Internal Combustion Engine

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 113

5/3/2021 สภาวิศวกร

อข
สภาวิศวกร | Council of engineers

กร
วิชา : Internal Combustion Engines

ิ ว
าวศ
เนือหาวิชา : 375 : Performance & Testing
สภ
ข ้อที 1 :
สมรรถนะของเครืองยนต์หมายถึง
1 : กําลังของเครืองยนต์
2 : การกินนํ ามัน
3 : ไอเสย ี จากเครืองยนต์
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 2 :
การหาสมรรถนะของเครืองยนต์ สามารถกระทําได ้โดยวิธก
ี ารใด
1 : สตาร์ทเครืองยนต์และตรวจสภาพเครืองโดยทัวไป
2 : เอาเครืองยนต์ตดิ ตังในรถและทดสอบวิงเพือดูอต
ั ราเร่ง
3 : วัดกําลังอัดของลูกสูบ
4 : ทดสอบบนไดนาโมมิเตอร์

ข ้อที 3 :
อัตราสว่ นอากาศต่อเชอเพลิ
ื ิ คือ
งในเครืองยนต์เบนซน
1 : 12 : 1
2 : 13 : 1
3 : 14 : 1
4 : 15 : 1

ข ้อที 4 :
ิ ควรใชอั้ ตราสว่ นอากาศต่อเชอเพลิ
เครืองยนต์เบนซน ื งในชว่ ง
1 : 5 – 20 : 1
2 : 8 – 20 : 1
3 : 10 – 20 : 1
ธิ

4 : 12 – 20 : 1
สท

งวน

ข ้อที 5 :
ิ อยูใ่ นชว่ ง
Compression Ratio ของเครืองยนต์เบนซน
1 : 5 : 1 – 20 : 1

2 : 8 : 1 – 10 : 1
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 1/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : 10 : 1 – 20 : 1


4 : 15 : 1 – 40 : 1

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 6 :
Compression Ratio ของเครืองยนต์ดเี ซลอยูใ่ นชว่ ง
1 : 5 : 1 – 20 : 1
สภ
2 : 8 : 1 – 10 : 1
3 : 10 : 1 – 20 : 1
4 : 15 : 1 – 40 : 1

ข ้อที 7 :
การเพิมสมรรถนะของเครืองยนต์หมายถึง
1 : การกินนํ ามันน ้อยลง
2 : กําลังเพิมขึน
3 : ไอเสย ี มีมลพิษน ้อยลง
4 : BSFC น ้อยลง

ข ้อที 8 :
ข ้อใดเป็ นขนาดของ Bore x Stoke ในเครือง 2000 CC (4 สูบ)
1 : 85 mm x 90 mm
2 : 70 mm x 80 mm
3 : 90 mm x 105 mm
4 : 100 mm x 100 mm

ข ้อที 9 :
Performance Map บอกถึงการแปรผันของ
1 : กําลัง และความเร็วรอบ
2 : การกินนํ ามันทีภาระและความเร็วรอบต่างๆ
3 : ปริมาณไอเสย ี ทีภาระต่างๆ
4 : อัตราสว่ นอากาศต่อนํ ามัน

ข ้อที 10 :
ธิ

การเผาไหม ้ในกระบอกสูบของเครืองยนต์ 2 จังหวะ ดีกว่าเครืองยนต์ 4 จังหวะ คือ


สท

1 : เผาไหม ้ได ้ดีกว่า


2 : ประหยัดนํ ามันมากกว่า
งวน

3 : ให ้กําลังต่อรอบทํางานมากกว่า
4 : มีมลพิษน ้อยกว่า

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 2/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 11 :


จากรูปทีให ้เหตุทกํ
ี าลังสูงสุดเกิดที F/A Ratio ประมาณ 0.75 เนืองจาก

กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : ้
เมือ F/A Rich และ Lean มากจะเผาไหม ้ชาและเส ี เวลา

2 : นํ ามันมากไปอากาศไม่พอ
3 : อากาศมากไปนํ ามันไม่พอ
4 : การควบคุมเครืองไม่ด ี

ข ้อที 12 :
จากรูปถ ้า Delay Period ยิงยาว จะทําให ้

1 : Peak Pressure ยิงสูง


2 : Peak Pressure ยิงตํา
3 : เกิด Knock ในกระบอกสูบ
4 : ้
การเผาไหม ้จะใชเวลายาวนาน
ธิ
สท

ข ้อที 13 :
งวน


สูตรด ้านล่างนีใชหาค่
าใด

1 : ความดันในกระบอกสูบของเครือง 2 จังหวะ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 3/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


2 : ความดันเฉลียจากกําลังของเครืองยนต์ 2 จังหวะ


3 : กําลังของเครืองยนต์
4 : ขนาดของกระบอกสูบ

กร
ิ ว
ข ้อที 14 :
าวศ
BSFC มีความสําคัญต่อสมรรถนะของเครืองยนต์ คือ
สภ
1 : บอกกําลังของเครืองยนต์
2 : บอกขนาดของเครืองยนต์
3 : บอกการกินนํ ามันของเครืองยนต์
4 : บอกการกินนํ ามันต่อกําลังทีให ้ต่อเวลา

ข ้อที 15 :
A/R คือพืนทีของ Inlet nozzle ต่อรัศมีของ Centroid ของพืนทีนัน ใน Turbocharger จากกราฟเมือ
ค่า A/R น ้อยลง ผลกระทบต่อกําลังเครืองยนต์อย่างไร

1 : กําลังเพิมขึน
2 : กําลังน ้อยลง
3 : รอบตํากําลังสูง
4 : รอบสูงกําลังตํา

ข ้อที 16 :
Discharge Coefficient ของ Port และ Valve ทีออกแบบอยูป
่ ั จจุบน
ั เพือให ้ได ้ Steady Flow เข ้า
กระบอกสูบ คือ
ธิ
สท

ส งวน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 4/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ขอ
กร
ิ ว
าวศ
สภ

1 : 0.1 – 0.5
2 : 0.5 – 0.9
3 : 0.4 – 0.8
4 : 0.8 – 1.0

ข ้อที 17 :
Squish ในกระบอกสูบเกิดขึนจาก
1 : การอัดก๊าซในกระบอกสูบทีเป็ น Rotational Flow
2 : ในจังหวะอัด ก๊าซถูกอัดจากชอ่ งเล็กไปชอ
่ งคงที
3 : การอัดแบบ Turbulence
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 18 :
การเรียงกระบอกสูบ แบบรูปตัว V มีผลดีคอ

1 : กินพืนทีน ้อยลง
2 : ลดจํานวนอุปกรณ์ให ้น ้อยลง
3 : เป็ นการเรียงทีสวยงาม
4 : เหมาะกับเครืองมากกว่า 4 สูบ ขึนไป

ข ้อที 19 :
ี แบบรูปตัวไอมีผลเสย
วาล์วไอดีและวาล์วไอเสย ี อย่างไร
1 : ฝาสูบไม่แข็งแรง
ธิ

2 : การดูดไอดี ไอเสยี ไม่ดพ


ี อ
สท

3 : การวางวาล์วไม่สะดวก
4 : พืนทีวางวาล์วไม่พอ

งวน

ข ้อที 20 :

Overhead Camshaft ดีกว่า Side Camshaft คือ


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 5/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : ิ ว่ นยุง่ ยากกว่า
ชนส


2 : การออกแบบยากกว่า
3 : ความเทียงตรงของการเปิ ดปิ ดวาล์วดีกว่า

กร
4 : ไม่มอ
ี ะไรดีกว่า

ิ ว
ข ้อที 21 : าวศ
Supercharger ทีเป็ นแบบ Turbo มีสว่ นดีอย่างไร
สภ
1 : เพิมปริมาณอากาศมากขึน
2 : จํานวนชนสิ ว่ นน ้อยกว่า
3 : ไม่เปลืองกําลังเครืองยนต์
4 : ี เดินได ้สะดวก
ทําให ้ไอเสย

ข ้อที 22 :
การหล่อลืนในเครืองยนต์ทดี
ี มผ
ี ลต่อสมรรถนะคือ
1 : กําลังเพิมขึน
2 : เครืองไม่ร ้อน
3 : เครืองเดินเรียบ
4 : กินนํ ามันน ้อยลง

ข ้อที 23 :
Valve Overlap ให ้ผลดีตอ
่ สมรรถนะเครืองยนต์คอ

1 : เพิมกําลังเครืองยนต์
2 : เปิ ดปิ ดวาล์วได ้เร็วขึน
3 : การทํางานของวาล์วถูกต ้องตามจังหวะดีขน

4 : ี
ไอดีเข ้ามากขึน ไอเสยออกน ้อยลง

ข ้อที 24 :

การจุดระเบิดชาจะมี
ผลกระทบต่อสมรรถนะคือ
1 : การเผาไหม ้ในกระบอกสูบไม่ด ี
2 : กําลังเครืองยนต์ตก
3 : กําลังเครืองยนต์เพิม
4 : ไอดีไอเสย ี ไม่สมดุลกัน
ธิ
สท

ข ้อที 25 :


การใชระบบ ้ บเู รเตอร์มผ
Fuel Injection ดีกว่าใชคาร์ ี ลต่อสมรรถนะ
งวน

1 : BSFC ดีขน ึ
2 : ลดมลพิษในไอเสย ี ลง
3 : การเผาไหม ้ในกระบอกสูบดีขน

4 : ถูกทุกข ้อ

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 6/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 26 :

กร
เมือ Air Filter สกปรกจะมีผลต่อสมรรถนะคือ

ิ ว
1 : อากาศสกปรก

าวศ
2 : เชอเพลิ งเข ้าเครืองยนต์ไม่สะดวก
3 : กําลังลดลง
4 : ไอเสย ี ออกจากเครืองยนต์สกปรก
สภ

ข ้อที 27 :
การฉีดนํ ามันแบบ Common Rail ทําให ้สมรรถนะดีขนคื
ึ อ
1 : เพิมกําลังเครืองยนต์มากขึน
2 : ี สะอาดขึน
ทําให ้ไอเสย
3 : การฉีดนํ ามันเข ้าลูกสูบมีความดันสมําเสมอทุกสูบและ BSFC ดีขน

4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 28 :
หัวฉีดแบบ Pintle มีผลดีตอ
่ สมรรถนะกว่าหัวฉีดแบบ Hole คือ
1 : การเผาไหม ้ดีขน ึ
2 : การออกแบบง่ายกว่า
3 : การติดตังสะดวกกว่า
4 : กินนํ ามันน ้อยลง

ข ้อที 29 :
Scavenging Efficiency ยิงสูง ทําให ้
1 : แรงบิดสูงขึน
2 : การเผาไหม ้สมบูรณ์
3 : กําลังเครืองยนต์สงู ขึน
4 : การดูดอากาศได ้มากยิงขึน

ข ้อที 30 :
เมือความเร็วรอบสูงท่อไอดียาวมีผลอย่างไร
1 : Volumetric Efficiency สูงขึน
2 : Volumetric Efficiency ลดลง
ธิ

3 : ไอดีบางลง
สท

4 : ไอดีหนาขึน

งวน

ข ้อที 31 :
เครืองยนต์ทใช ้ อเพลิ
ี เช ื งทีมีคา่ Octane Number สูงกว่าค่าทีกําหนดจะมีผลต่อสมรรถนะของ

เครืองยนต์คอื
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 7/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : ประสท ิ ธิภาพสูงขึน


2 : ประสท ิ ธิภาพลดลง
3 : ไม่มผ
ี ลกระทบ

กร
4 : ไอเสย ี สะอาดขึน

ิ ว
ข ้อที 32 : าวศ
Gasohol มีผลต่อสมรรถนะเครืองยนต์คอ

สภ
1 : กําลังลดลง
2 : กําลังเพิมขึน
3 : วิงได ้ดีขนึ
4 : ้
วิงได ้ชาลง

ข ้อที 33 :

E 20 หมายถึง เชอเพลิ
งผสม
1 : เบนซนิ 80 + Ethanol 20
2 : เบนซน ิ 20 + Ethanol 80
3 : ดีเซล 80 + Ethanol 20
4 : ดีเซล 20 + Ethanol 80

ข ้อที 34 :
ิ ว่ นและเครืองยนต์คอ
E 20 มีผลต่อชนส ื
1 : คาร์บเู รเตอร์ถก
ู กัดกร่อน
2 : ระบบทางเดินนํ ามันทีเป็ นยางถูกกัดกร่อน
3 : กําลังเครืองยนต์ลดลง
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 35 :
Ethanol มีผลดีตอ ้
่ การใชงานคื

1 : Octane สูง
2 : ชว่ ยเกษตรกร
3 : ลดความสูญเสย ี เงินตราต่างประเทศ
4 : ถูกทุกข ้อ
ธิ
สท

ข ้อที 36 :

Biodiesel คืออะไร
งวน

1 : นํ ามันทีได ้จากนํ ามันมะพร ้าวและนํ ามันปาล์ม


2 : นํ ามันจากพืชทีผ่านกระบวนการทําให ้บริสท ั สว่ นทีเหมาะ
ุ ธิและนํ ามาผสมกับนํ ามันดีเซลในสด
สม
3 : นํ ามันจากพืชทีผ่านกระบวนการ Transesterifications และนํ ามาผสมกับนํ ามันดีเซลในสด ั สว่ น

ทีเหมาะสม
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 8/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


้ ้วจากครัวเรือน
4 : นํ ามันดีเซลทีได ้จากนํ ามันใชแล


กร
ิ ว
ข ้อที 37 :

าวศ
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับสมรรถนะของรถทีใช ้ LPG และรถทีใชนํ้ ามันเบนซน

1 : รถทีใช ้ LPG มีกําลังมากกว่ารถทีใชนํ้ ามันเบนซน ิ
2 : รถทีใช ้ LPG มีกําลังเท่ากับรถทีใชนํ้ ามันเบนซนิ
รถทีใช ้ LPG มีกําลังน ้อยกว่ารถทีใชนํ้ ามันเบนซน ิ
สภ
3 :
4 : รถทีใช ้ LPG จะไม่มก ี ําลัง

ข ้อที 38 :
สมรรถนะของรถทีใช ้ CNG ต่างกับใช ้ Diesel คือ
1 : รถกําลังมากขึน
2 : รถกําลังลดลง
3 : รถกําลังเท่าเดิม
4 : รถไม่มกี ําลัง

ข ้อที 39 :
รถ Hybrid คือรถประเภท
1 : ้ งงานไฟฟ้ า
รถทีใชพลั
2 : ้
รถใชพลังงานจากเครืองยนต์
3 : ้ งงานร่วมจากไฟฟ้ าและเครืองยนต์
รถทีใชพลั
4 : รถทีใชพลั้ งงานทดแทน

ข ้อที 40 :
รถ Fuel Cell คือรถประเภท
1 : ้ อเพลิ
ใชเช ื ง Alcohol
2 : ้
ใชไฟฟ้ า
3 : ใชเช ้ อเพลิ
ื งไฮโดรเจน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 41 :
ิ เกิดขึนเพราะ
การ Knock ในเครืองยนต์เบนซน
ธิ

1 : ้
ตังไฟจุดระเบิดชาไป
สท

2 : ตังไฟจุดระเบิดเร็วไป

3 : ใชนํ้ ามัน Octane สูงเกินไป


งวน

4 : รอบเดินเบาเครืองยนต์สงู ไป

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 9/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 42 :
ถ ้าค่า Cetane Number สูง จะมีผลต่อสมรรถนะของเครืองยนต์ดเี ซลอย่างไร

กร
1 : กําลังสูงขึน
2 : เครืองยนต์ไม่เกิด Knock

ิ ว
3 : เครืองยนต์สน ั

าวศ
4
สภ : ไอเสย ี ไม่เป็ นไปตามมาตรฐาน

ข ้อที 43 :
ิ ธิภาพยิงดีพส
จากคํากล่าวทีว่า ค่า CR ยิงสูง ประสท ิ จ
ู น์ได ้จาก
1 : Otto Cycle
2 : Diesel Cycle
3 : Dual Cycle
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 44 :
MTBE มีผลอย่างไรต่อเครืองยนต์
1 : ทําให ้กําลังลดลง
2 : ทําให ้ไอเสย ี ไม่ด ี
3 : ทําให ้ Octane สูง เหมาะกับเครืองยนต์ CR สูง
4 : มีผลต่อวัสดุของชนส ิ ว่ น

ข ้อที 45 :
ข ้อดีของรถ Hybrid คือ
1 : เครืองยนต์กําลังสูงขึน
2 : ไอเสยี สะอาด
3 : ้
ใชไฟฟ้ าอย่างเดียว
4 : สามารถใชนํ้ ามันผสมได ้

ข ้อที 46 :
้ อ
อุปกรณ์ Choke ในเครืองยนต์โดยทัวไปใชเพื
1 : เพิมความเร็ว
2 : ชว่ ยประหยัดนํ ามัน
3 : ชว่ ยสตาร์ทตอนเครืองเย็น
ธิ

4 : ชว่ ยสตาร์ทตอนเครืองร ้อน


สท

งวน

ข ้อที 47 :
Knock ในเครืองยนต์เกิดขึนเพราะ

ั ดาปขึนเองก่อนหัวเทียนจุด
1 : ไอดีเกิดการสน
2 : ไอดีสว่ นปลายด ้านหน ้าของเปลวไฟเกิดการสน
ั ดาปก่อนทีเปลวจะลามไปถึง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 10/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ั ดาปก่อนจากจุดร ้อนภายในห ้องสน
3 : ไอดีเกิดการสน ั ดาปก่อนหัวเทียนจุด


4 : ถูกทุกข ้อ

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 48 :
เมือดึง Choke จะมีผลเป็ น
1 : Stoichiometic Mixture
สภ
2 : Chemically Correct Mixture
3 : Rich Mixture
4 : Lean Mixture

ข ้อที 49 :
ควันไอเสย ี สข
ี าวในเครืองยนต์เกิดจาก
1 : การกลันตัวของ HC เมือไอเสย ี มีอณ
ุ หภูมต
ิ ํา
2 : การสนั ดาปไม่สมบูรณ์เนืองจากสว่ นผสมอากาศกับเชอเพลิ
ื งไม่ด ี
3 : ื
การฉีดเชอเพลิ ้ าตําแหน่งทีเหมาะสม
งชากว่
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 50 :
Exhaust Gas Recirculation Valve มีไว ้เพือ
1 : ี เพือทําให ้ไอเสย
หมุนเวียนไอเสย ี เย็นลง
2 : หมุนเวียนไอเสยี เพือลดปริมาณของไอพิษ
3 : หมุนเวียนไอเสย ี เพือให ้เสย
ี งดังลดลง
4 : หมุนเวียนไอเสย ี เพือเพิมกําลังเครืองยนต์

