กฎหมาย

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

1

กฎหมาย
1. กฎหมายเบื้องต้น
• ความหมายของกฎหมาย
กฎหมาย คือ ข้อบังคับหรือกฎเกณฑ์ของรัฐทีใ่ ช้เพื่อควบคุมบังคับความประพฤติของบุคคลในสังคม ซึง่ มีสภาพ
บังคับ มีบทลงโทษผูฝ้ ่ าฝืนตามทีก่ าหนดไว้
• ลักษณะของกฎหมาย
1. ใช้ได้ทวไป
ั ่ ต้องบังคับใช้กบั ทุกคนทีอ่ ยู่ในรัฐโดยเสมอภาค
2. ต้องมีสภาพบังคับ ถือเป็ นลักษณะสาคัญทีส่ ุดของกฎหมาย ผูใ้ ดฝ่ าฝืนต้องได้รบั โทษ
3. เป็ นข้อกาหนดความประพฤติทางกายของบุคคล ไม่กาหนดจิตใจ ใช้กบั บุคคลเท่านัน้
4. มาจากรัฏฐาธิปัตย์ คือผูม้ อี านาจสูงสุดของรัฐ ขึน้ อยู่กบั ว่าใช้ระบอบการปกครองแบบไหน ถ้าระบอบ
ประชาธิปไตย รัฏฐาธิปัตย์ คือ รัฐสภา ซึง่ เป็ นสถาบันทีย่ ดึ โยงกับอานาจประชาชน ส่วนระบอบเผด็จการ
ผูป้ กครองออกกฎหมายเองโดยไม่รบั ฟั งเสียงของประชาชน
5. กฎหมายนอนหลับแต่ไม่ตาย ใช้ได้เสมอไป เมื่อประกาศใช้แล้วกฎหมายนัน้ บังคับเสมอจนกว่ามีการยกเลิก
6. สามารถยกเลิกหรือถูกลบล้างด้วยกฎหมายใหม่
7. ทุกคนต้องรูก้ ฎหมาย จะอ้างว่าไม่รกู้ ฎหมายไม่ได้ (ความไม่รกู้ ฎหมายไม่ใช่ขอ้ แก้ตวั พ้นผิด)
• ระบบกฎหมาย แบ่งออกเป็ น 3 แบบ
ระบบประมวลกฎหมาย - มีทม่ี าจากกฎหมายโรมัน
(Civil law) - ตีความตามลายลักษณ์อกั ษรของกฎหมาย
- ผูพ้ พิ ากษาไต่สวนหาข้อเท็จจริงเพื่อวินิจฉัยและชีข้ าดทางกฎหมาย
- ประเทศทีใ่ ช้ เช่น ไทย ฝรังเศส่ เยอรมัน ญีป่ ่ ุน
ระบบกฎหมายแบบจารีตประเพณี - เกิดขึน้ ในอังกฤษ มีทม่ี าจากจารีตประเพณี
(Common law) - ไม่ได้บญ ั ญัตเิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษร ใช้คาพิพากษาจากคดีก่อนมาวินิจฉัย
คดีหลังทีม่ ขี อ้ เท็จจริงคล้ายกัน
- ใช้ระบบลูกขุนทาหน้าทีว่ นิ ิจฉัย ผูพ้ พิ ากษาทาหน้าทีข่ ข้ี าดข้อกฎหมาย
- คาพิพากษาของศาลถือเป็ นบรรทัดฐาน จะอาศัยเทียบเคียงบทกฎหมาย
ใกล้เคียงไม่ได้
- ประเทศทีใ่ ช้ เช่น อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
ระบบกฎหมายศาสนา - นาเอาคาสอนศาสนามาร่วมในการออกกฎหมายอย่างกฎหมายชาริอ่ะ
(Religion law) (Sharia) ของศาสนาอิสลาม
- ประเทศไทยใช้กฎหมายอิสลามเฉพาะเรื่องครอบครัวและมรดกสาหรับ
ชาวมุสลิมทีเ่ ป็ นคู่ความในสีจ่ งั หวัดภาคใต้ (ยะลา ปั ตตานี นราธิวาส สตูล)
โดยให้ดะโต๊ะยุตธิ รรม 1 คนพิจารณาพร้อมผูพ้ พิ ากษา

สังคมแมวส้ม
2

• ประเภทของกฎหมาย
1. การแบ่งกฎหมายตามวิ ธีการใช้
1. สารบัญญัติ : เนื้อความ กาหนดสิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบต่างๆ เช่น ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2. วิธสี บัญญัติ : ขัน้ ตอนวิธกี ารดาเนินคดี เช่น ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา ประมวลกฎหมาย
วิธพี จิ ารณาความแพ่งและพาณิชย์
2. การแบ่งตามความสัมพันธ์ค่กู รณี
1. กฎหมายเอกชน : กฎหมายระหว่างเอกชนกับเอกชน โดยทัง้ สองฝ่ ายมีฐานะเท่ากัน มีเพียงประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ แบ่งย่อยเป็ นกฎหมายมรดก กฎหมายครอบครัว กฎหมายเกีย่ วกับทรัพย์สนิ ฯลฯ
2. กฎหมายมหาชน : กฎหมายระหว่างรัฐกับเอกชน โดยรัฐมีฐานะเหนือกว่าเอกชน ได้แก่ กฎหมายอาญา
กฎหมายปกครอง กฎหมายรัฐธรรมนูญ
3. กฎหมายระหว่างประเทศ : กฎหมายระหว่างรัฐกับรัฐ แบ่งเป็ น 3 ประเภทคือ
- แผนกคดีเมือง เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ เช่น ทางการทูต การทาสนธิสญ
ั ญา และการทาสงคราม
- แผนกคดีบุคคล เป็ นความสัมพันธ์ทางแพ่ง เช่น การสมรส การหย่า การได้สญ ั ชาติ การสูญเสียสัญชาติ
- แผนกคดีอาญา เป็ นกระทาความผิดกฎหมายอาญา เช่น การส่งผูร้ า้ ยข้ามแดน
• ลาดับศักดิ์ ทางกฎหมาย
1. รัฐธรรมนูญ เป็ นกฎหมายสูงสุดของประเทศ เพราะว่าด้วยเรื่องหลักประกันสิทธิเสรีภาพขัน้ พืน้ ฐานของ
ประชาชนและการจัดโครงสร้างการปกครองของรัฐ โดยรัฐธรรมนูญจะกาหนดการใช้อานาจอธิปไตย พร้อมทัง้
กาหนดสิทธิ เสรีภาพ หน้าทีข่ องประชาชน ร่างขึน้ โดยองค์กรพิเศษอย่างคณะกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญและ
ส่งให้ฝ่ายนิตบิ ญ
ั ญัตพิ จิ ารณารับรอง
2. พระราชบัญญัติ เป็ นกฎหมายทีอ่ อกโดยฝ่ ายนิตบิ ญ ั ญัติ (รัฐสภา) ลักษณะกฎหมายนี้คอื ไม่มกี ารจัดเป็ น
หมวดหมู่ แต่หากนาเรื่องเดียวกันมาจัดหมวดหมู่จะเรียกว่า “ประมวลกฎหมาย” ในกรณีของไทย คาสังคณะ ่
รัฐประหารถูกทาให้มผี ลทางกฎหมายเป็ นพระราชบัญญัติ
3. พระราชกาหนด เป็ นกฎหมายทีอ่ อกโดยฝ่ ายบริหาร (คณะรัฐมนตรี) ตราขึน้ เพื่อรักษาความปลอดภัยของ
ประเทศทีม่ คี วามจาเป็ นเร่งด่วน ฉุกเฉิน เช่น เรื่องภาษี เงินตรา ภัยพิบตั ิ เป็ นต้น ให้รฐั สภาอนุมตั ภิ ายใน 30
วัน นับเป็ นกฎหมายชั ่วคราวทีม่ รี ะยะเวลาการใช้ช่วงเวลาหนึ่งเท่านัน้
4. พระราชกฤษฎีกา ฝ่ ายบริหาร (คณะรัฐมนตรี) สามารถเสนอพระราชกฤษฎีกาได้โดยไม่ตอ้ งให้รฐั สภา
เห็นชอบ เช่น การเลือกตัง้ การยุบสภา เป็ นต้น
5. กฎกระทรวง รัฐมนตรีประจากระทรวงเป็ นผูต้ ราขึน้ เพื่อให้เป็ นไปตามกฎหมาย กฎหมายลักษณะนี้มี
ความสาคัญรองถัดจากพระราชกฤษฎีกา ผูพ้ จิ ารณา คือ คณะรัฐมนตรี

สังคมแมวส้ม
3

6. กฎหมายที่ออกโดยท้องถิ่ น เป็ นกฎหมายทีอ่ อกโดยองค์การปกครองส่วนท้องถิน่ เพื่อใช้บงั คับเฉพาะ


