง 𝐻 จากพืน กําหนดให้การชนระหว่างลูกบอลและพืนมี coefficient of resitution เท่ากับ 𝑒
a) จงแสดงว่าระยะทางทังหมดทีลูกบอลเคลือนทีได้คือ
1+𝑒
𝑠 = 𝐻
1−𝑒
b) จงแสดงว่าเวลาทังหมดทีลูกบอลใช้ในการเคลือนทีคือ
1+𝑒 2𝐻
𝑇 =
1−𝑒 𝑔
4

13. “จรวด 2 ตอน” ประกอบด้วยลําตัว 2 ส่วนมวล 𝑀 และ 𝑀 เมือมีเชือเพลิงเต็ม และมีมวล 𝑚 และ 𝑚 เมือเชือเพลิงหมด
ทังสองตอนอาศัยการปล่อยแก๊สด้วยความความเร็ว 𝑢 เทียบกับตัวจรวด หลังจากทีตอนที 1 เชือเพลิงหมดแล้ว ลําตัวมวล
𝑚 ถูกปลดทิงไปก่อนทีจะเริมปล่อยแก๊สเพือขับเคลือนตอนที 2

a) จงแสดงว่าความเร็วของตอนที 2 เมือเชือเพลิงหมดคือ
𝑀 (𝑀 + 𝑀 )
𝑣 = 𝑢 ln
𝑚 (𝑚 + 𝑀 )
b) พิจารณากรณีทีไม่ได้ได้ปลดลําตัวตอนที 1 ทิงเมือเชือเพลิงหมด จงแสดงว่าความเร็วในข้อ a) สูงกว่าความเร็ว
ในกรณีนีอยู่
𝑀 (𝑚 + 𝑚 )
𝑢 ln
𝑚 (𝑚 + 𝑀 )
14. หยดนําฝนตกลงมาภายใต้สนามโน้มถ่วง สมมติให้ขณะทีหยดนําฝนมีมวล 𝑚 และความเร็ว 𝑣 จะมีมวลเพิมขึนด้วยอัตรา
𝑑𝑚
= 𝜆𝑚 𝑣
𝑑𝑡
โดยที 𝜆 > 0 เป็ นค่าคงทีของการแปรผัน 𝛼 และ 𝛽 เป็ นตัวเลขค่าคงที กําหนดให้เริมต้น 𝑚 = 0 และสนามโน้มถ่วง 𝑔 มี
ค่าคงที ไม่ตอ้ งคํานึงถึงแรงต้านจากอากาศ
a) จงแสดงว่า
𝑑𝑣 𝑣 𝑔
𝑣 + = 𝑚
𝑑𝑚 𝑚 𝜆
b) จงแสดงว่า
𝑚 ∝ 𝑣( )⁄( )
, 𝛼≠1
c) จงแสดงว่าความเร่ง
𝑑𝑣 1−𝛼
= 𝑔, 𝛼≠1
𝑑𝑡 2+𝛽−𝛼
15. ฉี ดลํานําความหนาแน่น 𝜌 พืนทีหน้าตัด 𝐴 ด้วยความเร็วคงที 𝑉 ในแนวระดับเข้าใส่ผนังของภาชนะ นําทีฉี ดตกลงใส่
ภาชนะ

เริมต้นภาชนะมีมวลเท่ากับ 𝑀 มีความเร็วต้นเป็ นศูนย์ และสามารถเคลือนทีบนพืนทีไม่มีความเสียดทาน จงแสดงว่า


ความเร็วของภาชนะทีเวลา 𝑡 คือ

2𝜌𝐴𝑉
𝑢(𝑡) = 𝑉 1 − 1 + 𝑡
𝑀
5

16. ปล่อยโซ่ความยาว 𝐿 ให้ตกลงในแนวดิงบนพืนโดยเริมต้นให้ปลายโซ่ดา้ นล้างสัมผัสพืนพอดี เมือปลายบนตกลงมาเป็ น


ระยะทาง 𝑥 ความยาวของโซ่ขอ้ สุดท้ายทีอยู่เหนือพืนยาว 𝑑𝑥 มีมวล 𝑑𝑚 = 𝜌𝑑𝑥 กําลังถูกถ่ายโอนให้กบั โซ่ส่วนทีอยู่บนพืน
สมมติให้การถ่ายโอนนีเป็ นไปอย่างต่อเนือง กําหนดให้แรง 𝑁 และ 𝑁 กระทําต่อโซ่ขอ้ สุดท้ายนีเนืองจากกองโซ่บนพืน
และจากโซ่ทเหลื
ี อทีกําลังเคลือนลงมาตามลําดับ

a) จงแสดงว่า
𝑁 𝑥̇
𝑥̈ = 𝑔 +
𝑁 +𝑁 𝐿−𝑥
b) ถ้าสมมติให้ 𝑁 = 0 (ห่วงโซ่แต่ละอันไม่ออกแรงต่อกัน) จงหาแรงทีพืนโต๊ะกระทําต่อโซ่เป็ นฟั งก์ชนั ของ 𝑥 และ
แสดงว่า ณ ขณะทีโซ่ทงเส้
ั นอยู่บนโต๊ะ แรงนีจะเท่ากับสามเท่าของนําหนักโซ่
c) สมมติว่าเราออกแบบโซ่ใหม่ให้มี 𝑁 = 𝑁 ⁄5 จงแก้สมการในข้อ a) เพือหาความเร็วเป็ นฟั งก์ชนั ของ 𝑥
d) จงอภิปรายตอนที 𝑥 = 𝐿
17. โซ่สมําเสมอยาวมากพันรอบหมุนอยู่บนโต๊ะ เริมต้นให้โซ่ส่วนหนึงห้อยจากขอบโต๊ะ นําหนักของโซ่ส่วนทีห้อยจากขอบโต๊ะ
จะถึงโซ่ลงมาและทําให้ส่วนทีพันรอบหมุดบนโต๊ะค่อย ๆ คลายออก

กําหนดให้ส่วนทีห้อยจากขอบโต๊ะมีความยาว 𝑥(𝑡) และเริมต้น 𝑥(0) = 𝑥 เราจะวิเคราะห์การเคลือนทีโดยใช้แบบจําลอง


2 แบบในข้อ a) และ b)
a) เมือห่วงของโซ่ทีขอบโต๊ะเคลือนทีโดยมีความเร็ว 𝑥̇ มันจะไปดึงห่วงของโซ่อันถัดไปให้ตกลงมาด้วยความเร็ว
เท่ากัน (เป็ นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น) จงใช้กฎของนิวตันเพือแสดงว่า
𝑔 2𝑥
𝑥̈ = 1+
3 𝑥
6

b) สมมติให้พลังงานของโซ่คงที จงพิสจู น์ว่า


𝑔 𝑥
𝑥̈ = 1+
2 𝑥
[เมือ 𝑥 ≫ 𝑥 สังเกตว่าทังสองวิธีให้ความเร่งไม่เท่ากัน เราสามารถทําการทดลองเพือทดสอบได้]
18. ยิงวัตถุขึนไปในแนวดิงด้วยความเร็วต้น 𝑢 ทีจุด (0, 0, 0) ณ บริเวณเส้นศูนย์สตู ร กําหนดให้ 𝜔 เป็ นอัตราเร็วเชิงมุมของ
การหมุนของโลก

a) พิจารณาแรง Coriolis จงแสดงว่า


𝑑 𝑦
= −2𝜔(𝑢 − 𝑔𝑡)
𝑑𝑡
b) จากข้อ a) จงแสดงว่าวัตถุตกลงมาสู่พนที
ื ระยะห่าง 4𝜔𝑢 ⁄3𝑔 ไปทางตะวันตกจากจุดทียิง
c) จงใช้กฎของนิวตัน
𝑑 𝑦
= −𝑔 sin 𝜔𝑡
𝑑𝑡
เพือพิสจู น์คาํ ตอบในข้อ b)
d) จงใช้กฎอนุรกั ษ์โมเมนตัมเชิงมุมเพือพิสจู น์คาํ ตอบในข้อ b)
19. รูปแสดงระบบทีประกอบด้วยโลก (รัศมี 𝑎) และดวงจันทร (มวล 𝑀 และห่างจากจุดศูนย์กลางของโลกเป็ นระยะทาง 𝑑)
พิจารณาองค์ประกอบแรง tidal force 𝐹 ทีกระทําต่อมวลทดสอบ 𝑚 ทีจุด 𝑃(𝑥, 𝑦)

a) จงแสดงว่า
2𝐺𝑀𝑚 𝐺𝑀𝑚
𝐹 = 𝑥, 𝐹 = − 𝑦
𝑑 𝑑
โลกถูกปกคลุมด้วยนํา กําหนดให้ระดับนํามีความสูง ℎ ทีจุด P และมีความสูง ℎ ทีจุด C สมมติให้ความสูงของระดับนํา
น้อยกว่ารัศมีของโลกมาก และค่าสนามโน้มถ่วงของโลกคงทีเท่ากับ 𝑔
7

b) โดยการอินทิเกรตงาน 𝑑𝑊 = 𝐹 𝑑𝑥 + 𝐹 𝑑𝑦 จากจุด 𝐶(0, 𝑎) ถึงจุด 𝑃(𝑎 cos 𝜃 , 𝑎 sin 𝜃) แล้วให้เท่ากับการ


