วิธีสร้างบุญบารมี

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 37

วิธีสราง

(ฉบับควรอ่าน)

รวบรวมจาก
หนังสือวิธีสร้างบุญบารมี พระนิพนธ์ใน สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก

และ

หนังสือเทคนิคเพิ่มสุข แต่งโดย ภิกษุณีรุ้งเดือน นันทญาณี


อารามภิกษุณี นิโรธาราม
คํานํา

จากการที่ผมทุ่มเทกายและใจศึกษาค้นคว้าในวิชาโหราศาสตร์จีน
อยู่เรื่อยๆ และได้เคยนําวิชาดังกล่าวออกมาใช้ช่วยเหลือคนทั้งหลายอยู่สักพักใหญ่
ในนามปากกว่า ซินแสหลัว (จากการค้นคว้าทําให้พบว่าศาสตร์วิชาโหราศาสตร์จีน
มีความพิเศษและสอดคล้องกับแนวทางพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง คือไม่ได้
ตอบปัญหาชีวิตคนโดยอ้างว่า เทพบันดาล ดาวกําหนด แต่มุ่งเฟ้นหาธาตุ
สําคัญในดวงชะตาเพื่อสอนให้คนเชื่อในเรื่องกรรม คือคุณทําอะไรมาแล้ว
วิธีสร้างบุญบารมี (ฉบับควรอ่าน) เหตุ ใ ดจึ ง ได้ รั บ ผลจากการกระทํ า นั้ น ออกมาดี ห รื อ ร้ า ย ทํ า ให้ ห าหนทาง
รวบรวมจาก หนังสือวิธีสร้างบุญบารมี ในการแก้ไขชีวิตจากการปรับปรุงทัศนคติและการกระทําได้ โดยไม่เชื่อว่า
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
และ หนังสือเทคนิคเพิ่มสุข ชะตาชีวิตถูกขีดเส้นมาแล้วแต่ประการใด มีความจําเป็นต้องอธิบายไว้อย่าง
ภิกษุณีรุ้งเดือน นันทญาณี อารามภิกษุณี นิโรธาราม คร่า วเพื่ อ ให้ท่า นเข้า ใจว่า ทํ า ไมนัก โหราศาสตร์จีน คนหนึ่งถึง มาเผยแพร่
เรื่องทางพุทธศาสนา เพราะคําๆเดียวคือ คําตอบและคําทํานายที่ได้จากวิชา
จัดพิมพ์โดย “กองทุนโหราศาสตร์จีน” โหราศาสตร์จีนนั้น สอนให้คนเชื่อเรื่องกรรมเป็นหลักและเชื่อว่า เราเป็นนาย
www.facebook.com/chinesehoro
www.chinese-horo.com ของชะตาตนเอง) จากการใช้ วิช ามานานปีก็ ค้ น พบว่ า ชาวพุท ธหลายคน
ยังมีความเข้าใจในเรื่องการทําบุญที่คลาดเคลื่อนอยู่มาก มีคําถามที่มักจะ
พุทธศักราช ๒๕๕๗ ได้ ยิ น จากหลายท่ านอยู่เ นือ งๆว่า อะไรคือบุญ กันแน่ การกระทําแบบนั้น
พิมพ์ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ จํานวนพิมพ์ ๗๐๐ เล่ม
แบบนี้ ถื อ ว่ า ทํ า แล้ ว ได้ บุ ญ หรื อ ไม่ จะทํ า บุ ญ อย่ า งไรอุ ทิ ศ บุ ญ นั้ น อย่ า งไร
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ ทิพยบุญญา เพื่อส่งไปให้ถึงคนที่ล่วงลับไปแล้ว สวดมนต์ได้บุญหรือเปล่า นั่งสมาธิได้บุญ
โทรศัพท์ ๐๙-๑๖๖๒-๖๒๔๖
หรือเปล่า บางท่านก็บอกว่าทําสังฆทานได้บุญมากกว่าการทําทานทั่วๆไป ผมจึงได้สืบค้นหาหนังสือที่คนทั่วไปจะสามารถอ่านแล้วทําความเข้าใจ
จริงหรือไม่ บางท่านบอกว่า การนั่งสมาธิและรักษาศีลได้บุญมากกว่าการทํา เรื่องการสร้างบุญบารมีได้ถูกต้องและง่ายที่สุด ใช้เวลาน้อ ยสั้น ที่สุด เป็ น
ทานทั้งหมดเท็จจริงประการใดเล่า ทั้งหมดก็เพื่อตอบคําถามความสงสัยในใจ พื้ น ฐานเบื้ อ งต้ น ให้ เ กิ ด ความอยากศึ ก ษาต่ อ ไป ก็ ป รากฏหนั ง สื อ ที่ มี
เพี ย งอย่ า งเดี ย วคื อ การทํ า บุ ญ ในรู ป แบบต่ า งๆ ให้ ผ ลบุ ญ อานิ ส งค์ เ ท่ า กั น หัวเรื่องน่าสนใจชื่อ วิธีสร้างบุญบารมี ซึ่งแจกจ่ายแพร่หลายตามศาสนสถาน
หรือไม่ และการสร้างบุญแบบไหนให้ผลบุญมากที่สุดเพื่อเขาเหล่านั้นจะได้ ต่ า งๆ เมื่ อ ตนเองได้ อ่ า นหนั ง สื อ ดั ง กล่ า วจบแล้ ว ยั ง ไม่ ค ลายความสงสั ย
ปฏิบัติให้ถูกที่ ทําให้ถูกกาล บริหารให้ถูกจุดประสงค์ เพื่อดํารงเป้าหมายใน เนื่ อ งจากมี เ นื้ อ ความบางตอนไม่ ส อดคล้ อ งในเหตุ ผ ลและความรู้ แ ต่ เ ดิ ม
การสร้างบุญ บารมีให้แน่วแน่ เนื่องจากชาวพุทธหลายคนมั กจะกล่าวว่ า ที่ เ คยทราบมา จึ ง ไม่ อ าจลดละความพยายามที่ จ ะสื บ หาต่ อ ไป
จะไปให้ ถึ ง นิ พ พานนั้ น ยากแท้ เพราะชี วิ ต ยั ง ต้ อ งทํ า มาหากิ น สละละทิ้ ง กระทั่งที่สุดทําให้ทราบว่า หนังสือ วิธีสร้างบุญบารมี ที่อ้างว่าเป็นพระนิพนธ์
เงินทอง ครอบครัว ญาติมิตรไปไม่ได้หรอก ขอเพียงแค่ไม่ทําบาปเพราะกลัวตกนรก ในสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ นั้น มีอยู่ ๒ ฉบับ ฉบับหนึ่ง
และทํา บุญไปเรื่อยๆให้ขึ้นสวรรค์ก็เ พียงพอแล้ว ชาติหน้าเกิดมาใหม่ถ้า มี เป็นฉบับที่พระองค์ท่านทรงพระนิพนธ์จริงเพราะมีภาพลายพระหัตถ์ท่าน
วาสนาค่อยบําเพ็ญบารมีต่อไป ผมจึงตั้งความมุ่งหวังว่า หากแม้นเราเอง ประกอบยืนยัน ส่วนอีกฉบับนั้นไม่ทราบว่าผู้ใดเรียบเรียงแต่งขึ้นมาแน่ชัด
สามารถช่วยปลดเปลื้องความข้องใจในเรื่องบุญ เพื่อให้เขาเหล่านั้นได้พบกับ หากแต่แพร่หลายกันมากเหลือและอ้างว่าเป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จฯ ท่าน
เป้าหมายคือการบุญที่ถูกต้องตามหลักการทางพุทธศาสนา ก็อาจจะเป็น ทั้ ง นี้ พอได้ อ่ า นฉบั บ ที่ ส มเด็ จ ท่ า นทรงนิ พ นธ์ ก็ เ กิ ด ความเข้ า ใจในหลาย
ปัจจัยที่จะช่วยให้เขาเหล่านั้นยกระดับตัวเองได้ไวขึ้น มากกว่าความหวัง ประเด็นของการทําบุญที่ติดขัดในความเข้าใจอยู่แต่เดิม แต่ยังเล็งเห็นว่า
เพียงสั่งสมบุญบารมี ให้ยกระดับสูงขึ้นเป็นการบําเพ็ญตนกล่อมเกลาจิตใจ พระองค์ ท่ า นทรงบรรยายด้ ว ยภาษาธรรมะที่ ลึ ก ซึ้ ง จึ ง เป็ น หลั ก เกณฑ์
เพราะพุทธองค์ทรงตรัสเอาไว้เป็นหลักการอย่างยิ่งว่า ขอให้ละเว้นจากการ ที่ ค รอบคลุ ม และรั ด กุ ม ในเรื่ อ งบุ ญ ซึ่ ง คนทั่ ว ไปที่ ศึ ก ษาธรรมะมาน้ อ ย
ทําบาปทั้งปวง ขอให้ทําความดีให้ถึงพร้อม และขอให้ฝึกฝนทําจิตใจให้สว่าง จะทําความเข้าใจได้ยาก ผมจึงคิดจะหาคําบรรยายเกี่ยวกับการทําบุญที่ตรง
บริสุทธิ์ การทําบุญนั้นหากทําได้ถูกต้องมีความเข้าใจที่ถ่องแท้ย่อมจะได้ ตามพระไตรปิ ฎ กและใช้ ภ าษาสามั ญ เข้ า ใจง่ า ยขึ้ น จึ ง ได้ พ บหนั ง สื อ
ประโยชน์สองทางข้างต้นอย่างแน่นอนแล้ว คือ ขณะที่เราทําได้ละเว้นการทําบาป ชื่อ เทคนิคเพิ่มสุข (ขอบอกว่าไม่มีวางแผงขายนะครับ) แต่งโดย ภิกษุณี รุ้งเดือน
และได้ทําความดี ด้วยพร้อมๆกัน นั น ทญาณี แห่ ง นิ โ รธาราม แยกแยะบรรยายเรื่ อ งการทํ า บุ ญ เป็ น ข้ อ ๆ
ด้วยภาษาที่เรียบง่าย คนทั่วไปที่อ่านหนังสือธรรมะมาน้อยสามารถเข้าใจได้ เพราะการทํ า ธรรมทานจะเกิ ด ไม่ ไ ด้ เ ลยหากมี ผู้ ใ ห้ แ ต่ เ พี ย งฝ่ า ยเดี ย ว
อย่างรวดเร็ว จึงเห็นควรนําบทความดังกล่าวมาประกอบไว้ท้ายพระนิพนธ์ ขอบุญกุศลในธรรมทานนี้จงดลบันดาลให้ท่านเจริญด้วยความสุขทุกประการ
ของสมเด็จฯท่าน ประสบความสําเร็จในกิจที่สานงานที่ก่อ และขอให้มีดวงจิตดวงใจเข้าหา
ธรรมะช่วยกันค้ําจุนสืบทอดพระศาสนาต่อไป
อนึ่ ง ผมมี ค วามเห็ น ส่ ว นตั ว ว่ า ระดั บ สติ ปั ญ ญามนุ ษ ย์ มี ไ ม่ เ ท่ า กั น
ดุจบัวสี่เหล่าที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสสอนไว้ครับ เพราะฉะนั้น หากเรามี หากมี ข้ อ สงสั ย ประการใด โปรดอย่ า เกรงใจที่ จ ะติ ด ต่ อ มาที่
บทความหลายบทที่สอดคล้องกับแต่ละระดับปัญญาให้คนอ่านได้ค่อยๆทํา chineseastrologer@hotmail.com
ความเข้าใจคงเป็นสิ่งที่ดีไม่น้อยเพื่อจุดประสงค์เดียวในการจัดพิมพ์หนังสือ
ฉบับนี้ออกแจกจ่าย คือ มุ่งหมายให้คนทั้งหลายเข้าใจเรื่องการสร้างบุญ
บารมีที่ถูกต้องตามหลักการของพุทธศาสนา อันอาจช่วยขจัดความหลงงมงาย กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ กิจฺฉํ มจฺจาน ชีวิตํ
เพิ่มพูนปัญญา และตอบปัญหาวิวาทะทั้งหลายที่เกิดจากการถกเถียงครุ่นคิด กิจฉฺ ํ สทฺธมฺมสฺสวนํ กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท ฯ ๑๘๒ ฯ
ในการทําบุญสร้างบารมีได้
ยาก ที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ ยาก ที่ชีวติ สัตว์อยู่สบาย
กล่ า วโดยสรุ ป แล้ ว หนั ง สื อ วิ ธี ส ร้ า งบุ ญ บารมี ฉบั บ ควรอ่ า น ยาก ที่จะได้ฟังธรรมของสัตบุรุษ ยาก ที่พระสัมพุทธจะอุบัติมา
ที่ ผ มจั ด พิ ม พ์ ร วบรวมขึ้ น นี้ รวบรวมจากหนั ง สื อ ๒ ฉบั บ คื อ พระนิ พ นธ์
ในสมเด็จพระสังฆราช (เจริญ คชวัตร) และ จากหนังสือเทคนิคเพิ่มสุข แต่ง Hard is it to be born as a man, Hard is the life of mortals,
โดย ภิกษุณี รุ้งเดือน นันทญาณี แห่ง นิโรธาราม (คัดมาเฉพาะตอนที่เกี่ยวกับ Hard is it to hear the Truth Sublime, Hard as well is the Buddha's rise.
ทาน ศีล และภาวนา ตลอดจนเรื่องการทําบุญเท่านั้น)
ขอขอบพระคุณทุกท่านที่รับหนังสือ วิธีสร้างบุญบารมี ฉบับควรอ่าน ซินแสลั๋ว
นี้ไว้ศึกษาและขอบพระคุณหลายท่านที่มีจิตกุศลปรารถนานําไปช่วยเผยแพร่ ๑๑ / ๐๒ / ๒๕๕๗
ต่อ อันเป็นเหตุให้กุศลและผลทานที่ผมทํานั้นครบสมบูรณ์ด้วยผู้ให้และผู้รับ
สารบัญ ๑๘) บารมีสร้างได้ด้วยกรรม
๑๙) ทุกคนควรสร้างบุญบารมี
ส่วนที่ ๑ วิธีสร้างบุญบารมี พระนิพนธ์ใน
๒๐) ทุกคนพึงปฏิบัติในบารมีตามควรแก่ฐานะ
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปรินายก
ส่วนที่ ๒ ๓๐ วิ ธี ฉ ลาดทํ า บุ ญ และบทความที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ทาน ศี ล
๐๑) ความหมายของบุญบารมี ภาวนา จากหนังสือ เทคนิคเพิ่มสุข โดย ภิกษุณีรุ้งเดือน
๐๒) บุญเป็นเหตุแห่งความสุข นันทญาณี อารามภิกษุณี นิโรธาราม
๐๓) ทุกชีวิตอาศัยบุญ
๐๔) วิธีสร้างบุญ
๐๕) สร้างบุญด้วยการให้ทาน
๐๖) การให้ทานทีไ่ ด้บุญมาก
๐๗) รู้จักให้ ทําให้ความโกรธมลาย
๐๘) องค์ประกอบของทานที่สมบูรณ์
๐๙) สร้างบุญด้วยการรักษาศีล
๑๐) สร้างบุญด้วยการภาวนา
๑๑) ผลของบุญ
๑๒) บุญกับกุศล
๑๓) บุญก่อสุข บาปก่อทุกข์
๑๔) วิธีการเพื่อความสุขของชีวิต
๑๕) เสบียงเพื่ออนาคต
๑๖) ความหมายของบารมี
๑๗) บารมีคือคุณธรรมผู้มุ่งดี
วิธีสราง
(ฉบับควรอ่าน)

