Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 18

ผลงานนวัตกรรมวิชาการ CUP สวรรคโลก ประจำปี 2565

เครือข่ายบริการสุขภาพ อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย :


ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา: การพัฒนารูปแบบการดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบา
หวาน DM foot ป้ องกันได้
โรงพยาบาล / สถาบัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมาบป่ าเลา
จังหวัด สุโขทัย
ชื่อเจ้าของผลงาน นางสาวประภาพร โพธิ์งาม ชื่อย่อวุฒิการศึกษา ปริญญา
พยาบาลศาสตรบัณฑิต
ชื่อผู้ร่วมผลงาน นางสาวปั ทมา พึ่งสถิตย์ ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหา
บัณฑิต
นางสาวนัฐวรรณ จันทร์วิลัย ปริญญาสาธารณสุขศาสตร
บัณฑิต
นายสมรัก มากมี ปริญญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต
ชื่อผู้นำเสนอผลงาน นางสาวประภาพร โพธิ์งาม ชื่อย่อวุฒิการศึกษา
ปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต

บทคัดย่อ
การทำ CQI ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่ วยเบาหวานที่ไม่มีแผลที่
เท้า มีความรู้ และมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ถูกต้อง อาการชาเท้าลดลง
สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่ วยเบาหวานในการดูแลตนเอง ป้ องกันภาวะ
แทรกซ้อนทางเท้า

ในปี 2564 ทีผ่านมา พบปั ญหาผู้ป่ วยเบาหวานมีแผลถูกตัดนิ้วเท้า


จำนวน 2 คน คิดเป็ น 11.70 ต่อแสนประชากร และจากการดำเนินงาน
ตรวจสุขภาพเท้าประจำปี ที่ผ่านมา พบว่า มีผู้ป่ วยเบาหวานที่มีระดับความ
เสี่ยงในระดับ 1 - 3 จำนวน 16 คน 9.42 ต่อแสนประชากร ซึ่งผู้ป่ วยส่วน
ใหญ่เป็ นผู้ป่ วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ ผู้ป่ วยเบาหวานถูกตัดที่
ระดับนิ้วเท้า สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดเลือดมาเลี้ยง (ร้อยละ 84.3)
ใช้ระยะเวลาพักรักษาตัวในโรงพยาบาลเฉลี่ย 32.5 วัน มีค่าใช้จ่ายทางตรง
เฉลี่ย 80,490 บาท ส่งผลเกี่ยวเนื่องกับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่เพิ่ม
สูงขึ้น ค่าเสียโอกาสในการทำงานของผู้ป่ วยและผู้ดูแล ส่งผลกระทบต่อ
ภาวะเศรษฐกิจระดับบุคคลและครอบครัว สาเหตุหลักของภาวะแทรกซ้อน
ทางเท้ามาจากผู้ป่ วยขาดความรู้และมีพฤติกรรมการดูแลเท้าที่ไม่ถูกต้องส่ง
ผลให้เกิดอาการชา และแผลที่เท้าตามมาทำให้ผู้ป่ วยเบาหวานที่มีความ
จำเป็ นที่ต้องได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพ

จากปั ญหาที่พบทีมผู้จัดทำจึงได้วิเคราะห์ปั ญหาและวางแผนในการ


พัฒนาร่วมกันโดยใช้รูปแบบการดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบาหวาน DM foot
ป้ องกันได้ โดยอสม.มีส่วนร่วมในกระบวนการดำเนินงาน มีเป้ าหมายเพิ่ม
การไหลเวียนโลหิต ลดอาการชาและป้ องกันภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ซึ่ง
ดำเนินการกลุ่มผู้ป่ วยเบาหวานที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านมาบ
ป่ าเลา จำนวน 38 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ (1) แบบประเมินความรู้การดูแล
เท้าผู้ป่ วยเบาหวาน ก่อน-หลังการทำกิจกรรม (2) แบบประเมินเท้าผู้ป่ วย
เบาหวาน (3) ฝึ กปฏิบัติตามแผ่นพับวิธีการดูแลเท้าสำหรับผู้ป่ วยเบาหวาน