เปลียนแปลงพลังงานศักย์โน้มถ่วงของมวลทดสอบ จงหา ℎ − ℎ
c) จากข้อ b) จงแสดงว่า ทีจุด A มีระดับนําสูงกว่ามีจุด C อยู่
3𝐺𝑀𝑎
ℎ −ℎ =
2𝑔𝑑
d) ปริมาตรของนําคงที กําหนดให้ ℎ เป็ นความสูงของนําถ้าไม่มีแรง tidal force จงหา ℎ (𝜃)
20. แผ่นวัตถุมวล 𝑚 มีรูปร่าง 𝑛 เหลียมด้านเท่าซึงแต่ละด้านยาว 𝐿 จงพิสจู น์ว่าโมเมนต์ความเฉือยของการหมุนรอบแกนที
ผ่านจุดศูนย์กลางและตังฉากกับระนาบของแผ่นคือ
𝑚𝐿 2 + cos(2𝜋⁄𝑛)
𝐼 =
12 1 − cos(2𝜋⁄𝑛)
21. ในปี 1846 Edouard Roche กล่าวว่าถ้าดวงจันทร์อยู่ใกล้ดาวเคราะห์มากเกินไป จะทําให้ดวงจันทร์แตกออกเนืองจากแรง
tidal force เราต้องการหาลิมิตว่าดวงจันทร์อยูใ่ กล้ดาวเคราะห์ได้ไม่เกินเท่าใดจึงจะไม่เกิดการแตกออกนี

เราสร้างแบบจําลองให้ดวงจันทร์ประกอบด้วยทรงกลม 2 ลูกขนาดเท่ากันอยู่ชิดกัน กําลังโคจรรอบดาวเคราะห์ (รัศมี 𝑅)


โดยมีรศั มีของวงโคจรเท่ากับ 𝑟 ถ้า 𝑟 น้อยเกินไปจะทําให้ทรงกลมทัง 2 ลูกแยกออกจากกันได้ กําหนดให้ดาวเคราะห์มี
ความหนาแน่น 𝜌 และทรงกลมทีเป็ นดวงจันทร์มีความหนาแน่น 𝜌 สมมติให้ 𝑟 มากกว่ารัศมีของทรงกลมมาก ๆ จง
พิสจู น์ว่า ณ วงโคจรทีทรงกลมทังสองแยกจากกันพอดี
𝜌 /
𝑟 ≈ 2.29𝑅
𝜌
(Roche พิสจู น์ได้ numerical factor 2.44)
8

22. พิจารณาวัตถุทรงกลมรัศมี 𝑅 มวล 𝑀 ทีมีความหนาแน่นแปรผกผันกับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลม


a) จงพิสจู น์ว่าโมเมนต์ความเฉือยรอบแกนทีผ่านจุดศูนย์กลางคือ 𝐼 = 𝑀𝑅 ⁄3
b) สมมติให้โลกมีความหนาแน่นประมาณแบบจําลองในโจทย์ขอ้ นี และมีการเสียพลังงานเนืองจากแรงจากดวง
จันทร์ประมาณ 3 × 10 J ต่อปี โลกมีมวล 5 × 10 kg และรัศมี 6 × 10 m จงคํานวณหาการเปลียนแปลง
คาบการหมุนของโลกต่อปี (8.2 × 10 s)
23. ลูกโลกของเล่นเป็ นทรงกลมตัน มีมวล 𝑀 และรัศมี 𝑅 หมุนรอบแกน (แกน NS) ได้อย่างไม่มีความเสียดทาน สมมติให้แกน
หมุนถูกตรึงไว้ เริมต้นลูกโลกหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม 𝜔 แมลงตัวหนึงซึงมีมวล 𝑚 เริมต้นจากขัวโลกเหนือเดินตามเส้น
เมอริเดียน (เส้นทีลากจากขัวโลกเหนือมายังขัวโลกใต้บนผิวทรงกลม) เส้นหนึงด้วยความเร็วคงที 𝑣

a) จงแสดงว่าขณะทีแมลงเดินได้ระยะทาง 𝑅𝜃 อัตราเร็วเชิงมุมของลูกโลกจะเป็ น
𝜔
𝜔 =
5𝑚
1+ sin 𝜃
2𝑀
[Hint: ใช้กฎอนุรกั ษ์โมเมนตัมเชิงมุม]
b) จงพิสจู น์ว่าในช่วงเวลาทีแมลงเดินมาถึงขัวโลกใต้ ลูกโลกหมุนไปเป็ นมุม
𝜋𝜔 𝑅 1
∆𝜙 =
𝑣 1 + (5𝑚⁄2𝑀)
[Hint: ใช้ sin 𝜃 = (1 − cos 2𝜃)/2 และ ∫ 𝑑𝑥⁄(𝑎 + 𝑏 cos 𝑥) = 2𝜋⁄√𝑎 − 𝑏 , 𝑎 > 𝑏]
24. ทรงกลมตันรัศมี 𝑟 กลิงโดยไม่ไถลด้วยอัตราเร็วเชิงมุม 𝜔 รอบจุดศูนย์กลางไปบนพืนในแนวระดับ เข้าชนกับขอบของก้อน
อิฐทีถูกตรึงไว้และมีความสูง ℎ = 𝑟⁄2 ขอบตังฉากกับทิศทางการเคลือนทีของทรงกลม สมมติให้ขอบฝื ดมากจนไม่ทาํ ให้
เกิดการไถล

จงแสดงว่าทรงกลมจะสามารถไต่ขึนก้อนอิฐได้ถา้
2 35𝑔
𝜔 >
9 𝑟
9

25. วงแหวนรัศมี 𝑅 มวล 𝑚 มีจุด O เป็ นจุดศูนย์กลาง ด้านในวงแหวนมีอนุภาคมวล 𝑚 ติดอยู่ทีจุด P วงแหวนสามารถกลิง


โดยไม่ไถลบนพืนโดยทีระนาบของวงแหวนตังฉากกับพืน เริมต้นวงแหวนหยุดนิงโดยมี OP อยู่ในแนวระดับ

จงแสดงว่าเมือ OP บิดไปเป็ นมุม 𝜃 จะมี


𝑔 sin 𝜃
𝜃̇ =
𝑅(2 − sin 𝜃)
26. ดาวเทียมมีวงโคจรรอบโลกเป็ นรูปวงรี โดยมี eccentricity 𝑒 = 0.2 จงหาอัตราส่วนของอัตราเร็วของดาวเทียมที perigee
ต่ออัตราเร็วของดาวเทียมที apogee
27. อนุภาคมวล 𝑚 มีวงโคจรเป็ นรูปพาราโบลารอบมวล 𝑀 ซึงอยู่กับที ระยะทางทีใกล้ทีสุดระหว่างมวลทังสองคือ 𝑏 จงหา
โมเมนตัมเชิงมุมของอนุภาค
28. อนุภาคเคลือนทีเป็ นวงรีภายใต้แตงซึงแปรผกผันกับระยะทางกําลังสอง และมี eccentricity 𝑒 จงแสดงว่าอัตรส่วนของ
อัตราเร็วเชิงมุมทีมากทีสุดต่ออัตราเร็วเชิงมุมทีน้อยทีสุดคือ
1+𝑒
1−𝑒
29. พิจารณาวงโคจรวงรีของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ กําหนดให้อตั ราเร็วสูงสุดคือ 𝑣 และอัตราเร็วตําสุดคือ 𝑣 จง
พิสจู น์ว่าความเร็ว 𝑣 ของดาวเคราะห์ขณะทีอยู่ห่างจากจากแกนเอกมากทีสุดคือ
𝑣 = 𝑣 𝑣
30. อนุภาคมวล 𝑚 เคลือนทีเป็ นวงกลมภายใต้แรงเข้าสู่ศนู ย์กลาง
𝑘
𝐹(𝑟) =
𝑟
a) จงหาโมเมนตัมเชิงมุม และพลังงานรวมของอนุภาค
b) Comment คําตอบในข้อ a)
31. ดาวพุธ (M) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (S) โดยมี eccentricity 𝑒 = 0.2 จงหาว่าดาวพุธใช้เวลานานเท่าใด (ตอบในหน่วยปี
ของดาวพุธ) ในช่วงทีระยะทางระหว่างดาวพุธถึงดวงอาทิตย์มีคา่ มากกว่าความยาวของครึงแกนเอก semi-major axis

[Hint: สูตรของพืนทีวงรีคือ 𝜋𝑎𝑏 ]


10

32. อนุภาคโคจรเป็ นวงกลมรัศมี 𝑎 ภายใต้แรงทีผ่านจุดศูนย์กลางขนาด


𝐴 𝐵
𝑓(𝑟) = −
𝑟 𝑟
ต่อมาอนุภาคถูกรบกวน
a) จงแสดงว่าวงโคจรจะเสถียรก็ต่อเมือ 𝑎 𝐴 + 𝐵 > 0
[Hint: ใช้ −𝑓(𝑟) = 𝑚 𝑟̈ − 𝜃̇ 𝑟 และให้ 𝑟 = 𝑎 + 𝜂 โดยที 𝜂 ≪< 𝑎]
b) จงแสดงว่าวงโคจรใหม่จะเป็ นวงโคจรปิ ดถ้า
𝐵 𝑛 −1
=
𝑎 𝐴 𝑛 +1
เมือ 𝑛 เป็ นจํานวนเต็ม
33. วัน ที 2 เมษายน ค.ศ.1997 ดางหางเฮล-บอปป์ (Hale-Bopp) อยู่ใกล้ดวงอาทิ ตย์ม ากที สุด (ที จุด perihelion) โดยมี
ระยะห่าง 𝑟 จากดวงอาทิตย์ ทีจุดนีดาวหางมีอตั ราเร็ว 𝑣 กําหนดให้ความเร็วหลุดพ้นทีจุดนีคือ 𝑣
a) จงแสดงว่าทีจุด aphelion ดาวหางจะมีระยะทางจากดวงอาทิตย์
𝑟
𝑅 =
(𝑣 ⁄𝑣 ) − 1
กําหนดให้ 𝑟 = 0.914 AU 𝑣 = 44.01 km. s ดวงอาทิตย์มีมวล 1.989 × 10 kg 1 AU = 1.496 × 10 m และ
ใช้ 𝐺 = 6.673 × 10 Nm kg
b) ดาวหางเฮล-บอปป์ จะเคลือนทีมาทีจุด perihelion ครังถัดไปในปี ค.ศ. ใด
หมายเหตุ: คําตอบในข้อ b) มีความคลาดเคลือนเนืองจากการความคลาดเคลือนของ 𝑣 ทีจุด perihelion
34. โลกไม่เป็ นทรงกลมทีสมบูรณ์แบบ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2𝑅 ทีเส้นศูนย์สตู ร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 2𝑅(1 − 𝜂) ในแนวขัว
โลก ทําให้พลังงานศักย์ของอนุภาคมวล 𝑚 ทีตําแหน่ง (𝑟, 𝜃) มีเทอมแก้ไข (เพิมเข้าไปกับพลังงานศักย์ในกรณีโลกเป็ น
ทรงกลม)
𝜂𝐺𝑀𝑚𝑅
𝑈 = − (1 − 3 cos 𝜃)
5𝑟
โดยที 𝑀 คือมวลของโลก