ข ้อที 51 :
้ ไฟฟ้ าใน Hybrid Car ในชว่ งออกตัว และขับเคลือนความเร็วตําคือ
จุดเด่นของการใชมอเตอร์
1 : แรงบิดสูงทีรอบตํา
2 : แรงบิดตําทีรอบสูง
3 : แรงบิดสูงทีรอบสูง
4 : แรงบิดตําทีรอบตํา

ข ้อที 52 :
ธิ

Hybrid Car มีข ้อดีคอ



สท

1 : มีอต
ั ราเร่งดีกว่าเครืองยนต์ทวไป

2 : มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ตํา
งวน

3 : ประหยัดนํ ามัน
4 : ค่าบํารุงรักษาตํา

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 11/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 53 :


ข ้อใดไม่ใชข่ ้อดีของ Gasohol

กร
1 : ราคาตํา
2 : เครืองยนต์เผาไหม ้สมบูรณ์
3 : ไม่ต ้องปรับตําแหน่งเครืองยนต์ใหม่

ิ ว
4 : ิ
การสนเปลื ื
องเชอเพลิ ิ
งตํากว่านํ ามันเบนซน

าวศ
สภ
ข ้อที 54 :
ข ้อใดไม่ใชค่ ณ
ุ สมบัตข
ิ อง CNG
1 : ั สว่ นคาร์บอนน ้อยกว่านํ ามันเบนซน
มีสด ิ
2 : มีคณุ สมบัตเิ ป็ นก๊าซ
3 : ปริมาณไอเสย ี ตํา
4 : มีราคาแพงกว่านํ ามันเบนซน ิ

ข ้อที 55 :
Knock ในเครืองยนต์ SI สามารถขจัดได ้ง่ายโดย
1 : ลดอุณหภูมน ิ ํ าระบายความร ้อน
2 : ตังไฟให ้แก่ขน ึ (Advance)
3 : ตังไฟให ้อ่อนลง (Retard)
4 : ้ อเพลิ
ใชเช ื งทีมีคา่ Octane สูงขึน

ข ้อที 56 :
Hot Spark Plug มีลก
ั ษณะอย่างไร
1 : มีอณุ หภูมส ้
ิ งู ขณะใชงาน
2 : ให ้ Spark ทีรุนแรงกว่า
3 : มีเขียวหัวเทียนยืนออกมาจากปลายเกลียวยาวกว่าหัวเทียนเย็น
4 : มีอต
ั ราการระบายความร ้อนออกจากกระเบืองหุ ้มปลายหัวเทียนน ้อย

ข ้อที 57 :
รถ Hybrid ขับเคลือนด ้วยอะไร
1 : เครืองยนต์
2 : มอเตอร์ไฟฟ้ า
3 : เครืองยนต์และมอเตอร์ไฟฟ้ า
4 : พลังงานแสงอาทิตย์
ธิ
สท

งวน

ข ้อที 58 :
เครืองยนต์ของ Hybrid Car จะเข ้ามาเสริมแรงขับเคลือนให ้กับมอเตอร์ไฟฟ้ าเมือ

1 : ลินปี กผีเสอเปิ ด 25 %


2 : ลินปี กผีเสอเปิ ด 50 %

3 : ลินปี กผีเสอเปิ ด 75 %
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 12/113
5/3/2021 สภาวิศวกร



4 : ลินปี กผีเสอเปิ ด 100 %


กร
ิ ว
ข ้อที 59 :

าวศ
Direct Injection ในเครืองยนต์ CI จะมีคณ
ุ สมบัตอ
ิ ย่างไร
1 : ให ้อัตราสว่ นการอัดตํากว่าแบบ Indirect Injection
2 : ให ้กําลังสูงสุดทีอัตราเร่งเครืองยนต์ตํากว่าแบบ Indirect Injection

สภ
3 : ฉีดเชอเพลิ งทีความดันสูงกว่าแบบ Indirect Injection
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 60 :

เครืองยนต์ SI ทีใชงานหนั กในระยะเวลาต่อครังน ้อย ควรใชหั้ วเทียนแบบใด
1 : หัวเทียนร ้อนกว่ามาตรฐานผู ้ผลิต
2 : หัวเทียนตามมาตรฐาน
3 : หัวเทียนเย็นกว่ามาตรฐาน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 61 :

เครืองยนต์ SI ทีใชงานหนั กในระยะเวลาต่อครังนานควรใชหั้ วเทียนแบบใด
1 : หัวเทียนร ้อนกว่ามาตรฐาน
2 : หัวเทียนเย็นกว่ามาตรฐาน
3 : หัวเทียนตามทีผู ้ผลิตกําหนด
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 62 :

ถ ้าใสกรองอากาศตั
นจะมีผลต่อการทํางานของเครืองยนต์อย่างไร
1 : ิ
สนเปลื ื
องนํ ามันเชอเพลิง
2 : ิ
สนเปลื องนํ ามันเครือง
3 : สนเปลืิ องนํ าหล่อเย็น
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 63 :
Common Rail ในเครือง CI Direct Injection มีความดันนํ ามันสูงกว่าแบบธรรมดาเท่าไร
ธิ

1 : 6 เท่า
สท

2 : 8 เท่า

3 : 10 เท่า
งวน

4 : 12 เท่า

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 13/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

อข
ข ้อที 64 :
ิ คือ
Stoichimetric ของนํ ามันเบนซน

กร
1 : 10 ต่อ 1
2 : 12 ต่อ 1

ิ ว
3 : 15 ต่อ 1

าวศ
4
สภ : 20 ต่อ 1

ข ้อที 65 :
ข ้อใดเป็ นสาเหตุททํ
ี าให ้เครืองยนต์ดเี ซลเกิดการ Knock
1 : การใชนํ้ ามันค่า Cetane ตํา
2 : เครืองยนต์เย็นเกินไป
3 : การตัง Injection Timing ผิด
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 66 :
การ Overlap คือ
1 : ลินไอดีและลินไอเสย ี ปิ ดสนิท
2 : ลินไอดีกําลังจะเปิ ดและลินไอเสย ี กําลังจะปิ ด
3 : ลินไอดีเปิ ดพร ้อมลินไอเสย ี
4 : ลินไอดีกําลังจะปิ ดและลินไอเสย ี กําลังจะปิ ด

ข ้อที 67 :
การป้ องกัน Knock ใน SI คือ
1 : เพิมความเร็วรอบเครืองยนต์
2 : ลดอัตราสว่ นกําลังอัดลง
3 : ลดอุณหภูมอ ิ ากาศเข ้าเครือง
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 68 :
เครืองยนต์ 4 สูบ 4 จังหวะ ถ ้าสูบ 2 เป็ นจังหวะอัด สูบ 3 จะเป็ นจังหวะอะไร
1 : ดูด
2 : อัด
3 : ระเบิด
ธิ

4 : คาย
สท

งวน

ข ้อที 69 :
สาเหตุทต ั ผัสของแหวนลูกสูบเพือ
ี ้องเคลือบผิวสม

1 : เพิมคุณสมบัตกิ ารเป็ นสปริง


2 : เพิมความแข็ง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 14/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : ลดการขยายตัว


ั ผัสระหว่างแหวนและกระบอกสูบกระชบ
4 : ให ้รอยสม ั กันอย่างรวดเร็ว

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 70 :
ั ได ้ดี
สมรรถนะใดทีทําให ้รถเร่งได ้เร็วและขึนทางชน
1 : Moment สูงสุดของเครืองยนต์
สภ
2 : กําลังสูงสุด
3 : สมั ประสท ิ ธิแรงเสย
ี ดทานของล ้อและรถ
4 : ไม่มขี ้อใดถูก

ข ้อที 71 :
Thermal Efficiency ของวัฎจักรอุดมคติ (Ideal Cycle) ใดมีคา่ สูงสุด
1 : Otto Cycle
2 : Dual Cycle
3 : Diesel Cycle
4 : Combined Cycle

ข ้อที 72 :
Crankcase Dilution หมายถึง
1 : Dilution ในนํ า
2 : Dilution ในนํ ามัน
3 : Dilution ในแก๊สต่างๆ
4 : Dilution ในการเปลียนอุณหภูมน
ิ ํ ามัน

ข ้อที 73 :
เวลาเปรียบเทียบเครืองยนต์ขนาดเท่ากัน จะพิจารณาจาก
1 : Brake Power
2 : Fuel Consumption
3 : Torque
4 : BSFC

ข ้อที 74 :
ธิ

Vapor Lock เกิดขึนเพราะ


สท

1 : หัว Jet ของคาร์บเู รเตอร์เกิดการอุดตัน


2 : ให ้นํ ามันมากเกินไป
งวน

3 : นํ ามันระเหยมากไปในระบบดูด
4 : ื
นํ ามันเชอเพลิ งสกปรก

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 15/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 75 :


Pre-Ignition บอกได ้จาก

กร
1 : ี งดังในกระบอกสูบ
เสย
2 : ี สูง
อุณหภูมไิ อเสย
3 : ความเร็วรอบสูง

ิ ว
4 : เครืองกําลังตก

าวศ
สภ
ข ้อที 76 :

การใชระบบหั วฉีดแทนคาร์บเู รเตอร์ในเครืองยนต์ SI เพราะ
1 : ควบคุมสว่ นผสมไอดีได ้ดีทกุ สถานการณ์
2 : ได ้กําลังสูงสุดเพราะขยายท่อไอดีได ้
3 : ื
ฉีดเชอเพลิ งได ้มากกว่า
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 77 :
กําลังของเครืองยนต์ดเี ซลถูกควบคุมจาก
1 : ปริมาณนํ ามัน
2 : ปริมาณอากาศ
3 : Injection timing
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 78 :
ี ของเครืองยนต์ดเี ซลทีมีมากกว่าเครืองยนต์เบนซน
แก๊สชนิดใดในไอเสย ิ
1 : แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
2 : แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
3 : แก๊สไฮโดรคาร์บอน
4 : แก๊สไนโตรเจนออกไซด์

ข ้อที 79 :
ิ ) มีหน ้าทีอย่างไร
คาร์บเู รเตอร์ (Carburetor) ในเครืองยนต์ SI (เครืองยนต์เบนซน

1 : ทําหน ้าทีผสมนํ ามันเชอเพลิงกับอากาศในอัตราสว่ นทีพอเหมาะแล ้วสง่ สว่ นผสมทีได ้เข ้า
กระบอกสูบในสภาพละอองไอและพร ้อมเผาไหม ้ต่อไป
2 : อัตราสว่ นอากาศต่อนํ ามันเชอเพลิ
ื งสําหรับการเผาไหม ้อย่างสมบูรณ์ตามทฤษฏีเท่ากับ 15 : 1
(โดยมวล)
ธิ

3 : ในขณะทีกําลังขับขีอัตราสว่ นของอากาศต่อนํ ามันเชอเพลิ


ื งจะสูงกว่า 15 : 1
สท

4 : ถูกทุกข ้อ

งวน

ข ้อที 80 :
ข ้อใดกล่าวถูกเกียวกับซุปเปอร์ชาร์ทเจอร์ (Supercharger)

1 : เป็ นอุปกรณ์ทใช ้
ี ในการเพิ
มปริมาณของอากาศเข ้าไปในกระบอกสูบ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 16/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ั การสง่ กําลังขับ
2 : เป็ นชุดโบลว์เออร์ (Blower) ทีทําหน ้าทีอัดอากาศเข ้ากระบอกสูบโดยอาศย



จากเครืองยนต์โดยใชสายพานทํ าให ้ปริมาณอากาศเข ้ากระบอกสูบเพิมขึน
3 : ข ้อจํากัดของการซุปเปอร์ชาร์ทเจอร์ (Supercharger) คือมีปัญหาตอนสตาร์ทและหยุด

กร
เครืองยนต์รวมถึงการสก ึ หรอของเครืองยนต์
4 : ถูกทุกข ้อ

ิ ว
ข ้อที 81 :
าวศ
สภ
ข ้อใดกล่าวถูกเกียวกับเทอร์โบชาร์ทเจอร์ (Turbocharger)
1 : เป็ นชุดอุปกรณ์ททํ ิ ) หรืออากาศ (เครืองยนต์ดเี ซล) ให ้เข ้า
ี าหน ้าทีอัดไอดี (เครืองยนต์เบนซน
กระบอกสูบของเครืองยนต์มากขึน
2 : เทอร์โบชาร์ทเจอร์ประกอบด ้วยสว่ นสําคัญสองสว่ นคือเทอร์ไบน์ (Turbine) และ
คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ซงเช ึ อมต่
ื อบนเพลาอันเดียวกัน
3 : เทอร์โบชาร์ทเจอร์ (Turbocharger)เป็ นชุดโบล์วเวอร์ (Blower) ทีทําหน ้าทีอัดอากาศเข ้า
กระบอกสูบโดยอาศย ั การสง่ กําลังขับจากเครืองยนต์โดยใชสายพานทํ
้ าให ้ปริมาณของอากาศเข ้า
กระบอกสูบเพิมขึน
4 : ถูกข ้อ 1 และข ้อ 2

ข ้อที 82 :
ข ้อใดเป็ นการจําแนกเครืองยนต์เผาไหม ้ภายในตามการจัดวางกระบอกสูบ
1 : เครืองยนต์แบบกระบอกสูบเรียง
2 : เครืองยนต์แบบกระบอกสูบวี
3 : เครืองยนต์แบบกระบอกสูบตรงกันข ้าม
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 83 :

ข ้อใดเป็ นการจําแนกเครืองยนต์เผาไหม ้ภายในตามการจัดวางตําแหน่งของลินไอดีและลินไอเสย
1 : เครืองยนต์แบบลินอยูด่ ้านบน (I-Head Valve)
2 : เครืองยนต์แบบลินอยูด ่ ้านข ้าง (L-Head Valve)
3 : เครืองยนต์แบบลินจัดวางรูปตัวM (M-Head Valve)
4 : ถูกข ้อ 1 และข ้อ 2

ข ้อที 84 :
ี แบบโอเวอร์เฮดวาล์ว (O.H.V)
ข ้อใดกล่าวถูกเกียวกับกลไกการเปิ ด-ปิ ดลินไอดีและไอเสย
1 : ชุดกลไกการเปิ ด-ปิ ดลินด ้วยก ้านกระทุ ้ง (Push Rod) จะอาศย ั ชุดกลไกเปิ ด-ปิ ด ลินแบบโอ
ธิ


เวอร์เฮดแคมชาร์ป ซงเพลาลูกเบียวจะอยูด ่ ้านบนของกระบอกสูบโดยมีหน ้าทีหมุนดันลินให ้เปิ ด-
ปิ ดโดยตรง
สท

2 : ชุดกลไกการเปิ ด-ปิ ดลินด ้วยก ้านกระทุ ้ง (Push Rod) จะให ้ความเทียงตรงแน่นอนในการเปิ ด-


ปิ ดมากกว่าแบบทีใชชุ้ ดกลไกการเปิ ด-ปิ ดลินแบบโอเวอร์เฮดแคมชาร์ป


3 : ชุดกลไกการเปิ ด-ปิ ดลินด ้วยก ้านกระทุ ้ง (Push Rod) มีผลทําให ้เครืองยนต์มส ี มรรถนะเพิมขึน
งวน

และมีเสย ี งดังน ้อยลง


4 : ชุดกลไกการเปิ ด-ปิ ดลินแบบโอเวอร์เฮดแคมชาร์ป (O.H.C)จะให ้ความเทียงตรงแน่นอนในการ
เปิ ด-ปิ ดและมีผลทําให ้เครืองยนต์มส ี งดังน ้อยลงมากกว่าชุดกลไกการ
ี มรรถนะเพิมขึนและมีเสย

เปิ ด-ปิ ดลินด ้วยก ้านกระทุ ้ง (Push Rod)


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 17/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 85 :

ิ ว
ข ้อใดกล่าวถูกเกียวกับซุปเปอร์ชาร์ทเจอร์ (Supercharger)

าวศ
1 : เป็ นชุดอุปกรณ์ททํ ิ ) หรืออากาศ (เครืองยนต์ดเี ซล) ให ้เข ้า
ี าหน ้าทีอัดไอดี (เครืองยนต์เบนซน

กระบอกสูบของเครืองยนต์มากขึนสงผลทําให ้กําลังของเครืองยนต์มากขึน
2 : ซุปเปอร์ชาร์ทเจอร์ประกอบด ้วยสว่ นสําคัญสองสว่ นคือเทอร์ไบน์ (Turbine) และ
ึ อมต่

สภ
คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ซงเช อบนเพลาอันเดียวกัน
3 : ซุปเปอร์ชาร์ทเจอร์ (Turbocharger)เป็ นชุดโบล์วเวอร์ (Blower) ทีทําหน ้าทีอัดอากาศเข ้า
กระบอกสูบโดยอาศย ั การสง่ กําลังขับจากเครืองยนต์โดยใชสายพานทํ
้ าให ้ปริมาณของอากาศเข ้า
กระบอกสูบเพิมขึน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 86 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับระบบจุดระเบิดของเครืองยนต์ SI 4 จังหวะ
1 : ระบบจุดระเบิดประกอบด ้วยการทํางาน 2 วงจรได ้แก่วงจรปฐมภูมแ ิ ละวงจรทุตย
ิ ภูม ิ
2 : วงจรปฐมภูมท ิ ํางานโดยรับกระแรงเคลือนสูงจากแบตเตอรีผ่านกุญแจสตาร์ทผ่านสายสง่ เข ้าสู่
ขดลวดปฐมภูมภ ิ ายในคอยล์จด ุ ระเบิด
3 : วงจรปฐมภูมท ิ ํางานโดยรับกระแรงเคลือนตําจากแบตเตอรีผ่านกุญแจสตาร์ทผ่านสายสง่ เข ้าสู่
ขดลวดทุตย ิ ภูมภิ ายในคอยล์จด ุ ระเบิด
4 : ผิดทุกข ้อ

ข ้อที 87 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับกําลังม ้าอินดิเคด (Indicated Horse Power)
1 : หมายถึงกําลังม ้าของเครืองยนต์ทวัี ดออกมาจากเพลาข ้อเหวียงโดยตรง
2 : หมายถึงกําลังม ้าของเครืองยนต์ทผลิ
ี ตขึนได ้จริงทังหมดภายในกระบอกสูบของเครืองยนต์
3 : หมายถึงกําลังม ้าของเครืองยนต์ทนํ ้
ี าไปใชในการเอาชนะความเส ี ดทานในแบริง ระหว่าง