ผลของการเปลี่ยนแปลง พบว่าผู้ป่ วยเบาหวานที่รับยาในคลินิกโรค


เรื้อรัง รพ.สต.บ้านมาบป่ าเลา จำนวน 38 คน ส่วนใหญ่มี
ความรู้อยู่ในระดับสูงจำนวน 27 คน (ร้อยละ 84.21) จากการติดตามผู้ป่ วย
หลังการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง พบว่า ผู้ป่ วยโรคเบาหวานมีความ
เสี่ยงในระดับ 1 และมีอาการชาเท้าลดลง เหลือเพียง 3 คน มีระดับความ
เสี่ยงในระดับ 0 และไม่มีอาการชาเท้า 35 คน (ร้อยละ 92.11) ในส่วนของ
การสูญเสียความรู้สึก พบว่า ก่อน-หลังเข้าร่วมกิจกรรม ยังคงมีผู้ป่ วยที่สูญ
เสียความรู้สึก 3 คน (ร้อยละ 7.89)

เพราะฉะนั้น การพัฒนารูปแบบการดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบาหวาน DM


foot ป้ องกันได้ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนทางเท้าผู้ป่ วยเบาหวานนั้น สามารถ
ลดภาวะแทรกซ้อนทางเท้าได้ ทั้งนี้ต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและ
ขยายผลให้ครอบคลุมในกลุ่มของผู้ป่ วยเบาหวานทั้งหมดในเขตรับผิดชอบ
รพ.สต.บ้านมาบป่ าเลาต่อไป
ชื่อผู้ที่สามารถติดต่อได้ นางสาวประภาพร โพธิ์งาม พยาบาลวิชาชีพ
ปฏิบัติการ โทร 087-5252013 Email saifetsai@gmail.com

1. ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา : การพัฒนารูปแบบการดูแลเท้าในผู้ป่ วย
เบาหวาน DM foot ป้ องกันได้
2. คำสำคัญ:
การพัฒนารูปแบบการดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบาหวาน DM foot
ป้ องกันได้ หมายถึง กิจกรรมการดูแลเท้าผู้ป่ วยเบาหวาน 3 กิจกรรม
โดย อสม.มีส่วนร่วม เป้ าหมายเพิ่มการไหลเวียนโลหิต ลดอาการชา
และป้ องกันภาวะแทรกซ้อนทางเท้า
3. ชื่อหน่วยงาน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมาบป่ าเลา อำเภอ
สวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย
4. สมาชิกทีมและการติดต่อกับทีมงาน:ระบุชื่อผู้ที่สามารถติดต่อได้ ชื่อ
หน่วยงาน โทรศัพท์ Email
สมาชิกทีม นางสาวปั ทมา พึ่งสถิตย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญ
การ
นางสาวนัฐวรรณ จันทร์วิลัย นักวิชาการสาธารณสุข
นายสมรัก มากมี นักวิชาการสาธารณสุข
ชื่อผู้ที่สามารถติดต่อได้ นางสาวประภาพร โพธิ์งาม พยาบาลวิชาชีพ
ปฏิบัติการ
ชื่อหน่วยงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมาบป่ าเลา
โทร 087-5252013
Email saifetsai@gmail.com
5. เป้ าหมาย:
1. เพื่อให้ผู้ป่ วยเบาหวานที่ไม่มีแผลที่เท้ามีความรู้ในการดูแลเท้า
ที่ถูกต้องเพิ่มขึ้นภายในไตรมาศที่ 2 ในเขตความรับผิดชอบ
ของ รพ.สต.บ้านมาบป่ าเลา
2. เพื่อให้ผู้ป่ วยเบาหวานที่ไม่มีแผลที่เท้ามีอาการชาเท้าลดลง
ร้อยละ 80 ภายในไตรมาศที่ 2
ในเขตความรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านมาบป่ าเลา
3. ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการพัฒนารูป
แบบการดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบาหวาน DM foot ป้ องกันได้ ร้อย
ละ 80
4. ผู้ให้บริการมีความพึงพอใจในการใช้เครื่องมือแบบประเมิน
DM Foot ร้อยละ 80