พิจารณาการโคจรของดาวเทียมรอบโลกใน nearly circular orbit บนระนาบทีผ่านเส้นศูนย์สตู ร


a) จงแสดงว่าจุด perigee (จุดทีใกล้โลกมากทีสุด) ของดาวเทียมบิดไปด้วยอัตรา
3 𝑅 𝐺𝑀
𝜔 = 𝜂
5 𝑟 𝑟
b) กําหนดให้รศั มีของโลกเท่ากับ 6,378 km ทีเส้นศูนย์สตู ร และเท่ากับ 6,357 km ทีขัวโลก และดาวเทียมโคจรที
ระยะห่าง 645 km จากพืนโลก จงคํานวณหาอัตราการบิดข้อ a) (0.9/รอบ)
11

35. ยานอวกาศ (ไม่มีเครืองยนต์) มวล 𝑚 เคลือนทีเป็ นวงกลมรัศมี 𝑎 ภายใต้แรงดึงดูดของกลุ่มแก๊ส (gas cloud) ด้วยแรง
𝐹~𝑟 พบว่าเส้นทางของยานอวกาศจะผ่านกลุ่มแก๊สพอดี

a) จงหาค่า 𝑛
b) กําหนดให้ยานอวกาศมีโมมันตัมเชิงมุมเท่ากับ 𝐿 จงแสดงว่าคาบการเคลือนที 𝑇 = 2𝜋𝑚𝑎 ⁄𝐿
36. อนุภาคโฟตอนความถี 𝑓 มีพลังงาน 𝐸 = ℎ𝑓 และมี effective mass 𝑚 = 𝐸/𝑐 = ℎ𝑓⁄𝑐
สถานีอวกาศลําหนึงอยู่ห่างจากดาว (มวล 𝑀 รัศมี 𝑅) เป็ นระยะทาง 𝑑 จากผิวดาวซึงปล่อยโฟตอนความถี 𝑓 มาทีสถานี
อวกาศ การเปลียนแปลงสนามโน้มถ่วงทําให้ความถี ของโฟตอนทีมาถึงยานลดลงจาก 𝑓 เล็กน้อย จงหาความถี ที
เปลียนไป ∆𝑓 (ตอบในรูปของ 𝐺, 𝑀, 𝑅, 𝑑, 𝑐 และ 𝑓 )
[Hint: ประมาณให้ 𝐺𝑀/𝑐 𝑅 ≪ 1]
37. ดาวเคราะห์ดวงหนึงมีรศั มี 𝑟 มีดาวเทียมดวงหนึงโคจรรอบเป็ นวงกลมรัศมี 𝛼𝑟 (𝛼 > 1) ต่อมาอัตราเร็วของดาวเทียม
ลดลงเหลือครึงหนึง ทําให้ดาวเทียมเปลียนรูปร่างของวงโคจรซึงสัมผัสกับผิวของดาวเคราะห์พอดี จงหาค่าของ 𝛼
38. มี ค วามเชื อว่ าเมื อ 65 ล้า นปี ก่ อ นมี อุกกาบาตเข้าชนโลก ทํา ให้ว งโคจรของโลกเปลี ยนไปและเกิด การเปลี ยนแปลง
ภูมิอากาศอย่างฉับพลันจนนํามาสู่การสูญพันธ์ของสิงมีชีวิต
พิจารณาโลกมวล 𝑀 เคลือนทีเป็ นวงกลมรัศมี 𝑅 รอบดวงอาทิตย์ 𝑆 เมือมีอุกกาบาตมวล 𝑚 เคลือนทีในทิศทางตรงข้าม
ด้วยอัตราเร็วเท่ากับโลกเข้าชนทีจุด A ทําให้วงโคจรเปลียนไปโดยมีระยะทีใกล้ดวงอาทิตย์ทสุี ดเท่ากับ 𝑟

a) สําหรับ 𝑚 ≪ 𝑀 จงแสดงว่า
8𝑚
𝑟 ≈ 𝑅 1−
𝑀
b) กําหนดให้รศั มีของอุกกาบาตประมาณ 6 km รัศมีของโลกประมาณ 6400 km และ 𝑅 = 1.5 × 10 m จง
ประมาณค่า 𝑟 พร้อมกับระบุว่าจะเกิดการเปลียนแปลงภูมิอากาศอย่างมากได้หรือไม่
12

39. จากรูป ดาวเทียมโคจรรอบโลกเป็ นวงกลม มีรศั มีของวงโคจรเท่ากับ 2𝑅 โดยที 𝑅 คือรัศมีของโลก ต้องการเปลียนให้เป็ น


วงโคจรวงกลมใหม่รศั มีเท่ากับ 6𝑅 โดยใช้ transfer orbit เป็ นรู ปวงรี กําหนดให้ 𝑔 เป็ นค่าสนามโน้มถ่วงทีผิวโลก จง
พิสจู น์ว่าการเปลียนแปลงพลังงานจลน์ของดาวเทียมทีจุด A และทีจุด B เท่ากับ 𝑚𝑔𝑅⁄8 และ 𝑚𝑔𝑅⁄24 ตามลําดับ

40. ยานอวกาศ X โคจรเป็ นวงกลมรอบดาวเคราะห์ดว้ ยอัตราเร็ว 𝑣 ทีความสูง ℎ จากพืน ดาวเคราะห์ดวงนีมีรศั มีเท่ากับ 𝑅


และมีค่าสนามโน้มถ่วงทีผิวของดาวเท่ากับ 𝑔
a) จงหา 𝑣 (คําตอบในรูปของ ℎ, 𝑅 และ 𝑔)

ต่อมาต้องการนํายานอวกาศ X ลงจอดทีผิวของดาวโดยจําเป็ นต้องให้ยานอวกาศเคลือนทีในแนวสัมผัสกับผิวดาว ณ จุดที


ต้องการลงจอด เครืองยนต์ออกแรง thrust ในช่วงเวลาสันๆเพือเปลียนความเร็วของยานอวกาศจาก 𝑣 เป็ นค่าหนึง และ
จากนันอาศัยเพียงแรงโน้มถ่วงของดาวเพือทําให้ยานเคลือนทีในแนวสัมผัสกับผิวดาวได้ เราจะพิจารณาการลงจอด 2 วิธี
i. วิธีที 1 (รูปที 1) ออกแรง thrust ในแนวสัมผัสกับวงโคจรวงกลมเพือเปลียนความเร็วของยานอวกาศจาก 𝑣 เป็ น 𝑣1
เพือทําให้ยานอวกาศเข้าสู่วงโคจรวงรีและเคลือนทีสัมผัสกับผิวดาวทีจุด A
ii. วิธีที 2 (รูปที 2) ออกแรง thrust ในแนวรัศมีของวงโคจรวงกลมเพือเปลียนความเร็วของยานอวกาศจาก 𝑣 เป็ น 𝑣
เพือทําให้ยานอวกาศเข้าสู่วงโคจรวงรีและเคลือนทีสัมผัสกับผิวดาวทีจุด B
b) ในวิธีที 1 จงหาอัตราเร็ว 𝑣1 ของยานอวกาศหลังจากออกแรง thrust และหาอัตราเร็ว 𝑣 (landing speed) ของ
ยานอวกาศทีจุด A (คําตอบในรูปของ ℎ, 𝑅 และ 𝑔)
13

c) ในวิธีที 2 จงหาอัตราเร็ว 𝑣 ของยานอวกาศหลังจากออกแรง thrust และหาอัตราเร็ว 𝑣 (landing speed) ของ


ยานอวกาศทีจุด B (คําตอบในรูปของ ℎ, 𝑅 และ 𝑔)
d) เพือเป็ นการเปรียบเทียบทังสองวิธี จงแสดงว่าอัตราส่วนของการเปลียนแปลงความเร็วของยานอวกาศหลังจาก
ใช้ thrust ทังสองวิธีคือ
|𝑣⃑ − 𝑣⃑ | 𝑅 2𝑅
= 1−
|𝑣⃑ − 𝑣⃑ | ℎ 2𝑅 + ℎ

41. พิจารณาสถานการณ์ทีรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ถูกปกคลุมด้วยฝุ่นความหนาแน่นสมําเสมอ 𝜌 เป็ นบริเวณกว้างขวาง ซึงส่งผล