ภายในเขตการปกครองท้องถิน่ นัน้ ๆ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) องค์การบริหารส่วนตาบล
(อบต.) เทศบาล กรุงเทพมหานคร (กทม.) เมืองพัทยา
ตารางสรุป
กฎหมาย มาจาก
1 รัฐธรรมนูญ ฝ่ ายนิตบิ ญ
ั ญัติ (รัฐสภา)
2 พระราชบัญญัติ ฝ่ ายนิตบิ ญั ญัติ (รัฐสภา)
ประมวลกฎหมาย
3 พระราชกาหนด ฝ่ ายบริหาร (คณะรัฐมนตรี)
4 พระราชกฤษฎีกา ฝ่ ายบริหาร (คณะรัฐมนตรี)
5 กฎกระทรวง ฝ่ ายบริหาร (คณะรัฐมนตรี)
6 กฎหมายท้องถิน่ ท้องถิน่ (องค์การปกครองท้องถิน่ )
มีหลักในการตีความว่ากฎหมายมีม่ ศี กั ดิ ์ต่ากว่าหรือลาดับชัน้ ต่ากว่า จะขัดหรือแย้งต่อกฎหมายทีม่ ศี กั ดิ ์สูงกว่า
หรือลาดับชัน้ สูงกว่าไม่ได้
• ขัน้ ตอนกระบวนการจัดทากฎหมาย
1. การยกร่าง เป็ นหน้าทีข่ องผูท้ ม่ี อี านาจจัดทากฎหมาย ส่งให้สานักงานกฤษฎีการช่วยตรวจทาน
2. การพิจารณา ตรวจสอบว่าสมควรจะออกกฎหมายหรือไม่ ผ่านการประชุมพิจารณาของผูม้ อี านาจจัดทา
กฎหมาย
3. การตรากฎหมาย ให้ผทู้ ม่ี อี านาจลงลายมือชื่อเพื่อประกาศใช้กฎหมาย กฎหมายจะมีผลบังคับใช้ต่อเมื่อ
ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาเรียบร้อยแล้ว
• ระบบศาลในโลก แบ่งเป็ น 2 ระบบ คือ
1. ระบบศาลเดีย่ ว : ประเทศนัน้ มีเฉพาะศาลยุตธิ รรมทาหน้าทีต่ ดั สินคดีความ
2. ระบบศาลคู่ : ประเทศนัน้ มีมกี ารแยกศาลปกครองออกจากศาลยุตธิ รรม
• ระบบศาลของไทย ใช้ระบบศาลคู่ กาหนดให้ประธานศาลฎีกาเป็ นประมุขของฝ่ ายตุลาการ โดยรัฐธรรมนูญ
ฉบับปี พ.ศ.2560 ได้กาหนดประเภทศาลไว้ 4 ประเภท คือ
1. ศาลยุติธรรม พิพากษาคดีทวไปั ่ ทัง้ คดีแพ่งและอาญา
1. ศาลชัน้ ต้น ศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลแขง ศาลคดีเด็กและเยาวชน ศาลล้มละลาย
2. ศาลอุทธรณ์
3. ศาลฎีกา เป็ นศาลสูงสุด คาตัดสินถือเป็ นอันสิน้ สุด
2. ศาลปกครอง แยกออกจากศาลยุตธิ รรม พิพากษาคดีระหว่างเจ้าหน้าทีร่ ฐั กับประชาชนหรือระหว่าง
หน่วยงานรัฐด้วยกัน แบ่งเป็ น
1. ศาลปกครองชัน้ ต้น
2. ศาลปกครองสูงสุด
สังคมแมวส้ม
4

3. ศาลรัฐธรรมนูญ มีหน้าทีว่ นิ ิจฉัยการกระทาหรือข้อกฎหมายว่าขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มอี านาจหน้าที่


พิจารณาตัดสินคดีทวไป ั ่ มีจานวนทัง้ หมด 9 คน คัดเลือกจากผูพ้ พิ ากษาศาลฎีกา 3 คน ตุลาการศาลปกครอง
สูงสุด 2 คน ผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นนิตศิ าสตร์ 1 คน ผูท้ รงคุณวุฒดิ า้ นรัฐศาสตร์ 1 คน ข้าราชการระดับไม่ต่ากว่า
อธิบดี 2 คน
4. ศาลทหาร พิพากษาคดีอาญาซึง่ ผูท้ าผิดเป็ นบุคคลในอานาจศาลทหาร
คาศัพท์ทางกฎหมาย
นิตกิ ร คือ บุคคลทีท่ างานทางด้านกฎหมายขององค์กร
ทนายความ คือ บุคคลทีด่ าเนินการแทนลูกความในเรื่องที่เกีย่ วกับกฎหมายทัง้ ทางอาญาและทางแพ่ง
ผูพ้ พิ ากษา คือ บุคคลทีท่ าหน้าทีต่ ดั สินคดีความ
พนักงานอัยการ คือ เป็ นผูส้ งฟ้
ั ่ องแทนรัฐและแก้ต่างให้กบั รัฐ เปรียบเสมือนเป็ นทนายความแผ่นดิน
องค์กรมหาชน คือ หน่วยงานของรัฐบาล มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
เจ้าหน้าทีร่ าชทัณฑ์ คือ บุคคลทีท่ าหน้าทีค่ วบคุมตัวนักโทษในเรือนจา
ราชกิจจานุเบกษา คือ หนังสือเผยแพร่ตวั บทกฎหมายทีอ่ อกบังคับใช้และประกาศข่าวสารสาคัญของราชการ
โมฆะ หมายถึง ไม่มผี ลตามกฎหมายตัง้ แต่แรกเพราะขัดกับกฎหมาย เช่น แมวส้มต้องการซื้อภูเขาและทะเล
ซึง่ ตามกฎหมายไม่สามารถซื้อภูเขากับทะเลได้
โมฆียะ หมายถึง มีผลสมบูรณ์จนกว่าจะถูกบอกล้าง เช่น แมวส้มอายุ 15 ปี ไปทาสัญญาผ่อนบ้าน ต่อมาแม่รู้
จึงมาบอกยกเลิกสัญญา (ต้องบรรลุนิตภิ าวะอายุ 20 ปี ขน้ึ ไปจึงจะทาสัญญาผ่อนบ้านได้)

สังคมแมวส้ม
5

2. กฎหมายแพ่ งและพาณิชย์
1. บุคคล
ทางกฎหมายแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ 1. บุคคลธรรมดา 2. นิตบิ ุคคล
1. บุคคลธรรมดา
• สภาพบุคคล
- เริม่ เมื่อ “คลอดแล้วอยู่รอดเป็ นทารก” แจ้งเกิดภายใน 15 วัน ได้รบั สูจบิ ตั ร
- สิน้ สุดเมื่อตายหรือศาลสังให้
่ เป็ นบุคคลหายสาบสูญ แจ้งตายภายใน 24 ชั ่วโมง ได้รบั มรณบัตร
- ถ้าหายสาบสูญในภูมลิ าเนาครบ 5 ปี ให้ศาลสังเป็ ่ นบุคคลหายสาบสูญได้
- ถ้าหายสาบสูญระหว่างการเดินทางหรือไปทาสงคราม 2 ปี ให้ศาลสังเป็ ่ นบุคคลหายสาบสูญได้เช่นกัน
• สิ ทธิ เริม่ ตัง้ แต่มสี ภาพบุคคล คือ ตัง้ แต่คลอดและอยู่รอดเป็ นทารก
• การทาบัตรประชาชน
- บุคคลผูม้ สี ญ
ั ชาติไทยตัง้ แต่อายุ 7 ปี จนถึงอายุ 70 ปี
- บุคคลทีไ่ ด้รบั การยกเว้นไม่ตอ้ งมีบตั รประชาชน ได้แก่
1. พระองค์เจ้าขึน้ ไป
2. ภิกษุ สามเณร นักพรต และนักบวช
3. ผูม้ กี ายพิการเดินไม่ได้ หรือเป็ นใบ้ หรือตาบอดทัง้ สองข้าง หรือจิตฟั น่ เฟื อนไม่สมประกอบ
4. ผูอ้ ยู่ในทีค่ ุมขังโดยชอบด้วยกฎหมาย
• ผู้หย่อนความสามารถ
1. ผูเ้ ยาว์ อายุต่ากว่า 20 ปี มีผปู้ กครองดูแล
สิง่ ทีท่ าได้ สามารถรับของโดยเสน่หา (ยกเว้นของโจร) ทาพินัยกรรมตอนอายุ 15 ปี ขน้ึ ไป ซื้อของ
สิง่ ทีท่ าเป็ นโมฆียะ การทาสัญญาต่างๆ ผูป้ กครองสามารถไปบอกยกเลิกได้ สมรสกันอายุ 17 ปี ขน้ึ ไป
โดยไม่ได้รบั การอนุญาตจากผูป้ กครอง
สิง่ ทีท่ าเป็ นโมฆะ คือ หมัน้ และแต่งงานก่อนอายุ 17 (ต้องให้ศาลสังเท่
่ านัน้ ) จดทะเบียนสมรสซ้อน
รับรองบุตรบุญธรรม (ต้องอายุ 25 ปี ขน้ึ ไป)
การจะพ้นจากผูเ้ ยาว์หรือการบรรลุนิตภิ าวะมีได้ 2 กรณีคอื 1. อายุครบ 20 ปี บริบูรณ์ 2. สมรสตัง้ แต่อายุ 17 ปี
ขึน้ ไป โดยได้รบั การยินยอมจากผูป้ กครองทัง้ สองฝ่ าย สามารถทานิตกิ รรมได้ตามกฎหมาย

สังคมแมวส้ม
6

2. คนเสมือนไร้ความสามารถ (คนจิตฟั น่ เฟื อน)