ลูกสูบกับกระบอกสูบและชนส ิ ว่ นของเครืองยนต์ในขณะทีมีการเคลือนไหว
4 : ผิดทุกข ้อ

ข ้อที 88 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับไดนาโมมิเตอร์
1 : ไดนาโมมิเตอร์คอ
ื อุปกรณ์ทใช ้
ี ในการทดสอบกํ าลังของเครืองยนต์ โดยจะทําหน ้าทีดูดกลืน
่ ี
พลังงานโดยใสทอร์กความเสยดทานต ้านต่อการหมุนของเพลา
2 : ไดนาโมมิเตอร์คอื อุปกรณ์ทใช ้ ยนพลังงานกลเป็ นพลังงานความร ้อน
ี เปลี
ธิ

3 : ในการทดสอบไดนาโมมิเตอร์จะทําการเลือกทดสอบภายใต ้ภาวะเงือนไขทีอัตราเร็วรอบคงที
หรือภาวะหรือภาวะเครืองยนต์คงที
สท

4 : ถูกทุกข ้อ

งวน

ข ้อที 89 :

ข ้อใดเป็ นการจําแนกตามกลไกทางการทํางานของไดนาโมมิเตอร์
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 18/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : แชสซส ี ไดนาโมมิเตอร์ (Chassis Dynamometer)


2 : ไดนาโมมิเตอร์แบบโพรนีเบรก (Prony Break)
3 : เอนจินไดนาโมมิเตอร์ (Engine Dynamometer)

กร
4 : ถูกทุกข ้อ

ิ ว
ข ้อที 90 : าวศ
ข ้อใดเป็ นการจําแนกไดนาโมมิเตอร์ตามการติดตังในการทดสอบ
สภ
1 : แชสซสี ไดนาโมมิเตอร์ (Chassis Dynamometer)
2 : ไดนาโมมิเตอร์แบบโพรนีเบรก (Prony Break Dynamometer)
3 : ไดนาโมมิเตอร์แบบเบรกด ้วยนํ า (Water Break Dynamometer)
4 : ไดนาโมมิเตอร์แบบทรานสม ์ ส ั (Transmission Dynamometer)
ิ ชน

ข ้อที 91 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับเครืองยนต์สแตรติไฟด์ชาร์ท (Stratified Charge)

1 : ฉีดเชอเพลิ งเข ้าห ้องเผาไหม ้โดยในระหว่างกระบวนการอัดเพือหลีกเลียงการน๊อก
2 : จุดระเบิดในขณะทีผสมกับอากาศด ้วยประกายไฟจากหัวเทียนเพือให ้สามารถควบคุมการจุด
ระเบิดได ้โดยตรง
3 : ควบคุมกําลังของเครืองยนต์โดยการควบคุมปริมาณของเชอเพลิ ื งทีฉีดเข ้าไปต่อวัฏจักรการ
ทํางาน เพือลดงานเนืองจากการนํ าอากาศเข ้า (Pumping Work) ลง
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 92 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับเครืองยนต์โรทารี
1 : เครืองยนต์โรทารีถกู ออกแบบมาให ้มีขนาดกะทัดรัดแต่มอ ี ต
ั ราเร็วตําและมีข ้อเสย ี คือมีการ
ถ่ายเทความร ้อนสูง
2 : เครืองยนต์โรทารีถก ู ออกแบบมาให ้มีขนาดกะทัดรัดและมีอต ั ราเร็วสูงแต่มป ี ั ญหาเกียวกับการรัว
ของแก๊ส
3 : เครืองยนต์โรทารีเป็ นเครืองยนต์เผาไหม ้ภายในแบบลูกผสมซงรวมเอาข ึ ้อดีของเครืองยนต์จด ุ
ระเบิดด ้วยประกายไฟและเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยการอัดเข ้าด ้วยกัน
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 2 และข ้อ 3

ข ้อที 93 :
ข ้อใดเป็ นกลุม
่ ของเครืองสแตรติไฟด์ชาร์ท (Stratified Charge)

1 : เครืองสแตรติไฟด์ชาร์ทแบบฉีดเชอเพลิงโดยตรง (Direct Injection Stratified Charge
ธิ

Engine)
สท

2 : เครืองสแตรติไฟด์ชาร์ทแบบห ้องเผาไหม ้ก่อน (Prechamber Stratified Charge Engine)


3 : ถูกเฉพาะข ้อ 1 และข ้อ 2

4 : ผิดทุกข ้อ
ส งวน

ข ้อที 94 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 19/113
5/3/2021 สภาวิศวกร



ข ้อใดเป็ นระบบเชอเพลิ
งของเครืองยนต์ดเี ซล


1 : ปั มหัวฉีด

กร
2 : ปั มสง่ เชอเพลิ
ื ง
3 : คาร์บเู รเตอร์
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 1 และข ้อ 2

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 95 :

ข ้อใดกําลังทีนิยมใชในการแสดงสมรรถนะของเครื
องยนต์
1 : กําลังสูงสุด
2 : กําลังทีกําหนดปกติ
3 : กําลังทีกําหนดสูงสุด
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 2 และข ้อ 3

ข ้อที 96 :
ั พันธ์กบ
ข ้อใดมีความสม ั การปล่อยมลพิษจําเพาะและดรรชนีมลพิษ
1 : ออกไซด์ของไนโตรเจน ไนตริกออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์
ไฮโดรคาร์บอน สารละออง
2 : ความเข ้มข ้นของแก๊สทีเป็ นมลพิษจะถูกวัดเป็ นสว่ นในล ้านสว่ น (ppm)
3 : การปล่อยมลพิษจําเพาะ (Specific Emission)
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 97 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับนํ าหนักจําเพาะ
1 : แสดงถึงประสท ิ ธิภาพในการใชวั้ สดุสําหรับการผลิตเครืองยนต์
2 : แสดงถึงประสท ิ ธิผลในการใชเนื
้ อทีของเครืองยนต์
3 : เป็ นการวัดประสท ิ ธิภาพเมือพืนทีลูกสูบถูกใชโดยไม่
้ คํานึงถึงขนาดของกระบอกสูบ
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 1 และ ข ้อ 2

ข ้อที 98 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับปริมาตรจําเพาะ
1 : แสดงถึงประสท ิ ธิภาพในการใชวั้ สดุสําหรับการผลิตเครืองยนต์
2 : แสดงถึงประสท ิ ธิผลในการใชเนื
้ อทีของเครืองยนต์
3 : เป็ นการวัดประสท ิ ธิภาพเมือพืนทีลูกสูบถูกใชโดยไม่
้ คํานึงถึงขนาดของกระบอกสูบ
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 1 และ ข ้อ 2
ธิ
สท

งวน

ข ้อที 99 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับการเผาไหม ้ตามปกติในเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ
1 : มีการจุดระเบิดเองก่อนประกายไฟจากหัวเทียนมาถึง (Pre-Ignition)

2 : มีการจุดระเบิดเองหลังประกายไฟจากหัวเทียนมาถึง (Post-Ignition)
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 20/113
5/3/2021 สภาวิศวกร



3 : ความร ้อนทีใชในการจุดระเบิดได ้มาจากการสม ั ผัสของสารผสมกับบริเวณจุดร ้อนตามผนังห ้อง


เผาไหม ้
4 : เปลวไฟด ้านหน ้าแพร่ออกเป็ นรูปผิวครึงทรงกลมและลุกลามอย่างสมําเสมอในห ้องเผาไหม ้

กร
ิ ว
ข ้อที 100 :
าวศ
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับการลดน๊อก (Knock) ในเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยการอัด
ิ ละความดันของแก๊สสว่ นสุดท ้ายลงโดยการตังไฟอ่อน
สภ
1 : ลดอุณหภูมแ
2 : ออกแบบให ้เครืองยนต์มข ี นาดหรืออัตราสว่ นการอัดสูง
3 : ้ อเพลิ
ใชเช ื งทีมีตวั เลขออกเทนตํา
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 101 :

ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับความไวของเชอเพลิ
ง (Fuel Sensitivity)
1 : สามารถหาได ้จากผลต่างระหว่างตัวเลขออกเทนจากการทดสอบ (MON) กับตัวเลขออกเทน
จากการวิจัย (RON)

2 : ค่าความไวของเชอเพลิ งจะบ่งบอกถึงค่าของการเปลียนแปลงสมบัตต ื
ิ ้านการน๊อกของเชอเพลิ

ทีมีตอ
่ การเปลียนแปลงภาวะการทํางานของเครืองยนต์นัน
3 : ถูกเฉพาะข ้อ 1 และขัอ 2
4 : ผิดทุกข ้อ

ข ้อที 102 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับการทํางานของคาร์บเู รเตอร์
1 : สามารถควบคุมสว่ นผสมระหว่างอากาศกับเชอเพลิ ื งได ้อย่างแน่นอนเนืองจากอัตราสว่ นสมมูล
คงที
2 : ทีอัตราเร็วรอบตําคาร์บเู รเตอร์จะให ้สว่ นผสมหนามากกว่าสว่ นผสมบาง
3 : ทีภาระเครืองยนต์ระดับปานกลางในคาร์บเู รเตอร์จะพบว่าอัตราสว่ นสมมูลจะลดลงเมืออัตราการ
ไหลของอากาศมากขึน
4 : ทีตําแหน่งเปิ ดลินเร่งเต็มที (WOT) เมืออัตราการไหลของอากาศเพิมขึนถึงค่าสูงสุด อัตราสว่ น
สมมูลจะค่อนข ้างคงที

ข ้อที 103 :

ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับเครืองยนต์ SI ทีใชระบบหั
วฉีดเปรียบเทียบกับเครืองยนต์ทใช ้ บเู รเตอร์
ี คาร์
1 : มีกําลังและแรงบิดของเครืองยนต์เพิมขึนเมือเปรียบเทียบกับเครืองยนต์ทใช ้ บเู รเตอร์
ี คาร์
2 : เครืองยนต์สตาร์ทติดง่ายเนืองจากการแตกตัวเป็ นละอองของเชอเพลิ ื งไม่ขนอยู
ึ ก
่ บ
ั อัตราเร็ว
ธิ

รอบของข ้อเหวียง
3 : ไม่จําเป็ นต ้องใชกั้ บนํ ามันเชอเพลิ
ื ื
งทีระเหยง่าย เนืองจากการกระจายของนํ ามันเชอเพลิ งใน
สท

ระบบหัวฉีดไม่ขนอยู ึ ก
่ บ ื
ั การระเหยตัวของเชอเพลิง

4 : ถูกทุกข ้อ
ส งวน

ข ้อที 104 :
ข ้อใดเป็ นข ้อแตกต่างระหว่างเครืองยนต์ CI และ SI
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 21/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : เครืองยนต์ CI เป็ นเครืองยนต์ทมี ั ราสว่ นการอัดตํากว่า
ี อต



2 : สารผสมระหว่างเชอเพลิ งและอากาศเป็ นสว่ นผสมหนาสําหรับการเผาไหม ้อย่างสมบูรณ์

3 : ในเครืองยนต์ CI จะฉีดเชอเพลิ งก่อนเริมต ้นเผาไหม ้เพียงเล็กน ้อย จึงไม่มข
ี ้อจํากัดของการน๊

กร
อกเหมือนเครืองยนต์ SI
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 2 และข ้อ 3

ิ ว
าวศ
ข ้อที 105 :
สภ

ข ้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต ้องเกียวกับระบบฉีดเชอเพลิ
งโดยอ ้อม (Indirect Injection) เมือเปรียบเทียบ

กับระบบฉีดเชอเพลิ งโดยตรง (Direct Injection)

1 : ระบบฉีดเชอเพลิ งโดยอ ้อมสามารถให ้กําลังสูงกว่า BMEP มากกว่าและมีการบํารุงรักษาง่ายกว่า

2 : ระบบฉีดเชอเพลิ งโดยตรง (Direct Injection) มีประสท ิ ธิภาพทางปริมาตรสูงกว่าและทีภาวะ
เดินเบาเครืองยนต์ในระบบฉีดเชอเพลิื งโดยตรงจะเดินเรียบและเงียบกว่า
3 : ระบบฉีดเชอเพลิ ื งโดยตรง (Direct Injection) ใชกั้ บเชอเพลิ
ื งได ้หลายเกรดเมือเปรียบเทียบ

กับระบบฉีดเชอเพลิ งโดยอ ้อม (Indirect Injection)
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 2 และข ้อ 3

ข ้อที 106 :
ข ้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต ้องเกียวกับลักษณะการออกแบบห ้องเผาไหม ้เปิ ด (Open Chamber)ใน
เครืองยนต์ระบบ DI
1 : มีการออกแบบให ้มีการไหลวนอย่างชาๆ ้ (Low Swirl)

2 : การผสมระหว่างเชอเพลิ งและอากาศและอัตราการเผาไหม ้จะถูกควบคุมโดยระบบฉีดเชอเพลิ ื ง
3 : เครืองยนต์ทมี ิ ิ
ี ห ้องเผาไหม ้เปิ ดจะมีประสทธิภาพใกล ้เคียงกับประสทธิภาพทางความร ้อนของ
วัฏจักรอากาศมาตรฐาน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 107 :
ข้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต้องเกียวกับระบบครู สคอนโทล (Cruise control)
1 : เป็ นระบบทีช่วยให้ผขู ้ บั ขีรักษาความเร็ วของรถให้อยูใ่ นระดับคงทีโดยไม่ตอ้ งเหยียบคันเร่ ง
2 : เป็ นระบบทีมีการใช้กน ั อย่างแพร่ หลายในรถทีใช้เกียร์อตั โนมัติ โดยระบบครู สคอนโทลในรถทีใช้เกียร์
ธรรมดายังไม่มีใช้ในประเทศไทย เนืองจากสภาพถนนและลักษณะการขับขีทีต้องมีการเปลียนเกียร์บ่อยครัง
3 : ในปั จจุบน
ั ระบบนีได้ถูกพัฒนาขึนไปอีก เป็ นระบบครู สคอนโทลแบบปรับความเร็ วอัตโนมัติ (Adaptive
Cruise Control) ซึ งรถจะลดความเร็ วลงอัตโนมัติ เมือตรวจพบสิ งทีอยู่ ด้านหน้า

4: ถูกทุกข้อ
ธิ
สท

ข ้อที 108 :
ข้อใดต่อไปนีกล่าวผิด

1 : กําลังของเครื องยนต์ขึนอยูก่ บั จํานวน และขนาดของลูกสู บ ยิงมีขนาดใหญ่ขึน แรงและกําลังก็ยงมากขึ


ิ น
งวน

2 : เครื องยนต์เบนซิ น เครื องยนต์โรตารี และเครื องยนต์แก๊สเทอร์ ไบน์ เป็ นประเภทของเครื องยนต์สนั ดาป
ภายใน
3 : สําหรับเครื องยนต์ทีมีหลายลูกสู บ การจัดเรี ยงกระบอกสู บกระทํากันอยู่ 3 แบบคือ การเรี ยงของกระลูกสู บ

อยูใ่ นแนวเดียวกัน, การเรี ยงของกระลูกสู บเป็ นรู ปตัววี และ การเรี ยงของกระลูกสู บเป็ นแนวนอน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 22/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


4: ไม่มีขอ้ ใดถูก


กร
ิ ว
ข ้อที 109 :
ข้อใดเป็ นวิธีการส่ งกําลังจากเพลาข้อเหวียงไปยังแคมชาฟท์
าวศ
1 : แบบเฟื องไทมมิง
2 : แบบโซ่ ไทม์มิง
สภ
3 : แบบสายพานไทม์มิง
4 : ถูกทุกข้อ

ข ้อที 110 :
ข ้อใดกล่าวถูกเกียวกับการระบายความร ้อนด ้วยอากาศในเครืองยนต์
1 : ได ้เครืองยนต์ทมี
ี นําหนักเบา
2 : ้
มีความร ้อนค่อนข ้างสูง ทําให ้อายุการใชงานของเครื
องยนต์สน ั
3 : มีประสท ิ ธิภาพตําเมือเปรียบเทียบกับการระบายความร ้อนด ้วยนํ า
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 111 :
ข้อใดต่อไปนีกล่าวถูก
1 : วิธีหนึ งในการเพิมกําลังของเครื องยนต์ให้สูงขึน คือการเพิมแรงดันให้กบ ั อากาศ
2 : อุปกรณ์ทีใช้ในการเพิมแรงดันให้กบ ั อากาศ ได้แก่ เทอร์โบชาร์จ และซุปเปอร์ชาร์จ
3 : ข้อแตกต่างระหว่าง เทอร์ โบชาร์ จ และซุปเปอร์ ชาร์ จ คือเทอร์ โบชาร์ จใช้ไอเสี ยของรถยนต์เป็ นตัวขับ
เคลือน ส่ วนซุปเปอร์ชาร์จใช้กาํ ลังจากเครื องยนต์โดยตรงขับเคลือน
4 : ถูกทุกข้อ

ข ้อที 112 :
ข้อใดต่อไปนีกล่าวถูก
1 : คาร์ บิวเรเตอร์ ทําหน้าทีฉี ดเชือเพลิงทีได้รับการผสมแล้วเข้าไปในกระบอกสู บโดยตรง
2 : หัวฉี ด มีหน้าทีผสมนํามันกับอากาศให้ได้สด ั ส่ วนพอดี แล้วจึงผ่านเข้าไปในกระบอกสู บ
3 : การเพิมขนาดของกระบอกสู บ ยิงมีขนาดใหญ่กาํ ลังของเครื องยนต์กย็ งมาก ิ
4: ถูกทุกข้อ
ธิ
สท

ข ้อที 113 :
ข้อใดต่อไปนีกล่าวถูก

1 : การเพิมขนาดของกระบอกสู บ ผูผ้ ลิตสามารถเพิมความจุได้โดยการทําให้กระบอกสู บสู งขึน หรื อเส้นผ่าน


งวน

ศูนย์กลางเพิมขึน หรื อเพิมจํานวนกระบอกสู บขึน


2 : การเพิมกําลังอัดของลูกสู บ (Compression ratio) ยิงมีค่าอัตราส่ วนการอัดมากเท่าไร กําลังทีได้ยงมี
ิ ค่า
มากขึน

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 23/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3: เพือป้องกันการเกิดการเผาไหม้ก่อนเวลา จึงจําเป็ นต้องใช้นามั
ํ นทีมีค่าออกเทนสู ง


4: ถูกทุกข้อ

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 114 :
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ั เช่น แรงม้า (HP) และ กิโล
1 : แรงม้าคือหน่วยสําหรับใช้วดั กําลังของเครื องยนต์ หน่วยวัดกําลังทีนิ ยมใช้กน
สภ
วัตต์ (KW)
2 : แรงบิดคือแรงหมุนของเพลาเครื องยนต์เป็ นแรงทีใช้เพือส่ งกําลังของเครื องยนต์ไปหมุนเกียร์ เพลา และ ล้อ
รถ เพือให้รถเคลือนทีไปได้
3 : Indicated Horse Power หมายถึงกําลังทีเครื องยนต์ผลิตได้ และ FHP คือ Friction Horse Power
ซึงหมายถึงแรงเสี ยดทานภายในเครื องยนต์
4: ถูกทุกข้อ