ต่อแรงโน้มถ่วงทีกระทําต่อดาวเคราะห์ (ฝุ่นปกคลุมมาถึงดาวเคราะห์ดว้ ย) กําหนดให้ดวงอาทิตย์มีมวล 𝑀 และวงโคจร
ของดาวเคราะห์เป็ นวงกลมรัศมี 𝑟
a) จงหาความเร็วเชิงมุมของดาวเคราะห์
b) เมือดาวเคราะห์ถกู รบกวน จงหาความถีเชิงมุมของการสันในแนวรัศมี
c) ถ้าแรงโน้มถ่วงจากฝุ่นน้อยกว่าแรงจากดวงอาทิตย์มาก จงพิสจู น์วา nearly circular orbit จะเป็ นวงรีซงมี
ึ แกน
เอกบิดไปด้วยอัตรา
𝐺𝑟
𝜔 = 2𝜋𝜌
𝑀
d) ทิศทางการบิดของแกนเอกเป็ นทิศทางเดียวกันกับความเร็วชิงมุมหรือไม่
42. วงแหวนบางรัศมี 𝑅 ทํามาจากวัสดุทีมีความหนาแน่น 𝜌 และ Young’s modulus 𝐸 ถ้าวงแหวนนีหมุนรอบแกนทีผ่านจุด
ศูนย์กลางและตังฉากกับระนาบด้วยความเร็วเชิงมุม 𝜔 จงแสดงว่ารัศมีจะเพิมขึน (เล็กน้อย)
𝜌𝑅 𝜔
∆𝑅 =
𝐸
43. ความเครียด (strain) เป็ นผลจากความเค้น (stress) และการขยายตัวเนืองจากอุณหภูมิทีเปลียนไป ∆𝑇 ตามสมการ
1
𝑒 = [𝜎 − 𝜇(𝜎 + 𝜎 )] + 𝛼∆𝑇
𝐸
1
𝑒 = [𝜎 − 𝜇(𝜎 + 𝜎 )] + 𝛼∆𝑇
𝐸
1
𝑒 = [𝜎 − 𝜇(𝜎 + 𝜎 )] + 𝛼∆𝑇
𝐸
โดยที 𝐸 คือ Young’s modulus 𝜇 คือ Poisson’s ratio และ 𝛼 คือสัมประสัทธิการขยายตัวเนืองจากความร้อน
14

รูปแสดงแท่งโลหะยาว 𝐿 อยู่ระหว่างกําแพงแข็ง เมืออุณหภูมิสงู ขึน ∆𝑇 แท่งโลหะขยายตัว สมมติให้กาํ แพงแข็งมากจนทํา


ให้ความยาวในทิศ 1 ไม่เปลียนแปลง แต่ แท่งโลหะสามารถขยายตัวในแนวรัศมีได้อย่างไม่มีความเสียดทานทีปลายที
กําแพง กําหนดให้ความเครียดมีขนาดเล็ก
a) จงแสดงว่า volume strain
∆𝑉
= 2𝛼(1 + 𝜇)∆𝑇
𝑉
[Hint: หา 𝑒 และ 𝑒 (= 𝑒 )]
b) อภิปรายกรณีที 𝜇 = 1⁄2
44. จุดทีลึกทีสุดในมหาสมุทรแปซิฟิกมีความลึก 10.9 km จากระดับนําทะเล กําหนดให้ความหนาแน่นของนําทะเลทีบริเวณ
ผิวนํามีความหนาแน่น 1025 kg. m
a) สมมติให้ความแน่นของนําทะเลไม่เปลียนแปลง จงคํานวณหาความดันทีก้นมหาสมุทร
b) ให้คาํ นึงถึงการเปลียนแปลงความหนาแน่นของนําทะเลตามความลึก กําหนดให้ค่า bulk modulus ของนําทะเล
เท่ากับ 2.1 × 10 Pa ความดันทีก้นมหาสมุทรจะเปลียนแปลงไปจากข้อ a) มากน้อยเพียงใด
Jacques Picarde ช่วยออกแบบและสร้างพาหนะทรงกลมสําหรับดํานําลึกซึงใช้ในปี 1960 กําหนดให้รศั มีในของทรงกลม
เท่ากับ 1 m และ Young modulus ของวัสดุเท่ากับ 2.0 × 10 Pa

c) กําหนดให้ความเครียด (strain) สูงสุดคือ 0.005 จงประมาณความหนาทีน้อยทีสุดของทรงกลมเพือทีจะสามารถ


ต้านทานความดันทีก้นมหาสมุทรได้ ( 6 cm)
45. ลูกโป่ งภายในบรรจุแก๊สไฮโดรเจนมวล 1.0 × 10 kg และความดัน 1.1 × 10 Nm ลอยขึนไปสัมผัสกับเพดานห้อง
กําหนดให้อากาศภายในห้องมีความดัน 1.0 × 10 Nm และอัตราส่วนระหว่างความหนาแน่นของอากาศต่อความ
หนาแน่นของแก๊สเท่ากับ 14 ไม่ตอ้ งคํานึงมวลของผิวลูกโป่ งในโจทย์ขอ้ นี จงคํานวณหาพืนทีทีผิวลูกโป่ งสัมผัสกับเพดาน
(1.3 × 10 m )
46. เหล็กรูปทรงลูกบาศก์ลอยอยู่ในปรอท กําหนดให้สมั ประสิทธิการขยายตัวเชิงเส้นของเหล็กเท่ากับ 1.2 × 10 ℃ และ
สัมประสิทธิการขยายตัวเชิงปริมาตรของปรอทเท่ากับ 1.8 × 10 ℃ เมืออุณหภูมิสงู ขึน ลูกบาศก์จะมีระยะในแนวดิง
ทีจมในปรอทมากขึนหรือลดลง
47. Boom เป็ น ทุ่น ลอยนําที มีลัก ษณะยาวใช้เ พือกักนํามัน บนผิ วนําไม่ใ ห้แ ผ่ กระจายในกรณี ที มีน ํามัน รัวไหลสู่แหล่งนํา
พิจารณา Boom รูปครึงวงกลมรัศมี 𝑅 มีปลาย 2 ข้างติดอยู่กบั กําแพง (อาจจะเป็ นท่าเรือ) และภายในกักนํามันปริมาตร 𝑉
15

เมือเทียบกับระดับนําทีอยู่ภายนอก boom พบว่าชันนํามันหนา ℎ อยู่ใต้ผิวนําและหนา ℎ อยู่เหนือผิวนํา กําหนดให้นามี



ความหนาแน่น 𝜌 และนํามันมีความหนาแน่น 𝜌

a) จงหา ℎ และ ℎ (ตอบในรูปของ 𝑅, 𝑉, 𝜌 , 𝜌 และ 𝑔)


b) จงแสดงว่าขนาดแรงต่อหนึงหน่วยความยาวของ boom ทีกระทําต่อ boom คือ
2𝜌 𝑔𝑉 𝜌
𝐹 = 1−
𝜋 𝑅 𝜌
c) จงหาขนาดของแรงที boom กระทําต่อกําแพงในทิศทางตังฉากกับกําแพง
48. Cartesian diver ประกอบด้วยทรงกระบอกผิวบางปลายปิ ด ข้างหนึงอยู่ในขวดนํา (นํามีความหนาแน่น 𝜌) ซึงมีอากาศอยู่
เหนือผิวนําในขวด ความดันของอากาศเหนือผิวนําในขวดเท่ากับ 𝑝 ทรงกระบอกลอยโดยทีด้านปลายเปิ ดอยู่ในนํา มี
อากาศกักอยู่ภายในทรงกระบอกเล็กน้อยและเริมต้นทรงกระบอกลอยอยู่ใต้ผิวนําพอดี

สมมติให้ไม่ตอ้ งคํานึงถึงมวลของอากาศภายในทรงกระบอก และความยาวของลําอากาศในทรงกระบอกน้อยมาก


a) กําหนดให้ทรงกระบอกมีมวล 𝑀 จงให้อธิบายว่าทําไมปริมาตรเริมต้นของอากาศภายในทรงกระบอกเท่ากับ
𝑀
𝑉 =
𝜌
เนืองจากลําอากาศในทรงกระบอกสันมาก เราจึงประมาณให้ความดันของอากาศในทรงกระบอกตอนเริมต้นเท่ากับ 𝑝
ต่อมาเพิมความดันเหนือผิวนําในขวดเป็ น 2𝑝 อย่างรวดเร็ว (อาจจะใช้การบีบขวดนํา) ทําให้นาเข้
ํ าไปในทรงกระบอกมาก
ขึน ลําอากาศสันลง และทรงกระบอกเริมจมลง สมมติให้อากาศในทรงกระบอกเปลียนแปลงแบบ isothermal
b) เมือทรงกระบอกจมลงมาเป็ นระยะทาง 𝑥 จงแสดงว่าอัตราเร็ว 𝑣 เป็ นไปตามสมการ
2𝑝 𝜌𝑔𝑥
𝑣 = 2𝑔𝑥 − ln 1 +
𝜌 2𝑝
16

49. หลอดรู ปตัว U ประกอบด้วยแขน 2 ข้างต่อถึงกันด้วยท่อยาว 𝐿 ทีอยู่ในแนวระดับซึงมีความพืนทีหน้าตัดเท่ากัน แขน 1


บรรจุของเหลวซึงมีความหนาแน่น 𝜌 และแขน 2 บรรจุของเหลวทีมีความหนาแน่น 𝜌 ของเหลวทังสองไม่ผสมกันและมา
พบกันในท่อในแนวระดับโดยทีผิวรอยต่อระหว่างของเหลวอยู่ห่างจากแขน 1 เป็ นระยะทาง 𝑥

ต่อมาหมุนท่อรอบแขน 1 ด้วยความเร็วเชิงมุม 𝜔 พบว่าผิวรอยต่อเลือนไปเป็ นระยะทาง 𝑥 (แต่ยงั อยู่ในส่วนของท่อในแนว