จาก

หนังสือวิธีสร้างบุญบารมี พระนิพนธ์ใน สมเด็จพระญาณสังวร


สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ สุวฑฺฒโน)
สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
(๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ – ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖)
ความหมายของ บุญและบารมี
คําว่า บุญ แปลตามศัพท์ว่า ชําระ ฟอก ล้าง ท่านแสดงว่าแบ่งเป็น
๒ ก่อน คือ
บุญที่เป็นส่วนเหตุ ได้แก่ความดีต่างๆ เรียกว่า บุญ เพราะเป็นเครื่องชําระ
ฟอกล้างความชั่ว หนึ่ง
บุญที่เป็นส่วนผล คือความสุข ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “ท่านทั้งหลาย
อย่ากลัวต่อบุญเลย เพราะคําว่าบุญนี้เป็นชื่อของ ความสุข” ดังนี้ หนึ่ง
คําว่า บารมี มาจากคําบาลีว่า “ปารมี” มีคําแปลที่นักภาษาศาสตร์
ได้ให้ไว้หลายอย่าง จะแสดงแต่บางอย่าง คือ แปลว่า อย่างยิ่ง มาจากคําว่า
“ปรมะ” ที่ภาษาไทยเรามาใช้ว่า บรม และคําว่า บรม ที่แปลว่าอย่างยิ่งนี้ก็มี
ใช้ทั้ง ๒ ทาง ดีอย่างยิ่งก็บรม หรือไม่ดีอย่างยิ่งก็บรม เช่นคําว่า นิพพาน
เป็นบรมสุข คือ สุขอย่างยิ่ง สังขารทั้งหลายเป็นบรมทุกข์ คือ ทุกข์อย่างยิ่ง
จึ ง เป็ น คํ า กลางๆ ใช้ ไ ด้ ทั้ ง ๒ ทาง ดั่ง นี้ คํา ว่ า บารมี มาจากคํ า ว่ า ปรมะ
แล้ ว มาเป็ น ปารมี ไทยเรี ยกว่ า บารมี แต่มีค วามหมายถึงส่ ว นที่ ดีเ ท่ า นั้ น
ไม่หมายเป็นกลางๆเหมือนอย่างคําว่า ปรมะ
เพราฉะนั้น คําว่า ปารมี จึงมีความหมายที่แปลอีกอย่างหนึ่งว่า เลิศ
อย่ า งยิ่ ง ก็ คื อ เลิ ศ หรื อ ประเสริ ฐ อี ก อย่ า งหนึ่ ง บารมี แ ปลว่ า ถึ ง ฝั่ ง
อัน หมายความว่า นํา ให้ถึงฝั่ง คือจากฝั่งนี้ไปสู่ฝั่งโน้น อัน หมายความว่ า
นําจากฝั่งนี้คือโลก ไปสู่ฝั่งโน้นคือโลกุตตระ เหนือโลก พ้นโลก อันหมายถึง
นิพพาน
บุญเป็นเหตุแห่งความสุข อนึ่ง ได้ตรัสบุญส่วนเหตุไว้ในนิธิกัณฑสูตรว่า “นิธิ (ขุมทรัพย์คือบุญ)
เป็นสิ่งอันสตรีหรือบุรุษฝังไว้ดีแล้ว ด้วยทาน ศีล สัญญมะ และทมะ”
พระพุทธศาสนสุภาษิตบทหนึ่งกล่าวไว้แปลความว่า “ผู้ใคร่ประโยชน์ บุญส่วนเหตุ ทั่วไปก็ได้แก่กุศลเจตนา ดังที่ได้ตรัสไว้ว่า “ดูก่อนภิกษุ
พึงศึกษาบุญนั่นแล อันมีผลเลิศต่อไป ซึ่งมีสุขเป็นกําไร คือ พึงเจริญทานหนึ่ง ทั้งหลาย บุญกิริยาวัตถุ (ที่ตั้งแห่งการทําบุญ) ๓ เหล่านี้ คือ บุญกิริยาวัตถุ
สําเร็จด้วยทานหนึ่ง บุญกิริยาวัตถุสําเร็จด้วยศีลหนึ่ง บุญกิริยาวัตถุสําเร็จด้วย
ความประพฤติสงบหนึ่ง เมตตาจิตหนึ่ง บัณฑิตครั้นเจริญธรรม ๓ ประการ
ภาวนาหนึ่ง”
อันเป็นเหตุแห่งความสุขเหล่านี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความเบียดเบียน
บุญส่วนผลนั่น หมายถึง ผลวิบากของบุญส่วนเหตุนั้นเอง ดังที่ตรัสไว้
เป็นสุข”
ในปุญญสูตรตอนต้นว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายอย่าได้กลัวต่อบุญ
พระพุทธภาษิตที่มีมาในปุญญสูตรนี้ ตรัสสอนให้ทุกท่าน ทุกบุคคล
เลย คําว่าบุญนี้เป็นชื่อแห่งความสุข อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่ารัก น่าพอใจ”
ผู้ใ คร่ ป ระโยชน์ ศึกษาบุ ญ อั นเป็น ส่ วนเหตุใ ห้ เ กิด ผลเลิศ ต่ อไป มี ค วามสุ ข
ในธรรมบท ตรั ส แสดงบุ ญ ส่ ว นผลไว้ ว่ า “ผู้ มี บุ ญ อั น ทํ า แล้ ว
เป็นกําไร เป็นเหตุให้เกิดความสุข คือ ให้เจริญทาน สมจริยา(ความประพฤติสงบ)
ย่ อ มบั น เทิ ง ในโลกนี้ ละไปแล้ ว ย่ อ มบั น เทิ ง ย่ อ มบั น เทิ ง ในโลกทั้ ง สอง
และเมตตาจิต รวม ๓ ประการ เขาเห็นความบริสุทธิ์แห่งกรรมของตน ย่อมบันเทิง ย่อมบันเทิงทั่ว”
คําว่า “บุญ” แปลตามศัพท์หรือพยัญชนะว่า ชําระ ฟอก ล้าง โดยย่อ ในนิ ธิ กั ณ ฑสู ต ร ตรั ส แสดงผลวิ บ ากแห่ ง บุ ญ นิ ธิ โ ดยพิ ส ดารไว้ ว่ า
หมายถึงบุญส่วนเหตุหนึ่ง บุญส่วนผลหนึ่ง นิ ธิ คื อ บุ ญ นี้ อั น บุ ค คลฝั ง ไว้ ดี แ ล้ ว อั น ใครชนะไม่ ไ ด้ มี ป กติ ไ ปตาม
บุญส่วนเหตุ หมายถึง ศึกษา คือ ฟัง เรียน ให้รู้และดํารงมั่น เสพ ละไปย่ อ มถื อ เอาบุญ นิธิ นั้น ไปในที่ พึง ไปทั้ ง หลาย ไม่ ทั่ว ไปแก่ช นเหล่ า อื่ น
ปฏิบัติเจริญกุ ศลธรรมทั้งหลาย เช่น ปฏิ บัติเจริญธรรม ๓ ประการดังที่ บุ ญ นิ ธิ โ จรนํ า ไปไม่ ไ ด้ นิ ธิ นั่ น ให้ สิ่ ง ที่ ใ คร่ จ ะได้ ทั้ ง ปวงแก่ เ ทพและมนุ ษ ย์
กล่าวแล้วนั้น และในพระบาลีไวยากรณภาษิตอีกแห่งหนึ่งได้ตรัสไว้ตอนหนึ่ง ทั้งหลาย เทพและมนุษย์ทั้งหลายปรารถนาสิ่งใดๆ สิ่งนั้นทั้งหมดอันผู้มีบุญนิธิ
แปลความว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรานั้นดําริว่า บัดนี้ เราเป็นผู้มีฤทธิอย่าง ย่อมได้ด้วยบุญนิธินั่น ความมีผิวพรรณงาม ความมีเสียงไพเราะ สัณฐาน
มากอย่างนี้ มีอานุภาพมากอย่างนี้ เพราะผลวิบากแห่งกรรม ๓ ประการของเรา ทรวดทรงงาม ความมีรูปงามย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น ความเป็นใหญ่ บริวาร
คือ ทานหนึ่ง ทมะ(ฝึกอินทรีย์ มีจักษุเป็นต้น และข่มกิเลส มีราคะเป็นต้น)หนึ่ง ย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น รัชสมบัติแห่งประเทศ ความเป็นใหญ่ จักรพรรดิสุข
สัญญมะ(สํารวมกายและวาจา)หนึ่ง” อั น เป็ น ที่ รั ก แม้ รั ช สมบั ติ แ ห่ ง เทพในทิ พ ย์ ทั้ ง หลายย่ อ มได้ ด้ ว ยบุ ญ นิ ธิ นั่ น
สมบัติ อัน เป็ น ของมนุษ ย์ ความยิ นดี ใ นเทวโลกและนิ พ พานสมบั ติย่ อ มได้ ใคร่ปรารถนาความบริสุทธิ์แห่งตน ปฏิบัติอยู่โดยชอบ ความบริสุทธิ์จากกิเลส
ด้ ว ยบุ ญ นิ ธิ นั่ น ความที่ ถ้ า เมื่ อ อาศั ย ความถึ ง พร้ อ มด้ ว ยมิ ต รประกอบทั่ ว ทั้งปวง เป็นความดับจากทุกข์ทั้งหลาย นิพพานเป็นบรมสูญ คือ ว่างอย่างยิ่ง
โดยแยบคาย มีความชํานาญในวิชชา วิมุตติ ย่อมได้ด้วยบุญนิธินี้ ปฏิสัมภิทา (จากกิเลสาสวะทั้งหมด) เป็นบรมสุข คือสุขอย่างยิ่ง
(ปัญญาแตกฉานเฉพาะ) วิโมกข์(ความหลุดพ้น) และสาวกบารมี ปัจเจกโพธิ และได้มีอีกคาถาหนึ่งแสดงอธิบายนิพพานว่า ความบริสุทธิ์จากกิเลส
พุทธภูมิ ย่อมได้ด้วยบุญนิธินั่น สัมปทานั่น คือบุญสัมปทา(ความถึงพร้อม ทั้งปวงเป็นความดับจากทุกข์ทั้งหลาย ความดับนั้นเป็นสันติ คือ ความสงบแห่งใจ
ด้ ว ย บุ ญ ) มี ป ร ะ โ ย ช น์ ผ ล ที่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห ญ่ อ ย่ า ง นี้ เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้ น เรียกว่านิพพาน
บัณฑิตทั้งหลายผู้ทรงปัญญาจึงสรรเสริญความเป็นผู้มีบุญอันทําแล้ว ในปุญญสูตร ตรัสแสดงบุญส่วนผลก่อน คือ สุข พร้อมทั้งสุขสมบัติ
กล่ า วโดยย่ อ บุ ญ ส่ ว นเหตุ ได้ แ ก่ กุ ศ ลเจตนา กุ ศ ลกรรม แล้ ว ตรั ส บุ ญ ส่ ว นเหตุ คื อ ทาน ทมะ(ฝึ ก อั น ทรี ย์ มี ต าเป็ น ต้ น ข่ ม กิ เ ลส)
สุจริตกุศ ลกรรม บุ ญ กิ ริ ย าวัตถุ ทั้ง ปวง ไตรสิกขา(คื อ ศีล สมาธิ ปั ญ ญา) สั ญ ญมะ(สํ า รวมกายและวาจา) ส่ ว นในนิ ค มคาถาของพระสู ต รนี้
บารมี ( คื อ พุ ท ธบารมี ปั จ เจกโพธิ บ ารมี สาวกบารมี มรรคมี อ งค์ แ ปด แสดงบุ ญ ส่ ว นเหตุ คื อ ทาน สมจริ ย า เมตตาจิต แม้ชื่ อ ธรรมต่ า งกัน บ้า ง
และที่ตรัสยกขึ้นไว้ในปุญญสูตรตอนที่เป็นไวยากรณภาษิตว่า ทาน ทมะ ส่วนใจความก็เป็นอันเดียวกัน
สัญญมะ และในนิคมคาถาว่า ทาน สมจริยา เมตตาจิต ซึ่งล้วนเป็นเครื่อง ทาน คือ การให้การบริจาคพัสดุต่างๆ มีข้าวน้ําเป็นต้น เกื้อกูลผู้รับ
ชําระฟอกล้างกิเลสาสวะทั้งปวง ตามที่ ต้ อ งการ ตามที่ ค วรให้ พระสุ ค ตตรั ส สรรเสริ ญ การเลื อ กให้ ได้ มี
ส่วน บุญส่วนผล ก็สรุปเข้าในมนุษยสมบัติ เทวสมบัติ นิพพานสมบัติ แบ่งทานเป็นสอง คือ อามิสทาน ให้อามิสสิ่งของ ธรรมทาน ให้ธรรมสั่งสอน
สรุ ป เข้ า อี ก เป็ น ความสุ ข ที่ น่ า ปรารถนาใคร่ รั ก พอใจ ตลอดถึ ง บรมสุ ข หรื อ สอนแนะนํ า การตั้ ง โรงเรี ย นก็ จั ด เข้ า ในข้ อ นี้ ทานข้ อ นี้ จั ด เข้ า ในข้ อ
คื อ นิ พ พาน อั น เกิ ด จากกรรมวิ สุ ท ธิ์ ความบริ สุ ท ธิ์ แ ห่ ง กรรมของตน ทานมัยบุญกิริยาวัตถุ
ทํ า ให้ บ ริ สุ ท ธ์ ก าย บริ สุ ท ธ์ ว าจา บริ สุ ท ธิ์ ใ จ โดยเฉพาะทํ า ให้ จิ ต บริ สุ ท ธิ์ สมจริยา ความประพฤติสงบ ความประพฤติสมควร ความประพฤติ
จากกิเลสาสวะไปโดยลําดับจนถึงทั้งหมด สม่ําเสมอ ก็ได้แก่ ศีล(ความสํารวมระวังกายวาจา) ด้วยความตั้งใจงดเว้น
ในรั ต นั ต ตยปภาวาภิ ย าจนคาถา พระราชนิ พ นธ์ ใ นรั ช กาลที่ ๔ กรรมที่ก่อภัยเวรต่างๆ เป็นต้น ที่ควรงดเว้น เช่นงดเว้นตามหลักศีล ๕ ข้อนี้
แสดงไว้ว่า พระรัตนตรัย คือพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ บริสุทธิ์สูงสุด จึ ง ตรงกั บ สั ญ ญมะ ความสํ า รวมกายวาจาด้ ว ยความตั้ ง ใจที่ ห มายถึ ง ศี ล
ประเสริฐสูงสุดในโลก ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์อย่างยิ่งแก่ผู้เลื่อมใสแล้ว ข้อนี้จัดเข้าในสีลมัยบุญกิริยาวัตถุ
เมตตาจิ ต จิ ต มี เ มตตา รั ก ใครผู ก เยื่ อ ใย ปรารถนาให้ เ จริ ญ สุ ข ทุกชีวิตอาศัยบุญ
มีความรู้สึกเป็นมิตร ดังที่เรียกว่ามีมิตรจิตมิตรใจ เมตตามีอันเป็นไปในอาการ
ให้ประโยชน์เกื้อกูลเป็นลักษณะ
ทุกๆคนที่มีความสุขความเจริญอยู่ดังเช่นที่เป็นอยู่เดี๋ยวนี้ เพราะได้รับ
มีการนําสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลเป็นรส คือเป็นกิจหน้าที่พึงทํา ความดี จ ากท่ า นผู้ มี ค วามมุ่ ง ดี ทั้ ง หลาย เป็ น ต้ น ว่ า ได้ รั บ การบํ า รุ ง เลี้ ย ง
มีการปลดเปลื้องโทสะพยาบาทอาฆาตเป็นเครื่องปรากฏ ด้วยความรักทะนุถนอมของมารดา บิดา หรือของญาติ หรือของผู้รับอุปการะ
มีการแสดงความพอใจของสัตว์ทั้งหลายเป็นปทัฏฐาน ตั้งแต่เกิดมาโดยลําดับ ได้รับการสั่งสอนอบรมศิลปวิทยาจากครูอาจารย์
ความสงบพยาบาทเป็นสมบัติของเมตตา ได้ รั บการปกครองเป็นส่วนรวมจากประเทศชาติ ท่า นผู้เ กี่ยวข้ องเหล่า นี้
ความมีเสน่หาราคะเป็นวิบัติของเมตตา ล้ ว นได้ ป ระกอบความดี ใ ห้ แ ก่ ตั ว เราทุ ก คน ทํ า ให้ เ ราทุ ก ๆคนสามารถ
เมตตาจิตนี้เป็นทมะประการหนึ่งเพราะเป็นการฝึกจิตให้เป็นเมตตาจิตมิให้ ดํารงชีวิตเติบโตขึ้นมา มีความสุขความเจริญจนถึงเพียงนี้ได้ ถ้าท่านเหล่านี้
เป็น จิต พยาบาท(เพราะเป็ น การข่ม กิเ ลสมี โ ทสะพยาบาทอาฆาตเป็ น ต้ น ) ล้วนก่ อความชั่ว ร้ายเสีย หายให้ หรือแม้ไม่ ได้ก่อให้เ พียงแต่หยุดอยู่เฉยๆ
ทั้งเมตตานี้เป็นเหตุให้ทําทาน ให้สมาทานศีล(หรือสมจริยาหรือสัญญมะด้วย) ไม่ได้ทํ า ความดีใ ห้ตัว เรา ทุกๆคนเกิดมาแล้ว ก็คงไม่อาจดํารงชีวิตอยู่ได้
เมตตาจิตข้อนี้จัดเข้าในภาวนามัยบุญกิริยาวัตถุ หรื อ แม้ ดํ า รงชี วิ ต อยู่ ไ ด้ ก็ ค งไม่ ไ ด้ รั บ การศึ ก ษาให้ ไ ด้ ค วามรู้ เ ป็ น อั น ขาด
ทางที่จะให้เกิดความเจริญ ฉะนั้น จึงกล่าวได้อย่างเต็มที่ว่าทุกๆคนเป็นหนี้
ความดี ข องท่ า นซึ่ ง ได้ ป ระกอบก่ อ เกื้ อ ให้ แ ก่ ต นมาโดยลํ า ดั บ ความดี
และความชั่วที่ตรงกันข้ามจึงเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง และความดีของคนดีทั้งหลาย
เป็นเครื่องเกื้อกูลตัวเราทุกๆคน ความชั่วก็เป็นเครื่องตัดรอนตัวเราทุกๆคน
เฉพาะตัวเราเองนี้แหละสําคัญนัก
ถ้าทําดีก็เป็นความดีเป็นศรีมงคลแก่ตัว
ถ้าทําชั่วก็เป็นความชั่ว เป็นกาลี เป็นอัปมงคลแก่ตัว
เมื่อกล่าวให้กว้างออกไปโลกต้องพึ่งความดีของคนดีทั้งหลายจึงเกิดความสุข
ความเจริญ ส่วนความชั่วของคนชั่วทั้งหลายเป็นเครื่องทําลายโลก
วิธีสร้างบุญ สร้างบุญด้วยการให้ทาน
ทาน แปลว่ า เจตนาเป็ น เหตุ ใ ห้ ก็ ไ ด้ การให้ ก็ ไ ด้ สิ่ ง ของที่ ใ ห้ ก็ ไ ด้
ความดีดังที่กล่าวมานั้นคือ บุญ การให้ทานทางพระพุทธศาสนาประสงค์ให้รู้จักเลือกให้ คือ
ส่วนความชั่วที่ตรงกันข้ามคือ บาป เลือกบุคคลผู้รับว่าเป็นผู้สมควร
คําว่าบุญแปลตามศัพท์ว่า ชําระ ฟอก ล้าง ท่านแสดงว่าแบ่งเป็น ๒ ก่อน คือ
เลือกวัตถุสิ่งของให้เหมาะสม
บุ ญ ส่ ว นเหตุ ได้ แ ก่ ความดี ต่ า งๆ เรี ย กว่ า บุ ญ เป็ น เครื่ อ งชํ า ระ
และตั้ ง เจตนาให้ ดี ว่ า เพื่ อ บู ช าหรื อ เพื่ อ สงเคราะห์ อ นุ เ คราะห์
ฟอกล้างความชั่วหนึ่ง
บุญที่เป็นส่วนผล คือความสุขดังที่พระพุทธเจ้าตรัส ได้แปลความว่า และให้รู้จักประมาณให้เกิดความสุขทั้งแก่ผู้ให้ทั้งผู้รับ มิใช่ว่าเมื่อให้ไปแล้ว
“ท่านทั้งหลายอย่ากลัวต่อบุญเลยเพราะคําว่าบุญนี้เป็นชื่อของความสุข” ผู้ ใ ห้ เ องกลั บ ขาดแคลนเป็ น ทุ ก ข์ หรื อ ให้ สิ่ ง ที่ มี โ ทษไป ผู้ รั บ ไปใช้ ทํ า ให้
ดั่งนี้หนึ่ง เป็นทุกข์ เดี๋ยวนี้เมื่อพูดกันว่าให้ทานมักเข้าใจกันว่า คือ ให้แก่คนขอทานต่างๆ
บุญที่เป็นส่วนเหตุคือความดีนั้นเกิดจากการกระทํา ถ้าอยู่เฉยๆไม่ทํา เมื่อให้แก่พระหรือแก่ทางศาสนาหรือแก่วัดเรียกว่า ทําบุญ ความจริงก็เป็น
