Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

แบบเสนอขออนุมัติโครงงาน

โครงงานสบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
( Mint and watermelon jelly soap )

ผู้เสนอโครงงาน
นายปราการ พวงจาปา
นายทศพล ชวนชื่น
นางสาวทิพวัลย์ สมุททัย

แบบเสนอขออนุมัติโครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโครงงาน
รหัสวิชา 20202-8501 ประเภทวิชา พาณิชยกรรม สาขาวิชา การตลาด
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก
ใบเสนอโครงงาน
1. ชื่อโครงงาน โครงงานสบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
2. ประเภทโครงงาน ประเภทที่ 1 โครงงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต
3. ผู้เสนอโครงงาน
3.1 นายปราการ พวงจาปา เลขที่ 18
3.2 นายทศพล ชวนชื่น เลขที่ 13
3.3 นางสาวทิพวัลย์ สมุททัย เลขที่ 14
4. ครูที่ปรึกษา
4.1 นางกัญฐณา หงษ์บุญมี
4.2 นางวรรณา บาเพ็ญผล
4.3 นางสาวจารุณี เที่ยงธรรม
5. ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทั่วไป
 เป็นผลงานโครงงานที่คิดค้นขึ้นมาใหม่
 เป็นผลงานโครงงานที่พัฒนาหรือปรับปรุงแก้ไขใหม่
รายการที่พัฒนาหรือปรับปรุงเพิ่มเติมจากของเดิม
คณะผู้จัดทาโครงงานได้สนใจศึกษาเกี่ยวกับวิธีการและขั้นตอนการทาสบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดร่างกายที่สามารถเก็บไว้ได้นานมีกลิ่นหอมคุณประโยชน์มากโดยคณะ
ผู้จัดทาโครงงานมีความสนใจที่จะนาแตงโมและใบเปปเปอร์มิ้นท์ มาประยุกต์และผลิตเป็นสบู่เจลลี่
มิ้นท์แตงโม เหมาะสาหรับการนามาทาความสะอาดผิวกาย
6. หลักการและเหตุผล
สบู่เจลลี่เป็นสบู่ที่มีที่มาเกิดจากประเทศญี่ปุ่นและได้แพร่หลายเข้ามาในไทย แต่ยังไม่เป็นที่
รู้จักมากนัก โดยตัวสบู่จะมีผิวสัมผัสที่คล้ายคลึงกับขนมเจลลี่ มีความหยืดหยุ่นสูง โดยเราได้ทาการ
ปรับปรุงและพัฒนาต่อยอด โดยการนาสารสกัดจากแตงโมและใบเปปเปอร์มิ้นท์ ที่มีส่ วนช่วยในการ
บารุงผิวพรรณและกาจัดเชื้อแบคทีเรีย ลดปัญหาผิวหมองคล้า นามาเป็นส่วนผสมหลักในการทาสบู่
เจลลี่
สบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโมมีส่วนช่วยในการผลัดเซลล์ผิว สร้างความชุ่มชื้นให้แก่ผิวกาย ฆ่าเชื้อ
แบคทีเรียและเชื้อรา ช่วยลดอาการอักเสบ ช่วยให้ผิวพรรณนุ่มลื่นน่าสัม ผัส ลดปัญหาผิวหมองคล้า
และริ้วรอย อุดมไปด้วยวิตามิน A C และ E จึงเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ทรงพลัง สามารถป้องกันผิว
จากการทาลายจากสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะประเทศไทยของเราที่มีมลภาวะที่เป็นพิษต่อผิวพรรณ
และยังช่วยลดความเครียดของผิว
ดังนั้น หลังจากคณะผู้จัดทาโครงงาน ได้รวบรวมและศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ วิธีในการทาสบู่
เจลลี่มิ้นท์แตงโม และศึกษาเกี่ยวกับส่วนผสม เป็นวัตถุดิบที่หาได้ทั่วไปที่มีคุณประโยชน์สูง คณะ
ผู้จัดทาโครงงานจึงได้นาข้อมูลดังกล่าวมาพัฒนาเป็นสบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม โดยนาความรู้ที่ศึกษามา
เผยแพร่ให้กับคนที่ ต้องการศึกษา
7. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
7.1 เพื่ อน าความรู้ จ ากสาขาวิ ช าการตลาดมาใช้ใ นการออกแบบผลิ ต ภั ณฑ์ แ ละบรรจุภั ณ ฑ์ ที่
เหมาะสมกับสบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
7.2 เพื่อศึกษาขั้นตอนการทาสบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
7.3 เพื่อสารวจความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์สบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
8. ทฤษฎี/หลักวิชาการที่นามาใช้ในการจัดทาโครงงาน
8.1 หลักการและความเป็นมาของสบู่เจลลี่
8.2 ศึกษาการทาสบู่เจลลี่
8.3 การจัดทาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ น่าทดลองใช้
8.4 ทฤษฎีและประโยชน์เกี่ยวกับแตงโม
8.5 ประเภทของแตงโม
9. ขั้นตอนการทางานของผลงานโครงงาน
9.1. เริ่มสกัดสารจากแตงโม และใบเปปเปอร์มิ้นท์
9.2. นาเบสสบู่ใสไปหลอมละลาย โดยวิธีการ เวฟ/ตุน๋
9.3. ใส่เจลลาติน ผสมกับสีน้าเกรดเครื่องสาอางค์ใส่ลงไปในเบสสบู่ใสคนให้เข้ากัน
9.4. เบสสบู่อุณหภูมิได้ทีแล้ว นาสารสกัดที่เตรียมไว้และกลิ่นเปปเปอร์มิ้นท์ใส่ลงไปคนให้เข้ากัน
9.5. นาสบู่เหลวที่ได้ใส่ลงแม่พิมพ์ รอแห้งแล้วแกออกจากแม่พิมพ์ เสร็จ
10. ขอบเขตของโครงงาน
10.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
10.1.1 ประชากร คือ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคจันทบุรี
10.1.2 กลุ่ มตัว อย่ าง คือ นักเรียน นักศึกษา แผนกพาณิช ยกรรม วิทยาลั ยเทคนิค
จันทบุรี และครู จานวน 50 คน
10.2 ตัวแปรที่ศึกษา
10.2.1 ตัวแปรต้น ผลิตภัณฑ์สบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
10.2.2 ตัวแปรตาม ความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์สบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
10.3 เครื่องมือที่ใช้ในโครงงาน
แบบสอบถามความพึงพอใจผลิตภัณฑ์สบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโมโดยแบ่งลักษณะเป็น 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์สบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ
10.4 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
10.4.1 ศึกษาสร้างแบบสอบถาม สังเกตจากเอกสารค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
10.4.2 สร้างแบบสอบถามระดับความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์สบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
10.4.3 นาแบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อประเมินระดับความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์
สบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโม
10.4.4 วิเ คราะห์ ข้ อ มู ล ในภาพรวมโดยใช้ ส ถิ ติ ค่ า เฉลี่ ย ร้ อ ยละและค่า ส่ ว นเบี่ ย งเบน
มาตรฐาน
10.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติ เ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ใช้วิเคราะห์แบบสอบถาม ได้แก่ ร้อยละ
(Percentage) ใช้อธิบายข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาและ
สถานะภาพค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้วิเคราะห์ระดับ
ความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ที่เสนอให้แก่ผู้บริโภค
11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
11.1 สามารถนาความรู้จากสาขาวิชาการตลาดมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่
เหมาะสมกับสบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโมได้
11.2 สามารถศึกษาขั้นตอนการทาสบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโมที่มีคุณภาพได้
11.3 สามารถสารวจความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์สบู่เจลลี่มิ้นท์แตงโมได้
12. ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดทาโครงงาน

ขั้นตอน สัปดาห์
การดาเนินงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
1.เสนอโครงงาน
2.ขออนุมัติโครงงาน
3.ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นใน
การทา
4.ศึกษาและวิเคราะห์
ข้อมูล
5.ออกแบบผลิตภัณฑ์
6.ผลิตและจาหน่าย
ผลิตภัณฑ์
7.จัดทารูปเล่มเอกสาร
โครงงาน
8.แจกแบบสอบถามและ
สรุปผลดาเนินการ
9.เสนอโครงงานและ
ประเมิน
ผลการดาเนินโครงงาน
13. งบประมาณและทรัพยากร
ที่ รายการวัสดุ จานวน หน่วย ราคา
1 สารสกัดแตงโม 100 มิลลิลิตร 100
2 สารสกัดใบเปปเปอร์มิ้นท์ 100 มิลลิลิตร 130
3 เจลลาติน 100 กรัม 90
4 แม่พิมพ์ 2 อัน 100
5 เบสสบู่ใส 500 กรัม 60
6 สีน้าเกรดเครื่องสาอางค์ 3 ขวด 27
7 กลิ่นเปปเปอร์มิ้นท์ 5 กรัม 30
รวม 537
หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายในการผลิตเป็นเงิน 537 บาท สามารถทาได้ 17 ก้อน เฉลี่ยก้อนละ 32 บาท

..……………………………………. ..….…………………………….. .……...………………………………


(นายปราการ พวงจาปา) (นายทศพล ชวนชื่น) (นางสาวทิพวัลย์ สมุททัย)
ผู้รับผิดชอบโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน
ความคิดเห็นของครูที่ปรึกษา/ครูผู้สอนโครงงาน/คณะกรรมการผู้ตรวจสอบโครงงาน

ลงชื่อ……………………………… ลงชื่อ……………………………….
(นางกัญฐณา หงษ์บุญมี) (นางวรรณา บาเพ็ญผล)
ครูผู้สอน ครูทปี่ รึกษาโครงงาน

ลงชื่อ………………………………
(นางสาวจารุณี เที่ยงธรรม)
ครูที่ปรึกษาโครงงาน

ความคิดเห็นของหัวหน้าสาขาวิชาการตลาด
โครงการนี้เห็นสมควร  อนุมัติ  ไม่อนุมัติจัดทา
ลงชื่อ………………………………
(นางสาวโศภชา เผือกอุ่มรดาภา)
หัวหน้าสาขาวิชาการตลาด
ความคิดเห็นของรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
โครงการนี้เห็นสมควร  อนุมัติ  ไม่อนุมัติจัดทา
ลงชื่อ………………………………
(นายชูชาติ รูปงาม)
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ

You might also like