ข ้อที 115 :
ข้อใดเป็ นข้อดีของเครื องยนต์ดีเซล
1 : ราคาของนํามันเชือเพลิงถูกกว่านํามันเบนซิ น
2 : ชินส่ วนของเครื องยนต์แข็งแรง มีอายุการใช้งานได้ยาวนาน

3: นํามันดีเซลไม่ไวไฟเหมือนนํามันเบนซินทําให้มีความปลอดภัยมากกว่า
4: ถูกทุกข้อ

ข ้อที 116 :
ข้อใดเป็ นข้อแตกต่างระหว่างเครื องยนต์ CI และเครื องยนต์ SI
1 : สารผสมระหว่างเชือเพลิงและอากาศเป็ นส่ วนผสมหนาสําหรับการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์
2 : เครื องยนต์ CI มีอตั ราส่ วนการอัดตํากว่า
3 : โดยทัวไปเครื องยนต์ CI ออกแบบให้ทาํ งานทีรอบสู ง จึงทําให้กาํ ลังสู ญเสี ยเนื องจากความฝื ดตํา

4: ในเครื องยนต์ CI จะฉี ดเชือเพลิงก่อนเริ มต้นเผาไหม้เพียงเล็กน้อย จึงไม่มีขอ้ จํากัดของการน็อกเหมือน


เครื องยนต์ SI

ข ้อที 117 :
การจัดเรี ยงกระบอกสู บแบบใดไม่นิยมใช้ในรถยนต์
ธิ

1 : กระบอกสู บแนวรัศมี
สท

2 : กระบอกสู บรู ปตัว V


3 : กระบอกสู บรู ปตัว W


งวน

4 : กระบอกสู บตรงกันข้าม

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 24/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 118 :
ค่าการสิ นเปลืองเชือเพลิงจําเพาะคือ

กร
1 : อัตราส่ วนระหว่างอัตราการไหลเชือเพลิงและกําลังทีได้
2 : อัตราส่ วนระหว่างปริ มาตรเครื องยนต์และกําลังทีกําหนด

ิ ว
3 : อัตราส่ วนระหว่างงานต่อวัฏจักรและปริ มาตรกระจัดต่อวัฏจักร

4: าวศ
ผิดทุกข้อ
สภ

ข ้อที 119 :
อัตราสว่ นระหว่างปริมาตรกระบอกสูบสูงสุดคืออะไร
1 : ความดันยังผลเฉลียบ่งช ี
2 : ความดันยังผลเฉลียเบรก
3 : ปริมาตรจําเพาะกระบอกสูบ
4 : อัตราสว่ นการอัด

ข ้อที 120 :
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสู บ และ ช่วงชัก ในข้อใดใกล้เคียงกับเครื องยนต์ 6 สู บขนาด 3,000 CC มาก
ทีสุ ด
1 : 80 × 80 mm.
2 : 84 × 84 mm.
3 : 86 × 86 mm.
4 : 88 × 88 mm.

ข ้อที 121 :
ข้อใดกล่าวผิดถ้าเปรี ยบเทียบระหว่างเครื องยนต์ 2 จังหวะ และ 4 จังหวะ ด้วยขนาดความจุเครื องยนต์เท่ากัน
1 : เครื องยนต์ 2 จังหวะ มีนาหนั
ํ กเบากว่า เครื องยนต์ 4 จังหวะ
2 : เครื องยนต์ 2 จังหวะ ได้กาํ ลังมากกว่าเครื องยนต์ 4 จังหวะ 2 เท่า
3 : เครื องยนต์ 2 จังหวะ สิ นเปลืองเชือเพลิงมากกว่า เครื องยนต์ 4 จังหวะ

4: ผิดทุกข้อ

ข ้อที 122 :
ประสิ ทธิภาพเชิงปริ มาตรคืออะไร
ธิ

1 : อัตราส่ วนระหว่างปริ มาตรเครื องยนต์ และ กําลังทีได้


สท

2 : อัตราส่ วนระหว่างประสิ ทธิ ภาพเชิงกล และปริ มาตรเครื องยนต์


3 : อัตราส่ วนระหว่างประสิ ทธิ ภาพเชิงความร้อน และอัตราซึ งปริ มาตรถูกกวาดโดยลูกสู บ


งวน

4 : อัตราส่ วนระหว่างอัตราการไหลของปริ มาตรอากาศทีเข้าไปในระบบไอดี และอัตราซึ งปริ มาตรถูกกวาด


โดยลูกสู บ

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 25/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 123 :
ตัวแปรใดไม่ได ้บ่งชว่ี าถ ้ามีคา่ เพิมขึนจะทําให ้อัตราการสนเปลื
ิ ื
องเชอเพลิ
งจําเพาะเพิมมากขึน

กร
1 : อัตราการไหลเชงิ มวลของเชอเพลิ
ื ง
2 : กําลังของเครืองยนต์

ิ ว
3 : ความเร็วของรถยนต์

าวศ
4 : ความเร็วรอบของเครืองยนต์
สภ
ข ้อที 124 :
อัตราสว่ นอากาศต่อเชอเพลิ
ื งคืออะไร
1 : อัตราสว่ นระหว่างอัตราการไหลเชงิ มวลของเชอเพลิ
ื ง ต่อ อัตราการไหลเชงิ มวลของอากาศ
2:
อัตราสว่ นระหว่างอัตราการไหลเชงิ มวลของอากาศ ต่อ อัตราการไหลเชงิ มวลของเชอเพลิื ง
3 : อัตราสว่ นระหว่างอัตราการไหลเชงิ ปริมาตรของเชอเพลิ
ื ง ต่อ อัตราการไหลเชงิ ปริมาตรของ
อากาศ
4 : อัตราสว่ นระหว่างอัตราการไหลเชงิ ปริมาตรของอากาศ ต่อ อัตราการไหลเชงิ ปริมาตรของเชอ ื
เพลิง

ข ้อที 125 :
ต ้องทําอย่างไรเพือให ้เครืองยนต์ 4 จังหวะมีสมรรถนะสูงขึน
1 : ทําให ้อากาศเข ้าเครืองยนต์มค ี วามหนาแน่นเพิมมากขึน
2 : มีประสท ิ ธิภาพเชงิ ปริมาตรสูง
3 : มีประสท ิ ธิภาพการเปลียนพลังงานเชอเพลิ
ื งสูง
4 : ถูกทุกข้อ

ข ้อที 126 :
ข้อใดไม่ใช่หน้าทีของคาร์บูเรเตอร์
1 : ควบคุมอัตราการไหลของเชือเพลิง
2 : กระจายเชือเพลิงให้เป็ นฝอยละอองในอากาศ
3 : ควบคุมอัตราการไหลของอากาศ
4 : จุดระเบิดให้เชือเพลิงเผาไหม้ในอากาศ

ข ้อที 127 :
การติดตัง EGR วาล์ว ให้ไอเสี ยผ่านเข้าในท่อไอดีเพือลดมลพิษใด
ธิ

1: CO
สท

2: NOX

3: S
งวน

4: HC

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 26/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 128 :
การปรับระบบให้ส่วนผสมอากาศกับเชือเพลิงบางลง เป็ นผลให้

กร
1: CO , HC และ NOX ลดลง

ิ ว
2: CO และ HC ลดลง แต่ NOX เพิมขึน
3:
4:
าวศ
NOX , HC ลดลง และ CO เพิมขึน
NOX , CO ลดลง และ HC เพิมขึน
สภ

ข ้อที 129 :
ข้อใดเป็ นสารทีใช้เพิมค่า Octane ของนํามันเบนซินทีเลิกใช้ไปแล้ว
1: MTBE
2: Ethanol
3: Lead
4: ไม่มีขอ้ ใดถูก

ข ้อที 130 :
เครื องยนต์โรตารี (Wankel) มีอตั ราส่ วนการอัดตํา จะส่ งผลให้ลดมลพิษใด
1: CO และ NOX เพิมขึน แต่ HC ตําลง
2: CO และ NOX ลดลง แต่ HC สู งขึน
3: การเผาไหม้สมบูรณ์ขึน CO, HC และ NOX ลดลง
4: การเผาไหม้สมบูรณ์ขึน CO, HC ลดลง แต่ NOX สู งขึน

ข ้อที 131 :
การลดอัตรากําลังอัดของเครื องยนต์ลงเพือใช้นามั
ํ นทีมี Octane ตําลง และลดอุณหภูมิในกระบอกสู บลง เป็ นผลให้
1: NOX ลดลง
2: CO ลดลง
3: HC ลดลง
4: CO และ HC ลดลง
ธิ
สท

ข ้อที 132 :
มลพิษในไอเสี ยของเครื องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟประกอบด้วย
งวน

1: CO , HC และ NOX
2: CO , HC , NOX และเขม่า

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 27/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3: CO , HC , NOX และ Lead


4: ไม่มีขอ้ ใดถูก

กร
ิ ว
าวศ
เนือหาวิชา : 376 : Lubrication
สภ
ข ้อที 133 :
วัตถุประสงค์ของการหล่อลืนในเครืองยนต์คอ

1 : ลดแรงเสย ี ดทาน
2 : ป้ องกันการสม ั ผัสของผิวโลหะ
3 : ป้ องกันการร ้อนจัดเกินไป
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 134 :
ความหนืดของนํ ามันเครืองกําหนดได ้จาก
1 : SAE Number
2 : Centi Stroke
3 : Centi Poise
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 135 :
การเลือกใชนํ้ ามันเครืองพิจารณาจากหลักเกณฑ์ใดต่อไปนี
1 : ้
เลือกตามลักษณะการใชงาน
2 : เลือกจากความหนืดทีเหมาะสม
3 : เลือกชนิดตาม API
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 136 :
เครืองยนต์ดเี ซลทีมีสภาพการทํางานร ้อนจัดตลอดเวลา ควรเลือกใชนํ้ ามันเครืองชนิดใด
1 : ความหนืดสูง
2 : ความหนืดปานกลาง
3 : ความหนืดตํา
4 : ความหนืดตามมาตรฐานผู ้ผลิตกําหนดไว ้
ธิ
สท

ข ้อที 137 :
งวน

Multi Viscosity คือนํ ามันเครืองทีมีคณ


ุ สมบัตอ
ิ ย่างไร
1 : นํ ามันเครืองทีทํางานภายใต ้สภาวะความแตกต่างของอุณหภูมไิ ด ้สูง
2 : นํ ามันเครืองทีได ้จากการนํ านํ ามันแบบ Single Grade หลายชนิดมารวมกัน

3 : นํ ามันเครืองทีผลิตขึนเพือใชในภู้ มป ิ ระเทศเมืองร ้อน


4 : นํ ามันเครืองทีผลิตขึนเพือใชในภู ้ มป ิ ระเทศเมืองหนาว
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 28/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 138 :

ิ ว
ถ ้านํ ามันเครือง Single Grade 2 ชนิด มาผสมกัน คุณสมบัตด
ิ ้านการหล่อลืนจะเปลียนแปลงอย่างใด

าวศ
1 : มีคา่ ลดลง
2 : มีคา่ สูงขึน
3 : มีคา่ ตํากว่าค่าเฉลียของทังสองชนิด
สภ
4 : มีคา่ สูงกว่าค่าเฉลียของทังสองชนิด

ข ้อที 139 :
ค่าดัชนี Viscosity Index (VI) บ่งบอกถึงคุณสมบัตด
ิ ้านใดของนํ ามันหล่อลืน
1 : การทนต่อสภาพอุณหภูมสิ งู ได ้
2 : การทนต่อสภาพอุณหภูมต ิ ําได ้
3 : การทนต่อสภาพการเปลียนแปลงอุณหภูมข
ิ องอุณหภูมไิ ด ้
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 140 :
เครืองมือทีใชวั้ ดค่าความหนืดคือ
1 : Hygrometer
2 : Tachometer
3 : Viscosimeter
4 : Fluxmeter

ข ้อที 141 :
นํ ามันเครืองทีมีอก
ั ษร W ตามหลังจะมีคณ
ุ สมบัตค
ิ วามหนืดอย่างไร
1 : น ้อยกว่าเบอร์ทตามหลั
ี ง
2 : เท่ากับเบอร์ทตามหลั
ี ง
3 : มากกว่าเบอร์ทตามหลั
ี ง
4 : สูงกว่าเบอร์ทตามหลั
ี งแต่น ้อยกว่าเบอร์ถด
ั ไป

ข ้อที 142 :
การเติมสาร Additive ลงในนํ ามันเครืองมีวต
ั ถุประสงค์เพืออะไร
ธิ

1 : ป้ องกันและขจัดเขม่า
2 : ลดการกัดกร่อน
สท

3 : ป้ องกันสนิม

4 : ถูกทุกข ้อ
ส งวน

ข ้อที 143 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 29/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ถ ้าใชนํ้ ามันเครืองเบอร์ตํากว่ามาตรฐานทีเครืองต ้องการ ผลทีเกิดขึนกับเครืองยนต์คอ


1 : เครืองยนต์เสย ี กําลังมากขึน สตาร์ทติดยากเมืออากาศเย็น

กร
2 : เครืองยนต์มก
ี ารหล่อลืนดีขน ึ
3 : เครืองยนต์กนิ นํ ามันเครืองน ้อยลง
4 : ถูกทุกข ้อ

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 144 :
ถ ้าใสน่ ํ ามันเครืองเบอร์สงู กว่ามาตรฐานทีเครืองยนต์ต ้องการผลทีเกิดขึนกับเครืองยนต์คอ

1 : เครืองยนต์เสย ี กําลังมากขึน สตาร์ทติดยากเมืออากาศเย็น
2 : เครืองยนต์มก ี ารหล่อลืนดีขน ึ
3 : กินนํ ามันเครืองน ้อยลง
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 145 :
นํ ามันหล่อลืนเป็ นผลิตภัณฑ์ทได
ี ้มาจาก
1 : นํ ามันปิ โตรเลียม
2 : นํ ามันพืช
3 : นํ ามันสต ั ว์
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 146 :
เครืองยนต์ททํี างานหนักตลอดเวลา ควรใชนํ้ ามันหล่อลืนทีมีคณ
ุ สมบัตอ
ิ ย่างไร
1 : ค่า SAE สูง
2 : ค่า VI สูง
3 : ค่า API สูง
4 : ค่า AF สูง

ข ้อที 147 :
นํ ามันหล่อลืนชนิดใดทีมีคณ
ุ สมบัตท
ิ นอุณหภูมไิ ด ้สูงกว่า
1 : Synthetic Lube
2 : Semi-syntetic Lube
3 : Paraffinic Base Lube
4 : Napthanic Base Lube
ธิ
สท

ข ้อที 148 :
งวน


เชอเพลิ ิ ปั จจุบน
งทดแทนในเครืองยนต์เบนซน ้
ั ทีมีการใชงานคื

1 : นํ ามัน Gasohol
2 : ก๊าซ LPG

3 : ก๊าซ CNG
4 : ถูกทุกข ้อ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 30/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 149 :

ิ ว
้ ้ในเครืองยนต์ดเี ซลได ้มาจากกระบวนการใด
Biodiesel ทีใชได

าวศ
1 : กระบวนการ Esterification จากนํ ามันพืชชนิดต่างๆ
2 : กระบวนการ Purification จากนํ ามันพืชชนิดต่างๆ
3 : กระบวนการ Distillation จากนํ ามันพืชชนิดต่างๆ
สภ
4 : กระบวนการ Decomposition จากนํ ามันพืชชนิดต่างๆ

ข ้อที 150 :
การใชนํ้ ามัน Gasohol ในเครืองยนต์ SI จะมีผลคือ
1 : ลดอาการ Knock ได ้มากขึน
2 : ื
เพิมการกินเชอเพลิ

3 : ไอเสยี สะอาดขึน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 151 :
ผลของการใช ้ Biodiesel ในเครืองยนต์ CI
1 : กําลังลดลง
2 : กําลังเพิมขึน
3 : เครืองยนต์สตาร์ทติดยาก
4 : ไม่มขี ้อใดถูก

ข ้อที 152 :
การใชก๊้ าซ CNG ในเครืองยนต์จําเป็ นต ้องมีการปรับเครืองยนต์ท ี
1 : อัตราสว่ นนํ ามันเชอเพลิ
ื ง
2 : อุณหภูมน ิ ํ าหล่อเย็น
3 : ความเร็วรอบเครืองยนต์
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 153 :
ั บูรณ์
ข ้อใดเป็ นหน่วยของความหนืดสม
ธิ

1 : Stroke
2 : Poise
สท

3 :

4 : ถูกทุกข ้อ
ส งวน

ข ้อที 154 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 31/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


่ น่วยของความหนืด
ข ้อใดไม่ใชห


1:

กร
2:
3:

ิ ว
4:

าวศ
สภ
ข ้อที 155 :
ข ้อใดกล่าวความหมายของความหนืดได ้ถูกต ้องทีสุด
1 : ความสามารถในการยืดตัวของของไหล
2 : ความสามารถในการลดแรงกระทบกันของของไหล
3 : ความสามารถในการกระทําให ้ของไหลเกิดแรงต ้าน เมือมีแรงมากระทํา
4 : ความสามารถในการต ้านทานการไหลของของไหล เมือมีแรงมากระทํา

ข ้อที 156 :
ข ้อใดไม่ใชส่ ารทีนํ ามาทํานํ ามันหล่อลืน
1 : นํ ามันปิ โตรเลียม
2 : นํ ามันพืช
3 : นํ ามันสต ั ว์
4 : ผิดทุกข ้อ

ข ้อที 157 :
นํ ามันหล่อลืนทีมีคา่ VI สูงเหมาะกับเครืองยนต์ลก
ั ษณะใด
1 : เครืองยนต์ททํ
ี างานหนักตลอดเวลา
2 : เครืองยนต์ทไม่
ี คอ ้
่ ยได ้ใชงาน
3 : เครืองยนต์ทต ี ้องการประหยัดพลังงาน
4 : เครืองยนต์ทมี ี ความจุมากๆ

ข ้อที 158 :

1 : เพือมิให ้เกิดการชาํ รุดแตกหักของชนส


ิ ว่ น
2 : เพือมิให ้เกิดการเผาไหม ้ทีไม่สมบูรณ์
3 : เพือลดปั ญหาการสก ึ หรอของกระบอกสูบ
ธิ

4 : ถูกทุกข ้อ
สท

งวน

ข ้อที 159 :
API SM เป็ นมาตรฐานคุณภาพนํ ามันหล่อลืนสําหรับเครืองยนต์ชนิดใด

1 : จุดระเบิดด ้วยการอัด
2 : จุดระเบิดด ้วยประกายไฟ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 32/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : จุดระเบิดด ้วยการอัดแบบลูกผสม