ยังพอมีสติอยู่บา้ ง เช่น ติดเหล้า ติดพนัน ฟุ่มเฟื อย เกิดจากศาลสัง่ ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา
ใช้หนี้ได้ ทานิตกิ รรมได้บางอย่างเช่นทาพินัยกรรม แต่หากพิสจู น์ได้ว่าทาในขณะจิตฟั น่ เฟื อนถือเป็ น
โมฆะ
มีผดู้ แู ลคือ ผูพ้ ทิ กั ษ์
3. คนไร้ความสามารถ (คนวิกลจริต)
ไม่มสี ติเหลืออยู่ ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ เกิดจากศาลสัง่ ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา
ทานิตกิ รรมใดๆไม่ได้ ถ้าทาแล้วเป็ นโมฆียะ สามารถไปบอกเลิกได้
มีผดู้ แู ลคือ ผูอ้ นุบาล
หมายเหตุ
- คนพิการสามารถทาทุกอย่างได้
- คนล้มละลายเกิดจากศาลสังไม่ ่ สามารถทาธุรกรรมทางการเงินได้
2. นิ ติบุคคล
• มีสทิ ธิหน้าทีเ่ หมือนบุคคลธรรมดา ยกเว้นการแต่งงานกับรับมรดก
• มี 2 ประเภท คือ
1. นิตบิ ุคคลตามกฎหมายเอกชน (แพ่งและพาณิชย์) เริม่ ต้นเมื่อจดทะเบียน สิน้ สุดเมื่อจดทะเบียนยกเลิก
หรือล้มละลาย เช่น องค์กรต่างๆ ทีจ่ ดทะเบียนเป็ นนิตบิ ุคคลตามกฎหมายแพ่ง ได้แก่ บริษทั ห้างหุน้ ส่วน
สมาคม มูลนิธิ
2. นิตบิ ุคคลตามกฎหมายมหาชน เริม่ ต้นเมื่อกฎหมายตราขึน้ สิน้ สุดเมื่อกฎหมายยกเลิก หน่วยงานต่างๆ
ของรัฐทีม่ กี ฎหมายกาหนดให้เป็ นนิตบิ ุคคล ได้แก่ กระทรวง กรม กองทัพ จังหวัด องค์กรส่วนท้องถิน่
รัฐวิสาหกิจ วัด และองค์การมหาชน
สานักสงฆ์กบั อาเภอไม่ถอื เป็ นนิตบิ ุคคล
2. การหมัน้
- การทาสัญญาว่าคู่รกั ชายและหญิงตกลงพร้อมใจกันทีจ่ ะอยู่ร่วมกันโดยทาการแต่งงานสมรสในวันข้างหน้า
- ชายและหญิงแต่ละคนต้องมีอายุครบ 17 ปี บริบรู ณ์ หากฝ่ าฝืนเป็ นโมฆะ
- ผูเ้ ยาว์ (อายุต่ากว่า 20 ปี บริบูรณ์) ต้องได้รบั ความยินยอมจากผูแ้ ทนโดยชอบธรรม มิฉะนัน้ จะเป็ นโมฆียะ
- ฝ่ ายชายเสียเงินค่าหมัน้ ให้ฝ่ายหญิง ต้องมีการมอบหรือโอนในขณะทาการหมัน้
- ของหมัน้ กฎหมายไม่ได้กาหนดมูลค่าของของหมัน้ และจะเป็ นของทีม่ รี ปู ร่างหรือไม่มรี ปู ร่างก็ได้
- การเลิกสัญญาหมัน้ สามารถทาได้ 3 กรณีคอื 1. ตกลงกันทัง้ สองฝ่ าย 2. คู่หมัน้ ถึงแก่กรรม 3. มีเหตุสุดวิสยั
เช่น ถูกทาร้ายร่างกาย

สังคมแมวส้ม
7

- การผิดสัญญาหมัน้
1. ฝ่ ายหญิงผิด ฝ่ ายชาย เรียกของหมัน้ คืน บอกเลิกสัญญา เรียกค่าทดแทน
2. ฝ่ ายชายผิด ฝ่ ายหญิง บอกเลิกสัญญา ไม่ตอ้ งคืนของหมัน้ เรียกค่าทดแทน
- การหมัน้ ไม่เป็ นเหตุทจ่ี ะต้องขอให้ศาลบังคับให้สมรสได้
- เมื่อสมรสแล้ว ของหมัน้ จะกลายเป็ นสินส่วนตัวของฝ่ ายหญิง
3. การสมรส
ข้อบังคับ
- ชายและหญิงแต่ละคนต้องมีอายุครบ 17 ปี บริบรู ณ์ หากฝ่ าฝืนเป็ นโมฆะ
- ผูเ้ ยาว์ (อายุต่ากว่า 20 ปี บริบูรณ์) ต้องได้รบั ความยินยอมจากผูป้ กครอง มิฉะนัน้ จะเป็ นโมฆียะ
- ต้องจดทะเบียนต่อหน้านายทะเบียน หากฝ่ าฝืนเป็ นโมฆะ
- ต้องไม่มลี กั ษณะต้องห้าม ถ้ามีลกั ษณะต้องห้ามเท่ากับโมฆะ คือ
1. เป็ นคนไร้ความสามารถ (คนวิกลจริต)
2. มีค่สู มรสแล้ว
3. พีน่ ้องร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน
4. ผูร้ บั บุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม
หมายเหตุ คนพิการแต่งงานได้
สิ นสอด คือ สิง่ ของทีฝ่ ่ ายชายให้แก่บดิ ามารดาหรือผูป้ กครองของฝ่ ายหญิง เพื่อตอบแทนการเลีย้ งดูฝ่ายหญิง
สิ นส่วนตัวและสิ นสมรส
• สิ นส่วนตัว คือ ทรัพย์สนิ ทีเ่ ป็ นกรรมสิทธิของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง เมื่อเกิดการหย่าเป็ นของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง
1. ทรัพย์สนิ ทีฝ่ ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส เช่น ของหมัน้ ถือเป็ นสินส่วนตัวฝ่ ายหญิง
2. ทรัพย์ทฝ่ี ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการให้โดยเสน่หา
3. มรดกทีไ่ ด้มาระหว่างสมรส
4. เครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ เครื่องมือเครื่องใช้ประกอบอาชีพ
• สิ นสมรส คือ ทรัพย์สนิ ทีเ่ ป็ นกรรมสิทธิร่์ วมกันของสามีและภรรยา เมื่อเกิดการหย่าต้องแบ่งให้เท่ากัน
1. ทรัพย์สนิ ทีห่ าได้ระหว่างการสมรส (เงินเดือน เงินโบนัส เงินประจาตาแหน่ง)
2. ดอกผลของสินส่วนตัว (กาไร ค่าเช่า เงินปั นผล)
3. พินัยกรรมทีร่ ะบุให้เป็ นสินสมรส
• การสมรสสิ้ นสุดลงได้จาก 1. ตาย 2. ศาลพิพากษาให้สน้ิ สุดการสมรส 3. การหย่า

- ถ้าสามีภรรยาจงใจทิง้ ฝ่ ายหนึ่งเป็ นเวลานานเกิน 1 ปี ขน้ึ ไป สามารถฟ้ องหย่าได้


- หญิงทีเ่ คยสมรสแล้วจะสมรสใหม่ได้เมื่อการสมรสเดิมสิน้ สุดไปแล้วอย่างน้อย 310 วัน
สังคมแมวส้ม
8

4. การรับบุตรบุญธรรม
• ผูข้ อรับบุตรบุญธรรมต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 25 ปี และมีอายุมากกว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 15 ปี
• เงือ่ นไขของการรับบุตรบุญธรรม
1. เด็กอายุต่ากว่า 15 ปี ต้องได้รบั การยินยอมจากพ่อแม่ผปู้ กครอง
2. บุตรบุญธรรมมีฐานะเช่นเดียวกับบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย ได้รบั มรดกในฐานะทายาทโดยธรรม ได้รบั
การเลีย้ งดู มีสทิ ธิใช้ช่อื สกุลของบิดา
3. ผูข้ อรับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมต้องไม่ใช่สายเลือดเดียวกัน
• การสิน้ สุดบุตรบุญธรรม
1. ตกลงเลิกเอง
2. ผูร้ บั บุตรบุญธรรมสมรสกับบุตรบุญธรรมแต่งงานกัน ทาให้เปลีย่ นสถานะจากผูร้ บั บุตรบุญธรรมกับบุตร
บุญธรรมเป็ นสามีภรรยา
3. ฟ้ องร้องกันจนศาลสังให้
่ สน้ิ สุด
ข้อใดกล่าวถึงเรื่องรับบุตรบุญธรรมไม่ถูกต้อง
1. นายต้าวอายุ 20 ปี มีสทิ ธิรบั บุตรบุญธรรมได้ เพราะบรรลุนิตภิ าวะแล้ว
2. การรับบุตรบุญธรรมต้องดาเนินการจดทะเบียนกับเจ้าหน้าทีเ่ ท่านัน้ และจะทาให้บุตรบุญธรรมมีฐานะ
อย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผูร้ บั บุตรบุญธรรม
3. นายเต้ยอายุ 30 ปี สามารถรับนางเตยอายุ 10 ปี เป็ นบุตรบุญธรรมได้ เพราะนายเต้ยอายุแก่กว่า
นางเตยเกิน 15 ปี แล้ว
4. นายต๋องจะรับนายต้องซึง่ มีอายุ 16 ปี เป็ นบุตรบุญธรรม แม้บดิ ามารดาของนายต้องจะยินยอมและนาย
ต้องยังไม่บรรลุนิตภิ าวะก็ตาม แต่กต็ อ้ งได้รบั การยินยอมจากนายต้องด้วย
ข้อนี้ตอ้ งตอบข้อ 1 เพราะผูร้ บั บุตรบุญธรรมต้องมีอายุเกินกว่า 25 ปี ขน้ึ ไป
5. มรดก
- มรดก คือ ทรัพย์สนิ ของผูต้ าย รวมทัง้ สิทธิและความรับผิดชอบต่างๆ
- ทายาทผูร้ บั มรดก มี 2 ประเภท ได้แก่
1. ทายาทโดยธรรม คือ ผูร้ บั มรดกในกรณีทผ่ี ตู้ ายไม่ได้ทาพินัยกรรมไว้ แบ่งออกเป็ น 6 ลาดับคือ
1. ผูส้ บื สันดาน คือ บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายและบุตรบุญธรรม รวมถึงคู่สมรส
2. บิดามารดา
3. พีน่ ้องร่วมบิดามารดา
4. พีน่ ้องร่วมแต่บดิ าหรือมารดา
5. ปู่ ย่า ตา ยาย
6. ลุง ป้ า น้า อา
สังคมแมวส้ม
9