6. ปั ญหาและสาเหตุโดยย่อ:
โรคเบาหวานเป็ นโรคเรื้อรังที่เกิดจากความผิดปกติของร่างกายที่
มีการผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอหรือร่างกายไม่สามารถนำ
น้ำตาลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
ซึ่งการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเป็ นระยะเวลานาน ส่งผลให้อวัยวะ
เสื่อมสมรรถภาพ และทำงานล้มเหลว เป็ นเหตุให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ที่ตา ไต หลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง ชาปลายมือปลายเท้า
รวมถึงเป็ นแผลง่ายหายยาก
ปั จจุบันสถานการณ์โรคเบาหวานทั่วโลกมีผู้ป่ วยจำนวน 463
ล้านคน และคาดการณ์ว่าในปี 2588 จะมีผู้ป่ วยเบาหวานจำนวน 629
ล้านคน สำหรับประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่ม
ขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่ วยรายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ 3 แสนคนต่อปี
ปั จจุบันจังหวัดสุโขทัยมีผู้ป่ วยโรคเบาหวานทั้งหมด 38,755 คน
อำเภอสวรรคโลกมีผู้ป่ วยเบาหวานจำนวน 5,296 คน โรงพยาบาลส่ง
เสริมสุขภาพตำบลบ้านมาบป่ าเลามีพื้นที่รับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน
ประชากรทั้งสิ้นจำนวน 1,698 คน มีผู้ป่ วยเบาหวานสะสมจนถึง
ปั จจุบัน 141 คน คิดเป็ น 830.38 ต่อแสนประชากร และพบว่าผู้ป่ วย
เบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งในปี 2564 ทีผ่าน
มา พบผู้ป่ วยเบาหวานมีแผลถูกตัดนิ้วเท้า จำนวน 2 คน คิดเป็ น
11.70 ต่อแสนประชากร และจากการดำเนินงานตรวจสุขภาพเท้า
ประจำปี ที่ผ่านมา พบว่า มีผู้ป่ วยเบาหวานที่มีระดับความเสี่ยงใน
ระดับ 1 - 3 จำนวน 16 คน 9.42 ต่อแสนประชากร ผู้ป่ วยเบาหวานที่
มีระดับความเสี่ยงในระดับ 1 - 3 จำนวน 16 คน 9.42 ต่อแสน
ประชากร ซึ่งผู้ป่ วยส่วนใหญ่เป็ นผู้ป่ วยเบาหวานที่ควบคุมระดับ
น้ำตาลไม่ได้ ผู้ป่ วยเบาหวานถูกตัดที่ระดับนิ้วเท้า

สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการขาดเลือดมาเลี้ยง (ร้อยละ 84.3) ใช้


ระยะเวลาพักรักษาตัวในโรงพยาบาลเฉลี่ย 32.5 วัน มีค่าใช้จ่ายทาง
ตรงเฉลี่ย 80,490 บาท ส่งผลเกี่ยวเนื่องกับค่าใช้จ่ายในการรักษา
พยาบาลที่เพิ่มสูงขึ้น ค่าเสียโอกาสในการทำงานของผู้ป่ วยและผู้ดูแล
ส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจระดับบุคคลและครอบครัว สาเหตุหลัก
ของภาวะแทรกซ้อนทางเท้ามาจากผู้ป่ วยขาดความรู้และมีพฤติกรรม
การดูแลเท้าที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้เกิดอาการชา และแผลที่เท้าตามมา
และจากรูปแบบเดิมในการประเมินเท้าผู้ป่ วยเบาหวานปี ละครั้ง ซึ่ง
แบบประเมินสามารถทำได้เฉพาะบุคลากรสาธารณสุข แบบประเมินมี
ความเข้าใจยากสำหรับสหวิชาชีพ
ดังนั้นทาง รพ.สต.บ้านมาบป่ าเลา จึงมีแนวทางการพัฒนารูป
แบบการดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบาหวาน DM foot ป้ องกันได้ โดยทีมสห
วิชาชีพมุ่งเน้น อสม. เพื่อให้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่ วยเบาหวานใน
ชุมชน ซึ่งจะมีผลต่อการเพิ่มการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิต ลด
การเสื่อมของปลายประสาท ลดอาการชา และสามารถป้ องกันภาวะ
แทรกซ้อนได้เป็ นอย่างดี