ระดับ) จงหา 𝑥 (ตอบในรูปของปริมาณอืน ๆ ทีโจทย์กาํ หนดและค่าสนามโน้มถ่วง 𝑔)
50. เริมต้นจัดให้แท่งวัตถุ (ความหนาแน่นน้อยกว่านํา) วางตัวในแนวดิงเหนือผิวนํา จากนันค่อย ๆ กดลงไปในนําในแนวดิง
พบว่ า ถึงจุด หนึ งแท่ งวัตถุจะเอียงและอยู่ในสถาพสมดุล ได้ สมมติ ใ ห้แท่ งวัตถุ OA มี ม วลกระจายอย่างสมําเสมอ มี
พืนทีหน้าตัด 𝐴 และความยาว 𝐿 ขณะทีปลาย O อยู่เหนือผิวนําเป็ นระยะทางเท่ากับ 𝐻 แท่งวัตถุจะเอียงทํามุม 𝜃 ค่าหนึง
กับแนวดิง กําหนดให้แท่งวัตถุมีความหนาแน่นเท่ากับ 𝜌 และนํามีความหนาแน่นเท่ากับ 𝜌

a) โดยการพิจารณาทอร์ก จงแสดงว่าทีตําแหน่งสมดุล
𝐻
cos 𝜃 =
𝜌
𝐿 1−
𝜌
เพือทีจะทราบว่าตําแหน่งสมดุลในข้อ a) เป็ นแบบเสถียรหรือไม่ เราจะหาฟั งก์ชนั พลังงานศักย์
b) จงทําการอินทิเกรตทอร์ก 𝜏 เพือพิสจู น์ว่าพลังงานศักย์
𝐴𝑔 1
𝑈 = − 𝜏𝑑𝜃 = 𝜌 𝐻 − 1 − (𝜌 − 𝜌 )𝐿 (cos 𝜃 − 1)
2 cos 𝜃
17

c) จงเขียนกราฟอย่างคร่าว ๆ ระหว่าง 𝑈 และ 𝜃 ในกรณีที 𝐻 มาก ๆ และในกรณีที 𝐻 น้อย ๆ พร้อมกับระบุว่า


ตําแหน่งสมดุลในข้อ a) เป็ นแบบเสถียรหรือไม่
d) เมือกดให้จดุ O เคลือนทีตําลงไปอีก ความยาวของแท่งวัตถุส่วนทีจมจะเป็ นอย่างไร
51. รูปแสดงของไหลขนาดใหญ่หนา 2ℎ ในแนวแกน z และมีหน้าตัด (บนระนาบ x-y) กว้างมาก สมมติให้ความหนาแน่นของ
ของไหล 𝜌(𝑧) เป็ นฟั งก์ชนั ของ 𝑧 เท่านันและมีความสมมาตรเทียบกับระนาบ 𝑧 = 0 (𝜌(−𝑧) = 𝜌(𝑧))

พิจารณาของไหลนีในสภาวะ hydrostatic equilibrium จงแสดงว่าความดันบนระนาบ 𝑧 = 0 คือ


𝑝(0) = 2𝜋𝐺 𝜌(𝑧)𝑑𝑧

[Hint: ใช้กฎของเกาส์สาํ หรับสนามโน้มถ่วงหา 𝑔(𝑧) และใช้ 𝑑𝑝⁄𝑑𝑧 = −𝜌(𝑧)𝑔(𝑧)]


52. จุ่มแผ่น 2 แผ่นขนาดใหญ่ วางตัวขนานกันห่างกัน 𝑑 ลงในอ่างของเหลวใหญ่ พบว่าของเหลวสามารถขึนไปในช่องว่างได้
เนืองจากความตึงผิว กําหนดให้ของเหลวมีความตึงผิว 𝛾 ความหนาแน่น 𝜌 และ contact angle 𝜃 สมมติให้ 𝑑 น้อยมาก

a) จงหาความสูงของของเหลว (ลองใช้หลายวิธีเช่นสมดุลแรง พลังงาน และสูตรของ Laplace) (2𝛾 cos 𝜃⁄𝜌𝑔𝑑)


b) จงหาขนาดของแรงดึงดูดระหว่างแผ่นต่อความกว้างของแผ่น (2𝛾 cos 𝜃⁄𝜌𝑔𝑑 )
53. ทรงกลมรัศมี 𝑟 ความหนาแน่น 𝜌 ลอยอยู่ในของเหลวทีอุณหภูมิ 0℃ โดยมีจดุ ศูนย์กลางอยู่เหนือผิวของเหลวเป็ นะระยะ ℎ
ของเหลวมีสมั ประสิทธิการขยายตัวเชิงปริมาตรเท่ากับ 𝛼 กําหนดให้ความตึงผิวเท่ากับ 𝛾 ซึงเปลียนตามอุณหภูมิ 𝑡℃ ตาม
สมการ 𝛾(𝑡) = 𝛾 (1 − 𝑘𝑡) โดยที 𝑘 เป็ นค่าคงที และมุม contact angle เป็ นศูนย์ สมมติให้ไม่ตอ้ งคํานึงถึงการขยายตัว
ของทรงกลม เมืออุณหภูมิสงู ขึนเล็กน้อยพบว่าปริมาตรทรงกลมทีจมในของเหลวไม่เปลียนแปลง จงแสดงว่า
𝑘 2𝑟 𝜌𝑔
= 1+
𝛼 3𝛾 (𝑟 − ℎ )
54. พิจารณาฟองสบู่ทรงกลมทีปลายข้างหนึงของท่อ capillary และอากาศสามารถไหลออกทีปลายด้านเปิ ดของท่อ สมมติให้
อัตราการเปลียนแปลงปริมาตรของอากาศในฟองสบู่แปรผันตรงกับผลต่างความดันทีปลายท่อทังสองข้างของท่อ
18

เริมต้นฟองสบู่มีรศั มี 𝑅 จงแสดงว่าทีเวลา 𝑡 รัศมีจะเท่ากับ 𝑟 ตามสมการ


𝑟 = 𝑅 − 𝑘𝑡, 𝑘 = ค่าคงที
55. หยดนําขนาดเล็ก (รัศมี 𝑟) หลายหยดมารวมกันเป็ นหยดนําหนึงหยดขนาดใหญ่รศั มี 𝑅 และมีอณ
ุ หภูมิสงู ขึน กําหนดให้ 𝛾
เป็ นความตึงผิว 𝑐 คือความจุความร้อนจําเพาะของนํา และ 𝜌 คือความหนาแน่นของนํา จงหาอุณหภูมิของนําทีเพิมขึน
56. ฟองสบู่ทรงกลมรัศมี 𝑎 และ 𝑏 มารวมกันเป็ นฟองสบู่รศั มี 𝑐 กําหนดให้ความดันอากาศภายนอกเท่ากับ 𝑝 จงแสดงว่า
ความตึงผิว
𝑝(𝑐 − 𝑎 − 𝑏 )
𝛾 =
4(𝑎 + 𝑏 − 𝑐 )
57. ของเหลวปริมาตร 𝑉 อยู่ระหว่างแผ่นแก้ว 2 แผ่นทีขนานกันและมีผิวเรียบ ของเหลวแผ่ออกเป็ นวงกลมรัศมี 𝑅 ขณะทีความ
หนาของของเหลวเท่ากับ ℎ มุม contact angle เท่ากับ 𝜃 และความตึงผิวของเหลว-อากาศเท่ากับ 𝛾 ไม่ตอ้ งคํานึงถึงแรง
โน้มถ่วง

a) จงหาสูตรของแรง 𝐹 ทีต้องใช้ในการทําให้แผ่นบนอยู่ในสภาพสมดุล (ตอบในรูปของ 𝑉, 𝜃, 𝛾 และ 𝑅)


b) ใช้ของเหลวปริมาตร 3.0 mm ระหว่างแผ่นทังสอง ทําให้เกิดรัศมี 𝑅 = 2.0 cm ถ้า 𝜃 = 𝜋 (nonwetting) และ
𝛾 = 0.070 N. m จงคํานวณหาแรง 𝐹 ทีทําให้แผ่นบนอยู่ในสภาพสมดุลพร้อมกับระบุทิศทางของแรงนี
58. ฟองสบู่ใหญ่มีรศั มี 𝑅 ภายในบรรจุฟองสบู่เล็กกว่าซึงมีรศั มี 𝑟 ถ้าฟองสบู่อนั เล็กแตกออกแต่ไม่มีอากาศรัวออกมาจากฟอง
สบู่อนั ใหญ่ และฟองสบู่อนั ใหญ่มีรศั มีใหม่เท่ากับ 𝑅 กําหนดให้ 𝑝 เป็ นความดันอากาศภายนอก และ 𝛾 เป็ นความตึงผิว
สมมติให้อณ ุ หภูมิคงที จงพิสจู น์ว่า
𝑝 (𝑅 − 𝑅 ) + 4𝛾(𝑅 − 𝑅 − 𝑟 ) = 0
59. นําสบู่มีความตึงผิว 𝛾 นํามาใช้ทาํ ฟิ ลม์ สระหว่างแท่งวัตถุยาว 𝐿 และเส้นด้าย (ไม่ยืด) ซึงผูกติดทีปลายทังสองข้างของแท่ง
วัตถุ ออกแรง 𝑊 ทีจุดกึงกลางของเส้นด้ายจนทําให้เกิดมุม 𝜃 และ 𝜃 ตามทีแสดงในรูปและแท่งวัตถุหยุดนิง
19

a) จงแสดงว่าแรงตึงในเส้นด้าย
𝛾𝐿
𝑇 =
cos 𝜃 − sin 𝜃
b) จงพิสจู น์ว่าเส้นด้ายโค้งเป็ นส่วนหนึงของวงกลม
60. ผิวฟองสบู่เล็ก (ความตึงผิว 𝛾 รัศมี 𝑟) และใหญ่ (ความตึงผิว 𝛾 รัศมี 𝑅) มาเชือมกันโดยใช้เส้นด้ายวงกลมรัศมี 𝑎

