Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

รายงานวิชาการ

เรื่ อง “ความสัมพันธ์ระหว่างสถิติกบั การวิจยั ”

เสนอ

จัดทาโดย

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา ระเบียบวิธีวิจยั ทางดนตรี MSMS590


ประจาภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2548
คำนำ

รายงานในหัวข้อ “ความสัมพันธ์ระหว่างสถิติกบั การวิจยั ” นี้ ดิฉนั มีความตั้งใจเรี ยบเรี ยงขึ้นเพื่อ


เป็ นประโยชน์แก่ผทู ้ ี่กาลังทาการวิจยั หรื อผูท้ ี่ตอ้ งการค้นคว้า เพื่อที่จะได้เลือกสถิติที่เหมาะสมกับการวิจยั
ในหัวข้าที่ตนทาอยู่ เพราะถ้าผูท้ ี่ทาการวิจยั เลือกใช้สถิติอย่างไม่ถูกต้อง อาจส่ งผลต่องานวิจยั ที่ผิดเพี้ยน
ไป และไม่สามารถตอบคาถามของงานวิจยั เรื่ องนั้นได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้น ยังเป็ นการชี้ให้เห็นว่า
สถิติมีความสาคัญ และสัมพันธ์เช่นไรในงานวิจยั
อย่างไรก็ตาม ถ้ารายงานฉบับนี้มีการผิดพลาดประการใด ดิฉนั ในฐานะของผูเ้ ขียนใคร่ ขออภัยมา ณ
ที่น้ ีดว้ ย

น.ส นิอร เตรัตนชัย

หัวข้อรายงานบุคคล
เรื่ อง “ควำมสั มพันธ์ ระหว่ำงสถิติกบั กำรวิจัย”
การวิจยั คือสิ่ งที่มุ่งศึกษาหาความรู ้อย่างมีระบบ โดยอาศัยระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การ
สรุ ปที่ให้ขอ้ เท็จจริ ง และตรรกวิทยา เป็ นแนวทางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความคิดที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้ได้คาตอบที่ถูกต้องที่สุด
ส่ วนสถิติน้ นั มีความหมายอยูม่ ากมาย แต่ที่นามาเสนอ คือสถิติเพื่อการวิจยั เท่านั้น โดยสถิติเพื่อ
การวิจยั มีความหมายว่า วิธีการอันเป็ นหลักที่ตดั สิ นข้อมูลชุดใดชุดหนึ่งที่ไม่มีความแน่นอนให้ได้ใกล้
ความเป็ นจริ งอย่างชาญฉลาด ประกอบไปด้วยกระบวนการการเก็บข้อมูล การจัดระบบการนาเสนอ การ
วิเคราะห์ และการแปลความหมายของข้อมูลเพื่อมุ่งหมายที่จะรู ้ และลงสรุ ปคุณสมบัติของข้อมูลนั้นได้
อย่างมีเหตุผล
สามารถเห็นได้วา่ สถิติสัมพันธ์กบั การวิจยั โดยที่ใช้สถิติเพื่อการวิจยั เพื่อนามาสู่ ขอ้ สรุ ปของข้อมูล
นั้นเอง
ระเบียบวิธีทำงสถิติ
1.การเก็บรวบรวมข้อมูล
2. การจัดระบบข้อมูล
3. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
4. การแปลความหมายของข้อมูล
ก่อนที่จะใช้สถิติในการวิจยั ได้น้ นั ผูว้ ิจยั จาเป็ นต้องทราบเสี ยก่อนว่า อะไรคือระเบียบวิธีการทาง
สถิติ อะไรคือข้อมูลที่เรามีอยู่ ตัวแปร ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง

ลักษณะของข้ อมูล
ข้อมูลหรื อคะแนนในทางสถิติน้ นั หมายความถึงผลที่ได้จากการวัด หรื อการนับวัตถุทุกชนิด ซึ่ง
ระดับของการวัดสามารถบอกลักษณะของข้อมูลในการวิจยั และข้อมูลแต่ละชุดของการวิจยั ต่างก็มี
คุณสมบัติหรื อลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนั้นระดับของการวัดจึงแบ่งออกเป็ น 4 ระดับดังนี้
1.มำตรำนำมบัญญัติ ข้อมูลที่ได้จากระดับนี้เป็ นข้อมูลเชิงลักษณะ หรื อเป็ นข้อมูลที่จดั กลุ่มหรื อ
คุณสมบัติที่ปรากฏ เช่น เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ชอบ-ไม่ชอบ ดี-ไม่ดี สวย-ไม่สวย เป็ นต้น ตัวเลขที่ได้
ในระดับมาตราวัดนี้ เป็ นตัวเลขที่ไม่สามารถบอกได้วา่ มากน้อยเพียงไร แต่กาหนดขึ้นมาเพื่อเป็ น
สัญลักษณ์ที่แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างเท่านั้น เช่น เบอร์ เรี ยกทีมฟุตบอล ตัวเลขเหล่านี้ ไม่สามารถ
นามา บวก ลบ คูณ หาร ได้แต่เป็ นเพียงบอกให้รู้วา่ เบอร์ไหน เล่นในตาแหน่งอะไรเท่านั้น ดังนั้น การ
วัดชนิดนี้ไม่สามารถบอกปริ มาณมากน้อยได้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจยั ในระดับมาตรานี้ลกั ษณะ
ที่กระทาได้ก็คือการนับจานวน หรื อความถี่ของลักษณะข้อมูลที่เหมือนกันเท่านั้น วิธีการทางสถิติที่
ใช้ได้กบั ข้อมูลที่อยูใ่ นระดับนี้ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ฐานนิยม
2. มำตรำเรียงอันดับ มาตรานี้ เป็ นการวัดที่สูงกว่ามาตรานามบัญญัติ มาตรานี้ไม่มีการจัดกลุ่มว่า
เก่ง-ไม่เก่ง ดี-ไม่ดี อย่างเดียว แต่สามารถจัดเรี ยงอันดับได้ ตัวอย่างเช่น นาย ก เก่งกว่า นาย ข นาย จ
เก่งกว่าทุกคน เป็ นต้น ลักษณะการจัดเรี ยงอับดับสามารถจัดเรี ยงอันดับได้ แต่ยงั ไม่ทราบว่า เก่งกว่ากัน
เท่าไร หรื อการประกวดนางงาม ผูว้ ิจยั ไม่สามารถบอกได้วา่ คนที่สวยที่สุด สวยกว่าคนรองเท่าไร เป็ น
ต้น ดังนั้นตัวเลขที่ออกมาในมาตรานี้ยงั ไม่สามารถนามาบวก ลบ คูณ หาร กันได้ วิธีการทางสถิติที่ใช้
กับข้อมูลการวัดระดับนี้ ได้แก่ มัธยฐาน ส่ วนเบี่ยงเบนคลอไทล์ และเปอร์เซ็นต์ไทล์
3. มำตรำอันตรภำค มาตรานี้ มีลกั ษณะใกล้เคียงกับมาตราเรี ยงอันดับ แต่จะแตกต่างกันที่ช่วงวัดใน
แต่ละหน่วยมีระยะห่างเท่าๆกัน จึงสามารถเปรี ยบเทียบกันได้ มีความมาก-น้อยแตกต่างกันอย่างไร แต่
ไม่สามารถบอกได้วา่ เป็ นกี่เท่าของกันและกัน ดังนั้นค่าที่ได้จากการวัดจึงนามาบวก ลบ กันได้
ตัวอย่างเช่น ผลสอบปลายภาคของวิชาทฤษฎีดนตรี นักศึกษาทาคะแนนได้ 45 30 32 27 22 15 ก็สามารถ
บอกได้วา่ ผูท้ ี่ได้คะแนน 45 เป็ นผูท้ ี่ได้คะแนนมากกว่า คนที่มีคะแนนรองลงมา 15 คะแนน (45- 30 = 15)
แต่เราไม่สามารถบอกได้วา่ คะแนนอันดับรอง 30 คะแนน เก่งกว่าคนที่ได้อนั ดับสุ ดท้าย 15 คะแนนเป็ น 2
เท่าไม่ได้ เพราะคะแนนไม่มีศูนย์แท้ หรื อศูนย์สมบูรณ์ แต่ศูนย์ที่มีเป็ นศูนย์สมมติเท่านั้น
4. มำตรำอัตรำส่ วน เป็ นมาตราที่มีความสมบูรณ์ทุกอย่าง ค่าที่วดั ได้จะบอกขนาดที่แน่นอน มีศูนย์
แท้ มีการเปลี่ยนหน่วยการวัดจากหน่วยหนึ่งไปยังอีกหน่วยหนึ่งเพื่อเปรี ยบเทียบกันโดยอาศัยวิธี หรื อ
หลักการทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร ตัวอย่างเช่น เชือกเส้นที่ 1 ยาว 80 เซนติเมตร เชือก
เส้นที่ 2 ยาว 40 เซนติเมตร ก็สามารถบอกได้วา่ เชือกเส้นที่ 1 มีความยาวเป็ น 2 เท่า ของเส้นที่ 2 หรื อ
วัตถุที่เป็ น 0 กิโลกรัม ก็สามารถบอกได้วา่ วัตถุน้ นั ไม่มีน้ าหนักเลย เป็ นต้น วิธีการทางสถิติที่ใช้กบั
มาตราอัตราส่ วนนี้สามารถใช้ได้กบั สถิติทุกประเภท
กำรแจกแจงควำมถี่
ความถี่ หมายถึง จานวนคะแนนที่มีอยูใ่ นกลุ่มนั้นๆ ดังนั้นการแจกแจงความถี่ ก็คือการนาข้อมูลที่
เป็ นตัวเลข มาจัดเรี ยงใหม่ให้เป็ นกลุ่มหรื อหมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการแปลความหมายและง่ายต่อการ
นาเสนอในค่าสถิติ เช่น ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม เป็ นต้น การแจกแจงทาได้ 2 วิธีดว้ ยกัน คือ
1. กำรเรียงลำดับข้ อมูล หมายถึง การนาข้อมูลที่ได้มา นามาเรี ยงลาดับจากค่าที่นอ้ ย ไปหามาก
หรื อจากค่าที่มาก ไปหาน้อย เช่น คะแนนการวัดผลสัมฤทธิ์ของวิชาทฤษฎีดนตรี มีนกั ศึกษาเข้าสอบ 30
คน แต่ละคนได้คะแนนดังนี้
16 17 19 24 27 20 22 24 18 20
21 24 20 19 18 17 21 25 20 19
17 22 23 23 25 20 26 24 21 23