ก็ ไม่ เ กิดเป็ นบุ ญ ขึ้ น การกระทํ า บุ ญ เรี ย กว่ า บุญ กิ ริย า จํ า เป็ น ต้ อ งมีวัต ถุ การให้ทานทั้งนั้น
คือสิ่งเป็นที่ตั้งหรือเรื่องของการกระทําซึ่งเรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ แปลว่า การให้ ท านมี ค วามหมายอย่ า งกว้ า งๆว่ า การสละบริ จ าคสิ่ ง อะไร
สิ่ ง เ ป็ น ที่ ตั้ ง แ ห่ ง ก า ร ก ร ะ ทํ า บุ ญ ห รื อ เ รื่ อ ง แ ห่ ง ก า ร ก ร ะ ทํ า บุ ญ แก่ ใ ครๆหรื อ แก่ อ งค์ ก รอะไรๆด้ ว ยการให้ เ ปล่ า มิ ใ ช่ เ ป็ น การซื้ อ ขาย
ทางพระพุทธศาสนาท่านแสดงไว้โดยย่อ ๓ อย่างคือ
แลกเปลี่ยนหรือให้เช่า และมีความหมายตลอดถึงการให้กําลังกาย กําลังวาจา
(๑) ทานมัย บุญสําเร็จด้วยการบริจาคทาน
กําลังใจ กําลังความคิดความรู้ ช่วยในทางต่างๆ สรปลงแล้วก็มี ๒ อย่างคือ
(๒) สีลมัย บุญสําเร็จด้วยการรักษาศีล
(๓) ภาวนามัย บุญสําเร็จด้วยการเจริญภาวนา อามิสทาน ให้พัสดุสิ่งของอันเป็นกําลังทรัพย์และกําลังภายนอกต่างๆ
บุญคือความดีทั้งสามข้อนี้ เรียกว่าเป็นบุญ เพราะเป็นเครื่องชําระล้าง หนึ่ง
ความชั่วตลอดถึงรากเหง้าของความชั่ว รากเหง้าของความชั่วนั้นเรียกว่า ธรรมทาน ให้ ธ รรม อย่ างบอกศิลปวิ ท ยาให้ บอกทางของความดี
อกุ ศ ลมู ล (รากเหง้ า ของอกุ ศ ล) มี ๓ อย่ า งคื อ โลภะ (อยากได้ ห นึ่ ง ) ความชั่วต่างๆให้ หนึ่ง
โทสะ (คิดประทุษร้ายเขาหนึ่ง) โมหะ (หลงไม่รู้จริงหนึ่ง) ชําระได้อย่างไร ตามความหมายนี้ ท านจึ ง มี ค รอบคลุ ม อยู่ โ ดยทั่ ว ๆไป มารดาบิ ด า
จักแสดงต่อไปโดยย่อ ได้ให้ชีวิตเลือดเนื้อและการอุปการะเลี้ยงดูบุตรธิดามาโดยลําดับ ครูอาจารย์
ได้ให้ศิลปวิทยาแก่ศิษย์ พระมหากษัตริย์พร้อมทั้งรัฐบาลได้ให้การปกครอง
บําบัดทุกข์บํารุงสุขแก่ประชาราษฎร พระพุทธเจ้าได้ให้พระธรรมแก่โลก การให้ทานที่ได้บุญมาก
และในทางตอบสนอง บุ ต รธิ ด าก็ ใ ห้ แ ก่ ม ารดาบิ ด าด้ ว ยการปฏิ บั ติ
ตอบแทนพระคุ ณ ท่ า นต่ า งๆ ศิ ษ ย์ ใ ห้ แ ก่ ค รู อ าจารย์ ด้ ว ยการตั้ ง ใจเรี ย นดี
ความดี ที่ค วรทํ า มี อยู่เ ป็น อั น มาก รวมเป็ น ข้ อ ใหญ่ได้ ๓ อย่างคื อ
ประพฤติดีและตอบแทนอย่างอื่นๆตามโอกาส ประชาราษฎรก็ให้ภาษีอากร
ทาน ศีล ภาวนา
ถวายเป็ น ราชพลี แ ละประพฤติ ต นให้ ช อบด้ ว ยหน้ า ที่ ข องพลเมื อ งดี
ทานคื อ การให้ ไม่ ใ ช่ มี ค วามหมายแคบๆเพี ย งให้ เ งิ น ทองข้ า วของ
มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต จงรั ก ภั ก ดี ใ นพระมหากษั ต ริ ย์ แ ละประเทศชาติ
แก่ ภิ ก ษุ ส ามเณรหรื อ คนยากไร้ ข าดแคลนเท่ า นั้ น ทานที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด
พุทธศาสนิกชนก็บริจาคอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและปฏิบัติพระพุทธศาสนา
คืออภัยทาน ทาน คือการให้อภัย
ตามสามารถ เมื่ อทุ ก ฝ่ า ยต่ า งให้ กั น และกั น ในทางที่ช อบจึ ง เกิ ด ความสุ ข
การให้ทานไม่ว่าจะเป็น ข้าวของเงิ นทองจุดมุ่งหมายที่แลเห็นชัดๆ
ความเจริ ญ การให้ ท านนี้ ขั ด กั บ โลภะ(ความอยากได้ ) และมั จ ฉริ ย ะ
คือเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น แต่จุดสําคัญที่ควรเข้าใจก็คือเพื่อชําระกิเลสจากใจ
(ความตระหนี่ เ หนี ย วแน่ น ) เพราะความโลภเป็ น เหตุ ใ ห้ ร วบรวมเข้ า มา
กิเลสตัวนั้นคือโลภะ ผู้ที่ให้ทานโดยมุ่งชําระกิเลสนั่นและถูก ให้ทานโดยมุ่ง
ความตระหนี่ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ ห วงแหนไว้ ถ้ า ทุ ก ๆฝ่ า ยต่ า งรวบรวมเข้ า มา
ผลตอบแทนเป็นลาภยศสรรเสริญไม่ถูก
และหวงแหนไว้ แ ต่ อ ย่ า งเดี ย วก็ จ ะเกิ ด ความขาดแคลนอย่ า งยิ่ ง
ขอให้ อ ย่ า ลื ม ความสํ า คั ญ ประการนี้ มี ส ติ ร ะลึ ก รู้ ไ ว้ ใ ห้ เ สมอว่ า
แก่ ผู้ ที่ ไ ม่ ส ามารถ ซึ่ ง มี อ ยู่ เ ป็ น อั น มาก แต่ ก ารขาดแคลนนั้ น จั ก หายไป
การให้ทานแต่ละครั้งไม่ใช่ว่าเพื่อช่วยทุกข์ผู้อื่นอย่างเดียวแต่ต้องมุ่งเพื่อกิเลส
ในเมื่ อ ทุ ก ๆฝ่ า ยต่ า งให้ ท านแก่ กั น และกั น ตามฐานะ และการให้ ท านนั้ น
กองโลภะด้ ว ย อย่ า คิ ด จะช่ ว ยทุ ก ข์ ผู้ อื่ น ไปพร้ อ มกั บ ที่ คิ ด ว่ า จะได้ รั บ
ก็แสดงว่าเป็นการชนะใจ(คือชนะความโลภ ความตระหนี่) ให้ทานออกไปคราวหนึ่ง
ผลตอบแทนเป็นความมีลาภยศสรรเสริญสุขจากการให้นั้นด้วย แล้วดีใจว่า
ก็ชําระล้างความโลภความตระหนี่ในสิ่งที่ให้นั้นได้คราวหนึ่ง
การให้ทานของตนเป็นการยิงนกทีเดียวได้สองตัว ได้ทั้งผู้อื่นและจะได้ลาภยศ
สรรเสริญสุขของตนด้วย ถ้าจะดีใจว่ายิงนกทีเดียวได้สองตัวก็ให้เป็นสองตัว
คนละอย่างคือ ตัวหนึ่งเป็นการช่วยบําบัดทุกข์ของผู้อื่น อีกตัวหนึ่งเป็นการ
ละกิเลสในใจตนไปพร้อมกัน ให้ดีใจเช่นนี้นับว่าใช้ได้เป็นการไม่ผิด
การให้ อ ภั ย ทานสํ า คั ญ กว่ า ให้ ท านด้ ว ยทรั พ ย์ สิ่ ง ของ อภั ย ทานนี้ ความจริ งเป็นการทํ าโทษตัวเองต่างหาก เมื่ อใจตั วเองต้องร้อนเร่าเพราะ
เป็ น เครื่ อ งละกิ เ ลสกองโทสะโดยตรง เมื่ อ มี ผู้ ทํ า ให้ ไ ม่ ถู ก ใจแทนที่ จ ะ ความไม่อภัย จะเรียกว่าเป็นการทําโทษผู้อื่นจะถูกได้อย่างไร ต้องเรียกว่า
โกรธเกลียดก็ให้อภัยเสีย นี้คือ อภัยทาน เป็นการทําโทษตัวเองนั่นแหละถูก
เมื่ อ มี เ หตุ ม าทํ า ให้ โ กรธแล้ ว กลั บ ไม่ โ กรธ อภั ย ให้ เช่ น นี้ ไ ม่ ใ ช่ ผู้ ใ ด ผู้ มี ปั ญ ญาพึ ง ใช้ ปั ญ ญาเพี ย งพอให้ เ ห็ น ประจั ก ษ์ แ ก่ ใ จถึ ง คุ ณ
จะได้ รั บ ผลดี ข องอภั ย ทานก่ อ นเจ้ า ตั ว ผู้ ใ ห้ เ อง โกรธเกลี ย ดอะไรเหล่ า นี้ ของอภัยทาน และโทษของการไม่ยอมอภัย
ทํา ให้ จิตใจเร่า ร้ อนไม่แจ่ม ใสเป็นสุข เลิก โกรธเกลี ยดเสีย ได้ เป็ นอภั ย ทาน
เป็นเหตุให้ไม่เร่าร้อน ให้แจ่มใสเป็นสุข ถ้าผู้ใดไม่เคยได้รับรสแห่งความสุข
ที่เกิดจากอภัยทานก็ลองดูได้ เพื่อให้ได้รับรสนั้นได้ ลองกันได้ในทันทีนี้แหละ
เพราะคงจะมีที่นึกขัดเคืองโกรธเกลียดใครอยู่บ้างในขณะนี้ พิจารณาดูใจตนว่า
เมื่อรู้สึกเช่นนั้นใจเป็นสุขแจ่มใสหรือพิจารณาให้เห็นจริงก็จะเห็นว่าใจขุ่นมัว
มากหรื อ น้ อ ยเท่ า นั้ น น้ อ ยก็ เ พี ย งขุ่ น ๆมากก็ จ ะถึ ง ร้ อ น เมื่ อ พิ จ ารณา
เห็ น สภาพเช่ น นั้ น ของใจที่ มี ค วามไม่ ช อบใจหรื อ ความโกรธเกลี ย ดแล้ ว
เพื่อลองรับรสของความสุขจากอภัยทาน ก็ให้คิดให้อภัยผู้ที่กําลังถูกโกรธ
ถู ก เกลี ย ดในขณะนั้ น ต้ อ งคิ ด ให้ อ ภั ย จริ ง ๆ เลิ ก โกรธละ อภั ย ให้ จ ริ ง ๆละ
ถ้ า อภั ย ได้ จ ริ ง เลิ ก โกรธเกลี ย ดได้ จ ริ ง แล้ ว ให้ ย้ อ นพิ จ ารณาดู ใ จตนเอง
จะรู้สึกถึงความเบาสบายแจ่มใสผิดกับเมื่อครู่ก่อนอย่างแน่นอน อภัยทานนี้
จึงมีคุณยิ่งนักแก่จิตใจ
อย่ า คิ ด ว่ า คนนั้ น คนนี้ ทํ า ผิ ด มาก ต้ อ งโกรธ ต้ อ งไม่ ใ ห้ อ ภั ย
เรื่องอะไรจะไปให้อภัยในเมื่อร้ายกับเราถึงเพียงนั้นเพียงนี้ คิดเช่นนี้แล้วก็ไม่
ยอมอภัยให้ มิหนําซ้ํากลับหาเหตุมาทําให้โกรธมากขึ้นกว่าเดิม การคิดเช่นนี้
อย่าเข้าใจว่าเป็นการลงโทษผู้ที่ว่ามาร้ายกับตนมากจนไม่ต้องการให้อภัย
รู้จักให้ ทําให้ความโกรธมลาย ความไม่คิดถึงเรื่องที่ทําให้โกรธก็จะเกิดขึ้นในขณะนั้น แม้เพียงชั่วระยะเวลาหนึ่ง
ก็ ยั ง ดี เมื่ อ ใจสงบเช่ น นั้ น แล้ ว ให้ คิ ด เปรี ย บเที ย บดู ว่ า เวลาที่ กํ า ลั ง โกรธ
กับเวลาที่หยุดโกรธแม้เพียงชั่วครู่ชั่วยามมีความเย็นใจในเวลาไหน เวลาโกรธ
การให้ มี คุ ณ ผู้ ใ ห้ ส บายใจกว่ า ผู้ รั บ แม้ ค นโลภจะอยากได้ นั่ น ได้ นี่ หรื อ เวลาหายโกรธ ย่ อ มจะได้ คํ า ตอบที่ ถู ก ต้ อ งแน่ น อน และถ้ า ไม่ ดื้ อ
ของคนนั้ น คนนี้ อ ยู่ เ สมอ เวลาได้ ไ ปก็ ยิ น ดี พ อใจแล้ ว ก็ อ ยากได้ ต่ อ ไป จนเกินไปก็คงจะพยายามรักษาความเย็นใจไว้ อาจจะท้องพุทโธต่อไปให้นาน
ความสบายใจของคนโลภหรือผู้รับย่อมไม่มีอยู่นาน ประเดี๋ยวเดียวที่สบายใจ เท่าที่เวลาจะทําได้ก็ได้ หรืออาจจะพยายามคิดว่าโกรธไม่เป็นคุณอย่างใดเลย
ในการได้แล้วก็จะร้อนใจต่อไปอีก เพราะความอยากได้ อย่างอื่น ต่อไปอีก เป็ น โทษเท่ า นั้ น และความโกรธจะหายไปไม่ ไ ด้ ถ้ า ไม่ อ ภั ย ให้ ผู้ เ ป็ น เหตุ
ความอยากได้ของผู้รับที่ไม่มีเวลาหยุดนั้นเองที่ทําให้ผู้รับไม่เป็นสุขเหมือนผู้ให้ แห่งความโกรธเสีย
ผู้ ใ ห้ โ ดยเฉพาะผู้ ที่ ใ ห้ ด้ ว ยความเต็ ม ใจ ยิ น ดี ที่ จ ะอนุ เ คราะห์ สงเคราะห์ ที่ว่าความโกรธจะหายไปไม่ได้นั้นหมายความว่า ความโกรธที่จะต้อง
ย่อมมีความสบายใจที่ได้ทําสิ่งที่ปรารถนา ดั บ ไปแน่ น อนตามธรรมดาของสิ่ ง ทั้ ง หลายทั้ ง ปวง ที่ เ มื่ อ มี เ กิ ด ต้ อ งมี ดั บ
ผู้ให้นั้นยิ่งมีความสบายใจ ย่อมมีความสุขที่ได้เป็นผู้ให้ ผู้ไม่เคยเป็น แต่ ก ารที่ ค วามโกรธดั บ ไปเองตามหลั ก ธรรมดาจะไม่ ห มดไปจากใจ
ผู้ให้ย่อมไม่เคยรู้รสของการเป็นผู่ให้ อันนี้ไม่ได้หมายเพียงการให้ทรัพย์สินเงิน จั ก ฝั ง อยู่ ใ นความมั ว หมองของใจ แม้ จ ะสั ง เกตเห็ น ไม่ ไ ด้ ใ นขณะที่ ดั บ
ทองสิ่งของเท่านั้น การให้อภัยทานก็รวมอยู่ด้วย ทั้งการให้อภัยทานยังให้ แต่เมื่อถึงเวลาเกิดขึ้นอีกจะเพิ่มมากขึ้น คนที่อะไรนิดอะไรหน่อยก็โกรธนั้น
ความสุ ข แก่ จิ ต ใจเป็ น พิ เ ศษอี ก ด้ ว ย คนโกรธมี ค วามร้ อ น คนไม่ โ กรธไม่ มี เป็นผู้ที่มีความโกรธฝังสะสมอยู่ในใจแล้วเป็นอันมาก ความโกรธนั้นเกิดขึ้น
ความร้อน นึกดูเพียงเท่านี้ก็พอจะเข้าใจว่าอภัยทานมีคุณเพียงไร ทีหนึ่งแม้ดับไปแล้วก็ไม่หายไปไหน แต่จะฝังอยู่ในใจเป็นพื้นแห่งความเศร้าหมอง
อภัยทาน คือ การทําใจให้หายโกรธ ผู้ใดทําให้โกรธถ้าให้อภัยเสีย ไม่บริสุท ธิ์ ผ่อ งใส แต่ ถ้ า หาเหตุ ผลให้เ กิ ด ความรู้สึก ไม่ ถื อ โกรธคื อ ให้อภั ย
ก็ ห ายโกรธ เขารู้ ห รื อ ไม่ รู้ เ ราผู้ โ กรธแล้ ว ให้ อ ภั ย จนหายโกรธนั้ น แหละ เสียได้ในทันที ไม่ปล่อยให้ดับไปเองตามหลักธรรมดา นั้นแหละจึงจะทําให้
เป็นผู้รู้ว่า จิตใจของเราขณะเมื่อยังไม่ได้ให้อภัยกับเมื่อให้อภัยแล้วแตกต่างกันมาก ความโกรธในเรื่ อ งนั้ น ๆไม่ ฝั ง ลงเป็ น พื้ น ใจต่ อ ไป แต่ จ ะหมดสิ้ น ไปได้ เ ลย
ร้อนเย็นผิดกันมาก ขุ่นมัวแจ่มใสผิดกันมาก เหมือนสีที่หยดลงพื้น ถ้าใช้น้ํามันเช็ดเสียให้สะอาดหมดจดทันทีก็จะไม่ฝัง
วิ ธี ทํ า ให้ ห ายโกรธที่ ไ ด้ ผ ลแน่ น อนก็ คื อ ให้ ทํ า ใจให้ ส งบเป็ น ขั้ น แรก ลงในเนื้อ แต่ถ้าไม่เช็ดให้หมดจดทิ้งไว้แม้จะแห้งไม่ติดมือติดเท้าแต่ก็จะเป็น
เมื่อใจสงบ ซึ่งจะต้องอาศัยวิธีให้ใจถอนจากเรื่องที่ทําให้โกรธอยู่กับเรื่องอื่น รอยมลทิ น ติด อยู่อย่า งแน่น อน แม้จะขู ด ขัด ในภายหลังก็ย ากที่จ ะสะอาด
ผู้ปฏิบัติธรรมทางพุทธศาสนาใช้วิธีท่อง พุทโธ หรือ ธัมโม สังโฆ จนใจสงบ ได้ จ ริ ง สู้ ทํ า ความสะอาดเสี ย ทั น ท่ ว งที ไ ม่ ไ ด้ อภั ย ท่ า นเปรี ย บเหมื อ น
เมื่ อ ใจอยู่ กั บ พุ ท โธ หรื อ ธั ม โม สั ง โฆ ถอนจากเรื่ อ งที่ เ ป็ น เหตุ ใ ห้ โ กรธ การทําความสะอาดใจทันทีนั่นเอง
องค์ประกอบของทานที่สมบูรณ์ ด้ ว ยประโยชน์ ปั จ จุ บั น และเมื่ อ แสวงหาได้ ท รั พ ย์ ม าแล้ ว ยั ง ทรงสอนให้
แบ่งทรัพย์ออกเป็นส่วนๆ เช่น ได้ตรัสสอนไว้ในพระสูตรหนึ่งว่า “พึงแบ่ง
โภคะออกเป็น ๔ ส่วน คือบริโภคใช้สอยส่วนหนึ่ง ประกอบการงานสองส่วน
องค์สมบัติของทานนั้นตรัสไว้ว่ามี ๓ อย่างคือ
เก็บไว้ส่วนหนึ่งสําหรับคราวอันตราย”
เจตนาสมบัติ ถึงพร้อมด้วยเจตนา หมายความว่า มีเจตนาดีในกาลทั้งสาม
ส่ ว นปฏิ ค าหกสมบั ติ ข้ อ ท้ า ยก็ มี ค วามสํ า คั ญ เพราะจะต้ อ งได้
คือ ก่อนให้ กําลังให้ และให้แล้ว
ผู้ที่สมควรจะรับ มิใช่ว่าจะควรให้โดยไม่เลือก
วั ต ถุ ส มบั ติ ถึ ง พร้ อ มด้ ว ยวั ต ถุ คื อ มี วั ต ถุ ที่ ส มควรจะให้ อั น เป็ น
ได้ มี สุ ภ าษิ ต กล่ า วว่ า “ทานที่ เ ลื อ กให้ พระสุ ค ตทรงสรรเสริ ญ ”
ประโยชน์แก่ผู้รับ
ทานที่ประกอบด้วยองค์สมบัติทั้งสามนี้ เป็นทานที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา
ปฏิคาหกสมบัติ ถึงพร้อมด้วยผู้รับ คือ มีผู้รับที่สมควร
เจนาสมบั ติ ข้ อ แรก ถ้ า คิ ด ดู สั ก หน่ อ ยก็ จ ะเห็ น ว่ า มี ค วามสํ า คั ญ
เป็ น ประการแรก เพราะถ้ า ไม่ มี เ จตนาจะให้ เ กิ ด ขึ้ น การให้ ก็ เ กิ ด ขึ้ น ไม่ ไ ด้
หรือมีเจตนาจะให้เหมือนกันแต่มิใช่ให้ในทางเป็นบุญ (ให้ในทางเป็นสินบน
เป็ น ต้ น ) ก็ ไ ม่ เ รี ย กว่ า เป็ น เจตนาสมบั ติ เมื่ อ มี เ จตนาที่ จ ะสละบริ จ าค
เพื่อสงเคราะห์อนุเคราะห์บูชาแก่ผู้ที่มีความสมควรเช่นนั้นจึงจะเป็นเจตนา
สมบัติ
วัตถุสมบัติก็มีความสําคัญ เพราะจะต้องมีวัตถุอันสมควร หมายถึง
วัตถุที่เป็นของตน
อันเกิดจากการแสวงหาได้มาในทางที่ชอบ