จงแสดงว่าแรงตึงในเส้นด้าย
2𝑎
𝑇 = 𝑟 𝛾 −𝑎 𝛾 −𝛾 𝑟 −𝑎
𝑟
[Hint: ใช้สมมดุลของแรง อย่าลืมว่าแรงตึงผิวเท่ากับ 2𝛾 × ส่วนของความยาวเส้นด้าย]
61. ฟองสบู่เริมต้นนมีรศั มี 𝑟 ต่อมาให้ประจุไฟฟ้าทีผิวทําให้รศั มีเพิมขึนเป็ น 𝑟 + ∆𝑟 และมีความหนาแน่นประจุ (ประจุต่อพืนที
ผิว) 𝜎 กําหนดให้ความตึงผิวเท่ากับ 𝛾 และอากาศภายนอกมีความดัน 𝑝 จงหา ∆𝑟
62. พิจารณาฟองสบู่ในสภาวะสมดุล เมือเราให้ประจุไฟฟ้า 𝑄 ทีผิว ฟองสบู่จะขยายตัวออกเนืองจากแรงไฟฟ้า จงหาว่าเรา
จะต้องวางประจุไฟฟ้า 𝑞 เท่าใดทีจุดศูนย์กลางของฟองสบู่เพือให้รศั มีเท่าเดิม (𝑞 = −𝑄⁄2)
63. หลอด capillary มีพนทีื หน้าตัดไม่คงที โดยมีรศั มีของหน้าตัด 𝑅 = 𝑅 − 𝑘ℎ โดยที ℎ เป็ นความสูงจากผิวของเหลว และ 𝑘
เป็ นค่าคงทีบวก (𝑘 ≪ 1) กําหนดให้ของเหลวมีความหนาแน่น 𝜌 ความตึงผิว 𝛾 และ contact angle 𝜃
20

เพือความง่ายเราจะสมมติให้ 𝜃 = 0.
a) จงแสดงว่าถ้า 𝑘 < 𝑔𝜌𝑅 ⁄8𝛾 ของเหลวภายในหลอดจะมีความสูง ℎ สองค่าทีเป็ นไปได้ในสภาวะสมดุล และ
จงหาความสูงทัง 2 ค่านัน
b) ความสูงค่าใดในข้อ a) เป็ นความสูงในสภาวะสมดุลเสถียร
c) จะเกิดอะไรขึนถ้า 𝑘 > 𝑔𝜌𝑅 ⁄8𝛾
64. ของไหลในอุดมคติความหนาแน่น 𝜌 ไหลในท่อในแนวระดับทีมีพนที ื หน้าตัดไม่คงทีจาก 𝐴 ไปเป็ น 𝐴 ซึงออกไปสู่อากาศ
กําหนดให้อตั ราการไหล (ปริมาตรต่อหนึงหน่วยเวลา) เท่ากับ 𝑄 และไม่ตอ้ งคํานึงถึงแรงโน้มถ่วง

a) จงหาความดันเกจ ณ จุดทีพืนทีหน้าตัดของท่อเท่ากับ 𝐴(𝑥)


b) จงแสดงว่าแรงลัพธ์ในแนวระดับในทิศไปทางขวาทีกระทําต่อผนังท่อคือ
(𝐴 − 𝐴 )
𝐹 = 𝜌𝑄
2𝐴 𝐴
c) จากข้อ b) จะเห็นว่าทิศทางของแรงไม่เปลียนแปลงไม่ว่า 𝐴 > 𝐴 หรือ 𝐴 < 𝐴 จงอธิบาย
65. ไอนําจาก boiler ผ่านเข้าไปในท่อทีมีพืนทีหน้าตัดไม่คงทีตามทีแสดงในรู ป ทางเข้าท่อมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 𝑑 และ
ทางออกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 𝑑 ไอนําเข้าไปในท่อด้วยอัตราเร็ว 𝑣 และออกจากท่อด้วยอัตราเร็ว 𝑣

สมมติให้ไอนําประพฤติตวั เป็ นแก๊สอุดมติและการไหลเป็ นแบบ isothermal ดังนันอัตราส่วนระหว่างความดัน 𝑝 ต่อความ


หนาแน่น 𝜌 มีค่าคงที จงแสดงว่า
𝑣 𝑑
= 𝑒
𝑣 𝑑
21

66. แผ่นดิสก์มวล 𝑚 รัศมี 𝑎 ถูกแขวนทีจุดศูนย์กลางให้ลอยเหนือพืนขนาดใหญ่เป็ นระยะทางแคบ ๆ เท่ ากับ 𝑑 แผ่นดิสก์


สามารถหมุนได้รอบแกนทีใช้แขวนนี ช่องว่างระหว่างแผ่นดิสก์และพืนมีของเหลวทีมีความหนืด 𝜂 เริมต้นแผ่นดิสก์หมุน
ด้วยความเร็วเชิงมุม 𝜔 รอบแกนหมุน สมมติให้ของเหลวในช่องว่างระหว่างแผ่นดิสก์และพืนมี velocity gradient คงที
จงแสดงว่าความเร็วเชิงมุมของแผ่นดิสก์ทเวลา
ี 𝑡 คือ
𝜋𝜂𝑎 𝑡
𝜔 = 𝜔 exp −
𝑚𝑑
67. พิจารณาของเหลวทีมีความหนืด 𝜂 ไหลในช่องว่างระหว่างทรงกระบอก 2 อันทีมีแกนร่วมกัน ทรงกระบอกในมีรศั มี 𝑅
และทรงกระบอกนอกมีรศั มี 𝑅 สมมติให้ของเหลวไหลทีทิศทาง 𝑧 ภายใต้ผลต่างความดัน 𝑝 ในระยะทาง 𝐿 ตามความ
ยาวของทรงกระบอก
a) โดยการแก้สมการ
1𝑑 𝑑𝑣 𝑝
𝑟 = − ,
𝑟 𝑑𝑟 𝑑𝑟 𝜂𝐿
จงพิสจู น์ velocity profile
𝑝 𝑅 −𝑅 𝑟
𝑣 (𝑟) = 𝑅 −𝑟 + ln , 𝑅 ≤𝑟≤𝑅
4𝜂𝐿 𝑅 𝑅
ln
𝑅
b) จงแสดงว่าอัตราการไหล (ปริมาตรต่อหนึงหน่วยเวลา)
𝜋𝑝 (𝑅 − 𝑅 )
𝑄 = 𝑅 −𝑅 −
8𝜂𝐿 𝑅
ln
𝑅
68. ทรงกระบอกยาวอันหนึงรัศมี 𝑅 เคลือนทีในของเหลวหนืดด้วยความเร็ว 𝑢 ในทิศทางเดียวกับแกนของทรงกระบอก
(ทิศทาง 𝑧) ทรงกระบอกนีอยู่ภายในทรงกระบอกยาวกลวงอันหนึงรัศมี 𝑅 ซึงมีแกนของทรงกระบอกร่วมกันและหยุดนิง
กําหนดให้ของเหลวมีความหนืดเท่ากับ 𝜂

a) โดยการแก้สมการ
1𝑑 𝑑𝑣
𝑟 = 0
𝑟 𝑑𝑟 𝑑𝑟
จงหาความเร็วของของเหลว 𝑣 (𝑟), 𝑅 < 𝑟 < 𝑅
b) จงแสดงว่าขนาดแรงต้านต่อหนึงหน่วยความยาวทีกระทําต่อผิวโค้งของทรงกระบอกคือ
2𝜋𝜂𝑢
𝑓 =
𝑅
ln
𝑅
22

69. ลูกปื นกลมรัศมี 𝑅 ใช้รกั ษาระยะห่าง ℎ เล็ก ๆ จากชามครึงทรงกลม ช่องว่างระหว่างลูกปื นและชามถูกเติมด้วยของเหลวที


มีความหนืด 𝜂 ผิวของของเหลวรองรับมุม 2𝛽 เทียบกับจุดศูนย์กลางของลูกปื นตามทีแสดงในรูป หมุนลูกปื นด้วยความเร็ว
เชิงมุมคงที 𝜔

สมมติให้ velocity profile ของของเหลวเป็ นฟั งก์ชนั เชิงเส้น จงแสดงว่าทอร์กทีกระทําต่อลูกปื นเนืองจากของเหลวคือ


2𝜋𝜂𝜔𝑅 2 1
𝜏 = − cos 𝛽 + cos 𝛽
ℎ 3 3
70. ชันของเหลวหนา ℎ ไหลลงมาตามพืนเอียงทีทํามุม 𝜃 กับแนวระดับ กําหนดให้ของเหลวมีความหนืด 𝜂 และมีความ
หนาแน่น 𝜌

จงหาอัตราเร็วของของไหล 𝑣(𝑦) และจากนันจงแสดงว่าอัตราการไหล (ปริมาตรต่อหนึงหน่วยเวลา) ต่อหนึงหน่วยความ


ยาวในแนว 𝑧 คือ
𝑄 𝜌𝑔ℎ sin 𝜃
=
𝑧 3𝜂
71. รางยาวมีพนที
ื หน้าตัดรูปครึงวงกลมรัศมี 𝑅 มีของเหลวความหนาแน่น 𝜌 และความหนืด 𝜂 ไหลเต็มหน้าตัด (ด้านบนเป็ น
อากาศ) รางเอียงทํามุม 𝜃 กับแนวระดับ

จงแสดงว่าอัตราการไหล (ปริมาตรต่อหนึงหน่วยเวลา) คือ


𝜋𝜌𝑔𝑟 sin 𝜃
𝑄 =
16𝜂
23

72. แผ่นดิสก์วงกลมความหนาสมําเสมอมีครึงหนึงเป็ นอะลูมิเนียม (ความหนาแน่น 2.5 g. cm ) และอีกครึงหนึงเป็ นตะกัว


(ความหนาแน่น 10 g. cm ) ตามทีแสดงในรูป

เมือให้แกนหมุนผ่านจุด A และตังฉากกับระนาบของแผ่น พบว่ามีคาบการแกว่งเท่ากับ 𝑇 เมือให้แกนหมุนผ่านจุด B และ


ตังฉากกับระนาบของแผ่น พบว่ามีคาบการแกว่งเท่ากับ 𝑇 จงหา 𝑇 /𝑇 (0.9)

73. แท่งวัตถุมวล 𝑀 ยาว 𝐿 วางตัวในแนวระดับในชามครึงทรงกลมรัศมีมีผวิ ลืน ชามถูกตรึงไว้กบั พืนทําให้ไม่สามารถเคลือนที