จากข้อมูลข้างต้น เราสามารถนามาจัดเรี ยงใหม่ จากลาดับน้อย ไปหามากได้ดงั ต่อไปนี้

16 17 17 17 18 18 19 19 19 20
20 20 20 20 21 21 21 22 22 23
23 23 24 24 24 24 25 25 26 27

ข้อมูลที่นามาเรี ยงใหม่ ทาให้ทราบว่าคะแนนสูงสุดของนักศึกษาที่ทาได้คือ 27 คะแนน ต่าสุดคือ 16


คะแนน
การเรี ยงลาดับข้อมูล ดังตารางที่กล่าวมา อาจไม่เหมาะสม หากมีขอ้ มูลเป็ นจานวนมาก ดังนั้น
ข้อมูลที่ได้ควรนามาเรี ยงอีกวิธีการหนึ่ง ที่เรี ยกว่า การแจกแจงความถี่
2. กำรแจกแจงควำมถี่ เป็ นการจัดเรี ยงลาดับของข้อมูลเป็ นกลุ่ม ซึ่งได้จดั ไว้หลายๆกลุ่มตามความ
เหมาะสมของข้อมูลแล้วนับจานวนในแต่ละกลุ่มว่ามีจานวนเท่าไร จากนั้นก็วิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อนา
คาตอบมานาเสนอ มีหลายวิธีการด้วยกัน ดังนี้
2.2 ตารางแจกแจงความถี่
ตัวอย่างตารางแจกแจงความถี่

คะแนน รอยขีด ความถี่


11-15 ///// // 7
16-20 ///// ///// 10
21-25 ///// /// 8
26-30 ///// ///// /// 13
รวม 38

จากตาราง ตัวเลข 11 16 21 26 เรี ยกว่าขีดจากัดล่าง ตัวเลข 15 20 25 30 เรี ยกว่าขีดจากัดบน