2. ทายาทตามพิ นัยกรรม คือ ผูร้ บั มรดกตามทีผ่ ตู้ ายเขียนพินัยกรรมไว้


หมายเหตุ ตามกฎหมายให้ยดึ ตามทายาทตามพินัยกรรมก่อนทายาทโดยธรรม หากไม่มที ายาทโดยธรรมให้ถอื
ว่ามรดกตกเป็ นของแผ่นดิน
6. การทาพิ นัยกรรม
หมายถึง คาสังของผู
่ ท้ าพินัยกรรมเกีย่ วกับทรัพย์สนิ หรือการต่างๆ ของผูท้ าพินัยกรรม การทาพินัยกรรม
สามารถทาได้ตงั ้ แต่อายุ 15 ปี ขน้ึ ไป กรณีทาพินัยกรรมไว้หลายฉบับให้ดวู นั ทีท่ าพินัยกรรมล่าสุด มี 2 แบบคือ
1. เขียนเอง : เขียนด้วยลายมือจนเอง มีวนั เดือน ปี และลายมือชื่อของตน
2. พิมพ์ : ต้องมีพยานในพินัยกรรมอย่างน้อย 2 คนลงชื่อรับรอง ห้ามบุคคลทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ บุคคลเสมือน
ไร้ความสามารถ บุคคลไร้ความสามารถ อีกทัง้ พยานไม่มสี ทิ ธิรบั พินัยกรรม
7. ทรัพย์สิน

ทรัพย์สนิ แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ


1. สังหาริ มทรัพย์
- คือ ทรัพย์ทเ่ี คลื่อนทีไ่ ด้ สามารถนาติดตัวได้ เช่น ทีวี ตูเ้ ย็น รถยนต์ รวมถึงไม้ลม้ ลุก ข้าว อ้อย
- ถ้าเอาไปเป็ นประกันการชาระหนี้ ต้องทาเป็ นหนังสือ เรียกว่า จานา ให้จาว่าเอาสิง่ ของไปโรงรับจานา
- การครอบครองปฏิปักษ์ เข้าครอบครองเกิน 5 ปี ทาให้ได้สทิ ธิเป็ นเจ้าของ
2. อสังหาริ มทรัพย์
- คือ ทรัพย์ทเ่ี คลื่อนทีไ่ ม่ได้ ไม่สามารถนาเอาไปไหนมาไหนได้ เช่น อาคาร ทีด่ นิ แหล่งน้า ไม้ยนื ต้น
- ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่
- ถ้าเอาไปเป็ นประกันการชาระหนี้ เรียกว่า จานอง เช่น จานองบ้าน ทีด่ นิ คอนโดกับธนาคาร
- การครอบครองปฏิปักษ์ เข้าครอบครองเกิน 10 ปี ทาให้ได้สทิ ธิเป็ นเจ้าของ
- สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เรียกว่าจานอง ได้แก่
1. เรือมีระวางตัง้ แต่หา้ ตันขึน้ ไป ได้แก่ เรือกาปั น่ เรือกลไฟ เรือเดินทะเล
2. เรือแพ
3. สัตว์พาหนะคือ ช้าง ม้า วัว ควาย และล่อ
8. นิ ติกรรมสัญญา
• นิ ติกรรม คือ การกระทาทีช่ อบด้วยกฎหมายและด้วยความสมัครใจ แบ่งออกเป็ นนิตกิ รรมทีท่ าฝ่ ายเดียวเช่น
พินัยกรรม นิตกิ รรมสองฝ่ ายหรือหลายฝ่ ายเช่น สัญญา
• สัญญา เป็ นนิตกิ รรมสองฝ่ ายหรือหลายฝ่ ายเท่านัน้ ต้องทาเป็ นหนังสือจึงจะมีผลตามกฎหมาย
• นิ ติกรรมสัญญาเป็ นนิตกิ รรมทีท่ า 2 คนขึน้ ไป

สังคมแมวส้ม
10

สัญญากูย้ มื เงิน
- กูย้ มื เงินตัง้ แต่ 2,000 บาทขึน้ ไป ต้องทาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อผูย้ มื และผูใ้ ห้ยมื จึงเอาไป
ใช้ฟ้องร้องดาเนินคดีได้
- ให้คดิ ดอกเบีย้ ได้ไม่เกินอัตราร้อยละ 15 ต่อปี หากเจ้าหนี้คดิ ดอกเบีย้ เกินอัตราร้อยละ 15
ต่อปี ถือเป็ นโมฆะ ผูก้ ูไ้ ม่ตอ้ งเสียดอกเบีย้ แต่ตอ้ งชาระเงินต้นเท่าเดิม
สัญญาซื้อขาย - เป็ นสัญญาทีต่ กลงโอนกรรมสิทธิเมื ์ ่อตกลงซื้อขายกันเสร็จแล้ว
- สังหาริมทรัพย์ทม่ี รี าคาต่ากว่า 20,000 บาท ไม่ทาเป็ นหนังสือก็สามารถฟ้ องบังคับคดีได้
ส่วนสังหาริมทรัพย์ราคาตัง้ แต่ 20,000 บาท ขึน้ ไป ต้องทาเป็ นหนังสือ
- อสังหาริมทรัพย์กบั สังหาริมทรัพย์พเิ ศษต้องทาหนังสือและจดทะเบียนต่อหน้าเจ้าหน้าที่
มิฉะนัน้ เป็ นโมฆะ
- ถ้าเป็ นการทาหนังสือไว้ก่อนล่วงหน้าและยังไม่มกี ารโอนกรรมสิทธิ ์ เรียกว่า สัญญาจะซื้อ
จะขาย หากวางเงินมัดจาไว้ แม้ไม่มหี ลักฐานเป็ นหนังสือสามารถฟ้ องร้องให้บงั คับคดีกนั ได้
สัญญาค้าประกัน - หมายถึง ผูค้ ้าประกันทาสัญญากับเจ้าหนี้ว่าเมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้แล้ว ตนจะชาระหนี้แทน
- สัญญาค้าประกันต้องทาเป็ นหนังสือ จึงจะฟ้ องร้องบังคับคดีได้
สัญญาเช่าทรัพย์ - เป็ นการเช่าทีม่ รี ะยะเวลาเพียงช่วงเวลาหนึ่ง ทาสัญญาเป็ นหนังสือระหว่างผูเ้ ช่ากับผูใ้ ห้เช่า
เช่น แมวส้มไปเช่าหอพักรายเดือน
-กรรมสิทธิเป็ ์ นของผูใ้ ห้เช่าเสมอ แค่ปล่อยให้เช่าเฉยๆ ผลตอบแทนเรียกว่า ค่าเช่า
- การเช่าสังหาริมทรัพย์ กฎหมายมิได้กาหนดว่าจะต้องทาตามแบบหรือจะต้องทาตาม
หลักเกณฑ์อย่างหนึ่งอย่างใด ดังนัน้ แม้ตกลงเช่ากันด้วยวาจาก็สามารถทาได้และนาไป
ฟ้ องร้องบังคับคดีต่อศาลได้
- การเช่าอสังหาริมทรัพย์ตอ้ งทาเป็ นหนังสือจึงจะมีผลตามกฎหมาย ถ้าเช่าอสังหาริมทรัพย์
เกิน 3 ปี ขน้ึ ไปต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียน (ตามกฎหมายห้ามเช่าเกิน 30 ปี )
สัญญาเช่าซื้อ - มอบทรัพย์สนิ ให้กบั ผูซ้ อ้ื เป็ นการจ่ายค่าเช่าเป็ นงวดๆ จนผูซ้ ้อื จ่ายเงินครบตามจานวน
แล้วจะได้กรรมสิทธิเป็ ์ นเจ้าของ
- ต้องทาเป็ นหนังสือเท่านัน้ เรียกอีกชื่อว่า สัญญาซื้อขายผ่อนส่ง
- รูจ้ กั กันในชื่อของคาว่าผ่อน เช่น ผ่อนบ้าน ผ่อนรถ ผ่อนตูเ้ ย็น ผ่อนไม่หมดก็ยงั ไม่ได้เป็ น
เจ้าของ
- ถ้าไม่จ่ายเงินเกิน 2 เดือนติดกัน เจ้าของสามารถเรียกทรัพย์คนื ได้ มีสทิ ธิบอกเลิกสัญญา
และรับเงินทีช่ าระมาแล้วทัง้ หมด
สัญญาขายฝาก - เป็ นสัญญาทีผ่ ขู้ ายฝากมีสทิ ธิได้ทรัพย์สนิ คืนภายในเวลาทีต่ กลงกันไว้ กรรมสิทธิตกเป็ ์ น
ของผูร้ บั ขายฝาก
- สังหาริมทรัพย์ตอ้ งทาเป็ นหนังสือ ส่วนอสังหาริมทรัพย์ตอ้ งทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียน
- เมื่อครบกาหนดเวลาไถ่ถอนแต่ผขู้ ายไม่ไปไถ่คนื กรรมสิทธิจะเป็ ์ นของผู้รบั ขาย ผูข้ ายไม่มี
สิทธิไถ่คนื ได้อกี เลย
- สังหาริมทรัพย์กาหนดไถ่คนื ไม่เกิน 3 ปี ส่วนอสังหาริมทรัพย์กาหนดไถ่คนื ไม่เกิน 10 ปี
การมอบอานาจ - การทีบ่ ุคคลหนึ่งมอบให้บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า “ตัวแทน” มีอานาจทาการแทนและการ
กระทานัน้ มีผลทาง กฎหมายเสมือนว่าตัวการทาด้วยตนเอง
- ต้องทาเป็ นหนังสือมอบอานาจจึงจะมีผลตามกฎหมาย