4 : ถูกทุกข ้อ

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 160 :
API (American Petroleum Institute) ได ้แบ่งระดับคุณภาพของนํ ามันหล่อลืนเป็ น 2 ประเภทได ้แก่
1 : Service Oils and Commercial Oils
สภ
2 : Spark Ignition and Compression Ignition
3 : เครืองยนต์ขนาดเล็กและเครืองยนต์ขนาดใหญ่
4 : ไม่มขี ้อใดถูก

ข ้อที 161 :
ลักษณะการไหลของของไหลแบบใด ทีของไหลมีคา่ ความหนืดคงทีทีอุณหภูมห
ิ นึงๆ ไม่เปลียนแปลง
กับอัตราเฉือน (Shear Rate) หรือความเร็วในการกวน
1 : Dilatant Fluid
2 : Bingham Plastic
3 : Newtonian Fluid
4 : Pseudo Plastic

ข ้อที 162 :
ข ้อใดกล่าวได ้ถูกต ้อง
1 : นํ ามันหล่อลืน SAE 20W-50 หมายถึงทีอุณหภูม ิ 0 องศาฟาเรนไฮท์ จะมีคา่ ความหนืดเท่ากับ
SAE 20W แต่เมืออุณหภูมส ิ งู ถึง 100 องศาฟาเรนไฮท์จะมีคา่ ความหนืดเท่ากับ SAE 50

2 : SAE 40 จะมีคา่ ความหนืดน ้อยกว่า SAE 40W


่ SAE 20W-50,
3 : นํ ามันหล่อลืนความหนืดเดียว (Single Viscosity Oil) จะแสดงเป็ นตัวเลขเชน
SAE 20W-40 เป็ นต ้น
4 : นํ ามันหล่อลืนความหนืดเดียว (Single Viscosity Oil) จะแสดงเป็ นตัวเลขเชน่ SAE 20, SAE
30 เป็ นต ้น

ข ้อที 163 :
ข ้อใดเป็ นหน ้าทีของนํ ามันเครืองยนต์
1 : ป้ องกันการสก ึ หรอและสง่ ถ่ายกําลังผ่านฟิ ลม์ นํ ามัน
2 : ทําให ้สสารต่าง ๆ ทีเกิดจากเผาไหม ้และเศษโลหะให ้แขวนลอยอยูใ่ นนํ ามัน
3 : มีคณุ สมบัตทิ ําให ้นํ ามันเครืองมีสภาพเป็ นกลาง
ธิ

4 : นํ าความร ้อนได ้ดีและมีความหนืดตํา


สท

งวน

ข ้อที 164 :
ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของนํามันเครื องยนต์
1 : ทําให้สารตกค้างจากการเผาไหม้ไม่ทาํ ลายระบบ

2 : ป้ องกันการกัดกร่ อน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 33/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3: ป้องกันการสึ กหรอและส่ งถ่ายนํามันกําลังผ่านฟิ ล์มทีเกิดขึนจากปฏิกิริยาระหว่างนํามันกับโลหะ


4: มีความไวต่อการเกิดปฎิกิริยากับผิวโลหะ

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 165 :
ข้อใดเป็ นการแบ่งประเภทของคุณภาพตามมาตรฐานคุณภาพของยานยนต์ทีใช้เครื องยนต์ดีเซล
1 : API SA, SE, SH
สภ
2 : API SF,CD,CG
3 : API CE,CF-2,CF-4
4 : API SA, SE, CG

ข ้อที 166 :
ข้อใดเป็ นระดับค่าความหนืดในระบบ SAE (Society of Automotive Engineers) ของนํามันเกรดเดียว
1 : SAE 20W-20
2 : SAE 5W-30
3 : SAE 10W-40, 10W-50
4 : SAE 10W-30, 10W-40

ข ้อที 167 :
ข้อใดเป็ นระดับค่าความหนืดในระบบ SAE (Society of Automotive Engineers) ของนํามันกลุ่มประหยัด
พลังงาน

1 : SAE 20W-20
2 : SAE 5W-30
3 : SAE 10W-40, 10W-50
4 : SAE 10W-30, 10W-40

ข ้อที 168 :
เพือป้องกันการเกิดอาการเวเพอร์ลอ็ ก ควรเปลียนนํามันเบรกเมือนํามันเบรกมีจุดเดือดตํากว่าเท่าใด
1 : 150 oC

2 : 200 oC

3 : 250 oC

4 : 300 oC
ธิ
สท

ข ้อที 169 :
ข้อใดเป็ นความหมายของ SAE 20W-50 ตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมยานยนต์ (Society of
งวน

Automotive Engineer : SAE)


ี ส นํ ามันจะมีคา่ ความหนืดอยูท
1 : ในอุณหภูม ิ -25 องศาเซลเซย ่ ี เบอร์ 20 แต่เมืออุณหภูมส
ิ งู ถึง

100 องศาเซลเซยส จะเปลียนค่าความหนืดเป็ น เบอร์ 50

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 34/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


2 : ในอุณหภูม ิ 25 องศาเซลเซย ี ส นํ ามันจะมีคา่ ความหนืดอยูท่ ี เบอร์ 20 แต่เมืออุณหภูมสิ งู ถึง


100 องศาเซลเซย ี ส จะเปลียนค่าความหนืดเป็ น เบอร์ 50
3 : ในอุณหภูม ิ -25 องศาเซลเซย ี ส นํ ามันจะมีคา่ ความหนืดอยูท
่ ี เบอร์ 20 แต่เมืออุณหภูมส ิ งู ถึง

กร
40 องศาเซลเซย ี ส จะเปลียนค่าความหนืดเป็ น เบอร์ 50
4 : ในอุณหภูม ิ 25 องศาเซลเซย ี ส นํ ามันจะมีคา่ ความหนืดอยูท่ ี เบอร์ 20 แต่เมืออุณหภูมสิ งู ถึง 40

ิ ว
องศาเซลเซยี ส จะเปลียนค่าความหนืดเป็ น เบอร์ 50

าวศ
สภ
ข ้อที 170 :
ข้อใดเป็ นความหมายของ CH4/SG ตามมาตรฐานของสถาบันปิ โตรเลียมอเมริ กนั (The American
Petroleum Institute : API)
1: หมายถึง นํามันเครื องนีเหมาะสําหรับการใช้กบั เครื องยนต์เบนซิน แต่กส็ ามารถใช้กบั เครื องยนต์ดีเซลได้
ในระยะสัน
2 : หมายถึง นํามันเครื องนี เหมาะสําหรับการใช้กบ ั เครื องยนต์ดีเซล แต่กส็ ามารถใช้กบั เครื องยนต์เบนซินได้
ในระยะสัน
3 : หมายถึง นํามันเครื องนี เหมาะสําหรับการใช้กบ ั เครื องยนต์ดีเซลและเครื องยนต์เบนซินโดยสามารถใช้กบั
เครื องยนต์ทงั 2 ประเภทได้ในระยะสัน
4 : หมายถึง นํามันเครื องนี เหมาะสําหรับการใช้กบ ั เครื องยนต์ดีเซลและเครื องยนต์เบนซินโดยสามารถใช้กบั
เครื องยนต์ทงั 2 ประเภทได้ในระยะยาว

ข ้อที 171 :
มาตรฐานของสถาบันปิ โตรเลียมอเมริกน
ั (The American Petroleum Institute : API) คืออะไร
้ ประเภทของเครืองยนต์ และสมรรถนะในการปกป้ องชนส
1 : เป็ นมาตรฐานทีใชระบุ ิ ว่ นของ
เครืองยนต์
้ ประเภทของเครืองยนต์ และสมรรถนะในการปกป้ องชนส
2 : เป็ นมาตรฐานทีใชระบุ ิ ว่ นของ
เครืองยนต์

3 : เป็ นมาตรฐานทีใชแสดงความสามารถในการแขวนลอยของของแข็ งในนํ ามันหล่อลืนยานยนต์

4 : ใชระบุความหนืด (ความข ้นใส) ของนํ ามันเครือง

ข ้อที 172 :
มาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมยานยนต์ (Society of Automotive Engineer : SAE) คืออะไร
้ ประเภทของเครืองยนต์ และสมรรถนะในการปกป้ องชนส
1 : เป็ นมาตรฐานทีใชระบุ ิ ว่ นของ
เครืองยนต์

2 : เป็ นมาตรฐานทีใชแสดงคุณสมบัตก ิ ารไหลตัวของนํ ามันเครืองยนต์ภายใต ้สภาวะการใชงาน้
3:
้ คา่ ความหนืด (ความข ้นใส) ของนํ ามันเครืองยนต์
เป็ นมาตรฐานทีใชระบุ

4 : เป็ นมาตรฐานทีใชแสดงความสามารถในการแขวนลอยของของแข็ งในนํ ามันหล่อลืนยานยนต์
ธิ
สท

ข ้อที 173 :
ข้อใดกล่าวถูกเกียวกับดัชนีขน้ ใสของนํามันหล่อลืน
งวน

1 : นํามันทีมีค่าดัชนี ความข้นใสสู งเมือถูกทําให้ร้อนขึนจะใสตัวลงไม่มาก และหากทําให้เย็นลงจากเดิมก็จะ


ข้นขึนไม่มาก
2 : นํามันทีมีค่าดัชนี ความข้นใสสู งเมือถูกทําให้ร้อนขึนจะใสลงมาก และหากทําให้เย็นลงจากเดิมก็จะข้นขึน

มาก
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 35/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3: นํามันทีมีค่าดัชนีความข้นใสตําเมือถูกทําให้ร้อนขึนจะใสตัวลงไม่มาก และหากทําให้เย็นลงจากเดิมก็จะ


ข้นขึนไม่มาก
4 : นํามันทีมีค่าดัชนี ความข้นใสตําเมือถูกทําให้ร้อนขึนจะใสตัวลงไม่มาก และหากทําให้เย็นลงจากเดิมก็จะ

กร
ข้นขึนมาก

ิ ว
าวศ
ข ้อที 174 :
ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของนํามันหล่อลืนพืนฐานจากนํามันดิบฐานพาราฟิ นิก (Paraffinic Base Oil)
สภ
1 : การมีค่าดัชนี ความข้นใสตํา
2 : การมีจุดวาบไฟตํา
3 : การมีจุดไหลเทตํา

4: มีการระเหยตัวตํา

ข ้อที 175 :
ข้อใดเป็ นคุณสมบัติของนํามันหล่อลืนพืนฐานจากนํามันสังเคราะห์ (Synthetic Base Oil)
1 : การมีค่าดัชนี ความข้นใสสู ง
2 : การมีจุดไหลเทสู ง

3: มีการระเหยตัวสู ง
4: ไม่มีขอ้ ใดถูก

ข ้อที 176 :
ข้อใดกล่าวถูกเกียวกับการเลือกใช้ความข้นใสนํามันหล่อลืนกับสภาพการทํางาน
1 : นํามันหล่อลืนทีมีค่าความข้นใสสู งสภาพการทํางานจะใช้ในเครื องยนต์ทีทํางานรอบตํา
2 : นํามันหล่อลืนทีมีค่าความข้นใสตําสภาพการทํางานจะใช้ทีอุณหภูมิสูง
3 : นํามันหล่อลืนทีมีค่าความข้นใสตําสภาพการทํางานจะใช้ทีแรงกดสู ง

4: ไม่มีขอ้ ใดถูก

ข ้อที 177 :
ข้อใดกล่าวถูกเกียวกับค่าดัชนีความข้นใส (Viscosity Index)
1 : นํามันหล่อลืนทีมีค่าความข้นใสเปลียนแปลงน้อยเมืออุณหภูมิเปลียนแปลงมาก แสดงว่านํามันหล่อลืนมีค่า
ธิ

VI ตํา
2 : นํามันหล่อลืนทีมีค่าความข้นใสเปลียนแปลงน้อยเมืออุณหภูมิเปลียนแปลงมาก แสดงว่านํามันหล่อลืนมีค่า
สท

VI สู ง

3 : นํามันหล่อลืนทีมีค่าความข้นใสเปลียนแปลงมากเมืออุณหภูมิเปลียนแปลงน้อยแสดงว่านํามันหล่อลืนมีค่า
งวน

VI สู ง
4 : ไม่มีขอ้ ใดถูก

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 36/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 178 :


ประเภทของสารเพิมคุณภาพใดมีประโยชน์เพือใช้ลดอัตราการเปลียนแปลงความข้นใสตามอุณหภูมิของนํามัน ใช้
ในนํามันชนิดมัลติเกรดหรื อเกรดรวม

กร
1 : สารต้านการเกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชัน

ิ ว
2 : สารเพิมค่าดัชนี ความข้นใส

าวศ
3 : สารเปลียนแปลงความฝื ด

4: สารลดจุดไหลเท
สภ

ข ้อที 179 :
ข้อใดเป็ นหน้าทีของนํามันหล่อลืน
1 : ช่วยหล่อลืนและช่วยระบายความร้อน
2 : ช่วยป้ องกันการเกิดสนิ มและการกัดกร่ อน
3 : ช่วยรักษาความสะอาดและช่วยกระจายความสกปรก

4: ถูกทุกข้อ

ข ้อที 180 :
คุณสมบัติใดดังต่อไปนีของนํามันหล่อลืนเครื องยนต์ทีสามารถกําจัด คราบเขม่า ยางเหนียว เถ้า และสิ งสกปรก
ต่างๆ ทีติดเป็ นคราบอยูต่ ามชินส่ วนของเครื องยนต์
1 : Detergency
2 : Dispersancy
3 : Anti Oxidant

4 : TBN

ข ้อที 181 :
คุณสมบัติขอ้ ใดในนํามันหล่อลืนใดทีมีผลทําให้การหล่อลืนมีประสิ ทธิภาพสู ง เครื องยนต์สตาร์ตง่ายและการ
สึ กหรอลดลง
1 : Detergency
2 : Dispersancy

3 : Anti Oxidant

4 : High Viscosity Index


ธิ
สท

ข ้อที 182 :
สมรรถนะของนํามันเครื องสําหรับเครื องยนต์ดีเซลตามการกําหนดของมาตรฐาน API มีกีระดับอะไรบ้าง
งวน

1 : มี 4 ระดับ ได้แก่ CA, CB, CC, CE-2


2 : มี 4 ระดับ ได้แก่ CA, CB, CC, CD-4

3 : มี 5 ระดับ ได้แก่ CA, CB, CC, CE และ CG-2


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 37/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


4: มี 5 ระดับ ได้แก่ CA, CB, CC, CE และ CF-4


กร
ิ ว
ข ้อที 183 :
นํามันสังเคราะห์เอสเทอร์มกั ใช้เป็ นนํามันพืนฐานสําหรับผลิตนํามันหล่อลืนในงานประเภทใด
าวศ
1 : นํามันเบรกทีใช้สาํ หรับรถยนต์
2 : นํามันเทอร์ ไบน์ของเครื องยนต์ไอพ่น
สภ
3: นํามันเกียร์และเฟื อง
4: นํามันหล่อลืนลูกสู บไอนํา

ข ้อที 184 :
นํามันหล่อลืนทีมีค่าความข้นใสเปลียนแปลงน้อยเมืออุณหภูมิเปลียนแปลงมากแสดงว่านํามันหล่อลืนนันมี
คุณสมบัติเป็ นอย่างไร
1 : มีค่า VI สู ง
2 : มีค่า VI ตํา
3 : มีค่า cSt ตํา

4: มีค่า cSt สู ง

ข ้อที 185 :
สารเพิมคุณภาพชนิดใดทีช่วยป้องกันการสึ กหรอ
1 : เมทอลฟี เนต
2 : โพลีไอโซบิวทิลีน
3 : เมทาครี เลต

4: ซิงก์ไดอัลคิลไดไธโอฟอสเฟต (ZDDP)

เนือหาวิชา : 377 : Supercharge

ข ้อที 186 :
ข ้อใดอธิบายความหมายของคอมเพรสเซอร์ในระบบไอดี แบบซูเปอร์ชาร์จเจอร์ได ้ถูกต ้อง
1 : มีการเพิมปริมาณอากาศด ้วยระบบกลไก
ธิ

2 : มีการเพิมความดันและอุณหภูมขิ องอากาศเข ้ากระบอกสูบ


สท

3 : มีการเพิมความดันอากาศด ้วยไอเสยี ขับใบพัด


4 : เพิมปริมาณอากาศด ้วยคลืนความดัน
งวน

ข ้อที 187 :

ี ออกจากกระบอกสูบนัน จํ าเป็ นต ้องมีคณ


การนํ าไอดีเข ้าไปไล่ไอเสย ุ ลักษณะใดต่อไปนี
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 38/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : ไอดีต ้องมีปริมาณมากพอกับปริมาณไอเสย ี และเพียงพอกับเชอเพลิ
ื งขณะเผาไหม ้


2 : ไอดีต ้องมีความดันใกล ้เคียงกับความดันของไอเสยี
3 : ไอดีต ้องมีความดันเท่ากับความดันของไอเสย ี

กร
4 : ไอดีต ้องมีความดันสูงกว่าความดันบรรยากาศเสมอ

ิ ว
ข ้อที 188 : าวศ ี (Scavenging Process) ของเครืองยนต์สองจังหวะ ข ้อใดกล่าวได ้ถูก ต ้อง
กระบวนการกํ าจัดไอเสย
สภ
1 : การรวมกระบวนการดูดไอดีและคายไอเสย ี เข ้าไว ้ด ้วยกัน
2 : ี
กระบวนการขับไล่ไอเสยจากการเผาไหม ้ออกจากกระบอกสูบ
3 : การไล่ไอเสยี ด ้วยการเคลือนทีขึนลงของลูกสูบภายในกระบอกสูบ
4 : มีอป
ุ กรณ์เสริมในการเพิมปริมาณอากาศมากขึนเพือกํ าจัดไอเสย ี

ข ้อที 189 :
ข ้อใดบอกหน ้าทีของซูเปอร์ชาร์จเจอร์และเทอร์โบชาร์จเจอร์ในเครืองยนต์ ได ้อย่างถูกต ้อง
1 : ้
เพิมอัตราเร่งให ้เหมาะสมกับสภาพการใชงานของเครื องยนต์
2 : ประจุอากาศเข ้ากระบอกสูบของแต่ละวัฏจักรให ้มากขึน
3 : ชว่ ยให ้การเผาไหม ้สมบูรณ์ขน
ึ โดยการทํ าให ้เกิดความปั นป่ วนมากขึน
4 : ลดการเกิดอาการน็ อคในเครืองยนต์ โดยการเพิมปริมาณอากาศ