ขีดจากัดจริ ง คือ ตัวเลขที่แสดงขอบบนจริ งของขีดจากัดชั้นในแต่ละชั้น เช่น ข้อมูลแรกคือ 10.5 และ
15.5 เป็ นต้น
จุดกลางชั้น คือข้อมูลที่อยูต่ รงกลางชั้น ซึ่งจะเป็ นตัวแทนของข้อมูลในชั้นนั้นๆ
จุดกลางชั้นของข้อมูลชุดแรกคือ (11+15) /2 = 13
2.2 การสร้างตารางแจกแจงความถี่ ถือเป็ นอีกสถิติหนึ่งที่ใช้กบั งานวิจยั ตัวอย่างเช่น การวัดส่วน
ของนักศึกษาห้องหนึ่ง ที่มีจานวน 50 คน เป็ นต้น
2.3 การแจกแจงความถี่สะสม หมายถึง ผลรวมของความถี่ ของอันตรภาคชั้นนั้นๆ กับความถี่ของ
อันตรภาคชั้นที่มีค่าต่ากว่าทั้งหมด หรื อสู งกว่าทั้งหมดอย่างใดอย่างหนึ่ง
ดังเช่นตัวอย่างต่อไปนี้

ความสูง ความถี่ ความถี่สะสม


120-127 3 ----------> 3
128-135 6-----------> 9
136-143 10---------> 19
144-151 14---------> 33
152-159 9-----------> 42
160-167 6-----------> 48
168-175 2------------> 50

จากตารางข้างบน นาเสนอได้วา่ นักศึกษาที่มีความสูงอยูร่ ะหว่าง 159.5-167.5 จานวน 6 คน หรื อ


นักศึกษาที่มีความสูงไม่เกิน 167.5 มีจานวน 48 คน
2.4 การแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ การใช้แผนภูมิหรื อกราฟทาให้เห็นการแจกแจงความถี่ได้อย่าง
ชัดเจนกว่าการดูตวั เลขธรรมดา การเสนอแผนภูมิหรื อกราฟในการแจกแจงความถี่ สามารถสร้างได้หลาย
ลักษณะเช่นกัน ขึ้นอยูก่ บั ชุดข้อมูล
กำรวัดแนวโน้ มเข้ ำสู่ ส่วนกลำง
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง หมายถึงการหาตาแหน่งค่ากลางซึ่งเป็ นตัวเลขจานวนเดียวที่ใช้เป็ น
ตัวแทนของข้อมูลนั้น
ในการวิจยั ที่จะตอบคาถามว่า รายจ่ายของนักศึกษาเฉลี่ยเท่าไรต่อเดือน วัยรุ่ นเฉลี่ยแล้วมีอตั ราการ
เรี ยนดนตรี เท่าไร นักเรี ยนดนตรี ตอ้ งการที่ได้คะแนนเฉลี่ยเท่าไร หรื อการดื่มสุราเท่าไรจึงส่งผลต่อ
อันตรายโดยตรงต่อการขับขี่
ประโยชน์ของการบรรยายข้อมูลเพื่อตอบคาถามเหล่านี้ พบว่า มีตวั เลขหนึ่งค่าที่แสดงให้เห็นว่าเป็ น
ตัวแทนของกลุ่ม หรื อเป็ นค่าเฉลี่ยที่ใช้แทนกลุ่มทั้งหมด ค่าที่ใช้แทนกลุ่มประชากรทั้งหมดนี้เป็ นค่าที่
เรี ยกว่า ค่าที่ได้จาก “การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง” โดยทัว่ ไปมีวิธีการหาด้วยกัน 3 วิธี คือ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
มัธยฐาน
ฐานนิยม

