การแสวงหาความรู้ทางดนตรีและความเป็นมาของปัญหาวิจัย

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

1

การแสวงหาความรู้ ทางดนตรีและความเป็ นมาของปัญหาวิจัย

วิธีการแสวงหาความรู ้
โดยปกติแล้ว มนุษย์ทุกคนมีความรู ้ต่างๆ ไม่เท่ากัน และไม่เหมือนกัน และก็ยอ่ มมีความ
ต้องการจะรู ้สิ่งต่างๆ เพิ่มขึ้นอยูต่ ลอดเวลา จึงเกิดการเสาะแสวงหาความรู ้ใหม่ๆ ซึ่งอาจเป็ นไปตาม
วิธีดงั ต่อไปนี้
1. การสอบถามจากผูร้ ู ้ (Authority)
2. การศึกษาจากขนบธรรมเนียมประเพณี (Tradition)
3. การใช้ประสบการณ์ (Experience) เป็ นการเรี ยนรู ้ท้ งั จากสิ่ งต่างๆ ในอดีต และปัจจุบนั
เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจในการปรับปรุ งแก้ไข และพัฒนาสิ่ งต่างๆ ให้ดีข้ นึ
4. วิธีการอนุมาน (Deductive method) คือ กระบวนการคิดค้นจากเรื่ องทัว่ ๆ ไป ไปสู่ เรื่ อง
เฉพาะเจาะจง หรื อคิดจากส่ วนใหญ่ไปสู่ ส่วนย่อย จากสิ่ งที่รู้ไปสู่ สิ่งที่ไม่รู้ วิธีการอนุมานนี้จะ
ประกอบด้วย
- ข้อเท็จจริ งใหญ่ (Major premise) ซึ่งเป็ นเหตุการณ์ที่เป็ นจริ งอยูแ่ ล้วในตัวมันเอง
- ข้อเท็จจริ งย่อย (Minor premise) ซึ่งมีความสัมพันธ์กบั กรณีของข้อเท็จจริ งใหญ่
- ข้อสรุ ป (Conclusion) ถ้าข้อเท็จจริ งใหญ่และข้อเท็จจริ งย่อยเป็ นจริ ง ข้อสรุ ปก็จะต้องเป็ น
จริ งด้วย ตัวอย่างเช่น
ข้อเท็จจริ งใหญ่ : สัตว์ทุกชนิดต้องตาย
ข้อเท็จจริ งย่อย : สุนขั เป็ นสัตว์ชนิดหนึ่ง
ข้อสรุ ป : สุนขั ต้องตาย
กระบวนการนี้ เป็ นการตั้งสมมติฐาน คาดการณ์ ประมาณการณ์ล่วงหน้า
5. วิธีการอุปมาน (Inductive method) จะเริ่ มจากส่ วนย่อยไปหาส่ วนใหญ่ คือ การทดลอง
และบันทึกข้อเท็จจริ งต่างๆ หรื อข้อสรุ ปย่อยๆ ก่อน แล้วจึงสรุ ปรวมไปหาข้อสรุ ปใหญ่ซ่ ึงตรงกัน
ข้ามกับวิธีอนุมานที่เริ่ มจากส่ วนใหญ่ไปสู่ ส่วนย่อย วิธีการอุปมานนี้ อาจจัดแยกได้เป็ น 2 ชนิด
- วิธีการอุปมานแบบสมบูรณ์ (Perfect inductive method) เช่น ต้องการทราบว่าผูท้ ี่อาศัยอยู่
ในเขตกรุ งเทพมหานครนับถือศาสนาอะไรบ้าง ก็ตอ้ งสอบถามจากผูท้ ี่อาศัยอยูใ่ นกรุ งเทพมหานคร
ว่านับถือศาสนาอะไร แล้วจึงสรุ ปว่าผูท้ ี่อาศัยอยูใ่ นเขตกรุ งเทพมหานครนับถือศาสนาใดบ้าง
- วิธีการอุปมานแบบไม่สมบูรณ์ (Imperfect inductive method) คือ การรวบรวมข้อเท็จจริ ง
ย่อยๆ จากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของกลุ่มประชากร ถึงแม้วา่ การแสวงหาความรู ้โดยใช้
วิธีการอุปมานแบบไม่สมบูรณ์จะทาให้ผเู ้ สาะแสวงหาความรู ้ได้ขอ้ สรุ ปที่อาจจะไม่ถูกต้องทั้งหมด
แต่ก็สามารถใช้เป็ นข้อมูลในการตัดสิ นใจปัญหาบางประการได้อย่างมีเหตุผลและเชื่อถือได้
2

6. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) คือ การนาหลักการอุปมานและอนุมานมา


ผสมผสานกัน ซึ่งเป็ นวิธีการเสาะแสวงหาความรู ้ที่ดี สามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้
ซึ่งวิธีการต่างๆ เหล่านี้ ต้องผ่านกระบวนการคิดและวิเคราะห์อย่างระมัดระวัง ตั้งแต่
ขั้นตอนการหาข้อมูลพื้นฐาน ไปจนกระทัง่ ขั้นตอนการสรุ ปผล เนื่องจากอาจมีปัจจัยบางอย่างใน
บางขั้นตอนที่ทาให้ผลลัพธ์ที่ได้น้ นั คลาดเคลื่อนไปจากความเป็ นจริ ง

วิธีการแสวงหาความรู ้ทางดนตรี
สิ่ งต่างๆ ที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น เกี่ยวกับการแสวงหาความรู ้ทวั่ ๆ ไป แต่หากต้องการ
แสวงหาความรู ้ทางดนตรี น้ นั อาจทาได้โดยวิธีต่างๆ ดังนี้
1. การศึกษาจากขนบธรรมเนี ยมประเพณี และวัฒนธรรม สิ่ งนี้จะทาให้ผศู ้ ึกษาได้รับความรู ้
เกี่ยวกับดนตรี พ้นื บ้านประจาท้องถิ่นของตนเอง ซึ่งการศึกษาเช่นนี้จะเป็ นไปอย่างธรรมชาติที่สุด
เนื่องจากผูศ้ ึกษาได้ศึกษาไปอย่างไม่รู้ตวั ซึมซับตั้งแต่เยาว์วยั เป็ นส่ วนหนึ่งของการดาเนินชีวิต
ตั้งแต่เกิดจนกระทัง่ ตาย ไม่มุ่งเน้นในเรื่ องของพัฒนาการเท่าใดนัก เป็ นการใช้ดนตรี ในกิจกรรม
ต่างๆ ของสังคม เช่น ดนตรี ในพิธีต่างๆ เป็ นต้น
2. การสอบถามจากผูร้ ู ้
2.1 เมื่อพูดถึงวิธีการแสวงหาความรู ้วิธีน้ ี ทาให้นึกถึงในด้านของดนตรี ไทย
มากกว่าดนตรี สากล เนื่องจากสมัยก่อน การเรี ยนดนตรี ไทยนั้นไม่ได้เปิ ดเป็ นโรงเรี ยน
ดังเช่นปัจจุบนั ผูใ้ ดติดใจในความสามารถหรื อรสนิยมของครู ท่านใดก็ไปตามเรี ยนกับครู
ท่านนั้น ความรู ้ก็จะแตกแขนงออกไปเป็ นหลายทางตามแต่ครู แต่ละท่านจะเห็นชอบ
2.2 การเข้ารับการศึกษาด้านดนตรี ทั้งจากสถาบันของภาครัฐและเอกชน มีท้ งั ใน
ด้านดนตรี ไทยและดนตรี สากล แต่มกั เป็ นดนตรี สากลเป็ นส่วนใหญ่ การแสวงหาความรู ้
ด้วยวิธีน้ ี มักมุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถด้านการปฏิบตั ิเป็ นสาคัญ ซึ่งก็อาจจะได้รับ
ความรู ้ดา้ นทฤษฎีควบคู่กนั ไปด้วย ขึ้นอยูก่ บั ครู ผสู ้ อน
3. การหาข้อมูลด้วยตนเอง ซึ่ งสามารถหาได้จากหลายแหล่ง ได้แก่ การค้นคว้าข้อมูลดนตรี
จากหนังสื อ การรับข้อมูลดนตรี จากสื่ อ การหาความรู ้ทางดนตรี จากInternet แต่ความรู ้ที่ได้จะมัก
ไม่ใช่ความรู ้ดา้ นทักษะหรื อเชิงปฏิบตั ิ หรื อหากได้ก็มีประสิ ทธิภาพไม่เท่ากับการได้เข้ารับ
การศึกษาจากสถาบันสอนดนตรี เนื่ องจากการหาความรู ้ดว้ ยตนเองนั้น หากเราปฏิบตั ิผิดวิธีก็ไม่
สามารถทราบได้วา่ ผิด ต่างจากการเข้ารับการศึกษากับทางสถาบันดนตรี โดยตรงนั้น ซึ่งจะมี
ครู ผสู ้ อนที่จะทาหน้าที่ให้คาแนะนาถึงวิธีปฏิบตั ิที่ถูกต้องและบอกได้วา่ สิ่ งที่เราปฏิบตั ิอยูน่ ้ นั ถูก
หรื อผิด และหากผิด ควรจะแก้ไขอย่างไร และสิ่ งสาคัญสิ่ งหนึ่งในการแสวงหาความรู ้ทางดนตรี ก็
คือการฟังดนตรี นนั่ เอง
3

