Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 27

Low back pain in farmers

ความสาคัญและอุบตั ิการณ์
อุบตั ิการณ์
• โรคปวดหลังในผูป้ ระกอบอาชีพเท่ากับ 52.23 ต่อพันประชากร
• ความชุกในช่วงเวลา 1 ปี ของอาการปวดหลังส่วนล่างอยูท่ ่ีรอ้ ยละ18.6-57.4
• พบมากในกลุม่ อาชีพ
• รับจ้างทั่วไป
• ลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม
• แรงงานภาคเกษตรกรรม

• อาชีพหลักชาวไทย เทียบกับทุกสาขาอาชีพ เกษตรกร ชาวนามีประมาณ 3.7 ล้านครอบครัว หรือ ประมาณ


15.6 ล้านคน คิดเป็ นร้อยละ 24.4 ประมาณ 1 ใน 4 ของประชากร ทัง้ ประเทศ
• รายงานในปี พ.ศ. 2548, 2558 และ 2560 ทั่วโลกพบผูป้ ่ วยด้วยอาการปวดหลังส่วนล่างประมาณ 460,
540 และ 571 ล้านคนตามลาดับ คิดเป็ นปี สขุ ภาวะที่สญ
ู เสียไปจากอาการปวดหลังส่วนล่าง 51, 60 และ
65 ล้านปี ตามลาดับ

• การศึกษาในประเทศไทยพบว่าประชากรไทยในปี พ.ศ. 2557 มีการสูญเสียปี สขุ ภาวะจากอาการปวดหลัง


ส่วนล่าง 15,223 ปี

[สุขภาวะที่สญ
ู เสีย” ซึ่งเป็ นดัชนีวดั สถานะสุขภาพของประชากรแบบองค์รวม ที่วดั การสูญเสียสุขภาพ
หรือช่องว่างสุขภาพ (Health gap) โดยมีหน่วยนับเป็ นปี สขุ ภาวะ ซึ่งหนึ่งหน่วย (1 DALY) เท่ากับการสูญเสียช่วงอายุของการมีสขุ ภาพที่
สมบูรณ์ไปจานวน 1 ปี อันอาจเกิดจากการตายก่อนถึงวัยอันควร หรืออาจเกิดจากการมีชีวิตอยูด่ ว้ ยความเจ็บป่ วยหรือพิการ]
ความสาคัญ
• สาเหตุอนั ดับ 1 ของความทุพพลภาพและส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวันและการทางาน
• ปั ญหาสุขภาพที่พบมาก ได้แก่ ปั ญหาทางระบบโครงร่างและกล้ามเนือ้ โดยเฉพาะอาการ ปวดหลังส่วนล่าง
ซึง่ หมายถึงอาการปวดหลังกล้ามเนือ้ หลังตึง หรือมีอาการหลังแข็ง ในตาแหน่งตัง้ แต่ขอบล่างของซี่โครง ไป
ถึงขอบล่างของแก้มก้น
• ลักษณะงานที่ทามีการบิดเอีย้ วตัว การก้มตัว การยกของหนัก การสัมผัสแรงสั่นสะเทือนขณะทางาน มี
หลักฐานว่าสัมพันธ์กบั การเกิดอาการปวดหลังส่วนล่าง มีปัจจัยเสี่ยงที่ปอ้ งกันได้
• ผลจากปั จจัยด้านการยศาสตร์ ท่าทางการทางานที่ผิดปกติหรือฝื นธรรมชาติการทางานที่ซา้ ๆ และการ
ทางานที่ทาให้กล้ามเนือ้ ออกแรงมาก เกินความสามารถในการรับนา้ หนัก ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของ
โครงร่างและกล้ามเนือ้ โดยเฉพาะอาการปวดหลังส่วนล่าง ซึง่ เป็ นปั ญหาเรือ้ รัง ทาให้รฐั บาลจะต้องสูญเสีย
งบประมาณจานวนมากในการรักษา
The World Health Organization's International
Classification of Impairments, Disabilities and
Handicaps
• condition revealing loss or abnormality of the structure of the lumbar
spine with psychological, physiological or anatomic etiology or, as a
deficiency that causes a disability limiting or preventing full
performance of physical activities

• evidence of overuse, compressive or postural syndromes, be related


to muscle imbalances, muscle weakness, reductions in amplitude or
coordination of movements, increased tiredness or trunk instability1
Classifications
Classifications
• Primary or secondary
• With or without neurological involvement
• Mechanical degenerative or non-mechanical
• Inflammatory
• Infectious
• Metabolic
• Neoplastic
• Secondary to the effects of systemic diseases
Key responsibilities for clinicians
• performing a general and work-specific evaluation
• developing treatment recommendations to improve function and
return to work
• maintaining communication with the patient and workplace,
evaluating work-relatedness
• providing education on preventing recurrence or exacerbation
• Nonspecific low back pain accounts for 80% of all cases recorded in
adults and primarily affects people aged 20 to 55

• static, when caused by poor posture (static overload), or kinetic,


when caused by dynamic overload.
Acute low back pain
• Acute low back pain, which is generally related to damage to
ligaments, muscles and/or intervertebral discs, is characterized by
pain of sudden onset with a duration of less than 6 weeks.
• In the majority of cases it is self-limiting and mean duration is 1 to 7
days. Around 90% of patients recover spontaneously, 60% return to
work within 1 month and 30 to 60% of patients may suffer a pain
relapse in 1 to 2 years

• อาการปวดหลังที่มีอย่าง ต่อเนื่อง น้อยกว่า 6 สัปดาห์


Subacute low back pain
• Subacute low back pain has a duration of six to twelve weeks.
• In these cases, return to normal function takes up to 3 months

• อาการปวดหลังที่มี อย่างต่อเนื่องมากกว่า 6 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 3 เดือน


Chronic low back pain
• Chronic low back pain occurs in just 8% of cases, lasts longer than 12
weeks, compromises productivity and is less likely to be cured
completely.