กำรวัดกำรกระจำย
จากที่กล่าวมาเกี่ยวกับการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ทาให้เราทราบคุณลักษณะของข้อมูลที่เป็ น
ตัวแทนของกลุ่มเพียงค่าเดียวเท่านั้น แต่เนื่องจากว่าค่ากลางหรื อค่าของตัวแทนกลุ่มค่าเดียวนั้น ทาให้เรา
ทราบลักษณะของข้อมูลได้ไม่เพียงพอ ดังนั้นจาเป็ นต้องใช้สถิติอื่นมาช่วยในการนาเสนอข้อมูล นั้นก็คือ
การวัดค่าการกระจาย เพื่อให้ทราบลักษณะของข้อมูลว่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด ถ้าหาก
ข้อมูลมีค่าการกระจายมาก แสดงว่าข้อมูลแต่ละตัวมีค่าความแตกต่างกันมาก ถ้ามีค่าการกระจายน้อย
แสดงว่าข้อมูลแต่ละตัวมีค่าใกล้เคียงกัน ฉะนั้นในการอธิ บายผล หรื อแปลผล ผูว้ ิจยั จึงจาเป็ นต้องแสดง
ค่าการกระจายควบคู่กบั ค่าของการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางด้วย เพื่อจะได้อธิบายข้อมูลได้อย่าง
ถูกต้อง
สถิติที่ใช้ในการวัดการกระจายที่ใช้กนั โดยทัว่ ไป คือ
1. พิสัย พิสัยที่ใช้กนั ในงานวิจยั นั้น จะใช้คู่กบั ฐานนิ ยมของการวัดแนวโน้มถ่วงเข้าสู่ ส่วนกลาง ซึ่ง
การวัดจะอยูใ่ นระดับนามบัญญัติเท่านั้น
2. ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
3. ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
4. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความแปรปรวน
กำรสุ่ มตัวอย่ำง
ในการวิจยั นั้น การเลือกกลุ่มตัวอย่างถือเป็ นขั้นตอนที่มีความสาคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง เพราะเป็ นการ
เลือกตัวแทนมาศึกษา ผลจากการศึกษาที่ได้จะสรุ ปอ้างอิงไปยังประชากร ดังนั้น ถ้ากลุ่มตัวอย่างที่ได้ไม่
เป็ นตัวแทนที่ดี ผลวิจยั ที่กล่าวอ้างอิงไปยังประชากรก็ไม่ถูกต้องตามความเป็ นจริ ง แต่ทาอย่างไรผูว้ ิจยั จึง
ได้ตวั แทนที่ดีที่ดีที่สุดมาวิเคราะห์ เพื่อสรุ ปผลไปยังประชากรให้ถูกต้องที่สุดเช่นเดียวกัน การที่ได้ตวั
แทนที่ดีน้ นั เป็ นที่ยอมรับกันแล้วว่าได้จากการสุ่ มตัวอย่าง
การสุ่ มตัวอย่าง หมายถึง การเลือกบางส่ วนของประชากรมาศึกษาแทนประชากรทั้งหมด
ที่เรี ยกว่า กลุ่มตัวอย่าง ตัวอย่างที่ดีที่เลือกมานั้นต้องมีคุณสมบัติต่างๆครบถ้วน กล่าวว่า กลุ่มตัวอย่าง ก็
คือส่ วนย่อของประชากรนั้นเอง
เคอร์ลิงเจอ. ได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวอย่าง กับความคลาดเคลื่อน หรื อความ
ผิดพลาดของผลการวิจยั โดยแสดงเป็ นกราฟ ดังต่อไปนี้

ความผิดพลาด

มาก

น้อย
เล็ก ใหญ่

จากกราฟข้างบน เห็นได้วา่ กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก ความผิดพลาดมาก ถ้ากลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่


ความผิดพลาดมีนอ้ ย
โดยทัว่ ไปแล้ว ในงานวิจยั การใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่มีผลดีกว่าการใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก
ดังนั้นในการวิจยั ทัว่ ไปผูว้ ิจยั ควรเลือกกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ไว้ก่อน เพื่อให้เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด
ในการกาหนดกลุ่มตัวอย่าง ควรพิจารณาจากสิ่ งต่อไปนี้
1.ธรรมชาติของประชากร ถ้าประชากรมีคุณสมบัติเหมือนกันมากหรื อมีความแตกต่างของสมาชิก
น้อย ก็ใช้กลุ่มตัวอย่างจานวนน้อยได้ ตัวอย่างเช่น เลือดในตัวมนุษย์เหมือนกันทุกหยด ในการ วิเคราะห์
นี้ ถึงใช้เลือดเพียงหยดเดียวก็สามารถวิเคราะห์และหาข้อสรุ ปออกมาได้ แต่ถา้ ประชากรมี คุณสมบัติ
แตกต่างกันมาก ก็ควรใช้จานวนกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่
2.งานวิจยั บางประเภท ไม่จาเป็ นต้องใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ก็ได้ เช่น งานวิจยั เชิงทดลอง เป็ น
ต้น แต่งานวิจยั เชิงบรรยาย มักใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่
การคานวณหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จ