ข ้อที 190 :
การลดอุณหภูมข ิ องอากาศขาออกเมือผ่านซูเปอร์ชาร์จเจอร์ในเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ
เพือป้ องกันปั ญหาใดต่อไป
1 : อุปกรณ์อาจเกิดความเสย ี หายจากอุณหภูมทิ สู
ี งขึน
2 : ิ ื
ลดความสนเปลืองเชอเพลิงอันเกิดจากการระเหย
3 : การชงิ จุดระเบิดและการน็ อคของเครืองยนต์
4 : ลดความรุนแรงในขณะเผาไหม ้

ข ้อที 191 :
เหตุใดจึงต ้องลดอัตราสว่ นการอัดของเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ เมือทํ าการดัดแปลงให ้ใช ้
กับเทอร์โบชาร์จเจอร์
1 : ถ ้าไม่ลดอัตราสว่ นการอัดลง จะสง่ ผลต่ออุณหภูมก
ิ ารเผาไหม ้สูง
ทําให ้เกิดการชงิ จุดและเกิดการน็ อคได ้
2 : ถ ้าไม่ลดอัตราสว่ นการอัดลง ความสนเปลื
ิ ื
องเชอเพลิ งอันเกิดจากการระเหยจะสูงขึน
3 : ถ ้าไม่ลดอัตราสว่ นการอัดลง อุปกรณ์อาจเกิดความเสย ี หายจากอุณหภูมท ิ สู
ี งขึน
ธิ

4 : ถ ้าไม่ลดอัตราสว่ นการอัดลง อาจเกิดความรุนแรงในขณะเผาไหม ้ได ้สูง


สท

งวน

ข ้อที 192 :
เหตุใดหากติดตังเทอร์โบชาร์จเจอร์กบ ุ ระเบิดด ้วยการอัด จึงไม่จําเป็ นต ้องลดอัตราสว่ น
ั เครืองยนต์จด
การอัดลง

ุ ระเบิดด ้วยการอัดใชวั้ สดุทมี


1 : เนืองด ้วยเครืองยนต์จด ี ความทนทาน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 39/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


2 : เนืองด ้วยปริมาณอากาศสําหรับเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยการอัดมากเพียงพอ


3 : เนืองด ้วยปั ญหาต่างๆ ในเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยการอัดไม่สง่ ผลต่อเครืองยนต์
4 : เนืองด ้วยการน็ อคไม่เป็ นปั ญหาในเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยการอัด

กร
ิ ว
ข ้อที 193 :
าวศ
เครืองยนต์แบบทีติดตังเทอร์โบชาร์จเจอร์หรือซูเปอร์ชาร์จเจอร์มาจากโรงงานมักมีการควบคุมแรงดัน
ของอากาศทีจะอัดเข ้าสูเ่ ครืองยนต์ ไว ้ในอัตราทีไม่สร ้างความเสย
ี หายกับเครืองยนต์ และจะกําหนด
สภ
อัตราสว่ นการอัดไว ้ไม่ควรเกิน
1 : 7.5:1
2 : 8.5:1
3 : 9.5:1
4 : 10.5:1

ข ้อที 194 :
การติดตังเทอร์โบชาร์จเจอร์ ควรคํานึงถึงลักษณะใดดังต่อไปนี
1 : ติดตังใกล ้ชอ่ งพอร์ทไอดีมากทีสุด
2 : ติดตังใกล ้ชอ ่ งพอร์ทไอเสย
ี มากทีสุด
3 : ้
กลไกทีใชขับมีความเร็ว 10,000 RPM ขึนไป
4 : กลไกทีใชขั้ บมีความเร็ว 100,000 RPM ขึนไป

ข ้อที 195 :
เพือเพิมกําลังต่อหน่วยมวลข ้อใดเปรียบเทียบจุดด ้อยของซูเปอร์ชาร์จ
เจอร์กบ ั เทอร์โบชาร์จเจอร์ได ้ถูกต ้อง
1 : ิ
สนเปลื ื
องเชอเพลิ งในการขับอุปกรณ์เพิมปริมาณอากาศ
2 : กินกําลังเครืองยนต์และเมือรอบสูงจัดๆ ใชกํ้ าลังจะสูงตามไม่ได ้
3 : ้
ความล่าชาของการตอบสนองต่ อการจุดระเบิด
4 : ความเฉือยในการตอบสนองต่อคันเร่ง

ข ้อที 196 :
ี ในเครืองยนต์ 2 จังหวะเกิดจากสาเหตุใดเป็ นสํ าคัญ
ปั ญหาการกํ าจัดไอเสย
1 : ลินเร่งเปิ ดแคบทํ าให ้ความดันไอดีตํ า การกํ าจัดไอเสย ี ไม่ดเี ท่าทีควร
2 : ความดันไอดีสงู เกินไปทํ าให ้ปริมาณไอดีถก ้
ู ใชมากเกิ
นความจํ าเป็ น
3 : การไล่ไอเสย ี ไม่ดพ
ี ออันเนืองจากความดันไอดีสงู กว่าความดันไอเสย ี
4 : ไอดีถก ู ไล่ออกไปพร ้อมกับการกํ าจัดไอเสย ี
ธิ
สท

ข ้อที 197 :
งวน

การประจุไอดีสํ าหรับเครืองยนต์ 2 จังหวะนันสามารถกระทําโดย


1 : ประจุผา่ นลินไอดีหรือชอ่ งไอดี
2 : ประจุทางกลกับประจุอต ั โนมัต ิ

3 : ประจุผา่ นชอ่ งไอดีและชอ ่ งไอเสย



ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 40/113
5/3/2021 สภาวิศวกร



4 : ประจุผา่ นลินไอดีและลินไอเสย


กร
ิ ว
ข ้อที 198 :

าวศ
ห ้องเผาไหม ้ของเครืองยนต์ 2 จังหวะจะเป็ นห ้องเดียว ไม่ถก
ู แบ่งและไม่มช ่ งแคบเพราะเหตุใด
ี อ
1 : ้
เพือให ้เหมาะต่อการใชไอดี ไปไล่ไอเสย ี
2 : เพือไม่ให ้เกิดความดันต่างในชว่ งป้ อนไอดีไล่ไอเสย

สภ
3 : เพือให ้การเผาไหม ้เป็ นไปอย่างรวดเร็ว
4 : เพือให ้เกิดความสมดุลในการป้ อนไอดี

ข ้อที 199 :
ความดันไอดีทใช ้ ไอเสย
ี ไล่ ี ออกจากกระบอกสูบในเครืองยนต์จํ าเป็ นต ้องมีคณ
ุ สมบัตใิ ดดังต่อไปนี
1 : ความดันไอดีต ้องสูงกว่าความดันไอเสย ี 1.2-1.8 เท่าของความดันบรรยากาศ
2 : ปริมาณไอดีต ้องมากกว่าปริมาณไอเสย ี 1.2-1.8 เท่า ของปริมาณมวลอากาศ
3 : ี 1.2-1.8 เท่า ของบรรยากาศ
จํ านวนโมเลกุลด ้านไอดีต ้องมากกว่าด ้านไอเสย
4 : ปริมาณไอเสยี ต ้องมากกว่าปริมาณไอดี 1.2-1.8 เท่า ของปริมาณมวลอากาศ

ข ้อที 200 :
ไอเสย ี ในเครืองยนต์ 2 จังหวะควรถูกระบายออกจากกระบอกสูบในตําแหน่งใดดังต่อไปนี
1 : ชว่ ง 100 – 110 องศา หลังศูนย์ตายบน
2 : ชว่ ง 100 – 110 องศา ก่อนศูนย์ตายบน
3 : ชว่ ง 100 – 110 องศา ก่อนจังหวะอัด
4 : ชว่ งหลังศูนย์ตายบน 10 องศา

ข ้อที 201 :
ี ในเครืองยนต์ 2 จังหวะควรคํานึงสงใดดั
ในกระบวนการไล่ไอเสย ิ งต่อไปนี
1 : สามารถไล่ไอเสยี ได ้เกือบหมดและไอดีไม่ไหลตามออกไป
2 : สามารถไล่ไอเสย ี ได ้หมดจดและไอดีไม่ไหลตามออกไป
3 : สามารถกํ าจัดไอเสย ี ได ้หมดจดและเผาไหม ้ได ้หมด
4 : สามารถควบคุมการไล่ไอเสย ี ได ้เกือบหมดและเผาไหม ้ได ้หมด

ข ้อที 202 :
ข ้อใดเป็ นวิธก ี ในเครืองยนต์ 2 จังหวะ ได ้อย่างเหมาะสม
ี ารแก ้ปั ญหาการกํ าจัดไอเสย
ธิ

1 : นํ าอากาศเข ้าอย่างเดียวเพือไล่ไอเสย ี จนไอดีปิดแล ้วจึงฉีดเชอเพลิ


ื งเข ้าห ้องเผาไหม ้
สท

2 : ี ได ้เกือบหมดแล ้วควบคุมไอดีไม่ให ้ไหลตามออกไป


นํ าไอดีเข ้าไล่ไอเสย

3 : นํ าอากาศเข ้าอย่างเดียวเพือไล่ไอเสย ี ออกจนหมดแล ้วควบคุมไอดีไม่ให ้ไหลตามออกไป


งวน

4 : หาวิธกี ารในการกํ าจัดไอเสย ี ให ้หมดด ้วยการมีลนเปิ


ิ ดปิ ดแทนชอ่ งไอเสย ี

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 41/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 203 :
การไล่ไอเสย ี แบบทีชอ
่ งไอดีไอเสย
ี อยูด
่ ้านเดียวกันจะสง่ ผลให ้การไหลของไอดีเป็ นลักษณะใด

กร
1 : ไอดีไหลวนเป็ นวง
2 : ไอดีไหลได ้อย่างปั นป่ วนมากขึน

ิ ว
3 : ไอดีไล่ไอเสยี ได ้ดีทสุ
ี ด

าวศ
4
สภ : ไอดีไหลเป็ นขันบันได

ข ้อที 204 :
ี งหวะเมือเปรียบเทียบทีกํ าลังเท่ากันนัน การใชอากาศ
การประจุไอดีของเครืองยนต์สองจังหวะกับสจั ้
ของเครืองยนต์สองจังหวะจะมากกว่าเพราะสาเหตุใดต่อไปนี
1 : อากาศบางสว่ นรัวในชว่ งทีไอดีและชอ่ งไอเสย ี ยังเปิ ดอยูพ ี
่ ร ้อมกับขณะไล่ไอเสย
2 : อากาศรัวไหลไปพร ้อมกับไอเสย ี ในชว่ งกํ าจัดไอเสย ี และหายไปกับความร ้อนในชว่ งนี
3 : ความต ้องการในการนํ าไอดีไปไล่ไอเสย ี มากกว่าความต ้องการในการเผาไหม ้
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 205 :
ี ในห ้องเผาไหม ้ของเครืองยนต์สองจังหวะให ้น ้อยทีสุดควรต ้องคํ านึง
การลดปั ญหาตกค ้างของไอเสย
ถึงเหตุใดเป็ นสํ าคัญ
1 : ภายในกระบอกสูบจะต ้องไม่มม ี ม
ุ อับทีทํ าให ้การไหลของก๊าซชะงัก
2 : ปริมาณไอดีทป้
ี อนเข ้ามาเพือไล่ปริมาณไอเสย ี เพียงพอไม่ให ้เกิดการชะงัก
3 : ความดันไอดีททางเข
ี ้าต ้องสูงกว่าความดันไอเสย ี ทีทางออกเพือสามารถไล่ไอเสย
ี ได ้หมด
4 : ปริมาณอากาศทีเข ้าไอดีต ้องมีมากพอเพือไล่ไอเสย ี ได ้หมด

ข ้อที 206 :
ี ในห ้องเผาไหม ้ของเครืองยนต์สองจังหวะให ้น ้อยทีสุดควรต ้องคํานึง
การลดปั ญหาตกค ้างของไอเสย
ถึงเหตุใดเป็ นสําคัญ
1 : ภายในกระบอกสูบจะต ้องไม่มม ี ม
ุ อับทีทําให ้การไหลของก๊าซชะงัก
2 : ปริมาณไอดีทป้
ี อนเข ้ามาเพือไล่ปริมาณไอเสย ี เพียงพอไม่ให ้เกิดการชะงัก
3 : ความดันไอดีททางเข
ี ้าต ้องสูงกว่าความดันไอเสย ี ทีทางออกเพือสามารถไล่ไอเสย
ี ได ้หมด
4 : ปริมาณอากาศทีเข ้าไอดีต ้องมีมากพอเพือไล่ไอเสยได ้หมดี

ข ้อที 207 :
อัตราสว่ นป้ อนไอดีจํ าเป็ นต ้องมีคา่ สูงกว่าอัตราสว่ นประจุไอดีเสมอเพราะสาเหตุใดต่อไปนี
ธิ

1 : เพราะไอดีสว่ นหนึงเล็ดลอดออกทางชอ ่ งไอเสยี ก่อนปิ ด


สท

2 : เพราะไอดีสว่ นป้ อนมีความดันตํ ากว่าไอดีสว่ นประจุ


3 : เพราะไอดีบางสว่ นถูกประจุไปโดยเปล่าประโยชน์

4 : เพราะไอดีทป้ ิ จํ าเป็ นต่อกํ าลังของเครืองยนต์


ี อนเข ้าเป็ นสงที
ส งวน

ข ้อที 208 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 42/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


เครืองยนต์จดุ ระเบิดด ้วยการอัดทีทํ างานโดยไม่ใชลิ้ นปี กผีเสอ
ื กํ าลังและความเร็วของเครืองยนต์จะ


ถูกควบคุมด ้วยวิธใี ดต่อไปนี

กร
1 : ื
ควบคุมโดยปริมาตรของเชอเพลิ งทีฉีด
2 : ควบคุมโดยปริมาณไอดีทเขี ้าภายในกระบอกสูบ
3 : ควบคุมโดยปริมาณความดันและอากาศทีเข ้า

ิ ว
4 : ควบคุมโดยอัตราสว่ นการอัดและความเร็วรอบ

าวศ
สภ
ข ้อที 209 :
ข ้อใดดังต่อไปนีเป็ นจุดด ้อยของซูเปอร์ชาร์จเจอร์
1 : ใชกํ้ าลังจากเครืองยนต์ขบ
ั เคลือนมาขับเคลือน ต ้นทุนสูง นํ าหนักมาก และมีเสย ี งรบกวน
2 : จะมีปัญหาเรืองกําลังทีความเร็วรอบตํ าไม่ทน ั กับความต ้องการ ต ้นทุนสูง และนํ าหนักมาก
3 : สามารถนํ ามาติดตังกับเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยการอัดเท่านัน ต ้นทุนสูง และมีเสยี งดัง
4 : ไม่สามารถติดตังกับเครืองยนต์ทมี ี ความเร็วรอบสูงมากๆ มีเสย ี งรบกวน และต ้นทุนสูง

ข ้อที 210 :
ข ้อใดดังต่อไปนีเป็ นจุดดีของซูเปอร์ชาร์จเจอร์
1 : การตอบสนองต่อการเร่งเป็ นไปอย่างรวดเร็ว
2 : สามารถควบคุมความร ้อนด ้วยตัวอุปกรณ์เอง
3 : ความดันและอุณหภูมค ิ งทีตลอดการทํางาน
4 : ปริมาณอากาศได ้รับอย่างต่อเนือง

ข ้อที 211 :
่ ระบอกสูบของเครืองยนต์จงึ ตํากว่าความดันบรรยากาศ
เหตุใดความดันของอากาศทีเข ้าสูก
1 : เมืออากาศไหลผ่านสงกี ิ ดขวางใดก็ตามจะมีความดันลดลงเสมอ ซงอากาศไหลผ่
ึ านหม ้อกรอง
ื ท่อไอดี และลินไอดี
อากาศ คาร์บเู รเตอร์ ลินผีเสอ
2 : เมืออากาศไหลผ่านสงกี ิ ดขวางโมเลกุลของอากาศไม่สามารถผ่านได ้ทังหมด จึงมีผลทําให ้
ความดันเมือเข ้ากระบอกสูบจึงลดลง
3 : ความดันของอากาศตกลงอันเนืองจากมีแรงต ้านจากคลืนความดันในกระบอกสูบ รวมถึงอากาศ
ไหลผ่านกรองอากาศ คาร์บเู รเตอร์ ลินผีเสอื
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 212 :
การลดปั ญหาการน็ อคของเครืองยนต์เมือติดตังอุปกรณ์อด
ั อากาศ แก ้ไขได ้โดยติดตังอุปกรณ์ใดต่อไป
นี
ธิ

1 : After Cooler
สท

2 : Inter Cooler
3 : ถูกทังข ้อ 1 และข ้อ 2

4 : ผิดทังข ้อ 1 และข ้อ 2
ส งวน

ข ้อที 213 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 43/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ี ําคัญทีทําให ้ประสท
ตําแหน่งใดต่อไปนีเป็ นสาเหตุทส ิ ธิภาพเชงิ ปริมาตรลดลง เมือเครืองยนต์ทํางานที


ความเร็วรอบสูง

กร
1 : บริเวณลินไอดีและบริเวณคอคอดในคาร์บเู รเตอร์
2 : บริเวณชอ ่ งลินปี กผีเสอ

3 : ลินไอเสยี และท่อไอเสย ี

ิ ว
4 : ท่อร่วมไอดีและท่อร่วมไอเสย ี

าวศ
สภ
ข ้อที 214 :
ี ของเครืองยนต์ 2 จังหวะ แบบใดดังต่อไปนีทีมีประสท
การกําจัดไอเสย ิ ธิภาพดีทสุ
ี ด
1 : ลักษณะการไหลวนกลับ
2 : ลักษณะการไหลแบบข ้ามฝาก
3 : ลักษณะการไหลแบบไหลลง
4 : ลักษณะการไหลวนเป็ นวง

ข ้อที 215 :
การไหลวนของไอดีในชว่ งจังหวะดูด ทีดีควรมีลก
ั ษณะตามของใดต่อไปนี
1 : ไหลวนในทิศทางทีสมั พันธ์กบ ี ง
ั กระบอกสูบ โดยมีความเร็วเท่ากับความเร็วเสย
2 : ไหลวนเป็ นวงรอบแกนวาล์วก่อนเข ้ากระบอกสูบ โดยมีความเร็วเท่ากับความเร็วเสย ี ง

3 : ไหลวนในทิศทางทีสมพันธ์กบ ่
ั กระบอกสูบ และถูกบังคับให ้ไหลวนผ่านชองแคบบ่าวาล์วก่อน
เข ้ากระบอกสูบ
4 : ไหลวนในทิศทางทีสม ั พันธ์กบ ั กระบอกสูบ และถูกบังคับให ้ไหลวนรอบแกนของวาล์วก่อนเข ้า
กระบอกสูบ