Fish Bone Diagram ภาวะแทรกซ้อนทางเท้าผู้ป่ วยเบาหวานในเขตรับผิด


ชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน
มาบป่ าเลา ตำบลปากน้ำ อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย

ระยะเวลาการเป็ นเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้

ความผิดปกติของสรีระเท้า พฤติกรรมการกินไม่ถูกต้อง

ความผิดปกติของ
หลอดเลือด เส้นประสาท หนังเท้าแข็ง ขาดการออกกำลังกาย

ภาวะ
แทรกซ้อน
ผู้ป่ วย ขาดการบริหารเท้า
ไม่สวมรองเท้า
ครอบครัว อสม. ขาดความรู้ความเข้าใจ
ขนาดรองเท้าไม่เหมาะสม
ขาดการตรวจเท้า/เล็บ
การสูบบุหรี่ เท้าอับชื้น / ไม่สะอาด
การมีส่วนร่วม
พฤติกรรมการดูแลเท้าไม่ถูกต้อง

7. กิจกรรมการพัฒนา:
1. สำรวจข้อมูลผู้ป่ วยเบาหวานที่มี และไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางเท้า
ในพื้นที่เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านมาบป่ าเลา ย้อน
หลัง 3 ปี ( 2562 – 2564 )
2. คืนข้อมูลปั ญหาแผลที่เท้าในผู้ป่ วยเบาหวานเกิดขึ้นในพื้นที่พร้อม
ทั้งชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน พร้อมทั้งกำหนดกลุ่มเป้ า
หมายนำร่องคือ ผู้ป่ วยเบาหวานที่ไม่มีแผลที่เท้าที่สมัครใจเข้าร่วม
กิจกรรม จำนวน 38 คน
3. ประเมินความรู้เรื่องการดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบาหวานก่อนการให้ความ
รู้
4. ดำเนินการให้ความรู้ด้วยแผ่นพับเรื่องการดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบา
หวาน พร้อมทั้งฝึ กปฏิบัติการดูแลเท้า ตอบข้อซักถาม และทำแบบ
ประเมินหลังให้ความรู้

5. ติดตามประเมินผลพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเท้าและการตรวจเท้า
ของกลุ่มเป้ าหมายโดย อสม.ใช้แบบประเมิน DM foot ที่ถูกปรับ
จากแบบประเมินสุขภาพเท้าผู้ป่ วยเบาหวานประจำปี เพื่อติดตาม
ประเมินเท้าต่อเนื่อง ให้ในการประเมินเท้าทุก 2 เดือน(ผู้ที่มีความ
เสี่ยงในระดับ 0-2 )
6. ประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเท้าที่บ้านของกลุ่มเป้ าหมายที่มี
ความเสี่ยงในระดับ 3 ทุกเดือนโดย อสม.และเจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้า
นานมาบป่ าเลา
7. สรุปผลการดำเนินงาน

Flow กระบวนการประเมินสุขภาพเท้า Flow


กระบวนการประเมินสุขภาพ
ผู้ป่ วยเบาหวานแบบเดิม เท้าผู้
ป่ วยเบาหวานแบบปรับปรุง

แจ้งกลุ่มเป้ าหมาย
แจ้งกลุ่มเป้ าหมาย ให้ อสม.ทราบ
คัดรองที่ รพ.สต โดยเจ้าหน้าที่ คัดรองที่บ้านโดย อสม.ทุก 2 เดือน
สาธารณสุขทุก 1 ปี

คัดกรองอาการชาเท้า แผลที่เท้า

คัดกรอง ตา เท้า
ปกติ ผิดปกติ

ปกติ ผิดปกติ

ให้คำแนะนำ ส่งต่อ รพ.สต

ให้คำแนะนำ ส่งต่อ รพ.


