Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

ผู้สอน ว่าที่ ร.ต.โกสินทร์เชื้อประโรง

ตอนที่ 7 ช่วงและการแก้อสมการ

ช่วง
1. ช่วงเปิด (Open interval)
(a , b) หมายถึง เซตของจำนวนจริงที่อยู่ระหว่าง a และ b นั่นคือ (a , b) = x  R a  x  b

a b
2. ช่วงปิด (Closed interval)
[a , b] หมายถึง เซตของจำนวนจริงที่อยู่ตั้งแต่ a ถึง b นั่นคือ [a , b] = x  R a  x  b

a b
3. ช่วงครึ่งเปิด (Half - open interval)
(a , b] หมายถึงเซตของจำนวนจริงที่มากกว่า a แต่น้อยกว่าหรือเท่ากับ b คือ (a , b] =
x  R a  x  b [a , b) หมายถึงเซตของจำนวนจริงที่มากกว่าหรือเท่ากับ a แต่น้อยกว่า b คือ [a , b)
= x  R a  x  b

[a , b)
(a , b]
a b
4. ช่วงอนันต์ (Infinite interval)
(a , ) หมายถึง เซตของจำนวนจริงที่มากกว่า a นั่นคือ (a , ) = x  R x  a
[a , ) หมายถึง เซตของจำนวนจริงที่มากกว่าหรือเท่ากับ a นั่นคือ [a , ) = x  R x  a
(– , a) หมายถึง เซตของจำนวนจริงที่น้อยกว่า a นั่นคือ (– , a) = x  R x  a
(– , a] หมายถึง เซตของจำนวนจริงที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ a นั่นคือ (– , a] =x  R x  a
(– , ) หมายถึง เซตของจำนวนจริง
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน ว่าที่ ร.ต.โกสินทร์เชื้อประโรง

ตอนที่ 7 ช่วงและการแก้อสมการ

(– , )
(– , a]
(– , a)
[a , )
(a , )
a
ตัวอย่างที่ 1 หาช่วงที่เกิดจาก  2,5 )  ( 3,8  พร้อมทั้งเขียนเส้นจำนวนแสดงช่วงดังกล่าว

ดังนั้น  2,5 )  ( 3,8  = ……………………………………………………………………………………………………………


ตัวอย่างที่ 2 หาช่วงที่เกิดจาก ( −4,6  ( −3,  ) พร้อมทั้งเขียนเส้นจำนวนแสดงช่วงดังกล่าว

ดังนั้น ( −4,6  ( −3,  ) = …………………………………………………………………………………………………


ตัวอย่างที่ 3 หาช่วงที่เกิดจาก  −2,4  − ( 0,6 พร้อมทั้งเขียนเส้นจำนวนแสดงช่วงดังกล่าว

ดังนั้น  −2,4  − ( 0,6 = ………………………………………………………………………………………………………

PAGE 2
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน ว่าที่ ร.ต.โกสินทร์เชื้อประโรง

ตอนที่ 7 ช่วงและการแก้อสมการ

ตัวอย่างที่ 4 จงเขียนแผนภาพแสดงช่วงต่อไปนี้
A = x 2  x  5 B = x −1  x  3 C = x 1  x  4

จากแผนภาพจงตอบคำถามต่อไปนี้
1) A   B = ………………………………… 2) B  C = ……………………………….…………

3) (A  B)  C = ………………………………… 4) (A  C)  (B  C) = …………………………………
การแก้อสมการ
−2
ตัวอย่างที่ 5 จงหาคำตอบของอสมการ ( 5x + 1)  2x − 6
3

ตัวอย่างที่ 6 หาคำตอบของอสมการ 4  6x − 2  11

PAGE 3
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
ผู้สอน ว่าที่ ร.ต.โกสินทร์เชื้อประโรง

ตอนที่ 7 ช่วงและการแก้อสมการ

ตัวอย่างที่ 7 จงหาเซตคำตอบของอสมการต่อไปนี้
1) x 2 − 5x + 6  0

2) x 2 − 2x − 3  0

3) 10 − 3x − x 2  0

4) 2x 3 − 5x 2 − 4x + 3  0

PAGE 4

You might also like