• อาการปวดหลังที่มีอย่างต่อเนื่อง มากกว่า 3 เดือน


Recurrent low back pain
• การปวดไม่ได้ติดต่อกันเรื่อยไป คือ มีช่วงที่หายปวดแล้วกลับมาปวดใหม่
ETIOLOGY AND RISK FACTORS
• อาการปวดหลังกล้ามเนือ้ หลังตึงหรือมีอาการหลังแข็งในตาแหน่ง ต้งแต่ ั ขอบล่างของซี่โครง (Costal
Margin) ไปถึงขอบล่างของแก้มก้น (Inferior Gluteal Fold) โดยบางกรณีจะมีอาการร่วมกับ
อาการปวดร้าวลงหรือชาไปที่ขา (Sciatica) ปั ญหาสาคัญของอาการ ปวดหลังส่วนล่างคืออาการปวด
และการไม่สามารถดาเนินชีวิตได้เหมือนปกติของผูป้ ่ วย ซึง่ เป็ น สาเหตุให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจเป็ น
อันมาก

• อาการปวดที่จากัดอยูเ่ ฉพาะหลังและบัน้ เอวส่วนล่าง และรวมถึงการปวดหลังร่วมกับอาการปวดขา ซึง่ อาจ


ปวดเป็ นพักๆ หรือตลอดเวลา (ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย) อาการปวดอาจเกิดขึน้
ฉับพลันหรือค่อยเป็ นค่อยไปทีละน้อย ลักษณะที่ปวดอาจเป็ นอยูต่ ลอดเวลาหรือปวดเฉพาะในท่าบางท่า
การไอ จาม หรือบิดตัวเอีย้ วตัวอาจทาให้รูส้ กึ ปวดมากขึน้ (สุรเกียรติ อาชานุภาพ, 2551)
โรคที่พบได้ท่วั ไปของอาการปวดหลัง

1. Mechanical low back pain

2. Sciatica
การทานาข้าว
มี 3 แบบ ได้แก่ ทานาดา นาหว่าน และนาหยอด
การทานาดา มีการเพาะกล้าในแปลงเพาะกล้า แล้วนากล้ามาปั กดาในแปลงนา

มี 4 ขัน้ ตอน หลัก


• การเตรียมกล้า
• การปั กดา : มีการก้มเงย ปลายนิว้ มือจิกเข้าไปในดิน เดินถอยหลังและเดินไปข้าง ๆ ตลอดเวลาทางาน ***
• การดูแลรักษา
• การเก็บเกี่ยว : การเก็บเกี่ยว ด้วยมือโดยใช้เคียวเกี่ยวข้าว
ปั จจัยเสี่ยง
• multifactorial etiology and elevated incidence and prevalence

• สภาพแวดล้อมการทางานและสภาพการทางาน : การยศาสตร์ (Professional and


Ergonomics risk factors), ท่าทางการทางาน

• สภาพร่างกาย (Individual risk factors); การขาดการออกกาลังกาย หรือนา้ หนักตัวมากเกินไป


• หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน, การเสื่อมสภาพของร่างกาย, ความเครียด
Individual risk factors

The most common individual risk factors are:


Age
Sex
Body mass index
Muscle imbalances
Muscle strength
Socioeconomic conditions
The presence of other infirmities
Professional risk factors

The most common professional risk factors involve incorrect


movements and postures caused by inadequate working environments,
the functions of available equipment and the ways in which work is
organized and carried out
The causal factors

The causal factors most directly related with occupational low back
pain are mechanical, postural, traumatic and psychosocial

• Age, posture and fatigue at work

• Working long hours, heavy duties, lifting weights, lack of physical


exercise and psychological problems
Risk of occupational low back pain
• Cumulative traumas
• Dynamic activities related to movements of trunk flexion and rotation
• Heavy physical work
• Bending or squatting
• Macro traumas
• Lifting or carrying loads
• Exposure to long work shifts without pauses
• Whole-body vibrations
• Static and inadequate postures
การยศาสตร์
• ท่าทางการทางานที่ผิดปกติ หรือ ฝื นธรรมชาติ
• ท่าทางซา้ ๆ
• การออกแรงกล้ามเนือ้ มากเกินความสามารถในการรับนา้ หนัก
การป้องกันและฟื ้ นฟูสภาพผูท้ ี่มีอาการปวดหลังส่วนล่าง
การป้องกันและฟื ้ นฟูสภาพ
• การเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ ให้สามารถทนต่อการทางานได้ทาให้ไม่เกิดการบาดเจ็บ
• การฟื ้ นฟูสภาพ เน้นการดูแลหลังจากการบาดเจ็บ
• การใช้เทคโนโลยีทดแทน
Ref
• https://youtu.be/gjhihZSfwA8

You might also like