ประเมินซ้ำ

D/C รักษา
ผิดปกติ

ส่งต่อ รพ.สต ดูแลต่อเนื่อง ส่งต่อ รพ.


8. การวัดผลและผลการเปลี่ยนแปลง:

แผนภูมิที่ 1 แสดงผลการเปรียบเทียบก่อนและหลังให้ความรู้ผู้ป่ วยโรคเบา


หวาน จำนวน 38 ราย

(ราย)
35
32
30

25

20
20
สูง
15
ปานกลาง
ต่ำ
10
10 8
6
5

0
0
ก่อนให้ความรู้ หลังให้ความรู้

จากแผนภูมิที่ 1 แสดงข้อมูลระดับความรู้การดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบา


หวาน ของผู้ป่ วยโรคเบาหวาน ที่สมัครใจในเขตรับผิดชอบ
รพ.สต.บ้านมาบป่ าเลา อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย จำนวน 38 คน
พบว่า ก่อนให้ความรู้ส่วนใหญ่มีความรู้อยู่ใน ระดับปานกลาง จำนวน 20
คน (ร้อยละ 52.63) รองลงมาคือ ระดับต่ำ จำนวน 10 คน (ร้อยละ 26.31)
และระดับสูง จำนวน 8 คน (ร้อยละ 20.05) โดยหลังได้รับการให้ความรู้
พบว่า ส่วนใหญ่มีความรู้อยู่ในระดับสูงจำนวน 27 คน (ร้อยละ 84.21 ) รอง
ลงมา คือ ระดับปานกลาง จำนวน 6 คน (ร้อยละ 15.79)

แบบประเมินความรู้เรื่องการดูแลเท้าในผู้ป่ วยเบาหวาน
ตารางที่ 1 ผลการตรวจเท้าก่อน - หลังการเข้าร่วมกิจกรรม DM foot ป้ องกันได้ เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
ทางเท้าในผู้ป่ วยโรคเบาหวาน จำนวน 38 คน
ผลการตรวจเท้าของผู้เข้าร่วมกิจรรม ผลการตรวจ
อาการชา
การประเมิน การสูญเสียความรู้สึก
ระดับความเสี่ยง
ด้านซ้าย ด้านขวา