ได้ ทีตําแหน่งสมดุล จุดศูนย์กลางมวลของแท่งวัตถุอยู่ห่างจากจุด O (จุดศูนย์กลางความโค้งของชาม) เป็ นระยะทาง ℎ

a) จงหาความถีของการสันของแท่งวัตถุรอบตําแหน่งสมดุล (𝜔 = 𝑔ℎ/(ℎ + 𝐿 /12)


b) *ขณะทีกําลังสัน วัตถุมีมมุ บิดไปมากสุด 𝜃 และทีตําแหน่งนีชามออกแรง 𝑁 ทีปลายแต่ละข้างของวัตถุ เมือ
วัตถุกลับมาทีตําแหน่งสมดุล ทีตําแหน่งนีชามออกแรง 𝑁′ ทีปลายแต่ละข้างของวัตถุ จงแสดงว่า
36 + 𝐿 /ℎ
𝑁 −𝑁 = 1 + 𝐿 /4ℎ 𝑀𝑔𝜃
48 + 4𝐿 /ℎ
[Hint: พิจารณาแรงเข้าสู่ศนู ย์กลางทีตําแหน่งทังสอง และ cos 𝑥 ≈ 1 − 𝑥 /2]
c) ลองอภิปรายกรณีที 𝐿 ≪ ℎ
74. วัตถุทรงกลมตันรัศมี 𝑟 กลิง (โดยไม่ไถล) ในชามทรงกลมใหญ่รศั มี 𝑅 ซึงถูกตรึงไว้ให้อยู่นงิ

จุดศูนย์กลางของวัตถุเคลือนทีกลับไปกลับมาแบบซิมเปิ ลฮาร์มอนิก จงแสดงว่าความถีเชิงมุม


5𝑔
Ω =
7(𝑅 − 𝑟)
24

75. ดาวเทียมรูปร่าง dumbbell ประกอบด้วยวัตถุ 2 ก้อนมวลเท่ากันเชือมต่อกันด้วยก้านเบา จุดศูนย์กลางมวลของดาวเทียม


โคจรรอบโลกเป็ นวงกลมโดยมีความเร็วเชิงมุม 𝜔 และก้านของดาวเทียมวางตัวแนวรัศมี ความยาวก้านน้อยกว่ารัศมีวง
โคจรมาก

a) เมือก้านบิดไปเป็ นมุม 𝜃 เล็ก ๆ บนระนาบการโคจร จงแสดงว่า


𝜃̈ = −3𝜔 𝜃
[Hint: หาทอร์กรอบจุด cm อาจจะพิจารณาในกรอบจุด cm ก็ได้]
b) *ถ้าเปลียนจาก dumbbell เป็ นแท่งวัตถุสมําเสมอทีมีความยาวเท่ากัน สมการในข้อ a) จะเปลียนไปอย่างไร
76. ในการพยายามเคลือนทีจากเมือง A ไปเมือง B อย่างรวดเร็ว เราสามารถเจาะอุโมงค์จาก A ไป B เป็ นเส้นตรงผ่านเนือโลก
เมือปล่อยวัตถุทจุี ด A วัตถุจะเคลือนทีในอุโมงค์ดว้ ยแรงโน้มถ่วงไปยังจุด B กําหนดให้ A และ B อยู่บนระนาบวงกลมซึงมี
รัศมีเท่ากับรัศมีของโลก สมมติให้เนือโลกความหนาแน่นคงที 𝜌 = 5.5 × 10 kg. m และไม่ตอ้ งคิดแรงเสียดทานใด ๆ

รูปที 1 รูปที 2
a) จงแสดงว่า วัตถุเคลือนทีแบบซิมเปิ ลฮาร์มอนิกในอุโมงค์ทีเชือมโดยตรงระหว่าง A และ B (รู ปที 1) และจง
คํานวณหาเวลาทีใช้ในการเคลือนทีจาก A ไป B (ประมาณ 42 นาที)
เส้นทางในรู ปที 1 ยังไม่ใช่เส้นทางทีใช้เวลาน้อยทีสุด จึง มีความพยายามในการหาอุโมงค์ทีใช้เวลาน้อยที สุดทีเชือม
ระหว่างเมือง A และเมือง B โดยการเจาะอุโมงค์เป็ นรูปตัว V (รูปที 2) ตามเส้นทาง ACB โดยที AC ทํามุม 𝜃 กับ AB
b) จงอธิบายว่าอุโมงค์ตามแนว ACB ในรูปที 2 ใช้เวลาน้อยกว่าเวลาในข้อ a) อย่างไร
[Hint: เปรียบเทียบเวลา 𝑡 และ 𝑡 ]
c) *กํา หนดให้เ มื อ ง A อยู่ ที 𝜙 = 20° จงคํา นวณหามุม 𝜃 ที ทํา ให้เ ส้น ทาง ACB ใช้เ วลาน้อ ยที สุด และจง
คํานวณหาเวลาทีน้อยทีสุดนี
หมายเหตุ: ถ้าไม่ได้จาํ กัดว่าอุโมงค์ตอ้ งเป็ นเส้นตรง เส้นทางทีใช้เวลาน้อยทีสุดจะเป็ นเส้นโค้งทีเข้าใกล้จดุ ศูนย์กลาง
25

77. อนุภาคมวล 𝑚 อยู่บนลิมมวล 𝑀 และถูกผูกด้วยสปริงดังรูป สปริงมีค่าคงทีของสปริงเท่ากับ 𝑘 พืนเอียงของลิมเอียงทํามุม


𝜃 กับแนวนะดับ สมมติให้ทก
ุ ผิวไม่มีแรงเสียดทาน กําหนดให้ ℓ เป็ นความยาวธรรมชาติของสปริง

เมือระบบถูกรบกวนเล็กน้อยก็จะสัน สมมติให้อนุภาคสัมผัสกับพืนเอียงตลอดเวลา และลิมสัมผัสพืนตลอดเวลา


a) จากตําแหน่งของอนุภาค (𝑥 + 𝑠 cos 𝜃 , ℎ − 𝑠 sin 𝜃) จงเขียนความเร่งของอนุภาค
b) พิจารณาจุดศูนย์กลางมวลของระบบ จงแสดงว่า
(𝑀 + 𝑚)𝑥̈ + 𝑚𝑠̈ cos 𝜃 = 0
c) *จงเขียนสมการกฎของนิวตันของการเคลือนทีในแนวแกน x และ y ของอนุภาค และจากนันจงแสดงว่า
𝑚𝑥̈ cos 𝜃 + 𝑚𝑠̈ + 𝑘(𝑠 − ℓ) − 𝑚𝑔 sin 𝜃 = 0
[Hint: จากสมการกฎของนิวตัน 2 สมการ พยายามกําจัดแรง N ออก]
ที ตํา แหน่ ง สมดุลสปริง มี ค วามยาว 𝑠 และ 𝑘 𝑠 − ℓ = 𝑚𝑔 sin 𝜃 ดัง นัน เราสามารถเขี ย นสมการในข้อ c) เป็ น
𝑚𝑥̈ cos 𝜃 + 𝑚𝑠̈ + 𝑘 𝑠 − 𝑠 = 0 และเมือให้ 𝑆 = 𝑠 − 𝑠 เราจะได้ระบบสมการในข้อ b) และ c) ดังนี
(𝑀 + 𝑚)𝑥̈ + 𝑚𝑆̈ cos 𝜃 = 0, 𝑚𝑥̈ cos 𝜃 + 𝑚𝑆̈ + 𝑘𝑆 = 0
d) จงแสดงว่าความถีเชิงมุมของการสัน
𝑘(𝑚 + 𝑀)
𝜔 =
𝑚(𝑀 + 𝑚 sin 𝜃)
78. Ruchardt เสนอวิธีวดั 𝛾 (อัตราส่วนของความจุความร้อน) ของแก๊สอุดมคติโดยต่อท่อพืนทีหน้าตัด 𝐴 เข้ากับภาชนะบรรจุ
อากาศ (ซึงถือว่าเป็ นแก๊สอุดมคติ) ภายในมีปริมาตร 𝑉 และความดัน 𝑝 ภายในท่อมีวตั ถุมวล 𝑚 อุดพอดี สมมติให้วตั ถุนี
สามารถเคลือนทีภายในท่อได้อย่างไม่มีแรงต้าน

เริมต้นวัตถุอยู่ในสภาวะสมดุล เมือวัตถุมีการกระจัดเล็ก ๆ จะเกิดการสันรอบตําแหน่งสมดุล สมมติให้การเปลียนแปลง


ความดันภายในภาชนะเป็ นแบบ adiabatic จงหาคาบการสันของวัตถุ
26

79. ก้านเบา (ให้มวลเป็ นศูนย์) ยาว 𝐿 มีจดุ หมุนทีปลายด้านหนึงทีจุด O ทีปลายอีกด้านหนึงมีอนุภาคมวล 𝑚 ติดอยู่ สปริงใน
แนวระดับอันหนึงมีค่าคงที 𝑘 ต่ออนุภาคเข้ากับกําแพง ทีตําแหน่งสมดุล ก้านอยูใ่ นแนวดิงพอดี

a) เมือบิดก้านไปเป็ นมุม 𝜃 เล็ก ๆ จงหาพลังงานศักย์ 𝑈(𝜃)


b) จากข้อ a) จงแสดงว่าการสันรอบจุดสมดุลมีความถีเชิงมุม
𝑔 𝑘
𝜔 = +
𝐿 𝑚

80. ในระบบ damped harmonic oscillator หนึงพบว่าใช้แรง 4 นิวตันทําให้เกิดการกระจัด 0.2 เมตร (วัดจากตําแหน่งสมดุล)
จากนันปล่อยและเริมจับเวลา กราฟการกระจัดและเวลาแสดงในรูป จงประมาณหามวลและ quality factor (5 kg, 30)

81. กําหนดให้เมือเวลา 𝑡 วินาที อนุภาคมีการกระจัดเท่ากับ 𝑥 เมตร และมีสมการการเคลือนที