สังคมแมวส้ม
11

• รูปแบบการทานิ ติกรรมสัญญา
1. ทาเป็ นหนังสือ ต้องทาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อทัง้ สองฝ่ าย จึงจะมีผลตามกฎหมายและฟ้ องร้องบังคับคดีกนั ได้
2. ทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียน ทาหนังสือและต้องมาจดทะเบียนกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั จะมีทะเบียนเลขให้ จึงจะมี
ผลตามกฎหมายและฟ้ องร้องบังคับคดีกนั ได้
3. ไม่ตอ้ งทาเป็ นหนังสือ แต่ฟ้องร้องได้
- สัญญาเช่าทรัพย์ เฉพาะสังหาริมทรัพย์ สามารถตกลงเช่ากันด้วยวาจาและนาไปฟ้ องร้องต่อศาลได้
- สัญญาเช่าซื้อ เฉพาะสังหาริมทรัพย์ทม่ี รี าคาต่ากว่า 20,000 บาท
นิตกิ รรมสัญญาทีต่ อ้ งทาเป็ นหนังสือ นิตกิ รรมสัญญาทีต่ อ้ งทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียน
การเช่าอสังหาริมทรัพย์ การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
สัญญาเช่าซื้อ การขายฝากอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์พเิ ศษ
การกูย้ มื เงินเกินกว่า 2,000 บาทขึน้ ไป การเช่าอสังหาริมทรัพย์ซง่ึ มีกาหนดเกินกว่าสามปี ขน้ึ ไป
สัญญาค้าประกัน
การทาหนังสือมอบอานาจให้ตวั แทนไปกระทาแทน

9. กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา
ลิขสิทธิ ์ - สิทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวทีก่ ฎหมายให้แก่ผสู้ ร้างสรรค์ผลงานทางการแสดงออกทางความคิด
- สัญลักษณ์คอื © ใช้กบั งานวรรณกรรม ศิลปกรรม ภาพยนตร์ บันทึกเสียง รูปถ่าย
- ไม่ตอ้ งจดทะเบียน ได้รบั การคุม้ ครองทันทีเมื่อสร้างสรรค์งาน โดยผูส้ ร้างสรรค์ผลงาน
ได้รบั การคุม้ ครองตลอดชีพ และหลังจากตายเป็ นเวลา 50 ปี
- การละเมิดลิขสิทธิ ์ เป็ นความผิดยอมความได้ ถ้าใช้ทางการค้าสามารถฟ้ องร้องได้
สิทธิบตั ร - ใช้กบั งานสิง่ ประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์
- สิทธิบตั รการประดิษฐ์มอี ายุ 20 ปี นับแต่วนั ขอสิทธิบตั ร
- สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์มอี ายุ 10 ปี นับแต่วนั ขอรับสิทธิบตั ร
เครื่องหมายการค้า - สัญลักษณ์คอื ® ถ้าละเมิดเครื่องหมายการค้า สามารถฟ้ องร้องได้

10. การดาเนิ นคดีแพ่ง


ทนายความ ศาล เจ้าพนักงานบังคับคดี / พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
1. ทนายความ ยื่นเรื่องต่อศาล
2. ศาลรับพิจารณาคดี
3. ถ้าจาเลยเป็ นฝ่ ายผิด ให้เจ้าพนักงานบังคับคดี / พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เข้าบังคับคดี
บทลงโทษ
1. เกิดจากการผิดสัญญา เจ้าของสัญญาสามารถยึดเงินมัดจาได้ กับ เจ้าของสัญญาให้ชดใช้ค่าเสียหาย
2. เกิดจากศาลสัง่ ได้แก่ การเรียกเบีย้ ปรับ การยึดทรัพย์สนิ การขายทอดตลาดทรัพย์สนิ การอายัดทรัพย์สนิ
(ห้ามจาหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สนิ ) การขับไล่รอ้ื ถอน การประกาศเป็ นบุคคลล้มละลาย
สังคมแมวส้ม
12

3. กฎหมายอาญา
• ลักษณะของกฎหมายอาญา
- เป็ นกฎหมายมหาชน
- ต้องตีความตามกฎหมายโดยเคร่งครัด
- กฎหมายต้องบัญญัตอิ ย่างชัดเจน จะไม่มโี ทษถ้าไม่มกี ฎหมายบัญญัตไิ ว้
- ไม่มกี ารย้อนหลังไปเพิม่ โทษได้ ยกเว้นเป็ นคุณแก่ผกู้ ระทาผิด เช่น ลดระยะเวลาจาคุก
- บางคดีเป็ นทัง้ การกระทาผิดทางแพ่งและอาญา
- กรณีผตู้ อ้ งหาหลบหนีคดีทต่ี ่างประเทศให้ใช้กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา
• ความผิดอาญาแผ่นดิ น เป็ นความผิดทีม่ ผี ลกระทบต่อสังคมโดยรวม ให้พนักงานอัยการหรือผูเ้ สียหาย
ฟ้ องร้องได้ เป็ นคดีทย่ี อมความไม่ได้ เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตาย ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ประมาทเป็ นเหตุให้
ผูอ้ ่นื ถึงแก่ความตาย
• ความผิดอันยอมความได้ เป็ นความผิดทีม่ ผี ลกระทบต่อผูท้ ถ่ี ูกกระทาโดยตรงเท่านัน้ ต้องให้ผเู้ สียหาย
ฟ้ องร้องภายใน 3 เดือน สามารถถอนฟ้ องยอมความกันได้ เช่น ความผิดฐานฉ้อโกง ทาให้เสียทรัพย์ บุกรุก
ยักยอกทรัพย์ หมิน่ ประมาท บุตรลักทรัพย์บดิ า
• สถานที่บงั คับใช้กฎหมายไทย
1. บังคับใช้ในดินแดนของประเทศไทย ได้แก่ พืน้ ดิน พืน้ น้าและพืน้ อากาศ รวมถึงพืน้ ทีใ่ นสถานทูตไทยใน
ต่างประเทศ
2. บนเรือไทยและอากาศยานไทย สาหรับคดีอาญาเป็ นไปตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 4 วรรค 2 ซึง่
บัญญัตวิ ่า “การกระทาความผิดในเรือไทยหรืออากาศยานไทย ไม่ว่าจะอยู่ ณ ทีใ่ ด ให้ถอื ว่ากระทาผิดใน
ราชอาณาจักร”
ตัวอย่างข้อสอบ
EX 1. นายดาลักทรัพย์ผโู้ ดยสารบนเครื่องบินสิงคโปร์ขณะจอดอยู่ทส่ี นามบินสุวรรณภูมิ
คาตอบคือนายคาต้องรับโทษตามกฎหมายไทย
EX 2. ข้อใดใช้กฎหมายไทย
ตัวเลือกที่ 1 : ปลาวาฬลักทรัพย์ผโู้ ดยสารบนเครื่องบินสิงคโปร์ขณะจอดอยู่ทส่ี นามบินสุวรรณภูมิ
ตัวเลือกที่ 2 : ปลาวาฬลักทรัพย์ผโู้ ดยสารบนเครื่องบินการบินไทยขณะบินเหนือน่านฟ้ าเวียดนาม
ตัวเลือกที่ 3 : ปลาวาฬทาร้ายร่างกายผูโ้ ดยสารในเรือเดินสมุทรของไทยขณะอยู่ในน่านน้าสากล
ตัวเลือกที่ 4 : ปลาวาฬลักทรัพย์ผโู้ ดยสารบนเครื่องบินการบินไทยขณะจอดทีส่ นามบินฮ่องกง
คาตอบคือปลาวาฬต้องมารับโทษทางกฎหมายไทยทุกข้อ

สังคมแมวส้ม
13

• การกระทาทางอาญา แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ


1. การกระทาโดยเจตนารูส้ านึกในการกระทา ผูก้ ระทาประสงค์ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผลในการกระทานัน้
2. การกระทาโดยไม่เจตนา แต่เกิดจากผูก้ ระทาขาดความระมัดระวัง
• การตัดสิ นโทษ
กระทาความผิดสมบูรณ์ มีการกระทาเกิดขึน้ และมีเจตนาในการกระทา
ต้องได้รบั โทษตามกฎหมาย
การกระทาทีเ่ ป็ นความผิด แต่ 1. มีเหตุอนั สมควรกระทาไปเพื่อปกป้ องตนเอง
ผูก้ ระทาความผิดไม่ตอ้ งรับโทษ 2. เด็กอายุต่ากว่า 10 ปี ทาผิด
3. เป็ นคนไร้ความสามารถ (คนวิกลจริต)
การกระทาความผิดกรณีได้รบั การ การบันดาลโทสะเนื่องจากถูกข่มเหงอย่างร้ายแรง การกระทาความผิด
ลดหย่อนผ่อนโทษ เกีย่ วกับทรัพย์ระหว่างพ่อแม่กบั ลูก (สามารถยอมความกันได้) การกระทา
ของผูเ้ ยาว์อายุไม่ถงึ 18 ปี

• ผู้กระทาความผิด
ตัวการ (คนลงมือ) กระทาความผิดและมีเจตนาร่วมกัน รับโทษทางอาญาตามทีศ่ าล
พิพากษา
ผูใ้ ช้ ผูใ้ ช้ให้กระทาความผิด หากทาสาเร็จรับโทษเท่าตัวการ
หากไม่สาเร็จ รับโทษ 1 ใน 3 ของ
ตัวการ
ผูส้ นับสนุน คนทีใ่ ห้ความช่วยเหลือหรืออานวย รับโทษ 2 ใน 3 ของตัวการ
ความสะดวก

• โทษทางอาญา มีทงั ้ หมด 5 สถาน (เรียงจากเบาไปหนัก) คือ


1. ริบทรัพย์สนิ การริบทรัพย์สนิ ผิดกฎหมาย เช่น ทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้มาโดยผิดกฎหมาย
2. ปรับ โทษทีส่ ามารถนาค่าปรับไปชาระให้แก่พนักงาน
3. กักขัง การนาตัวผูต้ อ้ งหาไปขังทีไ่ ม่ใช่เรื่อนจา เช่น สถานีตารวจ เป็ นต้น
4. จาคุก การนาตัวไปขังไว้ทเ่ี รือนจาตามระยะเวลาแล้วแต่ศาลจะตัดสิน
5. ประหารชีวติ โทษสูงสุด