ทั้งเป็นสิ่งที่จะเป็นประโยชนแก่ผู้รับ
เช่น ถ้าผู้รับขาดแคลนอาหารก็ให้อาหาร ผู้รับขาดแคลนยาก็ให้ยา เป็นต้น
สมบั ติ ข้ อ นี้ จึ ง ได้ แ ก่ ผู้ ที่ มี ท รั พ ย์ สิ่ ง ของ ถ้ า ไร้ ท รั พ ย์ ก็ ไ ม่ อ าจจะทํ า ทานได้
ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงทรงสอนให้แสวงหาทรัพย์ก่อน ดังที่มีในหลักธรรมว่า
สร้างบุญด้วยการรักษาศีล สรุปเบญจศีล คือ
๑.เว้นจากการฆ่าสัตว์มีชีวิต
๒.เว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ ด้วยจิตคิดลัก
ศีล แปลว่า ปกติ หมายถึง ปกติกาย ปกติวาจา ปกติใจ เพราะมีใจ
๓.เว้นจากการประพฤติผิดในกาม
คิดงดเว้นจากโทษทางกายทางวาจาที่ควรงดเว้น ดังเช่นที่ระบุไว้ในศีล ๕
๔.เว้นจากการกล่าวเท็จ
ศี ล จึ ง สํ า เร็ จ ด้ ว ยวิ รั ติ เ จตนา แปลว่ า เจตนาคิ ด งดเว้ น คํ า ว่ า วิ รั ติ
๕.เว้นจากการดิ่มน้ําเมาคือสุราเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
กับคําว่า เวรมณี แปลว่างดเว้นเหมือนกัน
เบญจธรรม แปลว่า ธรรม ๕ ประการ คําว่า ธรรม แปลว่าทรงไว้
วิรัติโดยทั่วไปมี ๓ คือ
หรือดํารงรักษาไว้ ในที่นี้หมายถึงส่วนที่ดี จึงมีความหมายว่า ทรง คือรักษาไว้
๑.สัมปัตตวิรัติ ความงดเว้นจากวัตถุที่จะพึงล่วงได้ อันมาถึงเฉพาะหน้า
หรือดํารงรักษาไว้ ๕ ประการ ในที่นี้หมายถึงธรรมที่คู่กันกับศีล ๕ เรียกว่า
คือไม่ ได้ รั บถือ ศีล มาก่อ น แต่ เ มื่ อได้ พบสั ตว์มี ชีวิต ที่จ ะฆ่า ได้ ไปพบทรัพ ย์
กัลยาณธรรม แปลว่า ธรรมงาม เป็นเครื่องบํารุงจิตใจให้งดงามสร้างอัธยาศัย
ที่ จ ะลั ก ได้ แต่ ก็ เ ว้ น ได้ ไ ม่ ฆ่ า ไม่ ลั ก เป็ น ต้ น ความคิ ด งดเว้ น ได้ อ ย่ า งนี้
นิสัยที่ดี
ก็เป็นศีลเหมือนกัน แต่ถ้างดเว้นเพราะไม่ได้โอกาสไม่จัดว่าเป็นศีล
ศีลเป็นเหตุให้งดเว้นไม่ทําสิ่งที่เป็นโทษ ถ้ามีเพียงศีลก็มีเพียงงดเว้นได้
๒.สมาทานวิ รั ติ ความงดเว้ น ด้ ว ยอํ า นาจการถื อ เป็ น กิ จ วั ต ร
จากโทษ แต่ ก็ ยั ง มิ ไ ด้ ทํ า คุ ณ ความดี ต่ อ เมื่ อ มี ธ รรมอยู่ ด้ ว ยจึ ง จะเป็ น เหตุ
การรับถือศีลที่เรียกว่า สมาทานศีล เพราะคําว่าสมาทานแปลว่าการรับถือ
ให้ ทํ า คุ ณ ความดี ยกตั ว อย่ า งเช่ น รั ก ษาศี ล ไม่ ฆ่ า สั ต ว์ ตั ด ชี วิ ต เดิ น ไปพบ
จะสมาทานด้ ว ยตนเองคื อ ตั้ ง จิ ต ว่ า จะงดเว้ น จากโทษข้ อ นั้ น ๆเองก็ ไ ด้
คนนอนหลับอยู่ในทางรถไฟมีรถไฟแล่นมาแต่ไกล ควรจะปลุกบอกเขาได้
จะสมาทานด้ ว ยรั บ จากผู้ อื่ น ซึ่ ง เป็ น ผู้ มี ศี ล เช่ น พระภิ ก ษุ ส ามเณรก็ ไ ด้
แต่ไม่ปลุกบอก อย่างนี้ศีลไม่ขาดเพราะมิได้ไปฆ่าเขา แต่ขาดธรรมคือเมตตา
ถึงแม้จะรับจากผู้อื่นก็มิใช่จะรับแต่ปาก ต้องตั้งใจรับจึงจะได้ศีลก่อนแต่รับศีล
ต่ อ เมื่ อ ปลุ ก ให้ เ ขารี บ หลี ก ออกจากรางด้ ว ยเมตตาจิ ต จึ ง จะชื่ อ ว่ า มี ธ รรม
จากผู้มีศีลมีธรรมเนียมของสรณะและศีลดังกล่าวแล้ว
ฉะนั้ น พระพุ ท ธเจ้า จึง ตรัสทั้ งศีลทั้ง ธรรมคู่กั น ไว้ ใ นหลายแห่งว่า “มี ศีล มี
๓.สมุจเฉทวิรัติ ความเว้นด้วยตัดขาดมีอันไม่ทําอย่างนั้นเป็นปกติ
กัลยาณธรรม” ดังนี้
ตามภูมิของคนผู้ปฏิบัติ ท่านกล่าวว่าเป็นวิรัติของพระอริยเจ้า แต่เมื่อ
๑.เมตตากรุณา คู่กับ ศีลสิกขาบทที่ ๑
จะอธิบายให้ฟังทั่วๆไปก็อาจอธิบายได้ว่า คือเว้นจนเป็นปกติของตนจริงๆ
๒.สัมมาอาชีวะ คู่กับ ศีลสิกขาบทที่ ๒
๓.ความสํารวมในกาม คู่กับ ศีลสิกขาบทที่ ๓ สร้างบุญด้วยการภาวนา
๔.ความมีสัจจะ คู่กับ ศีลสิกขาบทที่ ๔
คําว่า ภาวนา ไม่ใช่หมายถึงการท่องบ่นอะไรเบาๆในใจอย่างไม่รู้เรื่อง
๕.ความมีสติรอบคอบ คู่กับ ศีลสิกขาบทที่ ๕
ดั ง ที่ เ ข้ า ใจกั น อยู่ โ ดยมาก ตามศั พ ท์ แ ปลว่ า การทํ า ให้ มี ขึ้ น ให้ เ ป็ น ขึ้ น
เบญจธรรมนี้ไม่ต้องขออย่างขอศีล ให้ปฏิบัติอบรมบ่มเพาะปลูกให้มี
จึ ง มี ค วามหมายถึ ง การปฏิ บั ติ ใ ห้ บั ง เกิ ด ผลได้ อ ย่ า งจริ ง จั ง เหมื อ นอย่ า ง
ขึ้ น ประจํ า จิ ต ใจด้ ว ยตนเอง ได้ มี พุ ท ธภาษิ ต ตรั ส ไว้ ที่ แ ปลความว่ า
เรี ย นมาแล้ ว ทํ า ไม่ ไ ด้ ไ ม่ เ รี ย กว่ า ภาวนา ต่ อ เมื่ อ มาปฏิ บั ติ ห รื อ ทํ า ให้ มี ขึ้ น
“พึงประพฤติสุจริตธรรม ไม่ประพฤติทุจริตธรรม ผู้ประพฤติธรรมโดยปกติ
ให้ เ ป็ น ขึ้ น จึ ง เรี ย กว่ า ภาวนา คํ า ว่ า ภาวนาจึ ง มี ค วามหมายแข็ ง แรง
ย่อมอยู่เป็นสุข ทั้งโลกนี้ ทั้งในโลกอื่น”
เป็นภาคปฏิบัติโดยตรง ในที่นี้หมายถึง
ศีล เป็นความดีที่สูงกว่าทานขึ้นมาอีกชั้นหนึ่ง มีความหมายกว้างๆว่า
การอบรมจิตใจให้ตั้งมั่น จัดเป็นจิตตสิกขาหรือสมาธิหนึ่ง
ความประพฤติงดเว้นจากการเบียดเบียนกันและกันให้เดือดร้อน เรียกว่า
อบรมความรู้ค วามเห็นที่ถูกชอบให้มีขึ้น จั ดเป็น ปัญญาสิก ขาหนึ่ง
อภัยทาน แปลว่าให้อภัย คือให้ความไม่มีเวรมีภัยแก่ใครๆ เรียกว่าเป็นบุญ
รวมความแล้ ว อบรมใจให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ส ะอาดให้ ส ว่ า งไสวด้ ว ยสมาธิ
เพราะเป็ น เครื่ อ งชํ า ระล้า งโทสะ(คื อ ความคิด ประทุ ษ ร้า ย) เพราะศีล คื อ
และปัญญาเรียกว่า เป็นบุญ คือความดีที่สูงกว่าศีลขึ้นมาเพราะเป็นเครื่องชําระ
ความเว้นจากความประทุษร้ายเขา เมื่อรักษาศีลไว้ได้ก็เป็นอันชําระใจในข้อนี้
ล้างโมหะ คือความหลงไม่รู้จริงให้หมดไป
ผลของบุญ มิ ใ ช่ มุ่ ง ผลแก่ ค นที่ ต ายไปแล้ ว คื อ ผลในโลกหน้ า แต่ ค วามดี ทั้ ง หลายนั้ น
ย่ อ มให้ ผ ลยั่ ง ยื น ก็ ยั ง อํ า นวยผลแก่ ค นรุ่ น เราในปั จ จุ บั น นี้ ถ้ า คนรุ่ น เรา
ในปั จ จุ บั น ไม่ ช่ ว ยกั น ทํ า ลายความดี ที่ ท่ า นสร้ า งไว้ ช่ ว ยกั น สร้ า งความดี
บุ ญ คื อ ความดี อั น ได้ แ ก่ ทาน ศี ล และภาวนา ดั ง กล่ า วมานี้ เ ป็ น
สืบต่อไป ไม่เอาแต่ โลภ โกรธ หลง ซึ่งเป็นอกุศลมูลขึ้นหน้า ก็จะได้ความสุข
บุญส่วนเหตุ
แต่ละคน และจะสืบความสุขต่อไปถึงอนุชนภายหน้าไม่ต้องเสียชื่อว่าเสื่อมสิ้นดี
ให้บังเกิดผลคือ ความสุข ซึ่งท่านจัดเป็นบุญอีกเหมือนกันเรียกว่า
ยังมีความดีให้คนรุ่นต่อไประลึกและนับถือ
บุญส่วนผล ซึ่งเกิดจากความบริสุทธิ์ใจ
ผู้ ที่ ทํ า บุ ญ ทํ า กุ ศ ลทํ า คุ ณ งามความดี เ พราะรู้ ว่ า เป็ น สิ่ ง ควรทํ า นั้ น
จิตใจที่กลุ้มรุมอยู่ด้วย อกุศลมูล (คือ โลภะ โทสะ โมหะ) เป็นจิตใจบาป
ถูกต้อง จักไม่เกิดผลไม่ดีอย่างใด
เมื่อจิตใจบาปไม่เสียแล้วก็เป็นเหตุให้ทําบาปต่างๆ
แต่ ผู้ ที่ ทํ า บุ ญ ทํ า กุ ศ ลทํ า คุ ณ งามความดี เ พราะรู้ ว่ า จะได้ รั บ
ส่วนจิตใจที่ชําระ โลภะ โทสะ โมหะ ออกเสียได้หรือจะพูดว่าเป็นจิต
ผลตอบแทนที่ดีต่างๆ เช่นนี้ไม่ถูกต้องสมบูรณ์เพราะมีทางจะก่อให้เกิดโทษได้
ที่ประกอบด้วย อโลภะ (ไม่อยากได้) อโทสะ (ไม่คิดประทุษร้ายเขา) อโมหะ
ไหนๆจะทําบุญทํากุศลทําดีทั้งที ก็ควรเข้าใจและควรทําใจให้ถูกต้อง เพื่อจักได้
(ไม่ หลง) ก็ ได้ เป็น จิ ตใจบุญ เมื่ อมี จิ ต ใจเป็ น บุ ญ ก็ เ ป็น เหตุ ใ ห้ทํ า บุญ ต่ า งๆ
เสวยผลแห่งการทํานั้นเต็มบริบูรณ์เป็นอานิสงส์
อโลภะ อโทสะ อโมหะ ทั้งสามนี้ท่านเรียกว่า กุศลมูล แปลว่ารากเหง้าแห่ง
ถ้าจะปล่อยนกปล่อยปลาสักทีก็ขอให้ทําใจให้ได้ว่า เพื่อให้ชีวิตแก่สัตว์
กุศล ตรงกันข้ามกับอกุศลมูล โดยความคือจิตใจบาปและจิตใจบุญนั้นเอง
ไม่ใช่เพื่อให้ตัวเองหายเจ็บหายไข้ มีอายุมั่นขวัญยืน
กุศล แปลว่ากิจของคนฉลาด หมายถึงความดี
ถ้ า จะให้ เ งิ น ให้ ท องคนยากคนจนเมื่ อ ใดก็ ข อให้ ทํ า ใจให้ ไ ด้ ว่ า
อกุศล แปลว่ากิจของคนไม่ฉลาด หมายถึงความชั่วเช่นเดียวกับบาป
เพื่อบรรเทาความลําบากยากไร้ของเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ไม่ใช่เพื่อไม่ให้ตัวเอง
สรุปความว่า ผลของบุญคือความดีนั้น คือความสุขที่เกิดจากความบริสุทธิ์ใจ
ขาดแคลน หรือถ้าเกิดขาดแคลนขึ้นมาเมื่อใดขอให้มีผู้มาช่วย
เพราะการทําบุญคือความดีโดยตรงมุ่งชําระฟอกล้างจิตใจให้บริสุทธิ์สะอาด
ถ้าจะสวดมนต์ภาวนาก็ขอให้ทําใจให้ได้ว่า เพื่อให้ใจเกิดสมาธิหรือให้
จาก โลภะ โทสะ โมหะ ซึ่งเป็นอกุศลดังกล่าวมาแล้ว นี้เรียกว่า ทําบุญเพื่อบุญ
ใจน้อมนึกถึงคุณพระรัตนตรัย ไม่ใช่เพื่อให้เกิดผลอย่างอื่น
หรื อ ทํ า ความดี เ พื่ อ ความดี แต่ ล ะคนถ้ า ลองหั ด ทํ า บุ ญ เพื่ อ บุ ญ ดั ง กล่ า ว
ที่ ย กมาเป็ น ตั ว อย่ า งนี้ เ ป็ น เพี ย งส่ ว นน้ อ ย ยั ง มี ก ารทํ า บุ ญ ทํ า กุ ศ ล
จะได้ ค วามสุ ข อั น เกิ ด จากความบริ สุ ท ธิ์ ใ จ ซึ่ ง เป็ น ความสุ ข อย่ า งบริ สุ ท ธิ์
ทํ า ความดี อี ก หลายอย่ า งที่ ผู้ ทํ า ควรทํ า ใจให้ ถู ก ต้ อ ง ทํ า ใจเสี ย ให้ ถู ก แล้ ว
ในปั จ จุ บั น ที่ ทํ า นี้ เ อง ทางพระพุ ท ธศาสนามุ่ ง ผลดี ที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น เช่ น นี้
ผลที่เกิดขึ้นจะดีเอง จะปราศจากโทษเอง เพราะผลดีผลร้ายนั้นไม่ได้เกิดจาก บริ จ าคแล้ ว ก็ ว างเสี ย อย่ า ไปยึ ด มั่ น เอาไว้ ว่ า ได้ ทํ า นั่ น บริ จ าคนี่
ใจมุ่งมาดปรารถนา ผลเกิดแต่เหตุเท่านั้น เหตุสมควรแล้วผลต้องเกิดแน่ มากมายจะมีวิมานในเมืองฟ้าใหญ่โตมโหฬารยิ่งขึ้นทุกที อย่าทําไปโดยยึดมั่น
การไปมุ่งผลแม้ทําเหตุสมควรแก่ผลที่มุ่งนั้นก็ไม่ถูกต้องแท้จริง ไปเป็ น อั น ขาดจะได้ พ้ น ทุ ก ข์ สิ้ น เชิ ง ในวั น หนึ่ ง ความพ้ น ทุ ก ข์ สิ้ น เชิ ง นี้
การอิจฉาริษยา น้อยเนื้อต่ําใจ ทะเยอทะยาน รวมทั้ง ความโลภ โกรธ เป็น ที่พึงปรารถนาอย่ างยิ่ง และก็อย่าเห็น ว่าการปรารถนาความพ้น ทุก ข์
หลง ทั้งหลายเกิดได้จากการทําใจไม่ถูกเมื่อทําบุญทํากุศลทําคุณงามความดี สิ้นเชิงเป็นโลภะ โลภนั้นหมายถึงปรารถนาต้องการในสิ่งที่จะหาให้เกิดกิเลส
อธิบายเช่นนี้อย่าคิดผิดหนักยิ่งขึ้นไปว่า ถ้าเช่นนั้นก็อย่าทําบุญกุศล เช่น ยึดอยู่ หลงอยู่ ปรารถนาต้องการความบริสุทธิ์หลุดพ้น หาได้เป็นโลภะไม่
เสียเลยดีกว่า
การทํ า บุ ญ ทํ า กุ ศ ลทํ า คุ ณ งามความดี เ ป็ น สิ่ ง ดี แ น่ ดี แ ท้ ควรทํ า
ด้วยกันทุกคน แต่เมื่อทําแล้วทั้งทีก็ควรพยายามทุกอย่างที่จะให้ได้ผลบริสุทธิ์
ปราศจากมลทินเครื่องเศร้าหมอง
ขอให้ทุกคนลองดูแต่บัดนี้ แล้วสังเกตดูจิตใจตนให้เห็นผลชัดแจ้งว่า
เมื่อทําบุญทํากุศลทําคุณงามความดีด้วยการทําให้ถูกดังกล่าว จะสบายใจกว่า
หรื อ ไม่ จั ก ได้ รั บ ผลดี เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อ ว่ า น้ อ ยลง ขอให้ ทุ ก คนตั้ ง ใจไว้ ใ ห้ ดี
ทําใจให้ถูกทุกครั้งที่จะทําบุญทํากุศลทําคุณงามความดี ซึ่งทุกคนมีโอกาส
ทดลองด้วยกันทั้งนั้น ออกจากบ้านไปพบขอทานสักคน หยิบเงินออกส่งให้
ทําใจให้ถูกว่าเพื่อช่วยให้เขาขาดแคลนน้อยลง ทําใจให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้น
ให้ ไ ด้ จ ริ ง ๆ พยายามทํ า ให้ ไ ด้ ทุ ก ครั้ ง ไม่ ว่ า จะให้ อ ะไรใครก็ ต ามแล้ ว
จะพบความรู้ สึ ก อย่ า งใหม่ ใ นใจ เป็ น ความรู้ สึ ก ที่ มี ค่ า เกิ น กว่ า ค่ า
ของการบริ จ าคเป็ น อั น มาก ผู้ ที่ ยิ่ ง บริ จ าคทํ า บุ ญ ทํ า กุ ศ ลมากเพี ย งไร
ยิ่งจําเป็นต้องทําใจให้ถูกมากเพียงนั้น ไม่เช่นนั้นแล้ว บุญกุศลที่ทําโดยตั้งใจไว้
ไม่ถูกจะพาไปให้ต้องเป็นทุกข์ในภพภูมิต่อไป เพราะจะพาให้ต้องเกิดนั้นเอง
บุญกับกุศล ให้ฉลาด ให้มีปัญญาสามารถพาตนให้พ้นความทุกข์ ความเดือดร้อนทางใจ
ให้ได้ การอบรมใจให้ฉลาดนี้แหละคือ การทํากุศล
อย่างไรก็ตาม บางทีบุญและกุศลก็เกี่ยวพันกันอยู่อย่างแยกกันไม่ออก
มีคําอยู่สองคําที่พูดกันอยู่เนืองๆ โดยเฉพาะผู้นับถือพระพุทธศาสนา
เช่นการทําทาน บางครั้งก็เป็นเรื่องของบุญ แต่บางครั้งก็เป็นเรื่องของกุศล
จะพูดคําทั้งสองนี้กันเป็นประจําแทบทุกคน คําทั้งสองนี้ก็คือคําว่า “บุญ”
เช่นอภัยทาน
กั บ คํ า ว่ า “กุ ศ ล” และปกติ ก็ พู ด คู่ กั น ไปว่ า บุ ญ กุ ศ ล เช่ น ทํ า บุ ญ ทํ า กุ ศ ล
อภัยทานนี้เป็นเรื่องของกุศลก็ได้ เป็นเรื่องของบุญก็ได้ ถ้าผู้ใดมีโทษ
แต่ก็คงจะมีไม่น้อยที่ไม่เข้าใจคําว่าบุญและกุศลนี้ถูกต้องเพียงพอ ขออธิบาย
ต่อตน เช่น ทําให้ตนโกรธแค้นขัดเคือง แม้ว่าจะอภัยโทษให้อย่างเสียไม่ได้
ให้ฟังพอสังเขป เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
นั่นก็เรียกว่าเป็นบุญได้ แต่ไม่เรียกว่าเป็นกุศล
ทําบุญเป็นเรื่องของกาย เช่น ให้ทาน เป็นเรื่องของวัตถุที่หยิบยกให้กันได้
แต่ ถ้ า มี ใ จมี เ หตุ ผ ล มี เ มตตา แล้ ว อภั ย ให้ เป็ น การอภั ย โทษ
แต่ทํากุศลเป็นเรื่องของใจ เป็นการอบรมใจให้งดงามผ่องใส ห่างไกล
ด้วยความเต็มใจ ด้วยใจที่ประกอบด้วยเหตุผลอันใคร่ครวญแล้ว นั่นเป็นกุศล
จากกิเลสโดยควร
เป็ น การทํ า กุ ศ ลทั้ ง ๆที่ เ ป็ น การอภั ย โทษหรื อ อภั ย ทานด้ ว ยกั น