𝑑 𝑥 𝑑𝑥
+ 2𝑘 + 5𝑥 = 0
𝑑𝑡 𝑑𝑡
a) จงหาเซตของค่า 𝑘 ทีทําให้การเคลือนทีเป็ นแบบ (i) overdamped, (ii) critically damped และ (iii)
underdamped
ต่อมามีแรงภายนอกมากระทํา ทําให้สมการการเคลือนทีกลายเป็ น
𝑑 𝑥 𝑑𝑥
+2 + 5𝑥 = sin 4𝑡
𝑑𝑡 𝑑𝑡

b) จงแก้สมการเพือหา 𝑥(𝑡) โดยใช้เงือนไข 𝑥(0) = 𝑥̇ (0) = 0


27

82. รูปแสดงอนุภาค 3 ตัว แต่ละตัวมีมวลเท่ากันเท่ากับ 𝑚 ต่อด้วยสปริงทีมีค่าคงทีเท่ากับ 𝑘 และปลายทังสองข้างของสปริง


ถูกตรึงทีกําแพง สมมติให้การสันเกิดขึนใน 1 มิติตามความยาวของสปริง

จงหาความถีของ normal mode


83. อนุภาค 3 ตัว แต่ละตัวมีมวลเท่ากันเท่ากับ 𝑚 ต่อด้วยสปริงทีมีคา่ คงทีเท่ากับ 𝑘 บนรางวงกลมทีไม่มีแรงเสียดทาน

จงหาความถีของ normal mode


84. อนุภาค 2 ตัว แต่ละตัวมีมวลเท่ากับ 𝑀 ถูกผูกเข้ากับเชือกเบาและขึงตึงระหว่างกําแพง 2 ด้าน สมมติให้แรงตึงเชือกใน
เชือกทุกเส้นเท่ากับ 𝑇 พิจารณาการเคลือนทีของอนุภาคในแนวแกน y กําหนดให้แรงตึงเชือกมีขนาดเยอะมากจนไม่ตอ้ ง
คํานึงถึงแรงโน้มถ่วง

a) จงหาความถีของ normal mode


b) ทีเวลา 𝑡 = 0 อนุภาคทังสองหยุดนิง เมือให้อนุภาคทางซ้ายมีการกระจัด 𝑦 = 𝐴 ขณะทีอนุภาคทางขวาอยู่ที
ตําแหน่งสมดุล จงหา 𝑦(𝑡) ของอนุภาคทางขวา
85. สปริงเบา 3 อันมีความยาวธรรมชาติเท่ากับ √2 และมีค่าคงทีของสปริงเท่ากับ 𝑘 ต่อเข้ากับอนุภาคมวล 𝑚 ตามทีแสดงใน
รูป ปลายของสปริงถูกตรึงทีจดุ (1, 1), (−1, 1) และ (−1, −1) กําหนดให้อนุภาคเคลือนทีได้บนระนาบ 𝑥𝑦 เท่านัน

จงหาความถีของ normal mode และอัตราส่วนของการกระจัด 𝑥: 𝑦


28

86. *อนุภาคมวล 𝑚 จํานวน 3 ตัวอยู่บนรางวงกลมและสามารถเคลือนทีบนรางนีได้โดยไม่มีแรงเสียดทาน สปริงเบา 3 อันมี


ค่าคงทีของสปริงเท่ากับ 𝑘 ต่อเข้ากับอนุภาคตามทีแสดงในรูป

ขณะทีสปริงมีความยาวธรรมชาติ มุมทีรองรับอนุภาคจะเท่ากับ 120 องศาวัดจากจุดศูนย์กลางของวงกลม พิจารณาการ


กระจัดเล็กๆ จงหาความถีของ normal mode และหาอัตราส่วนของการกระจัดของอนุภาคเหล่านี
87. พิจารณาเชือกขึงทีปลายทังสองข้าง เราต้องการศึกษา normal mode โดยการแบ่งมวลของเชือกออกเป็ นอนุภาคมวล 𝑚
จํานวน 𝑁 ตัว อนุภาคเหล่านีถูกเชือมด้วยเชือกทีมีแรงตึงเชือกเท่ากันเท่ากับ 𝑇 อนุภาคเหล่านีมีระยะห่างเท่ากันเท่ากับ ℓ
และสันด้วยความถีเชิงมุม 𝜔 เท่ากัน (แต่แอมพลิจดู ไม่เท่ากัน) สมมติเชือกตึงมากพอทําให้ไม่ตอ้ งคํานึงถึงแรงโน้มถ่วง

กําหนดให้อนุภาคตัวที 𝑝 มีแอมพลิจดู 𝐴
a) พิจารณาแรงในแนวดิงทีกระทําต่ออนุภาคตัวที 𝑝 จงแสดงว่าแอมพลิจูดของอนุภาคตัวที 𝑝 มีความสัมพันธ์กับ
แอมพลิจดู ของอนุภาคตัวข้าง ๆ ตามสมการ
𝑇⁄𝑚ℓ
𝐴 = 𝐴 +𝐴
2𝑇 ⁄𝑚ℓ − 𝜔
b) กําหนดให้ 𝐴 = 𝛼 sin 𝛽𝑝 จงแสดงว่าความถีเชิงมุม

𝑇 𝑛𝜋
𝜔 = 2 sin , 𝑛 = 1, 2, 3, …
𝑚ℓ 2(𝑁 + 1)
c) จงอภิปรายกรณีทีลิมิต 𝑁 มาก ๆ
88. ลูกตุม้ เพนดูลัม (ประกอบด้วยเชือกยาว L และอนุภาคมวล m) 2 ชุดเชือมต่อกันด้วยสปริงในแนวระดับทีมีค่าคงทีของ
สปริงเท่ากับ k ความยาวธรรมชาติของสปริงเท่ากับระยะห่างระหว่างเพนดูลมั

สมมติให้การเคลือนทีของอนุภาคอยู่ในแนวระดับ จงหาความถีของ normal mode


29

89. ห้อยเชือกสมําเสมอยาว 𝐿 จากเพดาน เมือสะบัดทีปลายด้านล่างทําให้เกิดคลืน pulse 1 ลูกเคลือนทีบนเส้นเชือก สะท้อน


ทีเพดานแล้วกลับมาทีปลายด้านล่าง จงหาเวลาในการเคลือนที ( 𝑡 = 4 𝐿 ⁄𝑔 )

[Hint: สมมติให้สว่ นเล็ก ๆ 𝑑𝑥 มีแรงตึงเชือกไม่เปลียนแปลงมาก สามารถใช้สมการ 𝑣 = 𝑇⁄𝜇 ]


90. เชือก 2 เส้นยาวมีความหนาแน่น (มวลต่อความยาว) เท่ากับ 𝜇 และ 𝜇 เชือมต่อกัน จุดทีเชือกต่อกันมีอนุภาคมวล 𝑚
ติดอยู่ เมือมีคลืนความถีเชิงมุม 𝜔 เคลือนทีมาจากเส้นเชือกด้านซ้าย

สมมติให้แรงตึงเชือก 𝑇 ในเชือกทังสองเส้นเท่ากัน และแรงตึงเชือกมีค่าสูงมากพอทีเราจะสามารถไม่ตอ้ งคํานึงถึงนําหนัก


ของมวล 𝑚 ได้ พิจารณาแอมพลิจูดของคลืนตกกระทบ แอมพลิจูดของคลืนสะท้อน และแอมพลิจูดของคลืนส่งผ่าน จง
แสดงว่าสัดส่วนของพลังงานทีสะท้อนทีมวล 𝑚 คือ
(√𝜇 − √𝜇 ) + 𝜔 𝑚 ⁄𝑇
(√𝜇 + √𝜇 ) + 𝜔 𝑚 ⁄𝑇
91. เชือกตึงเส้นหนึงยาว 𝐿⁄3 ความหนาแน่น 4𝜇 ต่อกับเชือกตึงอีกเส้นหนึงยาว 2𝐿⁄3 ความหนาแน่น 𝜇 ปลายเชือกถูกตรึงที
จุด 2 จุดซึงห่างกันเป็ นระยะทาง 𝐿

กําหนดให้แรงตึงเชือกในเชือกทังสองเท่ากับ 𝑇 พิจารณาสมการคลืน
𝜕 𝑦 4𝜇 𝜕 𝑦 𝐿 𝜕 𝑦 𝜇𝜕 𝑦 𝐿
= , 0≤𝑥≤ , = , ≤𝑥≤𝐿
𝜕𝑥 𝑇 𝜕𝑡 3 𝜕𝑥 𝑇 𝜕𝑡 3
และคําตอบในรูปของ
𝐿
𝐴 sin(𝑘 𝑥) sin(𝜔𝑡 + 𝜙) 0≤𝑥≤
𝑦(𝑥, 𝑡) = 3
𝐿
𝐵 sin[𝑘 (𝐿 − 𝑥)] sin(𝜔𝑡 + 𝜙), ≤𝑥≤𝐿
3
a) โดยการหาค่าของ wave vector ทีเป็ นเป็ นไปได้ จงแสดงว่าความถีเชิงมุม
3𝑛𝜋 𝑇
𝜔 = , 𝑛 = 1, 2, 3, …
4𝐿 𝜇
b) ลอง sketch รูปร่างของเชือกสําหรับ mode 𝑛 = 1 และ 𝑛 = 2
30

92. พลาสมาเป็ นแก๊สที่แตกตัวเป็ นไอออนบวกและอิเล็กตรอน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในพลาสมามี dispersion relation


𝜔2 = 𝑐 2 𝑘 2 + 𝜔𝑝2
โดยที่ 𝑐 เป็ นความเร็วแสง และ 𝜔𝑝 (เรียกว่า plasma frequency) เป็ นปริมาณที่ขนึ ้ อยูก่ บั ความหนาแน่นของจานวน
อิเล็กตรอน
a) จงหา group velocity 𝑣𝑔 (𝜔) และ phase velocity 𝑣𝑝 (𝜔)
b) จงแสดงว่า 𝑣𝑔 𝑣𝑝 = 𝑐 2

You might also like