• มาตรการการควบคุมผู้กระทาความผิดทางอาญา
1. กักกัน
2. ห้ามเข้าเขตกาหนด
3. เรียกประกันทัณฑ์บน
4. คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล
5. ห้ามประกอบอาชีพ
สังคมแมวส้ม
14

• ประเภทของคดีอาญา
ลักทรัพย์ เอาทรัพย์สนิ ของผูอ้ ่นื ไปโดยมีเจตนาเอาไปเป็ นของตน
วิง่ ราวทรัพย์ ลักทรัพย์โดยฉกฉวยซึง่ หน้า
ชิงทรัพย์ ลักทรัพย์โดยใช้กาลังทาร้ายร่างกาย
กรรโชกทรัพย์ ข่มขูว่ ่าจะทาอันตราย โดยสังให้ ่ เอาทรัพย์มามอบให้
รีดเอาทรัพย์ ขูเ่ ข็ญว่าจะเปิ ดเผยความลับ ถ้าไม่เอาทรัพย์มามอบให้
ยักยอกทรัพย์ เบียดบังเอาทรัพย์ผอู้ ่นื ทีต่ นครอบครองอยู่ไปเป็ นของตน
ปล้นทรัพย์ ร่วมกันชิงทรัพย์ตงั ้ แต่ 3 คนขึน้ ไป
ข่มขืน อายุคดีภายใน 3 เดือน ให้เจ้าตัวเป็ นคนฟ้ อง
ซ่องโจร คน 5 คนขึน้ ไปสมคบกันเพื่อทาผิดอาญา
ก่อจลาจล คน 10 คนขึน้ ไปมัวสุ ่ มกันใช้กาลังประทุษร้าย หรือกระทาการให้บา้ นเมืองวุ่นวาย
อัง้ ยี่ คณะบุคคลปกปิ ดวิธดี าเนินการและมุ่งหมายทาผิดกฎหมาย
• การดาเนิ นคดีอาญา
ตารวจ อัยการ ศาล พนักงานราชทัณฑ์ / พนักงานคุมประพฤติ
1. ตารวจเป็ นเจ้าพนักงานทีก่ ฎหมายให้มอี านาจหน้าทีร่ กั ษาความสงบเรียบร้อย ทาหน้าทีร่ วบรวมพยาน
หลักฐานและเขียนสารวนการสวบสวน
2. อัยการฟ้ องผูต้ อ้ งหาต่อศาล โดยจะตรวจสานวนการสอบสวนทีต่ ารวจส่งมาว่าสมควรฟ้ องจาเลยหรือไม่
3. ศาลมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญา
4. พนักงานราชทัณฑ์ / พนักงานคุมประพฤติเป็ นผูบ้ งั คับให้เป็ นไปตามคาสังของศาล
่ โดยนาจาเลยไปรับโทษ
คาศัพท์
ผูต้ อ้ งหา คือ บุคคลผูถ้ ูกกล่าวหาว่าได้กระทาความผิดหรือมีหลักฐานชัดเจน แต่ยงั ไม่ได้ถูกฟ้ องต่อศาล
ผูต้ อ้ งสงสัย คือ บุคลทีถ่ ูกซัดทอดว่าน่าจะกระทาความผิด
จาเลย คือ บุคคลซึง่ ถูกฟ้ องยังศาลแล้วโดยข้อหาว่าได้กระทาความผิด

สังคมแมวส้ม
15

เก็บตกกฎหมาย
พระบิดาแห่งกฎหมายไทย กรมหลวงราชบุรดี เิ รกฤทธิ ์ จากการสอนวิชากฎหมายและจัดทาร่างกฎหมาย
คดีอทุ ลุม คือ คดีทผ่ี ใู้ ดจะฟ้ องบุพการีของตนเป็ นคดีแพ่งหรือคดีอาญามิได้ ต้องร้องขอต่ออัยการให้เป็ นผูฟ้ ้ อง
แทนถ้าเห็นว่าบุพการีกระทาผิดจริง
คดีมโนสาเร่ คือ คดีเล็กๆน้อยๆ ได้แก่ 1. คดีทม่ี ที ุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 บาท 2. คดีฟ้องขับไล่บุคคลออก
จากอสังหาริมทรัพย์ทม่ี คี ่าเช่าไม่เกินเดือนละ 30,000 บาท
กฎหมายภาษี อากร
1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เก็บจากบุคคลธรรมดาทีม่ รี ายได้ต่อปี ตงั ้ แต่ 150,001 บาทขึน้ ไป โดยเสียภาษีปีละ
ครัง้ ในเดือนมีนาคมของทุกปี
2. ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เก็บจากนิตบิ ุคคลต่างๆทีท่ าธุรกิจ
กฎหมายการรับราชการทหาร
1. ชายไทยทุกคน อายุตงั ้ แต่ 18 ปี บริบูรณ์ไปลงบัญชีทหารกองเกิน
2. ชายไทยทุกคน อายุตงั ้ แต่ 21 ปี บริบูรณ์เข้ารับการตรวจคัดเลือกเป็ นทหารกองประจาการ
3. หลังจากพ้นการเกณฑ์ทหาร คือ ปลดเป็ นทหารกองหนุน
4. ผูท้ ไ่ี ม่ต้องเกณฑ์ทหารได้แก่ ข้าราชการ ผูส้ าเร็จการฝึกวิชาทหาร (รด.) ผูป้ ่ วย ผูต้ อ้ งขัง พระสงฆ์ ผูท้ ไ่ี ด้รบั
การยกเว้น
ตารางสรุป
ผู้หย่อนความสามารถ
ผูเ้ ยาว์ คนเสมือนไร้ความสามารถ คนไร้ความสามารถ
ลักษณะ อายุไม่ถงึ 20 ปี บริบูรณ์ สติฟัน่ เฟื อน (ศาลสั ่ง) วิกลจริต (ศาลสั ่ง)
ผูด้ แู ล ผูป้ กครอง ผูพ้ ทิ กั ษ์ (ศาลสั ่ง) ผูอ้ นุบาล (ศาลสั ่ง)
สิง่ ทีท่ าได้ พินัยกรรมทาได้ตอนอายุ 15 ปี บริบูรณ์ ทาพินัยกรรมขณะทีไ่ ม่ได้ ไม่สามารถทาอะไรได้เลย
หมัน้ และแต่งงาน อายุ 17 บริบูรณ์โดย จิตฟั น่ เฟื อน
ต้องได้รบั การยินยอมจากผูป้ กครอง
ถ้าอายุต่ากว่า 17 ปี ต้องให้ศาลสั ่ง
การพ้นสภาพ อายุครบ 20 ปี บริบูรณ์ ศาลสั ่ง ศาลสั ่ง
แต่งงาน

สังคมแมวส้ม
16

พิ นัยกรรม
ทาพินัยกรรม ผลถ้าฝ่ าฝืน
ผูเ้ ยาว์ ต้องมีอายุตงั ้ แต่ 15 ปี ขน้ึ ไป โมฆะ
คนเสมือนไร้ความสามารถ โมฆียะ
คนไร้ความสามารถ โมฆะ

ของหมัน้ และสิ นสอด


ของหมัน้ สินสอด
ความหมาย ทรัพย์สนิ ทีฝ่ ่ ายชายมอบให้แก่หญิงในขณะทา ทรัพย์สนิ ทีฝ่ ่ ายชายให้แก่บดิ ามารดาหรือ
การหมัน้ เพื่อเป็ นประกันว่าจะทาการสมรส ผูป้ กครองฝ่ ายหญิง เพื่อตอบแทนในการทีห่ ญิง
ต่อไป ยอมสมรส
การส่งมอบ ขณะหมัน้ เมื่อใดก็ได้

การหมัน้ และการสมรส
หมัน้ สมรส
อายุขนั ้ ต่า ชายและหญิงอายุครบ 17 ปี ชายและหญิงอายุครบ 17 ปี
ผลหากอายุไม่ถงึ เกณฑ์ขน้ึ ต่า โมฆะ โมฆียะ
ศาล ไม่สามารถขออนุญาตศาลทาการหมัน้ สามารถขออนุญาตจากศาลเพื่อทาการ
สมรสได้
ข้อห้าม 1. เป็ นคนไร้ความสามารถ (คนวิกลจริต)
2. มีค่สู มรสแล้ว สมรสซ้อน
3. พีน่ ้องร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกัน
4. ผูร้ บั บุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม

สิ นส่วนตัวและสิ นสมรส
สินส่วนตัว สินสมรส
1. ของหมัน้ ทรัพย์สนิ ทีฝ่ ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส 1. ทรัพย์สนิ ทีห่ าได้ระหว่างการสมรส (เงินเดือน เงิน
2. ทรัพย์ทฝ่ี ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการให้ โบนัส เงินประจาตาแหน่ง)
โดยเสน่หา 2. ดอกผลของสินส่วนตัว (กาไร ค่าเช่า เงินปั นผล)
3. มรดกทีไ่ ด้มาระหว่างสมรส 3. พินัยกรรมทีร่ ะบุให้เป็ นสินสมรส
4. เครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ
เครื่องมือเครื่องใช้ประกอบอาชีพ