0 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 ชา ไม่ชา

15 23 0 0 21 1 1 0 21 1 1 0 23 15
ก่อนเข้าร่วม
(39.4 (60.5 (0.0 (0.0 (55. (2.6 (2.6 (0.0 (55. (2.6 (2.6 (0.0 (60.5 (39.4
กิจกรรม 7) 3) 0) 0) 26) 3) 3) 0) 26) 3) 3) 0)
3) 7)
23 15 0 0 13 1 1 0 13 1 1 0 15 23
ติดตามหลังเข้าร่วม
(60.5 (39.4 (0.0 (0.0 (34. (2.6 (2.6 (0.0 (34. (2.6 (2.6 (0.0 (39.4 (60.5
ครั้งที่ 1 3) 7) 0) 0) 21) 3) 3) 0) 21) 3) 3) 0) 7) 3)
26 12 0 0 11 1 0 0 11 1 0 0 12 26
ติดตามหลังเข้าร่วม
(68.4 (31.5 (0.0 (0.0 (28. (2.6 (0.0 (0.0 (28. (2.6 (0.0 (0.0 (31.5 (68.4
ครั้งที่ 2
2) 8) 0) 0) 94) 3) 0) 0) 94) 3) 0) 0) 8) 2)
35 3 0 0 3 0 0 0 3 0 0 0 3 35
ติดตามหลังเข้าร่วม
(92.1 (7.89 (0.0 (0.0 (7.8 (0.0 (0.0 (0.0 (7.8 (0.0 (0.0 (0.0 (7.89 (92.1
ครั้งที่ 3
1) ) 0) 0) 9) 0) 0) 0) 9) 0) 0) 0) ) 1)
คำอธิบาย : การจำแนกผู้ป่ วยตามระดับความเสี่ยง จำแนกได้เป็ น 4 กลุ่ม ดังนี้
ระดับ 0 (Low risk) : กลุ่มที่มีความรู้สึกสัมผัสเท้าที่ปกติ แต่ไม่มีอาการเท้าชา และไม่มีแผล ไม่มีการสูญเสียความ
รู้สึกในการป้ องกันอันตราย
ระดับ 1 (Moderate risk) : กลุ่มที่มีความรู้สึกสัมผัสที่เท้าลดลง มีชาบ้าง และไม่มีแผล แต่สูญเสียความรู้สึกใน
การป้ องกันอันตราย
ระดับ 2 (High risk) : กลุ่มที่สูญเสียความรู้สึกสัมผัสเท้า มีอาการเท้าชา มีการสูญเสียความรู้สึกในการป้ องกัน
อันตรายร่วมกับมีจุดรับน้าหนักผิดปกติไป
ระดับ 3 (Very high risk) : กลุ่มที่มีแผลที่เท้าหรือมีประวัติเคยเป็ นแผลที่เท้าหรือถูกตัดเท้ามาก่อน
จากตารางที่ 1 แสดงข้อมูลผลการตรวจเท้าก่อน - หลังการเข้าร่วมกิจกรรม
DM foot ป้ องกันได้ ของผู้ป่ วยโรคเบาหวานที่สมัครใจใน
เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านมาบป่ าเลา อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย
จำนวน 38 คน พบว่า ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม ผู้ป่ วยโรคเบาหวานมีความ
เสี่ยงในระดับ 1 และมีอาการชาเท้า จำนวน 23 คน (ร้อยละ 60.53) มีความ
เสี่ยงในระดับ 0 และไม่มีอาการชาเท้า 15 คน (ร้อยละ 39.47) จากการ
ติดตามผู้ป่ วยหลังการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง พบว่า ผู้ป่ วยโรคเบา
หวานมีความเสี่ยงในระดับ 1 และมีอาการชาเท้าลดลง เหลือเพียง 3 คน มี
ระดับความเสี่ยงในระดับ 0 และไม่มีอาการชาเท้า 35 คน (ร้อยละ 92.11)
ในส่วนของการสูญเสียความรู้สึก พบว่า ก่อน-หลังเข้าร่วมกิจกรรม ยังคงมีผู้
ป่ วยที่สูญเสียความรู้สึก 3 คน (ร้อยละ 7.89)

แผนภูมิที่ 2 แสดงความพึงพอใจของผู้รับบริการจำนวน 38 คน และ


แสดงความพึงพอใจของผู้ใช้เครื่องมือ
DM Foot
100 90 %
88 %
90

80

70
[พิมพ์คำอ้างอิงจากเอกสารหรือข้อมูลสรุปของ
60
ประเด็นที่น่าสนใจ คุณสามารถวางกล่อง
50 ข้อความไว้ที่ใดก็ได้ในเอกสาร ให้ใช้แท็บ
40 เครื่องมือการวาด เพื่อเปลี่ยนการจัดรูปแบบ
ของกล่องข้อความคำอ้างอิงที่ดึงมา]
30