ความเป็ นมาของปัญหาวิจยั
ที่มาของปัญหาวิจยั นั้น อาจเกิดขึ้นระหว่างกระบวนการแสวงหาความรู ้ หรื ออาจเกิดขึ้น
หลังจากเสร็ จสิ้ นกระบวนการแสวงหาความรู ้แล้วนาไปปฏิบตั ิ (การนามาปฏิบตั ิ ไม่ได้หมายถึงการ
ปฏิบตั ิดนตรี เพียงอย่างเดียว แต่หมายรวมถึงการนาความรู ้ในเชิงปฏิบตั ิไปสอนด้วย) และเมื่อเกิด
ปัญหา เกิดความสงสัยใคร่ รู้ จึงพยายามที่จะค้นคว้าเพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบ และเมื่อได้คาตอบหรื อ
ได้แนวทางก็นาไปแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้น แต่หากเกิดปัญหาหรื อคาถามใดๆ ก็ตามซึ่งไม่เคยมีใครคิด
หาคาตอบมาก่อน ก็จะต้องค้นหาคาตอบอย่างมีระบบและวัตถุประสงค์ที่แน่นอนโดยอาศัยวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ (ไม่ใช้ความคิดเห็นส่ วนตัว) เช่น เมื่อได้ขอ้ มูลต่างๆ มา ก็มีการกลัน่ กรองข้อมูล
ต่างๆ เหล่านั้น ว่าเป็ นข้อมูลที่ถูกต้องและเชื่อถือได้หรื อไม่ แล้วนามาวิเคราะห์เพื่อหาคาตอบของ
คาถามที่เกิดขึ้นได้ เป็ นต้น ที่สาคัญคือ ความรู ้ต่างๆ เหล่านั้นจะต้องสามารถตรวจสอบได้
ดังนั้นสาหรับนักศึกษาปริ ญญาโทหรื อเอก ปัญหาวิจยั อาจเกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนผูว้ ิจยั จะเข้ารับ
การศึกษา คือ เกี่ยวเนื่ องมาจากปัญหาที่เกิดขึ้นจากการสอน หรื ออาจเกิดขึ้นในระหว่างทาการศึกษา
ก็ได้ ซึ่งก็จะมีขอ้ ดี ข้อด้อยแตกต่างกันออกไป
- ข้อดีของการมีปัญหาวิจยั ตั้งแต่ก่อนเข้ารับการศึกษาทาให้ผเู ้ ข้ารับการศึกษามีแนวทางที่
แน่นอน ชัดเจนในการทาวิจยั ตั้งแต่เนิ่นๆ และเมื่อได้ผลวิจยั ออกมาแล้ว ก็สามารถนาไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ต่อหน้าที่การงานได้อีกด้วย แต่การตั้งหัวข้อไว้ก่อนนั้น ก็อาจเป็ นการตีกรอบความคิด
ของผูท้ ี่จะทาการวิจยั มากเกินไป ทาให้มีความคิดที่แคบ ไม่ยอมเปลี่ยนความคิดหรื อแนวทางในการ
คิด ซึ่งก็อาจเป็ นอุปสรรคต่อการทาวิจยั ให้สาเร็ จได้เช่นกัน
- การเกิดปั ญหาวิจยั ระหว่างเรี ยนนั้น ทาให้มีแนวทางในการตั้งโจกท์มาก สามารถเลือก
เรื่ องที่อยูใ่ นความสนใจจริ งๆ ได้ แต่ในบางครั้งก็เกิดปั ญหา เช่น มีเรื่ องที่อยากจะทาแต่ไม่สามารถ
ตั้งเป็ นหัวข้อในการทาวิจยั ได้ เป็ นต้น ซึ่งก็จะทาให้งานวิจยั ล่าช้า และอาจทาให้ไม่สามารถจบ
กระบวนการต่างๆ ได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด (5 ปี )
4

บรรณานุกรม

บุญเรี ยง ขจรศิลป์ . (2543). วิธิวิจยั ทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุ งเทพมหานคร: ห.จ.ก. พี.เอ็น.
การพิมพ์.
อดุลย์ วิริยเวชกุล, ปรี ชา อุปโยคิน, ประสิ ทธิ์ ลีระพันธ์, บรรณาธิการ. คู่มือวิทยานิพนธ์. สิ่ งพิมพ์
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุ งเทพมหานคร:

You might also like