สังคมแมวส้ม
17

สังหาริ มทรัพย์กบั อสังหาริ มทรัพย์


สังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์
ทรัพย์ทเ่ี คลื่อนทีไ่ ด้ สามารถนาติดตัวได้ เช่น ทีวี ตูเ้ ย็น ทรัพย์ทเ่ี คลื่อนทีไ่ ม่ได้ ไม่สามารถนาไปไหนมาไหนได้
รถยนต์ รวมถึงไม้ลม้ ลุก ข้าว อ้อย เช่น อาคาร ทีด่ นิ แหล่งน้า ไม้ยนื ต้น
การซื้อขายไม่ตอ้ งทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อ การซื้อขายต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนัน้ ตกเป็ นโมฆะ
การทาสัญญา การทาสัญญา
- ซื้อขาย มูลค่าเกิน 20,001 บาท ต้องทาเป็ นหนังสือ - ซื้อขาย ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียน
- เช่าทรัพย์ ไม่กาหนดว่าต้องทาเป็ นหนังสือ สามารถตก - เช่าทรัพย์ ต้องทาเป็ นหนังสือ
ลงด้วยวาจากันได้ และนาไปฟ้ องศาลได้ - เช่าซื้อ ต้องทาเป็ นหนังสือ
- เช่าซื้อ ต้องทาเป็ นหนังสือ - ขายฝาก ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียน
- ขายฝาก ต้องทาเป็ นหนังสือ
ครอบครองปรปั กษ์ 5 ปี ตดิ ต่อกันได้กรรมสิทธิ ์ ครอบครองปรปั กษ์ 10 ปี ติดต่อกันได้กรรมสิทธิ ์
เมื่อนาทรัพย์ไปประกันการชาระหนี้ เรียกว่าจานา เมื่อนาทรัพย์ไปประกันการชาระหนี้เรียกว่าจานอง
สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ได้แก่ เรือมีระวางตัง้ แต่ 5 ตัน
ขึน้ ไป แพ สัตว์พาหนะ ต้องทาเป็ นหนังสือและจด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อนาทรัพย์ไปประกัน
การชาระหนี้เรียกว่าจานอง

เปรียบเทียบกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์กบั กฎหมายอาญา


กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา
ลักษณะ เกีย่ วกับสิทธิเสรีภาพของพลเมือง เกีย่ วกับความสงบเรียบร้อย
ความผิดยอมความไม่ได้ คดีอาญาแผ่นดิน
ความผิดยอมความได้ คดีลหุโทษ
โทษ ศาลตัดสินให้การปรับสินไหม เรียก ศาลตัดสินให้รบิ ทรัพย์ (ยึดของกลาง) ปรับ
ค่าชดเชย เป็ นบุคคลล้มละลาย กักขัง จาคุก ประหารชีวติ
บุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง ทนายความ เจ้าพนักงานบังคับคดี ทนายความ อัยการ ตารวจ พนักงาน
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ราชทัณฑ์ พนักงานคุมประพฤติ

สังคมแมวส้ม
18

กข้อสอบกฎหมายก
1. กฎหมายต้องเป็ นข้อบังคับทีใ่ ช้ทวไปหมายความว่
ั่ าอย่างไร
1. กฎหมายต้องใช้ได้ตลอดเวลา 2. กฎหมายต้องเป็ นทีย่ อมรับของทุกคน
3. กฎหมายต้องใช้บงั คับได้ทุกคน 4. กฎหมายต้องมีระยะเวลาการใช้ทก่ี าหนดไว้
2. กฎหมายมหาชนหมายถึงอะไร
1. กฎหมายทีก่ าหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ
2. กฎหมายทีบ่ ญั ญัตคิ วามสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับนิตบิ คุ คล
3. กฎหมายทีว่ ่าด้วยอานาจสูงสุดของรัฐ
4. กฎหมายทีบ่ ญ ั ญัตคิ วามสัมพันธ์ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐกับประชาชน
3. ปั จจุบนั ประเทศไทยใช้ระบบกฎหมายใด
1. กฎหมายลายลักษณ์อกั ษร 2. กฎหมายตามจารีตประเพณี
3. คาสังประกาศของผู
่ ป้ กครอง 4. กฎหมายทีม่ าจากต่างประเทศ
4. หลักเกณฑ์ในการส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนกาหนดไว้ในกฎหมายประเภทใด
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญ 2. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
3. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล 4. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา
5. ข้อใดไม่ใช่กฎหมายทีอ่ อกโดยฝ่ ายนิตบิ ญ
ั ญัติ
1. รัฐธรรมนูญ 2. พระราชกาหนด 3. พระราชบัญญัติ 4. ประมวลกฎหมาย
6. กฎหมายทีค่ ณะรัฐมนตรีตราขึน้ เพื่อกาหนดรายละเอียดปลีกย่อยของกฎหมายหลักคือข้อใด
1. พระราชบัญญัติ 2. พระราชกฤษฎีกา 3. พระราชกาหนด 4. กฎกระทรวง
7. บุคคลใดทาหน้าทีเ่ ปรียบเสมือน “ทนายแผ่นดิน”
1. พนักงานอัยการ 2. พนักงานสืบสวน 3. ทนายความ 4. ผูพ้ พิ ากษา
8. นิตกิ รรมทีม่ ผี ลเป็ นโมฆียะ หมายความว่าอะไร
1. ไม่มผี ลบังคับใช้ 2. มีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย
3. มีผลชัวคราวจนกระทั
่ งถู
่ กบอกล้าง 4. สูญเปล่าตามเวลาทีก่ าหนด
9. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกับสภาพบุคคล
1. ด.ญ.ฟ้ า สัญชาติญป่ี ่ ุนมีอายุ 7 ปี เมื่ออาศัยอยู่ในประเทศไทย จึงมีหน้าทีย่ ่นื ขอมีบตั รประจาตัวประชาชน
2. สภาพบุคคลเริม่ เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็ นทารก
3. บริษทั มีสภาพเป็ นนิตบิ คุ คลเพราะจดทะเบียนไว้แล้ว
4. สภาพบุคคลสิน้ สุดลงเมื่อตายเท่านัน้

สังคมแมวส้ม
19

10. ข้อใดกล่าวถึงผูเ้ ยาว์ถูกต้อง


1. ผูท้ ม่ี อี ายุครบ 20 ปี บริบูรณ์
2. ชายหญิงทีส่ มรสกันเมื่ออายุครบ 17 ปี บริบูรณ์
3. ผูเ้ ยาว์สามารถซื้อรถยนต์เพื่อไปโรงเรียนได้โดยลาพัง
4. ผูเ้ ยาว์สามารถรับการให้โดยเสน่หาได้โดยลาพัง
11. บุคคลใดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไม่ถูกจากัดความสามารถในการทานิตกิ รรม
1. ผูเ้ ยาว์ 2. คนเสมือนไร้ความสามารถ
3. คนไร้ความสามารถ 4. คนพิการ
12. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่นิตบิ คุ คลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1. บริษทั ขนส่ง จากัด (บขส) 2. ห้างหุน้ ส่วนจากัด
3. มูลนิธิ 4. บริษทั กสท. โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)
13. ของหมัน้ จัดเป็ นทรัพย์สนิ ประเภทใดระหว่างสามีภริยา
1. สินสมรส 2. สินส่วนตัวของชาย 3. สินส่วนตัวของหญิง 4. ถูกทุกข้อ
14. ตามกฎหมายไทย การสมรสกระทาได้ระหว่างชายกับหญิงทีม่ อี ายุ 17 ปี บริบูรณ์ ข้อใดต่อไปนี้ชายหญิงทาการ
สมรสกันได้โดยไม่ขดั ต่อกฎหมายไทย
1. ชายหรือหญิงวิกลจริต 2. ชายหรือหญิงมีค่สู มรสอยู่แล้ว
3. ชายหรือหญิงเป็ นผูพ้ กิ ารทางกาย 4. ชายหรือหญิงเป็ นผูส้ บื สายเลือดโดยตรง
15. ตามกฎหมายมรดก ใครคือทายาทโดยธรรมลาดับแรกในกรณีทผ่ี ตู้ ายมิได้ทาพินัยกรรม
1. บิดามารดา 2. ผูส้ บื สันดาน 3. เพื่อนสนิท 4. ญาติสนิท
16. ข้อใดไม่ใช่สนิ ส่วนตัว
1. ดอกเบีย้ เงินฝากธนาคารทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างสมรส
2. เครื่องใช้สอยส่วนตัว
3. ทรัพย์สนิ ทีฝ่ ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส
4. มรดกทีภ่ รรยาได้รบั จากบิดามารดาของตน
17. ข้อใดกล่าวได้ถกู ต้องเกีย่ วกับการสมรส
1. ฝ่ ายหญิงจะมีอายุมากกว่าฝ่ ายชายมิได้
2. หญิงทีส่ ามีตายสามารถสมรสใหม่ได้ทนั ที
3. ชายหรือหญิงจะสมรสในขณะทีต่ นมีค่สู มรสอยู่มไิ ด้
4. ชายและหญิงซึง่ เป็ นพีน่ ้องต่างมารดาสามารถสมรสกันได้
18. การไม่ยอมชาระหนี้ทไ่ี ด้กูย้ มื มาถือเป็ นความคิดในคดีใด
1. คดีแพ่ง 2. คดีอาญา 3. คดีอทุ ลุม 4. ความผิดอาญาแผ่นดิน

สังคมแมวส้ม
20

19. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกีย่ วกับการรับบุตรบุญธรรม