บุญกุศลเป็นของคู่กันไม่ควรแยกจากกัน คือ ไม่ควรเลือกทําแต่บุญ
แต่ก็แยกจากกันได้ในเรื่องเป็นบุญหรือเป็นกุศล
หรื อ ไม่ ค วรเลื อ กทํ า แต่ กุ ศ ล ควรจะต้ อ งทํ า ทั้ ง บุ ญ และกุ ศ ลควบคู่ กั น ไป
จึงเห็นได้ชัดว่าเรื่องของกุศล ถ้าใจสว่างขึ้น มีปัญญาขึ้น นั่นเป็นกุศล
จึงจะสมบูรณ์ เหมือนกินข้าวแล้วก็ต้องกินน้ํา ไม่เช่นนั้นจะไม่รู้สึกว่าเพียงพอแล้ว
ถ้ า ใจไม่เ กิด ความใส ความสว่ า ง ความมี ปัญ ญาอย่ า งใดเลย นั่ น ก็
กินแต่ข้าวไม่กินน้ําเรียกว่าบริโภคอาหารอิ่มเรียบร้อย ต้องกินทั้งสองอย่าง
เป็นเรื่องของบุญเท่านั้น
เรียบร้อยจึงจะเรียกว่า บริโภคอาหารมื้อนั้นเสร็จเรียบร้อย ทําบุญจึงต้อง
ที่ประณีตยิ่งกว่านั้นคือ แม้ว่าจะไม่สามารถให้อภัยทานที่เป็นบุญได้
ทํากุศลด้วย
แต่ ถ้ า ใจไม่ ถื อ โทษเพราะสว่ า งแล้ ว ด้ ว ยปั ญ ญา ด้ ว ยเหตุ ผ ล ด้ ว ยเมตตา
ทําบุญจึงต้องทํากุศลด้วย ก็คือ เมื่อให้ทานทั้งหลาย รวมทั้งการถวาย
นั้นก็เป็นอภัยทาน นั้นก็เป็นกุศล
อาหารพระ ให้อาหารเป็นทานแก่ผู้ต้องการหรือให้เงินทองแก่ผู้ขาดแคลน
บุญกับกุศล ไหนมีความสําคัญกว่ากัน
เหล่ า นี้ เ ป็ น ต้ น เมื่ อ ให้ ท านดั ง กล่ า วแล้ ว ควรต้ อ งทํ า กุ ศ ลด้ ว ย คื อ อบรม
ยกข้อนี้ขึ้นพิจารณาก็นา่ จะเห็นได้ว่า กุศลสําคัญกว่า
ใจตนเองให้มีกุศล กุศลหมายถึงความฉลาด อบรมใจให้มีกุศลก็คือ อบรมใจ
กุศล เปรียบเทียบเหมือน ข้าว
บุญ เปรียบเหมือน น้ํา บุญก่อสุข บาปก่อทุกข์
กินข้าวแล้วไม่ได้กินน้ํา แม้จะรู้สึกไม่อิ่มสมบูรณ์ แต่ก็ยังดีกว่าไม่ได้กิน
ข้าวเลย กินแต่น้ําเท่านั้น
ใครเคยเห็นหน้าตาของความดีและความชั่วบ้างว่าเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่
อิ่ ม แบบกิ น แต่ ข้ า ว กั บ อิ่ ม แบบกิ น แต่ น้ํ า แตกต่ า งกั น อย่ า งไร
หญิงหรือชาย มีบ้านเรือนภูมิลําเนาอยู่ไหน
เข้าใจความนี้แล้วก็จะเข้าใจได้ด้วยว่า ทําแต่กุศลกับทําแต่บุญ แตกต่างกัน
อันความดีความชั่วนั้นไม่มีตัวตน แต่มีคนทําดีหรือทําชั่ว และมีผล
อย่ า งไร ดั ง นั้ น แม้ เ มื่ อ เป็ น ไปได้ แ ล้ ว ทุ ก คนจึ ง ควรทํ า ทั้ ง บุ ญ และกุ ศ ล
ของการทํา
ไปพร้ อ มกั น แต่ ถ้ า จะต้ อ งเลื อ กระหว่ า งทํ า บุ ญ กั บ ทํ า กุ ศ ล คื อ ไม่ ทํ า
เหมื อ นอย่ า งความร้ อ นความหนาวไม่ มี ตั ว ตน ความหิ ว กระหาย
ทั้งสองอย่างได้พร้อมกันก็ต้องเลือกกุศล
ความอิ่มหนําสําราญไม่มีตัวตน แต่มีคนที่ร้อนหรือหนาว มีคนที่หิวกระหาย
กุ ศ ลเป็ น สิ่ ง ที่ ทํ า ได้ เ สมอเพราะเป็ น เรื่ อ งเฉพาะตั ว ของทุ ก คน
หรืออิ่มหนําสําราญ
ไม่เกี่ยวกับผู้อื่น อุปสรรคอื่นไม่อาจห้ามการทํากุศลของใครได้เลยโดยเด็ดขาด
คนที่ ร้ อ นเพราะมี ค วามร้ อ นคนที่ ห นาวเพราะมี ค วามหนาวฉั น ใด
ตัวเองเท่านั้นที่จะทําให้ตัวเองไม่ได้ทํากุศล ฉะนั้น จึงควรพิจารณาในเรื่องนี้
คนดีจะเป็นเด็กดี ชายดี เด็กหญิงดี นายดี นางดีก็ตาม เพราะมีความดี
ให้รอบคอบและอย่าปล่อยให้ตัวเองเป็นอุปสรรคกีดขวางตัวเองไม่ให้ทํากุศล
คนชั่วจะเป็นเด็กชายชั่ว เด็กหญิงชั่ว นายชั่ว นางชั่ว ก็ตาม เพราะมีความชั่ว
คือ การอบรมใจให้สว่าง สะอาด ฉลาด พร้อมด้วยสติ ปัญญา เมตตา กรุณา
ฉันนั้น
เป็นต้น
ฉะนั้น ผู้ต้องการจะเห็นหน้าตาของความดี จะดูหน้าตาของคนดีแทน
ก็ได้ ต้องการจะเห็นหน้าตาของความชั่ว จะดูหน้าตาของคนชั่วแทนก็ได้
คนดีเพราะมีความดีนั้น คือคนที่ทําดีต่างๆ ทั้งแก่ตนและส่วนรวม
ส่วนคนชั่วเพราะมีความชั่วนั้น คือคนที่ทําชั่วต่างๆ ทั้งเกี่ยวกับตนเอง
และส่วนรวม
ยกตัวอย่างตัวของเราทุกๆคน เมื่อช่วยทําการใจบ้านในโรงเรียนหรือ
การที่เป็นประโยชน์ทั่วไปต่างๆ ก็เป็นที่สรรเสริญยกย่องเพราะการทํานั้น
ก่อให้เกิดสุขประโยชน์ นี้คือความดีที่มีอยู่ที่ตัวเราเอง ซึ่งเป็นคนดีขึ้นเพราะทําดี
เมื่ออยากจะดูหน้าตาของความดีก็จงส่องกระจกดูหน้าของตัวเราเอง วิธีการเพื่อความสุขของชีวิต
จะรู้สึกความภาคภูมิใจที่แฝงอยู่ในใบหน้าในสายตาอันส่องเข้าไปถึงจิตใจที่ดี
อาจมีความอิ่มใจในความดีของตนเป็นอย่างมากก็ได้
พระพุทธศาสนสุภาษิตบทหนึ่งกล่าวไว้แปลความว่า “ละเหตุทุกข์ได้
แต่ ถ้ า ตั ว เราเองทุ ก ๆคนทํ า ไม่ ดี ต่ า งๆในบ้ า นบ้ า ง ในโรงเรี ย นบ้ า ง
เป็นสุขในที่ทั้งปวง” ความหมายโดยตรงและโดยง่ายของพุทธภาษิตนี้ก็คือ
ในที่ต่างๆบ้าง ทําให้เกิดความทุกข์ร้อนเสียหายแก่ใครๆ ก็เป็นที่ติฉินนินทา
ไม่ทําเหตุที่ จะนําให้เ กิดความทุกข์ ก็จะไม่มีทุกข์ ก็จะเป็นสุข ไม่ว่าจะอยู่
เพราะการทํานั้นก่อให้เกิดโทษ นี้คือความชั่วที่มีอยู่ที่ตัวเราเอง ซึ่งเป็นคนชั่วขึ้น
แห่งหนตําบลใดก็จะไม่มีทุกข์ ก็จะเป็นสุข ที่จริงแล้วก็ไม่มีอะไรที่จะทําให้เกิด
เพราะทํ า ชั่ ว เมื่ อ อยากจะดู ห น้ า ตาของความชั่ ว ก็ จ งส่ อ งกระจกดู ห น้ า
ปัญหาขัดแย้งได้ เป็นสัจจะที่เห็นได้ถนัดชัดเจนแล้ว ไม่ทําเรื่องให้เกิดทุกข์
ของตัวเราเอง จะรู้สึกความอัปยศอดสูความปิดบังซ่อนเร้นที่แฝงอยู่ในใบหน้า
ก็ไม่มีทุกข์ ก็มีแต่สุขเหมือนไม่ให้ท้องว่างก็ไม่หิว ไม่ชุบผ้าขาวลงในน้ําสีดํา
ในสายตา อันส่อเข้าไปถึงจิตใจที่ไม่ดี อาจมีความสร้อยเศร้า ตําหนิตนเอง
ผ้า ก็ ไม่ ดํ า การไม่ ป ล่ อ ยให้ท้ อ งว่ า งคือ การละเหตุ ที่ จ ะทํ า ให้ ท้ อ งเป็น ทุ ก ข์
รังเกียดตนเองเป็นอย่างมาก เพราะรู้สึกสํานึกขึ้นบ้างก็ได้
คือ หิว การไม่ชุบผ้าขาวลงในน้ําสีดํา คือ การละเหตุที่จะทําให้ผ้าเป็นสีดํา
สรุ ป ความว่ า การกระทํ า ทุ ก อย่ า งที่ น่ า นิ ย มชมชอบ ก่ อ ให้ เ กิ ด สุ ข
เหตุนี้มีความสําคัญยิ่งนักเพราะเป็นสิ่งเดียวที่จะให้ผล ผลจะดีจะร้าย
ประโยชน์แก่ตนเองแก่ผู้อื่น คือความดี การกระทําทุกอย่างที่น่าตําหนิติเตียน
ก็ อ ยู่ ที่ เ หตุ ไม่ ไ ด้ อ ยู่ ที่ อ ะไรอื่ น และผู้ รู้ จ ะได้ รั บ ผลก็ ต้ อ งเป็ น ผู้ ทํ า เหตุ
ก่อให้เกิดทุกข์โทษแก่ตนเองแก่ผู้อื่น คือความชั่ว
ผู้ไม่ได้ทําเหตุจะไม่ได้รับผล การกล่าวเช่นนี้ว่า ที่จริงแล้วมีทางให้เกิดปัญหา
โต้ แ ย้ ง ได้ ม ากมาย ดั ง ที่ ป รากฏอยู่ เ สมอไม่ ว่ า งเว้ น เกิ ด มาไม่ เ คยทํ า บาป
ทํ า กรรม ทํ า ไมต้ อ งมารั บ ทุ ก ข์ อ ย่ า งนั้ น อย่ า งนี้ นี้ เ ป็ น ตั ว อย่ า งที่ ป รารภ
ปรารมภ์ คร่ําครวญกันอยู่มากมาย ซึ่งคิดหรือมองแต่เพียงผิวเผินก็น่าเชื่อ
เช่นนั้น คนบางคนทําดีให้เห็ นอยู่ไม่เคยทําไม่ ดีให้เ ห็นเลย แต่ ก็ไม่ปรากฏ
ว่าได้รับผลดีอย่างไร ยากจนแสนสาหัสก็มี ทุกข์ร้อนด้วยเรื่องร้อยแปดก็มี
เหตุ แ ห่ ง ทุ ก ข์ ที่ ท่ า นให้ ล ะ จึ ง ไม่ ใ ช่ เ หตุ ที่ ป รากฏให้ เ ห็ น ในปั จ จุ บั น เท่ า นั้ น
เหตุ ที่ เ ห็ น ๆอยู่ ห รื อ เป็ น เหตุ ใ นภพชาติ ปั จ จุ บั น บางครั้ ง บางคราวก็ ใ ห้ ผ ล
ใหญ่ยิ่ง ไม่เสมอกับเหตุที่แลไม่เห็น หรือเหตุที่พ้นไปจากภพชาติปัจจุบันแล้ว
เหตุที่ไม่ได้ละกัน ในอดีตที่แลไม่เ ห็นรู้ไม่ถึง ก็มีผลไม่ ใ ช่ ว่ าไม่ มี และก็ มีผล แม้ ป รารถนาจะละเหตุ แ ห่ ง ทุ ก ข์ เพื่ อ เป็ น สุ ข ในที่ ทั้ ง ปวง ทั้ ง ในภพนี้
มาถึ ง ปั จ จุ บั น ได้ ด้ ว ย ไม่ ใ ช่ ว่ า ไม่ ไ ด้ แ ละผลก็ ต รงตามเหตุ เ สมอด้ ว ย และในภพหน้า ต้องละความคิดดังกล่าวซึ่งจะสามารถละได้ก็ต่อเมื่อใช้สติ
เป็นจริงเป็นจังด้วย ไม่มีคลาดเคลื่อนแม้เล็กน้อยเพียงไร พิจารณาความรู้ สึกในใจ ให้เ ห็นความอยากที่เกิดขึ้นดังกล่ าว ทั้งอยากได้
ทุกคนอยากเป็นสุข ยิ่งสามารถเป็นสุขในที่ทั้งปวง หรือทุกเวลานั่นเอง สิ่งน่าใคร่น่าปรารถนาพอใจ ทั้งอยากมีอยากเป็น อยากไม่มีไม่เป็น ดูให้เห็น
ยิ่งจะยินดียิ่งนัก จึงควรต้องเข้าใจว่า เมื่ออยากเช่นนั้นเป็นผลก็ต้องทําเหตุ เห็นอย่างรู้ว่านั้นเป็นเหตุทุกข์ ต้องการละเหตุทุกข์ต้องละความอยากเหล่านั้น
ให้ตรงกับผลเช่นนั้น ให้ ได้ ละให้ได้ ทุ ก ครั้งที่ แลเห็ น ที่ รู้ว่า เป็น ความอยากพยายามดู ใ จตนเอง
เป็ นสุ ขในที่ ทั้งปวงไม่หมายเฉพาะเป็นสุขในชาติ นี้ ภพนี้ หมายถึง ให้เห็นดังกล่าว พยายามดับสิ่งที่เห็นเหตุทุกข์ดังกล่าว ทําไปเรื่อยๆจะมีสุข
เป็นสุขในชาติหน้าภพหน้าด้วย บางทีชาตินี้ภพนี้เราจะต้องเสวยผลของเหตุ ในที่ทั้งปวงได้แน่นอน
ในชาติ อ ดี ต ภพอดี ต ที่ ต ามทั น สุ ข ในที่ ทั้ ง ปวงก็ คื อ สุ ข ทั้ ง ภพหน้ า ด้ ว ย
ชาตินี้เป็นสุขก็ต้องระวังอย่าให้ชาติหน้าเป็นทุกข์ ต้องละเหตุที่จะให้เป็นทุกข์
ทั้งหมด
เหตุทุกข์คือความไม่ดีทุกประการ อันความไม่ดีทุกประการเกิดจากใจ
เช่นเดียวกับความดีทุกประการก็เกิดจากใจ ท่านจึงว่าความทุกข์เกิดจากใจ
ความสุ ข ก็ เ กิ ด จากใจ หรื อ อี ก อย่ า งหนึ่ ง ก็ ว่ า ความทุ ก ข์ เ กิ ด จากความคิ ด
ความสุ ข ก็ เ กิ ด จากความคิ ด ความคิ ด หรื อ ใจจึ ง เป็ น ความสํ า คั ญ ที่ สุ ด
สําหรับทุกคน จะมีสุขหรือทุกข์ก็อยู่ที่ใจ อยู่ที่ความคิดของใจ ใจคิดให้ละ
เหตุทุ ก ข์ การพู ดการทํากรรมทั้งปวงก็จะเป็ นการละเหตุ ทุกข์ ความทุ ก ข์
ย่อมไม่มี ย่อมมีความสุข ย่อมเป็นสุข ละเหตุทุกข์ได้เพียงไร ย่อมมีสุขเพียงนั้น
ความคิ ด ใคร่ ใ นสิ่ ง ที่ น่ า ปรารถนาพอใจ ความอยากมี อยากเป็ น
ความอยากไม่มีไม่เป็นนี้เป็นความคิดที่เป็นเหตุทุกข์ ทําความคิดนี้ให้เบาบาง
เพี ย งไร ความทุ ก ข์ จ ะลดน้ อ ยลงเพี ย งนั้ น ความสุ ข จะมี ม ากเพี ย งนั้ น
เสบียงเพื่ออนาคต อาลั ย อดี ต เรื่ อ งนี้เ พราะมีค วามสํ า คัญ เป็ น พิ เ ศษ อดี ต เป็น ทุก ข์ เ ป็น กิเ ลส
ทุกอย่างต้องลืมให้หมด ปล่อยให้หมด วางให้หมด
อนาคตก็ไม่ให้เพ้อฝันถึง คือไม่ให้คาดคะเนว่าอนาคตจะได้ลาภได้ยศ
พระพุทธองค์ทรงสอนไว้อย่างหนึ่งที่เป็นคุณอย่างยิ่งแก่ผู้ปฏิบัติ คือ อย่างนั้นอย่างนี้ เพราะการคาดคะเนล่วงหน้าเช่นนี้ทําใจฟุ้งซ่านไม่สงบสุข
ทรงสอน ในปั จ จุ บั น ด้ ว ย และในอนาคตถ้ า ไม่ เ ป็ น ไปตามคาดคิ ด ก็ จ ะเสี ย ใจ
ให้อยู่กับปัจจุบันหนึ่ง เพราะผิดหวัง สู้อยู่อย่างไม่คาดคิดถึงอนาคตอย่างมีกิเลสจะเป็นสุขสงบกว่า
ไม่ให้อาลัยอดีตหนึ่ง อยู่ กั บ ปั จ จุ บั น ได้ ม ากเพี ย งไรก็ จ ะมี ค วามสุ ข ได้ ม ากเพี ย งนั้ น แต่ ก็
ไม่ให้เพ้อฝันถึงอนาคตหนึ่ง ไม่ได้หมายความว่าการกระทําอะไรไม่ต้องตระเตรียมเพื่ออนาคต
ทั้ ง สามประการนี้ ไ ม่ ไ ด้ ห มายถึ ง ที่ เ ป็ น โทษ แต่ ห มายถึ ง ที่ เ ป็ น การเตรี ย มอนาคตที่ สํ า คั ญ มากอย่ า งหนึ่ ง คื อ การเตรี ย มอนาคต
คุณประโยชน์เท่านั้น ในภพชาติ เ บื้ อ งหน้ า ทุ ก คนจะมี ชี วิ ต อยู่ ใ นชาติ นี้ อ ย่ า งมากก็ ป ระมาณ
ที่ว่าไม่ให้อาลัยถึงอดีตก็มีความหมายตรงตัว คืออะไรที่เกิดขึ้นแล้ว ร้ อ ยขวบปี เ ท่ า นั้ น จะทุ ก ข์ จ ะสุ ข ในภพชาติ นี้ ก็ จ ะชั่ ว เวลาที่ ไ ม่ น านเท่ า ไร
ผ่ า นไปแล้ ว แม้ เ ป็ น ความสุ ข ความชื่ น ชอบยิ น ดี ก็ อ ย่ า ไปผู ก ใจอาลั ย โดยเฉพาะผู้ ผ่ า นพ้ น วั ย เด็ ก มา ศึ ก ษาธรรมอยู่ แ ล้ ว ในขณะนี้ ย่ อ มมี เ วลา
ถึงอยากให้กลับมาดํารงอยู่ต่อไป ซึ่งเป็นไปไม่ได้ เมื่อเป็นไปไม่ได้แม้ไปอาลัย ในภพชาตินี้อีกไม่นานเลย ได้ความมั่งมีศรีสุขลาภยศสรรเสริญในภพชาตินี้
อาวรณ์ ป รารถนาให้ เ ป็ น ไปให้ ไ ด้ ก็ ย่ อ มจะต้ อ งได้ รั บ ความทุ ก ข์ เ พราะ สักเพีย งไร ก็ ไม่อาจรัก ษาไว้ได้น าน แต่ ภ พชาติในอนาคตนั้นนานนักหนา
ความไม่สมหวัง ถ้าเป็นความทุกข์ความไม่ชื่นชอบยินดีพอใจ ก็อย่าไปผูกใจ นับปีนับชาติไม่ได้ จึงควรเตรียมภพชาติในอนาคตมากกว่า ที่ท่านเรียกว่า
อาวรณ์ ถึ ง แต่ จ งปล่ อ ยเสี ย การนํ า ใจไปผู ก ไว้ กั บ เรื่ อ งราวที่ เ ป็ น ทุ ก ข์ เตรี ย มเสบี ย งเดิ น ทางไว้ สํ า หรั บ ภพชาติ ข้ า งหน้ า คื อ เตรี ย มบุ ญ กุ ศ ล
เป็นความเศร้าหมอง ย่อมทําให้ต้องเป็นทุกข์เดือดร้อนไม่สิ้นสุด ความทุกข์ ไว้ให้พร้อม ให้เพียงพอแก่ทางที่ไกลแสนไกล จนประมาณไม่ได้ บุญกุศลที่จะเป็น
ร้อนควรจะหมดสิ้นไปพร้อมกับอดีตที่ล่วงไปแล้ว ผู้มีปัญญาพึงปฏิบัติตามที่ เสบียงเดินทางนั้นต้องประกอบด้วย ทาน ศีล ภาวนา
พระพุทธองค์ทรงสอนไว้ เมื่อคิดถึงอดีตให้หยุดเสีย ให้พยายามลืมอดีตเสีย การทําจิตทําใจให้ผ่องแผ้ว บริสุทธิ์จากโลภ โกรธ หลง จําเป็นที่สุด
จะได้พ้นจากทุกข์โทษของอดีต อย่างไรก็ตาม ความลืมกับความปล่อยวาง สํ า คั ญ ที่ สุ ด และก็ มี โ อกาสจะทํ า ได้ ม ากที่ สุ ด เพราะไม่ ต้ อ งประกอบด้ ว ย
ไม่ เ หมื อ นกั น พระพุ ท ธองค์ ไ ม่ ท รงสอนให้ ลื ม ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งแต่ ท รงสอน อะไรอื่ น เลย ใจมี อ ยู่ กั บ ตั ว เราเองแล้ ว กิ เ ลสก็ อ ยู่ กั บ ใจนั่ น เอง ถอดถอน
ให้มีสติจําที่ควรจํา คือจําสิ่งที่เป็นคุณประโยชน์ ที่ไม่เป็นกิเลส แต่ทรงสอน ออกเสี ย ให้ เ สมอ ทุ ก เวลานาที ทุ ก อิ ริ ย าบถ ย่ อ มได้ รั บ ผลเป็ น เสบี ย ง