20

10

0
ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความพึงพอใจของผู้ใช้เครื่องมือ
แบบประเมิน DM foot ที่ถูกปรับจากแบบประเมินสุขภาพเท้าผู้ป่ วยเบา
หวานประจำปี เพื่อติดตามประเมินเท้าต่อเนื่อง ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
ของ อสม.ในพื้นที่มีส่วนร่วมในการประเมินเท้าทุก 2 เดือน
9. โอกาสพัฒนา หรือข้อเสนอแนะในการพัฒนาต่อไป:
จากการตรวจสุขภาพเท้าประจำปี จะพบว่ามีผู้ป่ วยมีระดับความเสี่ยง
หลายระดับ ซึ่งระดับความเสี่ยงที่ระดับ 3 นั้นต้องได้รับการตรวจจากเจ้า
หน้าที่สาธารณสุข เพื่อความถูกต้องขอการตรวจ ซึ่ง อสม.อาจะยังขาด
ประสบการณ์ ความรู้ในการตรวจเท้าในระดับที่มีความเสี่ยงสูง
การประเมินปั ญหาและความต้องการของผู้ป่ วยเบาหวานแต่ละรายมี
ความสำคัญ เพราะผู้ป่ วยที่มารับบริการมีความแตกต่างกันจึงจำเป็ นต้อง
เข้าถึงปั ญหาของผู้ป่ วยแต่ละราย เพื่อการให้การดูแลและการแนะนำที่
สอดคล้องกับปั ญหาที่พบและควรมีการนำผลการตรวจน้ำตาลในเลือดมา
วิเคราะห์ เพื่อให้ผู้ป่ วยได้รับการดูแลที่มีประสิทธิภาพและนำไปใช้ในกลุ่ม
ผู้ป่ วยเบาหวานทั้งหมดในเขตพื้นที่รพ.สต.บ้านมาบป่ าเลา

10. ปั จจัยแห่งความสำเร็จ:
ความร่วมมือของสมาชิกทีม ทำให้การดูแลผู้ป่ วยแผลที่เท้าในผู้ป่ วยมี
ประสิทธิภาพสามารถประเมินปั ญหาของผู้ป่ วยแต่ละรายได้ชัดเจน มีการ
วิเคราะห์ปั จจัยที่เกี่ยวข้องที่นำไปสู่การแก้ปั ญหา โดยการแก้ไขปั ญหาได้
และการให้ความร่วมมือผู้ป่ วยโรคเบาหวานในพื้นที่รับผิดชอบ
11. การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริหารหน่วยงาน / องค์กร: -

ภาพแสดง กระบวนการทำงานการพัฒนารูปแบบการดูแลเท้าในผู้ป่ วย
เบาหวาน DM foot ป้ องกันได้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมาบป่ าเลา ตำบลปากน้ำ
อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย
โดยใช้หลัก PDCA (Deming Cycle)
การประเมินปัญหาและความ ทบทวนคืนข้อมูล
ต้องการของผู้ป่ วยเบาหวานแต่ละ
ราย กำหนดกลุ่มเป้ าหมาย
นำผลการตรวจน้ำตาลในเลือดมา ใช้เครื่องมือต่างๆ
วิเคราะห์ เพื่อให้ผู้ป่ วยได้รับการดูแล
ที่มีประสิทธิภาพและนำไปใช้ในกลุ่ม
ผู้ป่ วยเบาหวานทั้งหมด
ACT
PLAN
ปรับปรุง
Fish Bone
พัฒนา Diagram ,KM

กิจกรรม
CHECK DO
- แบบประเมิน - ให้ความรู้ด้วย
ความรู้
แผ่นพับเรื่อง
( Pre test Post
การดูแลเท้า ให้ความรู้พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติการ
ผลการตรวจเท้าก่อน - หลังการเข้า test) ดูแลเท้า การล้างเท้า ตรวจเท้าทุก
ร่วมกิจกรรมตามระดับความเสี่ยง - ฝึ กปฏิบัติการ วันด้วยตนเอง เลือกรองเท้าที่
ผลการประเมินความรู้ - แบบ เหมาะกับสรีระเท้า การตัดเล็บ
ผลการประเมินความพึงพอใจ ประเมินDM ดูแลเท้า การนวดเท้า ทาโลชั่น

Foot

You might also like