ข ้อที 216 :
ประสท ิ ธิภาพการไล่ไอเสย
ี (Scavenging Efficiency) สามารถหาได ้จากความสม
ั พันธ์ตามข ้อใดต่อ
ไปนี
1 : อัตราสว่ นมวลของไอดีในกระบอกสูบต่อมวลไอดีและไอเสย ี ตกค ้างในกระบอกสูบเมือ ทุกชอ ่ ง
ปิ ดสนิท
2 : อัตราสว่ นมวลของไอเสยี ในกระบอกสูบต่อมวลไอดีและไอเสย ี ตกค ้างในกระบอกสูบ เมือทุก
ชอ ่ งปิ ดสนิท
3 : อัตราสว่ นมวลของไอดีในกระบอกสูบต่อมวลไอดีทตกค
ี ้างในกระบอกสูบเมือทุกชอ ่ ง ปิ ดสนิท
4 : อัตราสว่ นมวลของไอเสย ี ในกระบอกสูบต่อมวลไอดีทตกค
ี ้างในกระบอกสูบเมือทุกชอ ่ ง ปิ ดสนิท

ข ้อที 217 :
ธิ

ี ดทานของอากาศน ้อยทีสุดเพือจุดประสงค์ใดต่อไปนี
การออกแบบท่อร่วมไอดีให ้มีความเสย
สท

1 : เพือเพิมปริมาณอากาศทีทางเข ้าในทุกความเร็วของเครืองยนต์
2 : ิ ธิภาพเชงิ ปริมาตรมีคา่ สูงในทุกความเร็วของเครืองยนต์
เพือให ้ประสท

3 : เพือเพิมปริมาณไอดีททางเข
ี ้าในทุกความเร็วของเครืองยนต์
งวน

4 : ถูกทุกข ้อ

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 44/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 218 :
กําลังจริงทีใชขั้ บคอมเพรสเซอร์ของซูเปอร์ชาร์จเจอร์ต ้องมากกว่าค่าในอุดมคติเสมอเพราะเหตุใดเป็ น

กร
สําคัญ
1 : เพราะคุณภาพของอุปกรณ์เป็ นหลัก

ิ ว
2 : เพราะไม่คด
ิ ความสูญเสยี ทีอาจจะเกิดขึนกับระบบ

าวศ
3 : เพราะทีความดันเดียวกันความสามารถทีจะอัดไปถึงย่อมตํากว่า
4 : เพราะประสท ิ ธิภาพไอเซนโทรปิ คของคอมเพรสเซอร์ตํากว่า 100% เสมอ
สภ

ข ้อที 219 :
การคอมเพรสเซอร์ในระบบไอดีคอ
ื อะไรดังต่อไปนี
1 : เป็ นระบบการอัดอากาศด ้วยกลไกและไอเสย ี
2 : เป็ นระบบการอัดอากาศให ้มีความดันสูงขึน
3 : การประจุไอดีด ้วยปริมาณความต ้องการของกระบอกสูบ
4 : การประจุไอดีด ้วยซูเปอร์ชาร์จเจอร์และเทอร์โบชาร์จเจอร์

ข ้อที 220 :
คอมเพรสเซอร์ในระบบไอดีแบบใดทีตอบสนองต่อการเร่งได ้อย่างรวดเร็ว
1 : Turbocharger
2 : Supercharger
3 : Scavenging
4 : ถูกทังข ้อ 1 และข ้อ 2

ข ้อที 221 :
เครืองยนต์ 2 จังหวะประเภทใดควรพัฒนาให ้มีระบบการอัดอากาศ
1 : ประเภททีไม่ได ้อัดไอดีจากห ้องข ้อเหวียง
2 : ประเภททีไม่ได ้ประจุไอดีด ้วยชอ่ งไอดีและไอเสย ี
3 : ประเภททีไม่ได ้ประจุไอดีด ้วยชอ ่ งไอดีและลินไอเสย ี
4 : ประเภททีไม่ได ้ประจุไอดีด ้วยลินไอดีและลินไอเสย ี

ข ้อที 222 :
อุปกรณ์ระบายความร ้อนอากาศสําหรับระบบอัดอากาศนัน ถ ้ามีราคาสูงและกินเนือทีมาก ดังนันถ ้าจะ
ไม่ตดิ ตังสามารถแก ้ไขได ้อย่างเหมาะสมโดยวิธใี ดดังต่อไปนี
1 : ควบคุมกําลังทีขับกังหันให ้ลดลง
ธิ

2 : ควบคุมสงทีิ กินกําลังให ้ลดลง


สท

3 : จํากัดปริมาณไอดีให ้ลดลง
4 : ลดอัตราสว่ นการอัด

งวน

ข ้อที 223 :

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 45/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


การติดตังการระบายอากาศในอุปกรณ์อด
ั อากาศก็เพือลดปั ญหาใดของเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วย


ประกายไฟ

กร
1 : ปั ญหาการชงิ จุดระเบิดและการน็ อคของเครืองยนต์ขณะเผาไหม ้
2 : ปั ญหาทีอาจจะเกิดขึนกับอุปกรณ์เชน่ กังหัน แบริง เป็ นต ้น
3 : ิ
ปั ญหาความสนเปลื ื
องปริมาณเชอเพลิ ง

ิ ว
4 : ปั ญหาเกียวกับความสก ึ หรอของอุปกรณ์เครืองยนต์

าวศ
สภ
ข ้อที 224 :
ี ความดันในท่อไอดี วิธใี ดน่าจะเหมาะสมทีสุด
การแก ้ปั ญหาเพือลดความสูญเสย
1 : ปรับผนังด ้านในให ้เรียบ ออกแบบท่อไม่ให ้มีการหักมุม เลิกใชคาร์ ้ บเู รเตอร์ ออกแบบหน ้า
สมั ผัสให ้มีรอยต่อเรียบสนิท ไม่มข ี อบปะเก็น เพิมพืนทีอากาศไหลผ่านลินให ้ใหญ่ขน ึ
2 : เคลือบสารเพิมความมันภายในท่อร่วมไอดี ติดตังอุปกรณ์เพิมความดันทางเข ้า ออกแบบหน ้า
สม ั ผัสให ้มีรอยต่อน ้อยลง ไม่มข ี อบปะเก็น เพิมพืนทีอากาศไหลผ่านลินให ้ใหญ่ขน ึ
3 : ใชวั้ สดุททนการกั
ี ดกร่อนเพือลดปั ญหาการขรุขระ และติดตังอุปกรณ์เพิมความดันทางเข ้า
ออกแบบหน ้าสม ั ผัสให ้มีรอยต่อน ้อยลง ไม่มข ี อบปะเก็น เพิมพืนทีอากาศไหลผ่านลินให ้ใหญ่ขน ึ
4 : แต่งผนัง ออกแบบท่อให ้มีจด ้ บเู รเตอร์ ออกแบบหน ้าสม
ุ หักมุมน ้อยๆ ไม่ใชคาร์ ั ผัสให ้มีรอยต่อ
เรียบสนิท เพิมปริมาณอากาศโดยอุปกรณ์และไม่มข ี อบปะเก็น

ข ้อที 225 :
เครืองยนต์ของรถยนต์ทวไปมั
ั ้
กใชใบพั ดคอมเพรสเซอร์แบบใดต่อไปนีในระบบอัดอากาศ
1 : Axial Flow
2 : Radial Flow
3 : Mixed Flow
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 226 :
เครืองยนต์ของรถยนต์ทมี ้
ี ขนาดใหญ่มากมักใชใบพั ดคอมเพรสเซอร์แบบใดต่อไปนีในระบบอัดอากาศ
1 : Axial Flow
2 : Radial Flow
3 : Mixed Flow
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 227 :
ิ ธิภาพสูงกว่ากันทีมวลการไหลของอากาศสูง
ใบพัดคอมเพรสเซอร์แบบใดให ้ประสท
ธิ

1 : Axial Flow > Radial Flow


สท

2 : Axial Flow < Radial Flow


3 : Axial Flow ≥ Radial Flow

4 : Axial Flow ≤ Radial Flow


ส งวน

ข ้อที 228 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 46/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ปั ญหาความเฉือยของเทอร์โบชาร์จเจอร์สามารถลดลงได ้โดยวิธใี ดต่อไปนี


1 : ้ งทีมีความแข็งแรงสูง มีโมเมนต์แรงเฉือยตํา และใชท่
ใชแบริ ้ อร่วมไอเสย ี ขนาดเล็ก

กร
2 : ้ งทีมีความเสย
ใชแบริ ี ดทานตํา มีโมเมนต์แรงเฉือยตํา และใชท่ ้ อร่วมไอเสย ี ขนาดเล็ก
3 : ้ ้ ี
ใชกังหันทีมีความแข็งแรงสูง มีโมเมนต์แรงเฉือยตํา และใชท่อร่วมไอเสยขนาดเล็ก
4 : ใชกั้ งหันทีทําจากวัสดุเบา มีโมเมนต์แรงเฉือยตํา และใชท่
้ อร่วมไอเสย ี ขนาดเล็ก

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 229 :

เมือความดันสูงถึงจุดเสยงต่
อการเกิดการน็ อคในเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟทีติดตังอุปกรณ์
อัดอากาศ สามารถแก ้ไขอย่างไรต่อไปนี
1 : ติดตังอุปกรณ์เพิมลดอุณหภูมก ิ อ ึ
่ นเข ้ากระบอกสูบ ซงสามารถตรวจสอบในทุ กอัตราเร่งของ
เครืองยนต์สมําเสมอทีความเร็วแตกต่าง
2 : ติดครีบทีสามารถปรับมุมได ้ เพือปรับขนาดชอ ่ งไอเสย ี ไหลผ่านก่อนถึงกังหัน ให ้ได ้ความเร็ว
ของไอเสย ี สูงสมําเสมอทีความเร็วแตกต่าง
3 : ปรับแต่งสารระบายความร ้อนในอุปกรณ์ให ้สามารถเพิมลดอุณหภูมต ิ ามสภาวะการทํางานของ
เครืองยนต์สมําเสมอทีความเร็วแตกต่าง
4 : ติดตังอุปกรณ์ทสามารถตรวจสอบปริ
ี มาณไอเสย ี ก่อนเข ้ากังหันตามความเร็วทีสมําเสมอที
ความเร็วแตกต่าง

ข ้อที 230 :
ข ้อใดกล่าวถึงการซูเปอร์ชาร์จเจอร์ได ้ถูกต ้อง
1 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ถก ้
ู ใชในเครื องยนต์ 2 และ 4 จังหวะ เพือเพิมกําลังต่อหน่วยความจุ
2 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ถก ้
ู ใชในเครื องยนต์ 4 จังหวะเพือเพิมกําลังต่อหน่วยความจุ
3 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ถก ้
ู ใชในเครื องยนต์ 2 จังหวะเพือเพิมคุณภาพการไล่ไอเสย ี และในเครืองยนต์
4 จังหวะ เพือเพิมกําลังต่อหน่วยความจุ
4 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ถก ู ใชในเครื้ องยนต์ 2 ี
และ 4 จังหวะเพือเพิมคุณภาพการไล่ไอเสย

ข ้อที 231 :
ข ้อใดกล่าวถึงความแตกต่างของซูเปอร์ชาร์จเจอร์กบ
ั เทอร์โบชาร์จเจอร์ได ้ถูกต ้อง
1 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์รับกําลังจากกลไก เทอร์โบชาร์จเจอร์รับกําลังจากไอเสย ี
2 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์รับกําลังจากไอเสย ี เทอร์โบชาร์จเจอร์รับกําลังจากกลไก
3 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์มคี วามเฉือยต่อการตอบสนองมากกว่าเทอร์โบชาร์จเจอร์
4 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ใชวั้ สดุทนความร ้อนสูงกว่าเทอร์โบชาร์จเจอร์

ข ้อที 232 :
ธิ

ข ้อใดเปรียบเทียบจุดด ้อยของเทอร์โบชาร์จเจอร์และซูเปอร์ชาร์จเจอร์ได ้ถูกต ้อง


สท

1 : ิ
สนเปลื ื
องเชอเพลิ งในการขับอุปกรณ์เพิมปริมาณอากาศ
2 : กินกําลังเครืองยนต์และรอบสูงจัดๆ กําลังจะสูงตามไม่ได ้

3 : ้
ความล่าชาของการตอบสนองต่ อการจุดระเบิด
งวน

4 : ความเฉือยในการตอบสนองต่อคันเร่ง

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 47/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 233 :
การติดตังกังหันทีทําด ้วยเซรามิกกับเทอร์โบชาร์จเจอร์ เพือลดปั ญหาใดต่อไปนี

กร
1 : ลดปั ญหาทีสง่ ผลต่ออุณหภูมท
ิ เพิ
ี มขึนและการขยายตัวของกังหัน
2 : ลดความเฉือยของเทอร์โบชาร์จและลดความร ้อนสูง

ิ ว
3 : ้
ลดปั ญหาการเพิมปริมาณของอากาศได ้ชาลง

าวศ
4
สภ : ลดอุณหภูมอิ ากาศและเพิมความดันอากาศ

ข ้อที 234 :
การเพิมความดันไอดีในเครืองยนต์ 2 จังหวะเพือจุดประสงค์ใดต่อไปนี
1 : เพือให ้ไอดีไหลเข ้าแทนทีไอเสยี โดยไอดีสว่ นหนึงจะผสมกับไอเสย ี และไหลออกจากกระบอก
สูบไปกับไอเสย ี ด ้วย
2 : เพือให ้ไอดีมอ
ี ต ี โดยไอดีจะไม่ไหลออกจาก
ั ราการไหลสูงกว่าและเข ้าแทนทีเพือไล่ไอเสย
กระบอกสูบไปพร ้อมกับไอเสย ี
3 : เพือให ้ไอดีไหลเข ้าแทนทีไอเสย ี โดยไอดีจะไม่ไหลออกจากกระบอกสูบไปพร ้อมกับไอเสย ี
4 : เพือให ้ไอดีมป ี ี
ี ริมาณมากกว่าไอเสยและสามารถไล่ไอเสยออกจะกระบอกสูบ โดยทีไอดีจะไม่
ไหลออกจากกระบอกสูบไปพร ้อมกับไอเสย ี

ข ้อที 235 :
ข ้อใดกล่าวถึงวิธก
ี ารของระบบเพิมความดันไอดีในเครืองยนต์ 2 จังหวะได ้ถูกต ้อง
1 : ้
ใชการอั ดในห ้องเพลาข ้อเหวียง หรือเครืองอัดแบบแรงเหวียง และติดตังวาล์วไอดี
2 : ้
ใชการอั ดในห ้องเพลาข ้อเหวียง ้ องอัดแบบแรงเหวียง
หรือเครืองเป่ าลม และใชเครื
3 : ้
ใชการอั ดในห ้องเพลาข ้อเหวียง หรือเครืองอัดแบบแรงเหวียง และติดตังซูเปอร์ชาร์จเจอร์
4 : ใชการอั ้ ดในห ้องเพลาข ้อเหวียง หรือเครืองอัดแบบแรงเหวียง และติดตังเทอร์โบชาร์จเจอร์

ข ้อที 236 :
ข ้อใดเปรียบเทียบอัตราสว่ นการสง่ เข ้า ในกระบวนการไล่ไอเสย
ี ได ้อย่างถูกต ้อง
1 : เปรียบเทียบมวลอากาศทฤษฏีกบ ้ ง
ั ทีใชจริ
2 : ํ
เปรียบเทียบมวลอากาศทีต ้องการสาหรับกระบวนการในอุดมคติกบ ้ ง
ั ทีใชจริ
3 : ้ งกับทีต ้องการสําหรับกระบวนการในอุดมคติ
เปรียบเทียบมวลอากาศทีใชจริ
4 : เปรียบเทียบมวลอากาศทีใชจริ้ งกับทีต ้องการสําหรับกระบวนการโพลีทรอปิ ค

ข ้อที 237 :
เหตุใดเครืองยนต์จด ิ ธิภาพเชงิ ปริมาตรตํากว่าเครืองยนต์ดเี ซล
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟจึงมีประสท
ธิ

1 : เนืองด ้วยเครืองยนต์จดุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ ใชเช ้ อเพลิ


ื งทีมีคณุ สมบัตกิ ารระเหยตัวเป็ นไอได ้
สท

มากกว่า และความสูญเสย ี จากการไหลผ่านอุปกรณ์กอ ่ นเข ้ากระบอกสูบ


2 : เนืองด ้วยเครืองยนต์จด ื
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ มีไอเชอเพลิ งในท่อร่วมไอดีและเศษสว่ นก๊าซที

ค ้างอยูม
่ ากกว่า และความร ้อนทีเพิมในท่อร่วมไอดี
งวน

3 : เนืองด ้วยเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ มีการสูญเสย ี จากการไหลในลินเร่ง และมีไอเชอ ื


เพลิงอันเนืองจากการเพิมความร ้อนในท่อร่วมไอดีมาก
4 : เนืองด ้วยเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ มีการสูญเสย ี จากการไหลในคาร์บเู รเตอร์และลิน
เร่ง การเพิมความร ้อนในท่อร่วมไอดี มีไอเชอเพลิ ื งและเศษสว่ นก๊าซทีค ้างอยูม ่ ากกว่า

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 48/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 238 :
การทีประสท ิ ธิภาพเชงิ ปริมาตรของเครืองยนต์ตําลงจะสง่ ผลด ้านใดกับเครืองยนต์

ิ ว
1 : ิ
อัตราเร่งและความสนเปลื ื
องเชอเพลิงของเครืองยนต์

าวศ
2 : ิ
อัตราความสนเปลื ื
องเชอเพลิงและกําลังของเครืองยนต์
3 : กําลังและประสทิ ธิภาพของเครืองยนต์
4 : แรงบิดและกําลังของเครืองยนต์
สภ

ข ้อที 239 :

สงใดต่ ิ ต ้องคํานึงถึงในการออกแบบเครืองยนต์
อไปเป็ นสงที
1 : สมรรถนะ ิ
ความสนเปลื ื
องเชอเพลิ ง เสยี งและมลพิษของเครืองยนต์ ราคา และความน่าเชอถื
ื อ
2 : สมรรถนะ ความสูญเสย ี เสย
ี งและมลพิษของเครืองยนต์ กําลัง และความน่าเชอถื
ื อ
3 : สมรรถนะ ิ
ความสนเปลื ื
องเชอเพลิ ื อ
ง กําลัง ราคา และความน่าเชอถื
4 : สมรรถนะ ิ
อัตราเร่ง กําลัง ความสนเปลื ื
องเชอเพลิ ี งและมลพิษของเครืองยนต์และความ
งเสย
ื อ
น่าเชอถื