ให้ลืมสิ่งที่เ ป็ นกิเลส ที่ก่ อ ให้เ กิดกิ เลสโทษทุก ข์ทุ ก อย่ า ง ไม่ มี ย กเว้น ว่า ให้ ที่พึงปรารถนาของนักเดินทางที่สุด
ความหมายของบารมี บารมีคือคุณธรรมผู้มุ่งดี
คําว่า บารมี มาจากคําบาลีว่า “ปารมี” มีคําแปลที่นักภาษาศาสตร์ได้ คําว่า บารมี ที่แปลว่าอย่างยิ่ง หรือที่มีความหมายว่า เลิศ ประเสริฐ
ให้ไว้หลายอย่าง จะแสดงแต่บางอย่างคือ แปลว่า อย่างยิ่ง มาจากคําว่า ก็หมายถึงธัมมะ หรือภูมิชั้นของธัมมะที่เป็นคุณธรรม ที่เป็นความดีในจิตใจ
“ปรมะ” ที่ ภ าษาไทยเรามาใช้ว่ า บรม และคํา ว่ า บรมที่แปลว่า อย่า งยิ่ง นี้ ซึ่ ง ได้ สั่ ง สมเพิ่ ม เติ ม ให้ ยิ่ ง ขึ้ น ๆ คื อ ให้ เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง คื อ ให้ ยิ่ ง ขึ้ น อยู่ เ สมอ
ก็มีใช้ทั้ง ๒ ทาง ดีอย่างยิ่งก็บรมหรือไม่ดีอย่างยิ่งก็บรม เช่น คําว่า นิพพาน จนถึงบริบูรณ์เต็มที่ในที่สุด อย่างยิ่งก็คือว่าคุณธรรมที่สั่งสมอบรมให้เป็นอย่างยิ่ง
เป็ นบรมสุข คื อสุ ขอย่างยิ่ง สังขารทั้ งหลายเป็นบรมทุก ข์คือทุ กข์อย่ างยิ่ ง คือยิ่งขึ้ น ๆดัง กล่า ว และที่ห มายถึ งว่ า เลิ ศ หรื อ ประเสริฐ ก็ โ ดยที่คุ ณ ธรรม
จึงเป็นคํากลางๆใช้ได้ทั้ง ๒ ทาง ที่เป็นอย่างยิ่งนั้นเป็นของเลิศ เป็นของประเสริฐ เป็นของดีที่สุด และที่แปลว่า
คําว่าบารมีมาจากคําว่าปรมะแล้วมาเป็นปารมี ไทยเรียกว่า บารมี ให้ถึงฝั่งนั้นก็หมายถึงคุณธรรมที่นําผู้ปฏิบัติให้ออกจากฝั่งนี้จนพ้นจากฝั่งนี้
แต่ว่ามีความหมายถึงส่วนที่ดีเท่านั้น ไม่หมายเป็นกลางๆเหมือนอย่างคําว่า
ไปถึงฝั่งโน้น เป็นความหมายทางรูปธรรม หมายถึงฝั่ง ๒ ฝั่งที่มีมหาสมุทร
ปรมะ
มีห้วงน้ําลึก มีทะเลหลวงคั่นอยู่กลาง แล้วก็เปรียบสัตว์โลกว่าเหมือนอย่าง
เพราะฉะนั้น คําว่าปารมีจึงมีความหมายที่แปลอีกอย่างหนึ่งว่า เลิศ
ผู้ที่ ข้า มจากฝั่งนี้คื อ โลกหรื อว่ า ความทุ ก ข์ หรื อว่า กิ เลส ซึ่ งนับ ว่ า เป็ น ฝั่ง นี้
อย่างยิ่ง ก็คือเลิศหรือประเสริฐ อีกอย่างหนึ่งบารมีแปลว่า ฝั่ง อันหมายความ
เพราะว่าที่ชื่อว่าโลกๆนี้ตามความหมายในทางธรรมก็หมายถึงว่าที่ๆเป็นทุกข์
ว่านําให้ถึงฝั่ง คือจากฝั่งนี้ไปสู่ฝั่งโน้น อันหมายความว่านําจากฝั่งนี้คือโลก
ไปสู่ฝั่งโน้นคือโลกุตตระ เหนือโลก พ้นโลก อันหมายถึงนิพพาน และคําว่า มี กิ เ ลส มี ทุ ก ข์ สั ต ว์ โ ลกอยู่ ฝั่ ง นี้ ก็ ต้ อ งประกอบด้ ว ยกิ เ ลส ประกอบด้ ว ย
บารมีนี้ท่านแสดงว่าพระโพธิสัตว์ได้บําเพ็ญบารมีมาโดยลําดับตลอดเวลาช้า ความทุก ข์ จะพ้ น จากฝั่งนี้ ไปสู่ ฝั่ งโน้ น อั น หมายถึง โลกุ ต ตระ พ้น โลกคื อ
นาน และบารมีที่พระโพธิสัตว์ทรงบําเพ็ญนั้น เมื่อบําเพ็ญมากๆเข้าก็เป็น นิ พ พาน ก็ ต้ อ งอาศั ย คุ ณ ธรรมที่ ไ ด้ สั่ ง สมอบรมยิ่ ง ขึ้ น ๆ ที่ เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง นั้ น
บารมีที่สูงขึ้นๆ หรือบริบูรณ์ขึ้น เพราะฉะนั้นจึงจัดเป็น ๓ ชั้น เรียกว่า บารมี เหมื อ นอย่ า งเป็ น เรื อ สํ า หรั บ โดยสารข้ า มไปจากฝั่ ง นี้ ไ ปสู่ ฝั่ ง โน้ น
อุปบารมี ปรมัตถบารมี ที่เรียกว่าบารมีในเมื่อแบ่งเป็น ๓ ชั้นดั่งนี้ก็หมายถึง แล้วก็คุณธรรมที่เหมือนอย่างเรือที่ทําให้ข้ามฟากได้นั้นก็คือ บารมี ที่แปลว่า
เป็ น บารมี ส ามั ญ อุ ป บารมี ก็ ห มายถึ ง บารมี ที่ ม ากยิ่ ง ขึ้ น จนใกล้ ที่ จ ะตรั ส รู้ ให้ถึงฝั่งโน้น ให้ถึงฝั่งก็หมายถึงคุณธรรมนั้นเอง
เป็นพระพุทธเจ้า ปรมัตถบารมี บารมีที่เป็นปรมัตถ์คือให้เป็นประโยชน์อย่าง
ยิ่ง ก็หมายถึงบารมีที่สมบูรณ์นําให้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
บารมีสร้างได้ด้วยกรรม กรรมดีที่ประกอบกระทํา และความดีที่เหลือติดอยู่เป็นความคุ้นเคยในทางดี
ดั ง กล่ า วนี้ ก็ เ ป็ น สิ่ ง ที่ สั่ ง สมเพิ่ ม เติ ม ขึ้ น ได้ อ ยู่ เ สมอ คื อ ยิ่ ง ๆขึ้ น ไปอยู่ เ สมอ
เพราะฉะนั้น บารมีจะหมายถึงว่า เก็บดี หรือเก็บถูกไว้ก็ได้ เก็บดี เก็บถูกไว้
บารมีนี้ก็มาจากกรรม คือการงานที่บุคคลกระทําทางกาย ทางวาจา
ในจิตใจไม่หมดสิ้นไป
ทางใจ ประกอบด้วยเจตนาคือความจงใจ
กรรมที่ บุค คลกระทํ า นั้ น กรรมดี ก็ มี กรรมชั่ ว ก็ มี กรรมดี ก็ ใ ห้ ผ ลดี
กรรมชั่ ว ก็ ใ ห้ ผ ลชั่ ว ดั่ ง ที่ มี พ ระพุ ท ธภาษิ ต ตรั ส สอนไว้ ที่ แ ปลความว่ า
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวเจตนาว่าเป็นกรรม เพราะว่าบุคคลมีเจตา
คือความจงใจแล้ว จึงกระทํากรรมทางกายบ้าง ทางวาจาบ้าง ทางใจบ้าง” ดั่งนี้
เพราะฉะนั้น กรรมที่บุคคลกระทํานี้เอง ถ้าเป็นกรรมดีก็เป็นบุญกรรม
กุศลกรรม ถ้าเป็นกรรมชั่ว ก็เป็นบาปกรรม อกุศลกรรม สุจริตก็จัดเข้าใน
กรรมดี ทุจริตก็จัดเข้าในกรรมชั่ว
กรรมที่ ทุ ก คนได้ ก ระทํา นี้ ย่ อ มให้ ผ ลในปั จ จุ บัน ก็มี ในภายหน้ า ก็ มี
ในเวลาที่ ถั ด ไปจากภายหน้ า นั้ น ไปก็ มี เหมื อ นอย่ า งว่ า ให้ ผ ลในวั น นี้
ให้ผลในวันพรุ่งนี้ ให้ผลในวันที่ถัดจากวันพรุ่งนี้ไป ให้ผลในภพนี้ ให้ผลในภพ
หน้ า ให้ ผ ลในภพที่ ถั ด ไปจากภพหน้ า กรรมย่ อ มให้ ผ ลต่ า งๆกั น ดั่ ง นี้
แต่ว่าเมื่อกรรมให้ผลแล้วก็เป็นอโหสิกรรม (คือว่ากรรมที่ได้ให้ผลเสร็จ
ไปแล้ว) จึงมีเวลาที่เสร็จสิ้น
แต่ ว่ า เมื่ อ ทํ า กรรมดี ไ ว้ บ่ อ ยๆ ก็ ย่ อ มมี ค วามคุ้ น เคยอยู่ ใ นความดี
มี ค วามดี ยั ง ติ ด อยู่ ดั ง ที่ เ รี ย กว่ า เป็ น นิ ส สั ย เป็ น อุ ป นิ ส สั ย เป็ น วาสนา
ยังไม่หมดไป ความคุ้นเคยในทางดีความดีที่ยังเหลืออยู่ติดอยู่ไม่หมดสิ้นไปได้
เหมือนอย่างกรรมนี่แหละ เรียกว่า บารมี เป็นความคุ้นเคยในทางดีอันมาจาก
ทุกคนควรสร้างบุญบารมี ทุกคนพึงปฏิบัติในบารมีตามสมควรแก่ฐานะ
หากจะสรุปเข้าในมัชฌิมาปฏิปทา มรรคมีองค์แปด ก็สรุปเข้าได้ก็ บารมี ธ รรมนี้ ดั ง ที ไ ด้ ก ล่ า วมาแล้ ว ว่ า เป็ น หลั ก ธรรมที่ ทุ ก ๆคน
มรรคมีองค์แปดนั่นเองคือบารมี ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงปฏิบัติมาจนถึงได้ตรัสรู้ ต้ อ งปฏิ บั ติ ด้ ว ยกั น ทั้ ง นั้ น จึ ง จะอยู่ ด้ ว ยกั น เป็ น สุ ข และเมื่ อ เป็ น ผู้ นั บ ถื อ
ปฏิ บั ติ ที แ รกก็ เ ป็ น บารมี ยิ่ ง ขึ้ น ๆก็ เ ป็ น อุ ป บารมี จนถึ ง ยิ่ ง ที่ สุ ด ก็ เ ป็ น พุ ท ธศาสนาแม้ ไ ม่ ตั้ ง ความปรารถนาจะเป็ น พระโพธิ สั ต ว์ ไม่ ป รารถนา
ปรมัตถบารมี ก็ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระโพธิ ญ าณ ก็ พึ ง ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก บารมี เ หล่ า นี้ ก็ จ ะเป็ น บุ ญ บารมี
มรรคมีองค์แปดที่เป็นมัชฌิมาปฏิปทาไม่ใช่คําว่า บารมี แต่ว่าผู้ปฏิบัติ เป็นบุญนิธิ ขุมทรัพย์คือบุญซึ่งทุกคนปฏิบัติเท่าไหร่ก็ได้เท่านั้น และชื่อว่า
ผู้ ศึ ก ษาธรรมก็ พึ ง ต้ อ งเข้ า ใจเอาว่ า บารมี นั้ น เองมาจากมรรคมี อ งค์ แ ปด เป็น ผู้ที่ ป ฏิบัติ พ ระพุท ธศาสนา เข้า ถึ งพระพุ ท ธศาสนาด้ ว ย เพราะฉะนั้ น
มรรคมี อ งค์ แ ปดนั้ น ก็ ม าจากบารมี ต่ า งๆที่ ท รงบํ า เพ็ ญ มานั่ น เอง เมื่อว่าตามหลักธรรมแล้ว จึงเป็นของกลางทั่วไปซึ่งทุกคนควรปฏิบัติตามควร
มาประกอบกันเข้าเป็นมรรคมีองค์แปด ฉะนั้น เมื่อมาเป็นมรรคมีองค์แปดแล้ว แก่ฐานะของตน
ทรงปฏิ บั ติ ใ นมรรคมี อ งค์ แ ปดนี้ บ ริ บู ร ณ์ จึ ง ได้ ต รั ส รู้ เ ป็ น พระพุ ท ธเจ้ า
นี่ เ ป็ น อั น ว่ า มรรคมี อ งค์ แ ปดนั้ น เองเป็ น ข้ อ สรุ ป ของบารมี ทั้ ง สิ บ นั้ น
มาเป็นมรรคมีองค์แปดเพราะฉะนั้น เมื่อจัดตามภูมิธรรมที่ปฏิบัติพึงเห็นได้
ดั่งนี้ ข้อสรุปนี้ก็เป็นไปตามการวิจารณ์ธรรม
คุ ณ ธรรมหลั ก สํ า หรั บ ชาวบ้ า น ทาน ศี ล ภาวนา
(อริยมรรคมีองค์แปด ฉบับชาวบ้าน)
อริ ย มรรคมี อ งค์ แ ปด เมื่ อ กล่ า วโดยย่ อ แล้ ว ก็ คื อ การดํ า เนิ น ชี วิ ต
อยู่ในองค์สาม คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นวิถีชีวิตของนักบวชโดยตรง
ส่ ว นหลั ก การดํ า เนิ น ชี วิ ต ตามหลั ก อริ ย มรรคมี อ งค์ แ ปดของฆราวาส
หรือชาวบ้านทั่วไปนั้น ก็คือ ทาน ศีล ภาวนา
จะเห็นว่า นักบวช ไม่เน้นหลักของ ทาน เพราะ พระพุทธเจ้า
ตรั ส ว่ า .. ศี ล เป็ น มหาทาน อยู่ แ ล้ ว อี ก ทั้ ง ไม่ ใ ช่ ห น้ า ที่ ข องนั ก บวช
๓๐ วิธีฉลาดทําบุญ และบทความที่เกี่ยวข้องกับ ทาน ศีล ภาวนา ที่ ต้ อ งแสวงหาเขตบุ ญ โดยการให้ ท าน เหตุ ผ ลจากการให้ ท าน
คือ ความร่ํารวย หากนักบวชมุ่งเน้นเรื่องทาน ก็จะทําให้มั่งมีลาภสักการะ
จากหนังสือ เทคนิคเพิ่มสุข ซึ่ ง พระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส ว่ า .. ลาภสั ก การะเป็ น อั น ตรายต่ อ ชี วิ ต นั ก บวช
ไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี่ยวให้มาก แต่ให้สันโดษ (พอใจ) ในปัจจัยสี่ตามมีตามได้
แต่ สํ า หรั บ ชาวบ้ า นที่ ยั ง ทํ า มาหากิ น ก็ ย่ อ มแสดงหาความมั่ ง คั่ ง ร่ํ า รวย
ภิกษุณีรุ้งเดือน นันทญาณี อารามภิกษุณี นิโรธาราม พระพุทธเจ้าจึงสอนเรื่องการให้ทานแก่ชาวบ้าน ซึ่งเป็นคุณธรรมพื้นฐาน
(เนื่องจากท่านผู้แต่งมุ่งเน้นสรุปความเพื่อให้ จําง่าย และเข้าใจเบื้องต้น ที่ทําให้ชาวบ้านมีความสุขจากโภคสมบัติ และพ้นทุกข์จากความยากจน
หากอ่านแล้วยังไม่เข้าใจ สามารถหาฟังธรรมบรรยาย อธิบายความเพิ่มเติมได้จาก อย่ า งไรก็ ต าม หากชาวบ้ า นอาศั ย เพี ย งผลจากการให้ ท าน
เวปไซต์ www. Nirotharam.com จะช่วยให้มองเห็นตัวอย่าง และเข้าใจยิ่งขึ้น) คือ ความร่ํารวย แต่ไม่รักษาศีล๕ และไม่หมั่นศึกษาหลักสัจธรรมความจริง
ของชีวิ ตตามคําสอนของพระพุ ทธเจ้าแล้ว นํามาฝึกฝนพัฒนาจิตใจให้เ กิด
ความสงบและเกิดสติปัญญาในการดําเนินชีวิต ก็จะกลายเป็นเพียงเศรษฐี
มีเ งิ น แต่ ไม่ มี ค วามสุ ข มี แต่ ปั ญ หาชี วิ ต รุม เร้า และก็ ห าทางออกแบบผิ ด ๆ
เกิดทุกข์ซ้ําซากวนเวียน ในที่สุดก็ยุติปัญหาด้วยการฆ่าตัวตาย เป็นต้น
ดั ง นั้ น หากชาวบ้ า นต้ อ งการดํ า เนิ น ชี วิ ต อย่ า งเป็ น ปกติ สุ ข
ก็ควรศึกษาและดําเนินชีวิตตามหลัก ทาน ศีล ภาวนา
ทาน เป็นภาษาบาลี แปลว่า... การให้ ศีล เป็นภาษาบาลี แปลว่า... ปกติ เย็น ดีเลิศ
การให้ทานทําได้ ๓ วิธี คือ... ศีล แปลว่า ปกติ คนผิดศีล คือ คนผิดปกติ
๑. วัตถุทาน คือ การให้วัตถุเป็นทาน ซึ่งให้ได้ ๔ วิธี คือ ศีล แปลว่า เย็นใจ คนผิดศีล คือ คนร้อนใจ
๑.๑ ให้ สิ่งของ ก็ได้ ศีล แปลว่า ดีเลิศ คนผิดศีล คือ คนไม่ดี
๑.๒ ให้ เงิน ก็ได้ พระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส ว่ า ... ศี ล เป็ น การให้ ท านอั น ยิ่ ง ใหญ่ เรี ย กว่ า
๑.๓ ให้ แรงกาย ก็ได้ มหาทาน เพราะ
๑.๔ ให้ ความรู้ (ทางโลก) ก็ได้ ๑. การไม่ฆ่า เป็นการให้ชีวิตคืน และชีวิตเป็นสิ่งที่มีค่ามากที่สุด
ผลของการให้ ท าน คื อ ความร่ํ า รวย ดั ง นั้ น ไม่ อ ยากทุ ก ข์ เ พราะ สําหรับชีวิตนั้นๆ
ความยากจนขัดสน ก็ต้อง... ให้ เพราะ ให้แล้วได้แน่นอน! (แต่อาจจะช้า ๒. การไม่ลักขโมย เป็นการให้ความปลอดภัยทั้งชีวิตและทรัพย์สินคืน
หรือเร็ว) ๓. การไม่ประพฤติผิดในกาม เป็นการให้ความอบอุ่น ให้ความมั่นคง
๒. อภัยทาน คือ การให้อภัยเป็นทาน ให้ที่พึ่งแก่ชีวิตครอบครัวคืน
๓. ธรรมทาน คือ การให้ธรรมะเป็นทาน ซึ่งให้ได้ ๓ วิธี คือ ๔. การไม่ พู ด โกหก เป็ น การให้ค วามซื่ อสั ต ย์ ให้ ค วามไว้ ว างใจ
๓.๑ พูดให้ฟงั ให้ความสบายใจคืน
๓.๒ ทําให้ดู ๕. การไม่ ดื่ ม สุ ร า เสพสิ่ ง เสพติ ด เป็ น การให้ ส ติ สั ม ปชั ญ ญะ
๓.๓ มีความสุขให้เห็น
ให้ความปลอดภัย ให้ทรัพย์สิน ให้สุขภาพที่ดี และให้ความสบายใจคืนแก่ชีวิต
“ธรรมทาน ชนะ ทานทั้งปวง รสแห่งธรรม ชนะ รสทั้งปวง
ความยินดีในธรรม ชนะ ความยินดีทั้งปวง ตนเองและสังคมรอบข้าง
ความสิ้นตัณหาสาม(คือ สิ้นความหลงติดใจเพลิดเพลิน ชอบมาก(นันทิราคะ) ดังนั้น การรักษาศีลสิกขาบท ๕ ประการ จึงเป็น มหาทาน คือการ
สิ้นในวัตถุกาม๕ สิ้นในความมีความเป็นและความไม่มีไม่เป็น) ชนะ ทุกข์..ทั้งปวง” ให้ทานอันยิ่งใหญ่
ผิดศีล๕ มีผลอย่างไร (วิบากกรรม) ลักขโมย ๑.สิ่งของนั้นเป็นของผู้อื่นผูกพันหวงแหน
มีเจตนา… อย่างเบา จะ... อย่างหนัก ๒.รู้ อ ยู่ ว่ า สิ่ ง ของนั้ น เป็ น ของผู้ อื่ น
คือทํามากๆ จะ... ผูกพันหวงแหน
๑. ฆ่าสัตว์ อายุสั้น โรคภัย ๓.มีจิตคิดจะลักโกง
เบียดเบียน ๔.ทําความพยายามลักโกง
ตกนรก ๕.นําสิ่งของนัน้ มาด้วยความพยายามนั้น
๒. ลักขโมย ทรัพย์สินวิบตั ิฉบิ หาย
อบาย ประพฤติผดิ ในกาม ๑.สั ต ว์ บุ ค คล สิ่ ง ของ นั้ น เป็ น ของ
๓. ประพฤติผิดในกาม มีศัตรู มีภยั มีเวร
ทุคติ ต้องห้าม(มีเจ้าของหวงแหน)
๔. พูดโกหก ถูกใส่ร้าย