1. ผูร้ บั บุตรบุญธรรมต้องมีอายุแก่กว่าบุตรบุญธรรมอย่างน้อย 25 ปี
2. ในกรณีผจู้ ะรับบุตรบุญธรรมมีค่สู มรสต้องได้รบั ความยินยอมจากคู่สมรสก่อน
3. การรับบุตรบุญธรรมจะต้องจดทะเบียนตามกฎหมาย
4. บุตรบุญธรรมมีฐานะอย่างเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมายของผูร้ บั บุตรบุญธรรม
20. ข้อใดเป็ นนิตกิ รรม
1. เมื่อบุคคลตาย ทายาทจะได้รบั มรดก
2. เมื่อขับรถชนคนเดินเท้าต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
3. เมื่อตกลงนัดเพื่อนไปดูหนังแต่กลับไม่ไปตามนัด
4. เมื่อลูกหนี้นาเงินมาชาระหนี้พร้อมดอกเบีย้ ตามสัญญา
21. ข้อใดเป็ นข้อความทีไ่ ม่ถูกต้อง
1. การกูเ้ งินกันเกินกว่า 2,000 บาท ต้องมีหลักฐานการกู้เงินเป็ นหนังสือจึงจะฟ้ องร้องได้
2. การจานาต้องมีการส่งมอบทรัพย์ทจ่ี านาแก่ผรู้ บั จานา
3. การจานองทีด่ นิ ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียน
4. การซื้อขายตูเ้ ย็นมูลค่า 10,000 บาท ต้องทาสัญญาเป็ นหนังสือ
22. ข้อใดได้รบั การคุม้ ครองโดยไม่ตอ้ งจดทะเบียนทรัพย์สนิ ทางปั ญญา
1. สิทธิบตั ร 2. สิขสิทธิ ์ 3. เครื่องหมายการค้า 4. วัตถุดบิ ประกอบสินค้า
23. ข้อใดไม่สามารถนามาจานองได้
1. เรือมีระวางตัง้ แต่หา้ ตันขึน้ ไป 2. บ้านและทีด่ นิ
3. สัตว์พาหนะ 4. รถยนต์ราคาตัง้ แต่ 500,000 บาทขึน้ ไป
24. ข้อใดคือความหมายของความผิดอาญาแผ่นดิน
1. ความผิดทีเ่ ห็นได้ในตัวเอง 2. ความผิดทีเ่ กีย่ วข้องกับศีลธรรม
3. ความคิดทีไ่ ด้ดาเนินคดีเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว 4. ความผิดทีย่ อมความกันไม่ได้
25. เด็กชายแดงอายุ 6 ขวบ ผลักเด็กชายเขียวล้มหัวแตก ต้องเย็บแผล 5 เข็ม เด็กขายแดงต้องรับผิดหรือไม่
อย่างไร
1. รับผิดทัง้ ในทางอาญาและแพ่ง 2. รับผิดทางแพ่งแต่ไม่รบั ผิดทางอาญา
3. รับผิดทางอาญาแต่ไม่รบั ผิดทางแพ่ง 4. ไม่ตอ้ งรับผิดทัง้ ในทางอาญาและแพ่ง
26. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกับโทษทางอาญา
1. จาคุก กักขัง 2. ปรับ ริบมัดจา 3. กักกัน กักขัง 4. จาคุก ชดใช้ค่าสินไหม
27. นายเขียวขูว่ ่าจะเผาบ้านแมวส้ม ทาให้แมวส้มต้องเอาเงินทองมามอบให้ นายเขียวกระทาความผิดตามข้อใด
1. ชิงทรัพย์ 2. ปล้นทรัพย์ 3. รีดเอาทรัพย์ 4. กรรโชกทรัพย์

สังคมแมวส้ม
21

28. ข้อใดไม่ถอื ว่าเป็ นการกระทาผิดในประเทศไทย


1. นายน้อยลักทรัพย์นักก่องเทีย่ วต่างชาติทจ่ี งั หวัดสงขลา
2. นายบัวลักทรัพย์นักท่องเทีย่ วชาวไทยทีป่ ระเทศลาว
3. นายหมูลกั ทรัพย์ผโู้ ดยสารการบินไทยขณะจอดอยู่ทป่ี ระเทศอินเดีย
4. นายมดลักทรัพย์ผโู้ ดยสารเรือไทยขณะเรือกาลังแเล่นอยู่ในน่านน้าสากล
29. แดงขโมยรถจักรยานยนต์ของขาวไปใช้ 3 วัน ต่อมานามาคืนพร้อมมอบเงินให้ 300 บาท แดงกระทาผิด
กฎหมายหรือไม่
1. ผิด ฐานละเมิด 2. ผิด ฐานลักทรัพย์
3. ไม่ผดิ เพราะนามาคืนให้แล้ว 4. ไม่ผดิ เพราะยอมชดใช้ค่าเสียหายให้แล้ว
30. บุตรลักทรัพย์บดิ าถือเป็ นความผิดอาญาประเภทใด
1. ความผิดลหุโทษ 2. ความผิดอาญาแผ่นดิน
3. ความผิดทีย่ อมความได้ 4. ความผิดทีย่ อมความไม่ได้
31. ข้อใดเป็ นการเรียงลาดับ “ทายาทโดยธรรม” ทีถ่ ูกต้องตามกฎหมาย
1. ผูส้ บื สันดาน / บิดา มารดา / พีน่ ้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน / ปู่ ย่า ตา ยาย / พีน่ ้องร่วมบิดาหรือร่วม
มารดาเดียวกัน / ลุง ป้ า น้า อา
2. ผูส้ บื สันดาน / บิดา มารดา / พีน่ ้องร่วมบิดาเดียวกัน / พีน่ ้องร่วมบิดาเดียวกันหรือมารดาเดียวกัน / ปู่ ย่า
ตา ยาย / ลุง ป้ า น้า อา
3. ผูส้ บื สันดาน / บิดา มารดา / ปู่ ย่า ตา ยาย / พีน่ ้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน / พีน่ ้องร่วมบิดาหรือร่วม
มารดาเดียวกัน / ลุง ป้ า น้า อา
4. ผูส้ บื สันดาน / บิดา มารดา / คู่สมรส / พีน่ ้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน / พีน่ ้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดา
เดียวกัน / ปู่ ย่า ตา ยาย
32. บุคคลใดต่อไปนี้ไม่สามารถทาพินัยกรรมได้
1. พระภิกษุสงฆ์ 2. ผูต้ อ้ งขัง 3. เด็กหญิงฟ้ า 4. บุคคลล้มละลาย
33. คนเสมือนไร้ความสามารถจะทาพินัยกรรมด้วยตนเองได้หรือไม่
1. ทาได้โดยไม่ตอ้ งได้รบั ความยินยอมจากผูพ้ ทิ กั ษ์
2. ทาได้แต่ตอ้ งได้รบั ความยินยอมจากผูพ้ ทิ กั ษ์
3. ทาไม่ได้ตอ้ งให้ผพู้ ทิ กั ษ์กระทาแทน
4. ทาไม่ได้เว้นแต่ได้รบั อนุญาตจากศาลแล้ว
34. ทุกข้อเป็ นทรัพย์สนิ ทีต่ อ้ งทาสัญญาซื้อขายเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ยกเว้นข้อใด
1. แพ 2. สัตว์พาหนะ 3. ทีด่ นิ 4. รถยนต์

สังคมแมวส้ม
22

35. ข้อใดคือนิตกิ รรมสัญญา


1. แดงยอมรับว่าตนเป็ นหนี้ม่วงโดยลงลายมือชื่อในเอกสารไว้เป็ นหลักฐาน
2. เขียวเข้าซ่อมหลังคาบ้านให้เหลืองด้วยความหวังดีเพราะเป็ นฤดูฝน
3. ส้มแสดงตนในฐานะเป็ นผูร้ บั พินัยกรรมเพื่อขอรับมรดกของผูต้ าย
4. ดาขับรถยนต์ขนขาวด้วยความประมาท
36. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกับสิขสิทธิ ์
1. ครอบคลุมเฉพาะวัตถุทจ่ี บั ต้องได้อย่างสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์เท่านัน้
2. คุม้ ครองลิขสิทธิตลอดชี
์ วติ ของผูส้ ร้างสรรค์และต่อไปอีก 50 ปี นบั จากผูส้ ร้างสรรค์ถงึ แก่กรรม
3. คุม้ ครองลิขสิทธิตลอดชี
์ วติ ของผูส้ ร้างสรรค์
4. ต้องไปจดทะเบียนเท่านัน้
37. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. การซื้อขายนาฬิกามูลค่า 1,000,000 บาท ต้องทาสัญญาเป็ นหนังสือ
2 การกูย้ มื เงินตัง้ แต่หนึ่งพันบาทขึน้ ไป ต้องทาเป็ นหนังสือลงลายมือชื่อ จึงฟ้ องร้องให้ดาเนินคดีได้
3. หากเจ้าหนี้คดิ ดอกเกินร้อยละ 15 ต่อปี ถือเป็ นโมฆะ ผูก้ ูไ้ ม่ตอ้ งเสียดอกเบีย้ และเงินต้น
4. สัญญาเช่าทรัพย์เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าสัญญาซื้อขายผ่อนส่ง
38. ข้อใดเป็ นสาระสาคัญของกฎหมายอาญาทีเ่ ด่นชัดกว่ากฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1. รักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม 2. คุม้ ครองผลประโยชน์ของรัฐ
3. กาหนดลักษณะความผิดและบทลงโทษ 4. ขดใช้ค่าเสียหาย
39. ข้อใดเป็ นความผิดฐานวิง่ ราวทรัพย์
1. การข่มขูว่ ่าจะเปิ ดเผยความลับเมื่อไม่นาเงินมาให้
2. การเอาทรัพย์ของผูอ้ ่นื โดยการฉกฉวยเอาซึง่ หน้า
3. การเอาทรัพย์ของผูอ้ ่นื โดยใช้กาลังทาร้ายจนได้ทรัพย์ของผูน้ ัน้ ไป
4. การเอาทรัพย์ของผูอ้ ่นื โดยร่วมมือกันตัง้ แต่ 3 คนขึน้ ไป
40. บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องในการกระทาความผิดอาญาคู่ใดทีก่ ฎหมายกาหนดให้รบั โทษในอัตราเดียวกัน
1. ตัวการ - ผูส้ นับสนุน 2. ผูล้ งมือกระทาความผิด - ผูส้ นับสนุน
3. ผูใ้ ช้ - ผูส้ นับสนุน 4. ผูใ้ ช้ - ตัวการ
เฉลย
1 3 2 4 3 1 4 4 5 2 6 2 7 1 8 3 9 2 10 4
11 4 12 4 13 3 14 3 15 2 16 1 17 3 18 1 19 1 20 4
21 4 22 2 23 4 24 4 25 4 26 1 27 4 28 2 29 2 30 3
31 2 32 3 33 2 34 4 35 1 36 2 37 1 38 1 39 2 40 4

สังคมแมวส้ม

You might also like