เทคนิคกำรสุ่ มตัวอย่ำง
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างเพื่อใช้ในการวิจยั จาแนกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. การสุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็ นไปตามโอกาสทางสถิติ เป็ นการสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้วิธีการสุ่ม จึงเป็ น
เหตุให้เกิดโอกาสการถูกสุ่มมาเป็ นตัวอย่างของประชากรไม่เท่ากัน ไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอน เพราะคาดว่า
ข้อมูลที่มีอยูเ่ ป็ นไปอย่างไม่เป็ นระบบระเบียบ กระจัดกระจายไปทัว่ แต่ก็จาเป็ นต้องใช้การสุ่ มแบบนี้
เพราะไม่มีทางเลือกที่ดีกว่า
2. การสุ่มตัวอย่างที่เป็ นไปตามโอกาสทางสถิติ เป็ นการสุ่มที่สมาชิกแต่ละหน่วย มีโอกาสที่จะถูก
เลือกเท่ากัน โดยใช้วิธีการสุ่ มที่มีระเบียบและกฎเกณฑ์ที่น่าเชื่อถือได้ การสุ่ มแบบนี้ ผูว้ ิจยั สามารถ
คานวณค่าความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่าง และผลสรุ ปที่ได้กล่าวอ้างอิงไปถึงประชากรได้โดยอาศัย
วิธีการทางสถิติอา้ งอิง

กำรทดสอบสมมติฐำน
งานวิจยั เป็ นงานที่คา้ หาความจริ ง โดยวิธีการที่น่าเชื่อถือได้ วิธีการทางสถิติที่นามาวิเคราะห์ ก็
จาเป็ นที่จะต้องแม่นยา สามารถเชื่อถือได้ งานวิจยั บางชิ้นการบรรยายปรากฏการณ์น้ นั ไม่เพียงพอ ผูว้ ิจยั
จาเป็ นต้องตรวจสอบสมมติฐาน เพื่อให้เกิดความแน่ใจในผลการวิจยั นั้นๆ
นอกจากนี้แล้ว ยังมีวิธีการทางสถิติอีกมากมายที่สามารถนามาเพื่อใช้ในกระบวนการวิจยั
เพราะการวิจยั ในประเภทที่ต่างกัน ในเรื่ องที่แตกต่างกัน การนาสถิติเข้ามาใช้ยอ่ มต้องแตกต่างกันไปด้วย
มีสถิติบางประเภทที่แบ่งย่อยไปสาหรับข้อมูลที่มีจานวนน้อยกลุ่ม เช่น สถิติที่ใช้ในการทดสอบความ
แตกต่างของประชากร 2 กลุ่ม นอกจากนี้ยงั มีวิธีการทางสถิติอื่นๆ เช่น การทดสอบความแตกต่างด้วย
ไคสแควร์ การวิเคราะห์ความแปรปรวน การเปรี ยบเทียบพหุคูณ การพยากรณ์ เป็ นต้น
จากข้อมูลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เห็นได้วา่ สถิติมีความสัมพันธ์กบั งานวิจยั เป็ นอย่างยิง่ งานวิจยั นั้นๆ
ไม่สามารถสมบูรณ์ไม่ได้เลย ถ้าขาดกระบวนการทางสถิติ ที่ทาหน้าที่ต่างๆที่แตกต่างกันดังที่ได้กล่าวมา
บรรณานุกรม

ยุทธ ไกยวรรณ์ . (2544) . สถิติสาหรับการวิจยั : ศูนย์หนังสื อราชภัฎพระนคร พระนครแกรนด์วิว

คณาจารย์ ภาควิชาการวิดผลและวิจยั การศึกษา มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร. (2538).


หนังสื อการใช้สถิติวิเคราะห์ขอ้ มูลในการวิจยั

บุญเรี ยง ขจรศิลป์ .(2528) . สถิติวิจยั 1 : ฟิ สิ กส์เซ็นเตอร์การพิมพ์

ราไพ สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา .(2533) . สถิติการวิจยั : โรงพิมพ์ชยั เจริ ญ พิมพ์ครั้งที่3

You might also like