วินิบาต ๒.มี จิ ต คิ ด จะเสพทางทวารใดทวาร
๕. ดื่มสุรา เสพสิ่งเสพ ฟุ้งซ่าน เป็นบ้า
หนึ่งในสามทวาร (ปาก ทวารหนัก
ติด ทวารเบา)
๓.มีจิตยินดีในการเสพทวารต่อทวาร
ให้ถึงกัน
ข้อติดสินศีล๕ จะรู้ได้อย่างไรว่าผิดศีล พูดโกหก ๑.สิ่งที่จะพูดถึงนั้น..ไม่จริง
ก็ต้องเช็คว่าทําแต่ละข้อครบตามนี้ไหม ถ้าครบก็แสดงว่า..ศีลขาด แต่ถ้าไม่ ๒.มีจิตคิดจะพูดให้คลาดเคลื่อนจาก
ครบ ก็ถือว่า..ศีลด่าง ศีลพร้อย ศีลทะลุ ต้องพยายามตั้งเจตนารักษาศีล ความจริง
ข้อนั้นใหม่ให้ดีที่สุด ๓.พยายามพูดไม่จริงออกไป
การฆ่า ๑.สัตว์นั้นมีชวี ิต ๔.ผู้อื่นรู้แจ้งเนื้อความไม่จริงนั้น
๒.รู้อยู่ว่าสัตว์นั้นมีชีวิต ดื่มสุรา เสพสิ่งเสพติด ๑.สุราหรือสิง่ เสพติดมึนเมานั้นมีอยู่
๓.มีจิตคิดจะฆ่า ๒.มีจิตคิดจะกินสูบดื่มเสพซึ่งสิ่งนั้น
๔.ทําความพยายามฆ่า ๓.พยายามกินสูบดื่มเสพซึ่งสิ่งนั้น
๕.สัตว์นั้นตายด้วยความพยายามนั้น ๔.กิน สูบ ดื่ม เสพ สิ่งนั้นเข้าไปในร่างกาย
ภาวนาสี่
ภาวนา ไม่ใช่การอ้อนวอนขอ ๑. กายภาวนา คือ การทําให้เกิด ให้มี คุณธรรมต่างๆที่เกี่ยวกับ
กายเกิดขึ้นที่ใจ เป็นคุณธรรมตั้งแต่พื้นฐานจนถึงขั้นสูง เช่น ความมีระเบียบ
แต่...ภาวนา แปลว่า การทําให้เกิด วินัยในการกินอยู่หลับนอน ความมีมารยาททางกาย
๒. ศีลภาวนา คือ การทําให้เกิด ให้มี คุณธรรม คือ การสํารวมระวัง
กายและวาจาให้เป็นปกติ งดเว้นจากการเบียดเบียน ตั้งการการรักษาศีล ๕
ให้มีความฉลาด(กุศล)ที่ใจ พัฒนาขึ้นไปเป็น ศีล ๘ ศีล ๑๐ และศีลของนักบวช นอกจากนี้ยังมีเรื่อง
ความบริสุทธิ์แห่งศีล ๔ อย่าง คือ
คํา ว่า “ภาวนา” อธิบายได้ ห ลายประการ หลายหมวด หลายหมู่ ม ากๆ ๑.ปาฏิโมกขสังวรศีล คือ ความสํารวมในพระปาฏิโมกข์ เว้นจาก
จึงได้นําการอธิบาย ถึงคําว่า “ภาวนา” บางส่วนเท่านั้นมาแสดง ดังนี้ ข้อห้ามต่างๆที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้
๒.อิน ทรี ย สัง วรศีล คือ ความสํา รวม ตา หู จมูก ลิ้ น กาย ใจ
ไม่ให้เกิดอภิชฌา(โลภเพ่งเล็ง) และโทมนัส(เสียใจ)
ภาวนาสอง ๓.อาชีว ปาริสุทธิศีล คือ ความบริสุทธิ์ แห่ งอาชีว ะ เลี้ย งชีวิต
๑. สมถภาวนา คื อ การทํ า ให้ เ กิ ด ให้ มี ความสงบจากนิ ว รณ์ ๕ โดยทางที่ชอบ เว้นการแสวงหาในทางที่ผิด มีอาชีพหลอกลวงเขาเลี้ยงชีพ ฯลฯ
จนจิตตั้งมั่ นมีอ ารมณ์หนึ่ งเดี ย ว พระพุท ธเจ้า สอนเรื่อ งการทํ า จิต ให้สงบ ๔.ปัจจัยสันนิสิตศีล คือ การพิจารณาเหตุผลในการใช้สอยปัจจัยสี่
ตามวิถีที่พระพุทธองค์ได้ตรัสสอนไว้
ไว้หลายวิธีอันสามารถศึกษาได้จากเรื่องกรรมฐานสี่สิบ ๓. จิตตภาวนา คือ การทําให้เกิด ให้มี ความบริสุทธิ์จากนิวรณ์๕
๒. วิปัสสนาภาวนา คือ การทําให้เกิด ให้มี ความเห็นแจ้งใน ๘ เรื่อง มีความตั้งมั่นไม่หวั่นไหว จิตมีความอ่อนโยน ควรแก่การงาน
คือเห็นแจ้งใน ๒.๑) ทุ ก ข์ ๒.๒) เหตุ เ กิ ด ทุ ก ข์ ๒.๓) ความดั บ ทุ ก ข์ ๔. ปัญญาภาวนา คือ การทําให้เกิด ให้มี ความรู้ทั่วไปทั้งหมดใน ๘ เรื่อง
๒.๔) ทางดํ า เนิ น ชี วิ ต ให้ ถึ ง ความดั บ ทุ ก ข์ ๒.๕) อดี ต ๒.๖) อนาคต ต้องไม่ลืมว่า ปัญญา คือ อโมโห อโมหะ ซึ่งก็คือ ความรู้หรือญาณใน ๘ เรื่อง
และถ้ า จะรู้ ทั่ ว ถึ ง ทั้ ง หมดในเรื่ อ ง ๘ เรื่ อ งนี้ ไ ด้ ก็ ต้ อ งภาวนาอย่ า งยิ่ ง
๒.๗) ทั้งอดีตและอนาคต และ ๒.๘) ปฏิจจสมุปบาท ในอริยมรรคมีองค์แปดให้ครบถ้วนสมบูรณ์
(ถ้าเห็นแจ้งอริยสัจสี่ ข้อใดข้อหนึ่งก็จะเห็นแจ้งอริยสัจสี่ทั้งหมด และมีผลให้ ภาวนาในอริยมรรคมีองค์ ๘ (เจริญอริยมรรคมีองค์ ๘ อย่างไร)
เห็นแจ้งอดีต อนาคต ทั้งอดีตและอนาคต และเห็นแจ้งในปฏิจจสมุปบาท) ตรงส่วนนี้มีคําอธิบายหลายประโยคหลายตอน จึงขอให้ท่านได้หาอ่านได้ใน
หนังสือ “เทคนิคเพิ่มสุข” อันเป็นหนังสือที่ผมได้คัดเอาบทความบางบท
เฉพาะที่เกี่ยวกับการทําบุญสร้างบารมีมากล่าวเอาไว้ในนี้เท่านั้น...ผู้เรียบเรียง
๓๐วิธีฉลาดทําบุญ ๒.๖ เจตนางดเว้นจากการ พูดหยาบคาย
๒.๗ เจตนางดเว้นจากการ พูดเพ้อเจ้อ
บุญ คือ สิ่งชําระบาป ทําให้จิต สะอาด สว่าง สงบ สุข ๒.๘ เจตนางดเว้ น จากการ คิ ด โลภเพ่ ง เล็ ง อยากได้ ข องผู้ อื่ น
เย็น และมีพลัง (โลภน่าเกลียด)
๒.๙ เจตนางดเว้นจากการ คิดพยาบาท ประทุษร้าย
บาป คือ สิ่งที่ทําให้จิตใจเรา เศร้าหมอง ขุ่นมัว เร่า ๒.๑๐ เจตนางดเว้ น จากการ คิ ด เห็ น ผิ ด จากทํ า นองคลองธรรม
ร้อน ทําลายพลังสติปัญญา คือ มีโลกียปัญญา ๑๐
เมื่อทราบความหมายของ บุญ ที่ชัดเจนแล้วว่า ... บุญคือสิ่งชําระบาป
บุญ ก็ คื อ สภาพจิ ต ที่ เ กิด ร่ ว มกั บ ความคิ ด ดีง ามหรื อ ความคิ ด ที่ฉ ลาด(กุ ศ ล) *** โลกี ย ปั ญ ญา คื อ ปั ญ ญาระดั บ โลกๆ ที่ ยั ง ไม่ พ้ น โลก ซึ่ ง ถื อ เป็ น สั ม มาทิ ฏ ฐิ
(ความเห็ น ถูก )อย่า งหนึ่ง แต่ เป็ นสั ม มาทิ ฏ ฐิที่ ยัง เป็ นสาสวะ คื อ ยั ง ต้อ งเวี ย นว่ า ย
นั่ น เอง ดั ง นั้ น การทํ า บุ ญ จึ ง ไม่ ใ ช่ เ พี ย งแค่ ก ารใส่ บ าตร ถวายสั ง ฆทาน
ตายเกิ ด ในสั ง สารวั ฏ ฏ์ เป็ น ส่ ว นแห่ ง บุ ญ ให้ ผ ลแก่ ขั น ธ์ คื อ ต้ อ งกลั บ มาเกิ ด
ทอดกฐิ น ผ้ า ป่ า ใส่ ซ องขาว ฯลฯ แต่ มี วิ ธี ก ารสร้ า งบุ ญ ถึ ง ๓๐ วิ ธี เพื่อรับผลบุญ คือมีความเห็นว่า ...
ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนไว้ ซึ่งส่วนใหญ่ไม่จําเป็นต้องเสียเงินเลย ดังนี้ ๑.การให้ทานมีผล
๑.บารมี ๑๐ คือ การทําดีอย่างยิ่งยวด ได้แก่ ทาน ศีล เนกขัมมะ ๒.การนอบน้อมต่อสิ่งที่ฉลาดมีผล
ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา ๓.การต้อนรับผู้อื่นมีผล
๒.กุ ศ ลกรรมบถ ๑๐ คือ การดํ า เนิ นชีวิ ตที่ป ระกอบด้ ว ยเจตนา ๔.การทํากรรมดี กรรมชั่วมีผล
อันฉลาดในการกระทําทาง กาย วาจา ใจ (กุศล = ความฉลาดความดีที่ให้ผล ๕.โลกนี้มีผู้จะมาเกิดอีก
เป็นความสุขความเจริญรุ่งเรือง ส่วนอกุศล = ความไม่ฉลาด อาจจะเรียกชื่อ ๖.โลกหน้าจะมีผู้ตามไปเกิด
๗.การทําดี ทําชั่ว ต่อมารดามีผล
อย่างอื่นว่า บาป กรรมชั่ว กรรมดํา ความเลว ฯ) ได้แก่
๘.การทําดี ทําชั่ว ต่อบิดามีผล
๒.๑ เจตนางดเว้นจากการ ฆ่าสัตว์ ๙.มีอุปปาติกกําเนิด (คือ การผุดเกิดในรูปร่างทันทีในนรก-สวรรค์)
๒.๒ เจตนางดเว้นจากการ ลัก-โกง ๑๐.มี ส มณพราหมณ์ ผู้ ป ฏิ บั ติ ดี ปฏิ บั ติ ช อบด้ ว ยตนจนสามารถรู้ แ จ้ ง โลกนี้
๒.๓ เจตนางดเว้นจากการ แย่งของรักของผู้อื่น โลกหน้า และสามารถแนะนําผู้อื่นให้ปฏิบัติจนได้ผล
๒.๔ เจตนางดเว้นจากการ พูดโกหก
๒.๕ เจตนางดเว้นจากการ พูดส่อเสียด ๓.บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ กิริยาที่มุ่งชําระจิตให้ สะอาด สว่าง สงบ
บุญล้างบาปได้หรือไม่ ... ทําบุญอะไร ได้ผลบุญมากกว่ากัน
(จากพระไตรปิฎก ทักขิณาวิภังสูตร (๒๓/๗๐๖/๓๙๑) สัญญาสูตร (๒๗/๒๗๒/๓๕๘)
บุญล้างบาปได้แน่นอนแต่อาจจะ เวลามสูตร (๓๗/๒๒๔/๗๗๕))
ช้าหรือเร็ว น้อยหรือมาก ยากหรือง่าย ลําดับบุญจาก มาก ไปหา น้อย
แต่ต้อง! ล้างให้ตรงประเด็น ๑.ได้อนิจจสัญญา คือ จําได้ว่าแต่ละขันธ์ไม่เที่ยง ชั่วลัดนิ้วเดียว (เพียงแป๊ปเดียว)
๑. ให้ทาน ล้างบาปคือ ความตระหนี่ ได้บุญสูงสุด
อนิจจสัญญา คือ รู้และเห็นตามเป็นจริงว่า ..
๒.รักษาศีล ล้างบาปคือ ความผิดศีล ละเมิดศีล รูป เป็นอย่างนี้ ความเกิด(เหตุเกิด) แห่ง รูป เป็นอย่างนี้
๓. เจริญภาวนา ล้างบาปคือ ความมัวเมาประมาทในชีวิต (ภาวนา ความดับแห่ง รูป เป็นอย่างนี้
แปลว่า การทําให้เกิดให้มี กุศลที่ใจ) ความรู้สึก เป็นอย่างนี้ ความเกิด(เหตุเกิด) แห่ง ความรู้สึก เป็นอย่างนี้
๔. อ่อนน้อมถ่อมตน ล้างบาปคือ ความเย่อหยิ่งจองหอง ความดับแห่ง ความรู้สึก เป็นอย่างนี้
ความจํา เป็นอย่างนี้ ความเกิด(เหตุเกิด) แห่ง ความจํา เป็นอย่างนี้
๕. ขยันช่วยงานศาสนา ล้างบาปคือ ความขี้เกียดเห็นแก่ตัว
ความดับแห่ง ความจํา เป็นอย่างนี้
๖. อุทิศบุญกุศล ล้างบาปคือ ความใจแคบ ไม่คิดให้ผู้อื่นมีความสุข ความคิด เป็นอย่างนี้ ความเกิด(เหตุเกิด) แห่ง ความคิด เป็นอย่างนี้
(อุทิศ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้มีส่วนร่วมในการอนุโมทนาในบุญกุศลที่ ความดับแห่ง ความคิด เป็นอย่างนี้
ตนสร้าง) วิญญาณ เป็นอย่างนี้ ความเกิด(เหตุเกิด) แห่ง วิญญาณ เป็นอย่างนี้
๗. อนุโมทนาบุญ ล้างบาปคือ ความริษยา (อนุโมทนา คือ พลอยชื่นชม ความดับแห่ง วิญญาณ เป็นอย่างนี้
*** ชวนฝึก! ถ้าต้องการไปให้ถึงเป้าหมายที่สูงกว่า บุญ ยังมีวิธีฝึกที่น่าสนใจ
ยินดีเมื่อรู้ว่าผู้อื่นได้ดีมีความสุข) ดังลําดับต่อไปนี้
๘. ฟังธรรม ล้างบาปคือ ความรู้ไม่จริง ๏ถ้ า มี ส ติ ค อยระลึ ก รู้ ใ นปั จ จุ บั น ถึ ง ๑.ขั น ธ์ ห้ า แต่ ล ะขั น ธ์ ๒.เหตุ เ กิ ด
๙. แสดงธรรม ล้างบาปคือ ความตระหนีธ่ รรม แห่ ง ขั น ธ์ ๓.ความดั บ ของแต่ ล ะขั น ธ์ ก็ เ รี ย กว่ า กํ า ลั ง เจริ ญ สติ ใ นธรรม
๑๐.เห็นถูกต้องตามจริง ล้างบาปคือ ความเห็นผิด หมวดขันธบรรพ (มหาสติปัฏฐานสูตร ม.มู ๑๒/๑๔๒)
๏ถ้ า ฝึ ก ให้ เ กิ ด ความจํ า ว่ า ขั น ธ์ ห้ า แต่ ล ะขั น ธ์ ไ ม่ เ ที่ ย งบ่ อ ยๆ ฝึ ก มากๆ
“อ่อนน้อมถ่อมตน ทําให้เป็นคนก้าวหน้า เย่อหยิ่งจองหอง ทําให้เป็นคนล้าหลัง”
(ภาวิ ต า พหุ ลี ก ตา) ก็ จ ะครอบงํ า กามราคะ ภวราคะ รู ป ราคะ ละอวิ ช ชา
“คุณก็สามารถแสดงธรรมได้ โดย พูดให้ฟงั ทําให้ดู มีความสุขให้เห็น”
ถอนความถือตัว ถือตนได้ (สัญญาสูตร สํ.ข ๑๗/๒๗๒)
๏ถ้าความจําว่า..ขันธ์๕ แต่ละขันธ์ไม่เที่ยง เกิดจนตั้งมั่นที่ใจเป็นสมาธิ ๕.วิ ห ารทาน สร้ า งวิ ห ารถวายสงฆ์ ( คื อ หมู่ ค ณะลู ก ศิ ษ ย์ ผู้ ป ฏิ บั ติ ดี
จนมี ค วามรู้ ค วามเห็ น ตามจริ ง คื อ ๑.รู้ ว่ า ขั น ธ์ ๕ แต่ ล ะขั น ธ์ เ ป็ น ทุ ก ข์ -ทนได้ ย าก ของพระพุ ท ธเจ้ า )ที่ ม าจากทิ ศ ทั้ ง สี่ ได้ ผ ลบุ ญ มากกว่ า ...สั ง ฆทาน
ก็ คื อ รู้ ทุ ก ข์ ๒.รู้ ค วามเกิ ด ของแต่ ล ะขั น ธ์ ว่ า เกิ ด จากเหตุ ใ ด ก็ คื อ รู้ เ หตุ เ กิ ด ทุ ก ข์
(วิ ห ารแปลว่ า ที่ อ ยู่ และเพราะวิ ห ารเป็ น สถานที่ สํ า หรั บ ศึ ก ษาธรรม
๓.รู้ความดับของแต่ละขันธ์ ก็คือรู้+เห็นความดับแห่งทุกข์
ปฏิ บั ติ ธ รรม บรรลุ ธ รรม และเผยแพร่ ธ รรม อี ก ทั้ ง เป็ น ถาวรวั ต ถุ
การฝึ ก สมาธิ แ บบนี้ เ ป็ น ไปเพื่ อ ความสิ้ น อาสวะ คื อ เลิ ก จม เลิ ก ไหล
ในมหาสมุทรแห่งการเวียนว่ายตายเกิด (สมาธิสูตร.อัง.จตุก. ๒๑/๔๑) ซึ่งในการก่อสร้างต้องใช้ทรัพย์สินสิ่งของเป็นจํานวนมาก)
“อนัตตสัญญา” ย่อมปรากฎแก่ผู้ที่ได้ “อนิจจสัญญา”
“ผู้ที่ได้ อนัตตสัญญา ย่อมบรรลุนิพพาน” ๖.สังฆทาน คือ ถวายทานให้ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นพระมุขบริโภค
อนัตตสัญญา แปลว่า จําได้ว่าแต่ละขันธ์ไม่ใช่อัตตา ไม่ใช่ตน คือไม่ใช่สัตว์ ได้ผ ลบุ ญ มากกว่ า ...ถวายทานให้ พ ระอรหัน ตสั ม มาสั มพุท ธเจ้า บริ โภค ๑
ไม่ ใ ช่ ชี วิต จํ า ได้ว่ าแต่ ล ะขั นธฺ ไ ม่ เ ที่ย ง (เพราะเห็น ความเกิ ด ทุ ก ข์ – ความดั บ ทุก ข์ ) พระองค์
ได้ผลบุญมากกว่าผลบุญในข้อ ๒ สังฆทานมี ๗ ประเภท ได้แก่
ถวายให้ภิกษุสงฆ์ ภิกษุณสี งฆ์ พร้อมด้วยพระพุทธเจ้า
๒.การเจริญเมตตาจิต โดยที่สุดแม้เพียงเวลาสูดดมของหอม ถวายให้ภิกษุสงฆ์ และภิกษุณีสงฆ์
ได้ผลบุญมากกว่าผลบุญในข้อ ๓ ถวายให้ภิกษุสงฆ์
ถวายให้ภิกษุณีสงฆ์
๓.การรักษาศีล ๕ เป็นนิจ คือ มีจิตเลื่อมใสในสมาทานสิกขาบท ถวายให้ภิกษุสงฆ์ และภิกษุณีสงฆ์ จํานวนหนึ่ง
ได้ผลบุญมากกว่าผลบุญในข้อ ๔ ถวายให้เฉพาะภิกษุสงฆ์จํานวนหนึ่ง
ถวายให้เฉพาะภิกษุณีสงฆ์จํานวนหนึ่ง
๔.มีจิตเลื่อมใสถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ หมู่คณะพระสาวก
เป็นสรณะ เป็นที่ระลึกนึกถึง เป็นที่พึ่ง ๗.ถวายทานแด่พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บริโภค ๑ พระองค์ ได้ผลบุญ
ได้ผลบุญมากกว่า...วิหารทาน มากกว่า ถวายทานให้ พระปัจเจกพุทธเจ้า บริโภค
(ถวายทานแด่พระปัจเจกพุทธเจ้า ๑๐๐ พระองค์ ได้บุญน้อยกว่า พระ
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑ พระองค์)
๘.ถวายทานแด่ พ ระปั จ เจกพุ ท ธเจ้ า (ผู้ ที่ ต รั ส รู้ เ ป็ น พระพุ ท ธเจ้ า แล้ ว ๑๓.ให้ทานแด่ผู้ปฏิบัติเพือ่ ทําโสดาปัตติผลให้แจ้ง ๑ คน ได้ผลบุญนับไม่ถ้วน
แต่ไม่สอนใคร) บริโภค ๑ พระองค์
ได้ผลบุญมากกว่า ถวายทานให้ พระอรหันต์ บริโภค ๑๔.ให้ทานแด่บุคคล(ภายนอกพระพุทธศาสนา)ผู้ไม่เพลิดเพลินชอบมาในกาม
(ถวายทานแด่พระอรหันต์ ๑๐๐ รูป ได้บุญ น้อยกว่ า พระปัจเจกพุทธเจ้ า ได้ผลบุญเป็นแสนโกฏิ
๑ พระองค์ หรือ ถวายทานแด่พระอรหันต์ ๑๐,๐๐๐ รูป ได้บุญน้อยกว่า
พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑ พระองค์) ๑๕.ให้ทานแด่ปุถุชนผู้มีศลี ได้ผลบุญเป็นแสน

๙.ถวายทานแด่พระอรหันต์ บริโภค ๑ รูป ๑๖.ให้ทานแด่ปุถุชนผู้ทุศลี ได้ผลบุญเป็นพัน


ได้ผลบุญมากกว่า ถวายทานแด่ พระอนาคามี บริโภค
(ถวายทานแด่พระอนาคามี ๑๐๐ รูป ได้บุญน้อยกว่าพระอรหันต์เพียง ๑ รูป) ๑๗.ให้ทานแด่สัตว์เดรัจฉาน ได้ผลบุญเป็นร้อย

๑๐.ถวายทานแด่พระอนาคามี บริโภค ๑ รูป นี้คือลําดับของผลบุญ จากการให้ทาน ให้ทานแก่ใครแล้วได้ผลบุญมากกว่ากัน


ได้ผลบุญมากกว่า ถวายทานแด่ พระสกิทาคามี บริโภค
(ถวายทานแด่พระสกิทาคามี ๑๐๐ รูป ได้บุญน้อยกว่าพระอนาคามีเพียง ๑ รูป)

๑๑.ถวายทานแด่พระสกิทาคามี บริโภค ๑ รูป


ได้ผลบุญมากกว่า ถวายทานแด่ พระโสดาบัน บริโภค
(ถวายทานแด่พระโสดาบัน ๑๐๐ รูป ได้บุญน้อยกว่าถวายพระสกิทาคามี ๑ รูป)

๑๒.ถวายทานแด่พระโสดาบัน บริโภค
ได้ผลบุญมากกว่า ถวายทานแด่ ผู้ปฏิบัติเพื่อทําโสดาปัตติผลให้แจ้ง
วิธีทําบุญที่ดีที่สุด ทําบุญอุทิศกุศลให้แก่คนตาย เขาจะได้รับหรือไม่
ผู้ตายได้รับอานิสงส์(ประโยชน์)มากที่สุด (ทําบุญในที่นี้ หมายถึง การถวายทานคือปัจจัยสี่เท่านั้น)
ไม่ว่าผู้ตายจะไปเกิดในภพภูมิใดก็ตามอะไร คือ
การปฏิบัติใน ศีล สมาธิ ปัญญา แล้วอุทิศบุญไปให้ผตู้ าย มีทั้ง ได้รับ และ ไม่ได้รับ ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขดังต่อไปนี้
เมื่อเขาได้อนุโมทนาบุญนั้น เขาย่อมได้รับผล  กรณีที่...ผู้ตายไม่ได้รับ
ฝ่ายอกุศล คือ บุคคลผู้ประพฤติตนอยู่ใน “อกุศลกรรมบถ ๑๐” ในสมัย
และประโยชน์มาก ที่เขายังมีชีวิตอยู่ เมื่อตายไปด้วยผลของอกุศลกรรมนี้ เขาย่อมไปเกิดในทุคติ
ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากพระไตรปิฎก อากังเขยยสูตร ม.ม.๑๒/๗๗
ดั ง ข้ อ ความบางตอนนี้ “ดู ก รภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ถ้ า ภิ ก ษุ จ ะพึ ง หวั ง ว่ า (คือที่เกิดที่ไม่ดี) ได้แก่
ญาติสายโลหิตของเหล่าเราใดที่ล่วงลับไปแล้ว มีจิตเลื่อมใสระลึกถึง(เธอ)อยู่ ๑.นรก ย่ อ มเสวยวิ บ ากด้ ว ยการบริ โ ภคอาหารของสั ต ว์ น รก
ความระลึ ก ถึ ง ด้ ว ยจิ ต เลื่ อ มใสของพวกเขาเหล่ า นั้ น จะมี ผ ลมาก เพื่อเลี้ยงชีวิต หรือ
มี อ านิ ส งค์ ( ประโยชน์ ) มาก (ก็ ต่ อ เมื่ อ เธอ) ๑.รั ก ษาศี ล ให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ๒.สั ต ว์ เ ดรั จ ฉาน ย่ อ มเสวยวิ บ ากด้ ว ยการบริ โ ภคอาหาร
๒ . ปฏิ บั ติ เ จโตสมถะ ( ส ม า ธิ ) สิ่ ง ที่ ทํ า ใ ห้ จิ ต ส ง บ จ า ก กิ เ ล ส ภ า ย ใ น ของสัตว์เดรัจฉานเพื่อเลี้ยงชีวิต
๓.ไม่ละทิ้ง ห่างเหินจากการเพ่งฌาน ๔.ปฏิบัติวิปัสสนา ๕.เพิ่มพูนสุญญาคาร (ดังนั้น เขาจึงไม่สามารถรับ และ บริโภคปัจจัยสี่ ที่ผู้ทําบุญได้อุทิศบุญไปให้ได้)
(มีปัญญาเห็นอนัตตา)”
คําอธิษฐานก่อนใส่บาตร : อิทัง ทานะกัมมัง นิพพานะ ปัจะโย โหตุ
ขอให้ทานะกุศลนี้ จงเป็นปัจจัย ให้เ ข้ าถึ งพระนิพพาน คือ ความสิ้นโลภะ ฝ่ า ยกุ ศ ล คื อ บุ ค คลผู้ ป ระพฤติ ต นอยู่ ใ น “กุ ศ ลกรรมบถ ๑๐” ในสมั ย
สิ้นโทสะ และรู้แจ้งอริยสัจสี่ อันเป็นความสุขอย่างยิ่งโดยเร็วพลันเทอญ ที่เขายังมีชีวิตอยู่ เมื่อตายไปแล้วด้วยผลของกุศลกรรมนี้ เขาย่อมไปเกิด
คํ า กรวดน้ํ า อุ ทิ ศ กุ ศ ลให้ ค นตาย : ขอให้ ท านะกุ ศ ลนี้ จงสํ า เร็ จ ในสุคติ(คือเกิดที่ดี) ได้แก่
ประโยชน์ แ ก่ เ ปรต ญาติ ทั้ ง ปวง และขอให้ ญ าติ ทั้ ง หลายในภพภู มิ อื่ น ๆ ๑.มนุ ษ ย์ ย่ อ มเสวยวิ บ ากด้ ว ยการบริ โ ภคอาหารของมนุ ษ ย์
จงได้มาอนุโมทนาในศีล สมาธิ ปํญญา ที่ข้าพเจ้าได้บําเพ็ญมาดีแล้ว ตั้งแต่ เพื่อเลี้ยงชีวิต หรือ
อดีตจนถึงปัจจุบัน ขอให้ญาติทั้งหลายเหล่านั้น ได้ฟังธรรม ได้ปฏิบัติตรง
๒.เทวดา ย่อมเสวยวิบากด้วยการบริโภคอาหารของเทวดาเพื่อเลี้ยงชีวิต
ตามธรรม จนพ้นจากทุกข์ มีความสุข ความเจริญ ตราบสิ้นกาลนานเทอญ
 กรณีที่...ผู้ตายได้รับ ในภพภูมิเดรัจฉาน คือ ช้าง ม้า โค สุนัข ย่อมเสวยผลบุญ คือ ปัจจัยสี่จาก
คื อ บุ ค คลผู้ ป ระพฤติ ต นอยู่ ใ น“อกุ ศ ลกรรมบถ ๑๐” ในสมั ย การถวายทานแก่สมณพราหมณ์ในกําเนิดนั้น
ที่เขายังมีชีวิตอยู่ เมื่อตายไปด้วยผลของอกุศลกรรมนี้ เขาย่อมไปเกิดในทุคติ
คือ เปรต และย่อมเสวยวิบากด้วยการบริโภคอาหารของเปรตเพื่อเลี้ยงชีวิต ฝ่ายกุศล คือ ถ้าสมัยที่เขายังมีชีวิตอยู่ได้ประพฤติตนอยู่ใน “กุศลกรรมบถ
และนอกจากนี้ เขายังสามารถเลี้ยงชีพได้ด้วยการอนุโมทนาในส่วนบุญกุศล ๑๐” (ละเว้ น อกุ ศ ลกรรมบถ๑๐) และเคยทํ า บุ ญ ถวายปั จ จั ย สี่ ใ ห้ แ ก่
ที่ ญ าติ มิ ต รได้ ทํ า บุ ญ ด้ ว ยการถวายปั จ จั ย สี่ และอุ ทิ ศ บุ ญ กุ ศ ลให้ สมณพราหมณ์ บุคคลนั้นเมื่อตายไป ย่อมเสวยผลกรรมดีนั้นด้วยการไปเกิด
และเป็ น ไปไม่ ไ ด้ ที่ จ ะไม่ มี ญ าติ ที่ ต ายไปแล้ ว จะไม่ ไ ปเกิ ด ในภพเปรต ในภพภู มิ ข อง มนุ ษ ย์ เขาย่ อ มได้ “กามคุ ณ ” คื อ รู ป สวย เสี ย งไพเราะ
ในสังสารวัฏฏ์อันยืดยาวนานนี้ กลิ่ น หอม รสอร่ อ ย สั ม ผั ส กายที่ ถู ก ใจ อั น เป็ น ของมนุ ษ ย์ แต่ ถ้ า ไปเกิ ด
*เปรต ที่ว่านี้หมายถึง ปรทัตตุปชีวิกเปรต ซึ่งเป็นเปรตจําพวกเดียว เป็น เทวดา เขาย่อมได้ “กามคุณอันเป็นทิพย์” ในเทวโลก
เท่ า นั้ น ที่ ส ามารถรั บ ส่ ว นบุ ญ กุ ศ ลของญาติ มิ ต รที่ ไ ด้ อุ ทิ ศ บุ ญ ไปให้ ไ ด้ (ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมในพระไตรปิฎก ชาณุสโสณีสูตร อัง.ทสก-เอ. ฉบับมหามกุฏฯ
หลั ง จากได้ ก ล่ า วคํ า อนุ โ มทนาว่ า “สาธุ สาธุ ..” แล้ ว เปรตประเภทนี้ ๓๘/๑๖๖/๔๓๕)
มั ก อาศั ย อยู่ ใ กล้ บ ริ เ วณบ้ า นเพราะขณะใกล้ ต ายเกิ ด ความห่ ว งหาอาลั ย
ในทรัพย์สินเงินทอง ญาติมิตรสหาย ครั้นถึงแก่ความตายก็ไปเกิดเป็นเปรต
อยู่ ใ กล้ ๆ บ้ า นนั้ น และบางครั้ ง ด้ ว ยความทุ ก ข์ ท รมานจากความหิ ว โดย
หนังสื อ วิธีสร้ างบุญบารมี ฉบับควรอ่าน
เขาก็ อ าจมาปรากฏกายให้ ญ าติ มิ ต รได้ เ ห็ น เพื่ อ ขอความช่ ว ยเหลื อ
พิมพ์ แจกเป็ นธรรมทาน
ดั ง นั้ น หากใครเคยเห็ น เปรต หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า ผี ๆ นี้ ก็ ไ ม่ ต้ อ งตกใจ
เพราะเขาได้รับความเดือดร้อน ต้องการให้เราช่วยเหลือ ก็ให้เราทําบุญด้วย เรียบเรียงโดย กองทุนโหราศาสตร์ จนี (中华命理基金会)
ปัจจัยสี่แล้วอุทิศบุญไปให้เปรตนั้น ให้เขาได้มาอนุโมทนาส่วนบุญ E-Mail : chineseastrologer@hotmail.com
FACEBOOK : http://www.facebook.com/chinesehoro
 กรณีที่...ผู้ให้ทานได้รับเอง WEBSITE : http://www.chinese-horo.com
ฝ่ า ยอกุ ศ ล คื อ ถ้ า สมั ย ที่ เ ขายั ง มี ชี วิ ต อยู่ ไ ด้ ป ระพฤติ ต นอยู่ ใ น
ท่านสามารถร่ วมทําบุญพิมพ์หนังสื อ โดยติดต่อได้ตามเวปไซต์ขา้ งต้น
“อกุ ศ ลกรรมบถ ๑๐” แต่ เ คยทํ า บุ ญ ด้ ว ยการถวายปั จ จั ย สี่ ใ ห้ แ ก่
ซินแสลัว๋ 09-1662-6246
สมณพราหมณ์ บุคคลนั้นเมื่อตายไป ย่อมเสวยผลกรรมชั่วนั้น ด้วยการไปเกิด

You might also like