ข ้อที 240 :
สมรรถนะของเครืองยนต์ถก ิ
ู กําหนดโดยสงใดต่
อไปนี
1 : แรงบิดสูงสุดตลอดชว่ งการใชงาน
้ และอัตราเร่งของเครืองยนต์ททํี างานได ้ดี
2 : แรงบิดสูงสุดตลอดชว่ งการใชงาน้ ิ
และค่าความสนเปลื ื
องเชอเพลิ งทีทํางานได ้ดี
3 : กําลังหรือแรงบิดสูงสุดตลอดชว่ งการใชงาน
้ และอัตราเร่งของเครืองยนต์ททํ ี างานได ้ดี
4 : กําลังหรือแรงบิดสูงสุด ตลอดชว่ งการใชงาน
้ และอัตราเร็วกับกําลังทีเครืองยนต์ทํางานได ้ดี

ข ้อที 241 :

1 : 13.8 kW
2 : 14.8 kW
3 : 15.8 kW
ธิ

4 : 16.8 kW
สท

งวน

ข ้อที 242 :

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 49/113
5/3/2021 สภาวิศวกร



กร
ิ ว
าวศ
สภ
1 : 2.3 kW
2 : 3.3 kW
3 : 4.3 kW
4 : 5.3 kW

ข ้อที 243 :
เครืองยนต์ดเี ซล 8 สูบ 4 จังหวะ เทอร์โบชาร์จเจอร์แบบมีการหล่อเย็น โดยมีเสนผ่้ าศูนย์กลาง
กระบอกสูบ 128 mm ระยะชก ั 140 mm ความดันก่อนเข ้าเทอร์โบเท่ากับ 1 atm หลังผ่านเครืองหล่อ
เย็นความดันเท่ากับ 1.8 atm , อุณหภูม ิ 325 K พิจารณาทีกํ าลังสูงสุด ทีอัตราเร็ว 2000 RPM
ประสท ิ ธิภาพเชงิ ปริมาตร 90 % ประสท
ิ ธิภาพไอเซนทรอปิ คของเครืองอัดอากาศ 70 % จงหาอัตรา
การไหลเชงิ มวลของอากาศทีเข ้า
1 : 0.22 kg/s
2 : 0.32 kg/s
3 : 0.42 kg/s
4 : 0.52 kg/s

ข ้อที 244 :
เครืองยนต์ดเี ซล 8 สูบ 4 จังหวะ เทอร์โบชาร์จเจอร์แบบมีการหล่อเย็น โดยมีเสนผ่้ าศูนย์กลาง
กระบอกสูบ 128 mm ระยะชก ั 140 mm ความดันก่อนเข ้าเทอร์โบเท่ากับ 1 atm หลังผ่านเครืองหล่อ
เย็นความดันเท่ากับ 1.8 atm , อุณหภูม ิ 325 K พิจารณาทีกํ าลังสูงสุด ทีอัตราเร็ว 2000 RPM
ประสท ิ ธิภาพเชงิ ปริมาตร 90 % ประสท
ิ ธิภาพไอเซนทรอปิ คของเครืองอัดอากาศ 70 % จงหากํ าลัง
ทีใชขั้ บคอมเพรสเซอร์
1 : 32 kW
2 : 33 kW
3 : 34 kW
4 : 37 kW

ข ้อที 245 :
ธิ
สท

งวน

1 : 327.36 kJ/kg

2 : 356.36 kJ/kg
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 50/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : 427.36 kJ/kg


4 : 456.36 kJ/kg

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 246 :
สภ

1 : 3300.5 K
2 : 3173.5 K
3 : 2973.5 K
4 : 2773.5 K

ข ้อที 247 :
ข ้อใดอธิบายความหมายของคอมเพรสเซอร์ในระบบไอดี แบบซูเปอร์ชาร์จเจอร์ได ้ถูกต ้อง
1 : มีการเพิมปริมาณอากาศด ้วยระบบกลไก
2 : มีการเพิมความดันและอุณหภูมขิ องอากาศเข ้ากระบอกสูบ
3 : มีการเพิมความดันอากาศด ้วยไอเสยี ขับใบพัด
4 : เพิมปริมาณอากาศด ้วยคลืนความดัน

ข ้อที 248 :
ี ออกจากกระบอกสูบนัน จําเป็ นต ้องมีคณ
การนํ าไอดีเข ้าไปไล่ไอเสย ุ ลักษณะใดต่อไปนี
1 : ไอดีต ้องมีปริมาณมากพอกับปริมาณไอเสย ี และเพียงพอกับเชอเพลิ
ื งขณะเผาไหม ้
2 : ไอดีต ้องมีความดันใกล ้เคียงกับความดันของไอเสยี
3 : ไอดีต ้องมีความดันเท่ากับความดันของไอเสย ี
4 : ไอดีต ้องมีความดันสูงกว่าความดันบรรยากาศเสมอ

ข ้อที 249 :
ี (Scavenging Process) ของเครืองยนต์สองจังหวะ ข ้อใดกล่าวได ้ถูกต ้อง
กระบวนการกําจัดไอเสย
1 : การรวมกระบวนการดูดไอดีและคายไอเสย ี เข ้าไว ้ด ้วยกัน
2 : กระบวนการขับไล่ไอเสย ี จากการเผาไหม ้ออกจากกระบอกสูบ
ธิ

3 : การไล่ไอเสยี ด ้วยการเคลือนทีขึนลงของลูกสูบภายในกระบอกสูบ
สท

4 : มีอป
ุ กรณ์เสริมในการเพิมปริมาณอากาศมากขึนเพือกําจัดไอเสย ี

งวน

ข ้อที 250 :
การลดอุณหภูมข ิ องอากาศขาออกเมือผ่านซูเปอร์ชาร์จเจอร์ในเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ

เพือป้ องกันปั ญหาใดต่อไป


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 51/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : อุปกรณ์อาจเกิดความเสย ี หายจากอุณหภูมท ิ สู
ี งขึน


2 : ิ
ลดความสนเปลื ื
องเชอเพลิ งอันเกิดจากการระเหย
3 : การชงิ จุดระเบิดและการน็ อคของเครืองยนต์

กร
4 : ลดความรุนแรงในขณะเผาไหม ้

ิ ว
ข ้อที 251 : าวศ
เหตุใดจึงต ้องลดอัตราสว่ นการอัดของเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ เมือทําการดัดแปลงให ้ใช ้
สภ
กับเทอร์โบชาร์จเจอร์
1 : ถ ้าไม่ลดอัตราสว่ นการอัดลง จะสง่ ผลต่ออุณหภูมก
ิ ารเผาไหม ้สูง ทําให ้เกิดการชงิ จุดและเกิด
การน็ อคได ้
2 : ถ ้าไม่ลดอัตราสว่ นการอัดลง ิ
ความสนเปลื ื
องเชอเพลิงอันเกิดจากการระเหยจะสูงขึน
3 : ถ ้าไม่ลดอัตราสว่ นการอัดลง อุปกรณ์อาจเกิดความเสยี หายจากอุณหภูมท ิ สู
ี งขึน
4 : ถ ้าไม่ลดอัตราสว่ นการอัดลง อาจเกิดความรุนแรงในขณะเผาไหม ้ได ้สูง

ข ้อที 252 :
เหตุใดหากติดตังเทอร์โบชาร์จเจอร์กบ ุ ระเบิดด ้วยการอัด จึงไม่จําเป็ นต ้องลดอัตราสว่ น
ั เครืองยนต์จด
การอัดลง
1 : เนืองด ้วยเครืองยนต์จดุ ระเบิดด ้วยการอัดใชวั้ สดุทมี
ี ความทนทาน
2 : เนืองด ้วยปริมาณอากาศสําหรับเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยการอัดมากเพียงพอ
3 : เนืองด ้วยปั ญหาต่างๆ ในเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยการอัดไม่สง่ ผลต่อเครืองยนต์
4 : เนืองด ้วยการน็ อคไม่เป็ นปั ญหาในเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยการอัด

ข ้อที 253 :
เครืองยนต์แบบทีติดตังเทอร์โบชาร์จเจอร์หรือซูเปอร์ชาร์จเจอร์ มาจากโรงงานมักจะมีการควบคุมแรง
ดันของอากาศทีจะอัดเข ้าสูเ่ ครืองยนต์ไว ้ในอัตราทีไม่สร ้างความเสย
ี หายกับเครืองยนต์และจะกําหนด

อัตราสวนการอัดไว ้ไม่ควรเกิน
1 : 7.5:1
2 : 8.5:1
3 : 9.5:1
4 : 10.5:1

ข ้อที 254 :
การติดตังเทอร์โบชาร์จเจอร์ ควรคํานึงถึงลักษณะใดดังต่อไปนี
1 : ่ งพอร์ทไอดีมากทีสุด
ติดตังใกล ้ชอ
ธิ

2 : ติดตังใกล ้ชอ่ งพอร์ทไอเสย


ี มากทีสุด
กลไกทีใชขั้ บมีความเร็ว 10000 RPM ขึนไป
สท

3 :
4 : กลไกทีใชขั้ บมีความเร็ว 100000 RPM ขึนไป

งวน

ข ้อที 255 :

ข ้อใดเปรียบเทียบจุดด ้อยของซูเปอร์ชาร์จเจอร์ทมากกว่
ี าเทอร์โบชาร์จเจอร์ได ้ถูกต ้อง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 52/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : ิ
สนเปลื ื
องเชอเพลิ งในการขับอุปกรณ์เพิมปริมาณอากาศ


2 : กินกําลังเครืองยนต์และเมือรอบสูงจัดๆ กําลังจะสูงตามไม่ได ้
3 : ้
ความล่าชาของการตอบสนองต่ อการจุดระเบิด

กร
4 : ความเฉือยในการตอบสนองต่อคันเร่ง

ิ ว
ข ้อที 256 : าวศ
ข ้อใดกล่าวถึงความแตกต่างของซูเปอร์ชาร์จเจอร์กบ
ั เทอร์โบชาร์จเจอร์ ได ้ถูกต ้อง
สภ
1 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ทําหน ้าทีเพิมปริมาณอากาศ เทอร์โบชาร์จเจอร์ทําหน ้าทีอัดอากาศ
2 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์รับกําลังจากไอเสย ี เทอร์โบชาร์จเจอร์รับกําลังจากกลไก
3 : ้
ซูเปอร์ชาร์จเจอร์ใชวัสดุทนความร ้อนสูงกว่าเทอร์โบชาร์จเจอร์
4 : ซูเปอร์ชาร์จเจอร์มคี วามเฉือยต่อการตอบสนองมากกว่าเทอร์โบชาร์จเจอร์

ข ้อที 257 :
ข ้อใดเปลียนเทียบจุดด ้อยของเทอร์โบชาร์จเจอร์ทมากกว่
ี าซูเปอร์ชาร์จเจอร์ ได ้ถูกต ้อง
1 : ิ
สนเปลื ื
องเชอเพลิ งในการขับอุปกรณ์เพิมปริมาณอากาศ
2 : กินกําลังเครืองยนต์และรอบสูงจัดๆ กําลังจะสูงตามไม่ได ้
3 : ้
ความล่าชาของการตอบสนองต่ อการจุดระเบิด
4 : ความเฉือยในการตอบสนองต่อการเร่ง

ข ้อที 258 :
การติดตังกังหันทีทําด ้วยเซรามิกกับเทอร์โบชาร์จเจอร์ เพือลดปั ญหาใดต่อไปนี
1 : ลดปั ญหาทีสง่ ผลต่ออุณหภูมท
ิ เพิ
ี มขึนและการขยายตัวชองกังหัน
2 : ลดความเฉือยของเทอร์โบชาร์จและทนความร ้อนสูง
3 : ้
ลดปั ญหาการเพิมปริมาณของอากาศได ้ชาลง
4 : ลดอุณหภูมอิ ากาศและเพิมความดันอากาศ

ข ้อที 259 :
ธิ
สท

1 : 15 kW

2 : 16 kW
งวน

3 : 17 kW
4 : 18 kW

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 53/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ขอ
ข ้อที 260 :
อุปกรณ์ Aftercooler ในระบบเครื องยนต์ทีใช้ Turbocharger มีหน้าทีอะไร

กร
1 : ลดอุณหภูมิของนํามันเครื อง
2 : ลดอุณหภูมิของนําหล่อเย็น

ิ ว
3 : ลดอุณหภูมิของอากาศก่อนเข้าเครื องยนต์

าวศ
4 : ลดอุณหภูมิของอากาศหลังออกจากเครื องยนต์
สภ
ข ้อที 261 :

ระบบ Turbocharger ในรถยนต์ ใชใบพั ดชนิดใดเป็ นใบพัดอัดอากาศ
1 : Rotary
2 : Screw
3 : Axial
4 : Centrifugal

ข ้อที 262 :
อุปกรณ์ Waste Gate Valve มีหน้าทีอะไร
1 : ระบายอากาศออกโดยตรงเพือไม่ให้อากาศผ่าน Compressor มากเกินไป
2 : ระบายไอเสี ยออกโดยตรงไม่ให้ไอเสี ยผ่าน Turbine มากเกินไป
3 : ระบายอากาศออกโดยตรงก่อนเข้าเครื องยนต์ เพือไม่ให้ไหลย้อนกลับออกทาง Compressor

4: ผิดทุกข้อ

ข ้อที 263 :
้ เปอร์ชาร์จกับเครืองยนต์แก๊สโซลีนได ้ ถ ้าไม่มก
ข ้อใดกล่าวถึงปั ญหาทีมักจะเกิดขึนเมือใชซู ี าร
วิเคราะห์ให ้เหมาะสม
1 : เกิดการน็ อค
2 : กําลังตก
3 : ความร ้อนขึน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 264 :
วัตถุประสงค์ทติ
ี ดตังเทอร์โบชาร์จในเครืองยนต์เพือต ้องการ
1 : เพิมความหนาแน่นของมวลอากาศ
ธิ

2 : ิ
ลดความสนเปลื ื
องเชอเพลิ

สท

3 : ลดความเสย ี ดทานภายในกระบอกสูบ
4 : ถูกทุกข ้อ

งวน

เนือหาวิชา : 378 : Ignition



ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 54/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 265 :


ข ้อใดเปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะหัวเทียนร ้อนกับหัวเทียนเย็นได ้อย่างถูกต ้อง

กร
1 : ระยะเขียวของหัวเทียนร ้อนจะกว ้างกว่า
2 : หัวเทียนร ้อนจะมีแกนกลางยาวกว่า
3 : ั
หัวเทียนร ้อนจะมีแกนกลางสนกว่ า

ิ ว
4 : ระยะเขียวของหัวเทียนร ้อนจะแคบกว่า

าวศ
สภ
ข ้อที 266 :
วงจรไฟแรงตําของระบบจุดระเบิดด ้วยคอยล์ประกอบด ้วยอุปกรณ์ใดต่อไปนี
1 : ์ ญ
แบตเตอรี สวิตชก ุ แจ ตัวต ้านทาน ขดลวดไฟแรงตํา ชุดทองขาว และคอนเดนเซอร์
2 : แบตเตอรี สวิตชก์ ญ ุ แจ ตัวเก็บประจุ ขดลวดไฟแรงตํา ชุดทองขาว และคอนเดนเซอร์
3 : แบตเตอรี สวิตชก ์ ญ ุ แจ ขดลวดไฟแรงตํา ชุดทองขาว และคอนเดนเซอร์
4 : แบตเตอรี สวิตชก ์ ญ ุ แจ ตัวต ้านทาน ชุดทองขาว และคอนเดนเซอร์

ข ้อที 267 :
ระบบจุดระเบิดทีดีควรมีคณ
ุ สมบัตใิ ดดังต่อไปนี
1 : สามารถให ้แรงบิดสูงสุดตามความเหมาะสมของอัตราความเร็วรอบของเครืองยนต์
2 : สามารถควบคุมมลพิษทีออกจากเครืองยนต์ ได ้อย่างเหมาะสมต่อภาระงาน
3 : สามารถเปลียนจังหวะการจุดระเบิดตามอัตราความเร็วรอบและภาระของเครืองยนต์
4 : สามารถควบคุมการเกิดอาการน็ อคภายในเครืองยนต์

ข ้อที 268 :
ข ้อใดอธิบายหน ้าทีหลักของจานจ่ายได ้ถูกต ้องทีสุด
1 : ั พันธ์กบ
ควบคุมแรงบิดให ้สม ั ความเร็วรอบของเครืองยนต์
2 : ควบคุมจังหวะตํ าแหน่งจุดระเบิดของเครืองยนต์ให ้เหมาะสม
3 : ควบคุมภาระงานของเครืองยนต์สม ั พันธ์กบ
ั ความเร็วรอบของเครืองยนต์
4 : ั พันธ์กบ
ควบคุมการจุดระเบิดให ้สม ั ความเร็วรอบของเครืองยนต์

ข ้อที 269 :
การกระโดดของประจุไฟฟ้ าทีเกิดขึนระหว่างเขียวหัวเทียนในเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟนันจะ
เริมขึนทีตําแหน่งใดต่อไปนี
1 : เริมกระบวนการเผาไหม ้หลังจังหวะคายไอเสยี เล็กน ้อย
2 : เริมกระบวนการเผาไหม ้ตามความเหมาะสมของเครืองยนต์นันๆ
3 : ิ ดของจังหวะอัด
เริมกระบวนการเผาไหม ้ใกล ้กับจุดสนสุ
ธิ

4 : เริมกระบวนการเผาไหม ้หลังลูกสูบเลือนลงจากศูนย์ตายบนเล็กน ้อย


สท

งวน

ข ้อที 270 :
ระบบจุดระเบิดของเครืองยนต์แก๊สโซลีนทีใชกั้ นทัวไปในปั จจุบน
ั มี 2 ระบบด ้วยกันดังต่อไปนี
ิ เตอร์

1 : ระบบจุดระเบิดด ้วยคอยล์จด
ุ ระเบิด และจุดระเบิดด ้วยทรานซส
2 : ระบบจุดระเบิดของเครืองยนต์ 4 จังหวะและ 2 จังหวะ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 55/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : ระบบจุดระเบิดด ้วยตัวเองและระบบจุดระเบิดด ้วยประกายไฟ


4 : ระบบจุดระเบิดด ้วยแบตเตอรี และระบบจุดระเบิดด ้วยแมกนิโต

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 271 :
ข ้อใดไม่ใชร่ ะบบจุดระเบิดด ้วยแบตเตอรี
1 : Magneto Ignition System
สภ
2 : Coil Ignition System
3 : Capacitive Discharge Ignition System
4 : Transistorized Coil Ignition System

ข ้อที 272 :
ระบบจุดระเบิดด ้วยแมกนิโต(Magneto Ignition System) มักนิยมใชกั้ บรถประเภทใด
1 : มักใชกั้ บเครืองยนต์ 4 จังหวะขนาดเล็ก
2 : มักใชกั้ บเครืองยนต์ 4 จังหวะขนาดใหญ่
3 : มักใชกั้ บเครืองยนต์ทงั 2 จังหวะ และ 4 จังหวะขนาดเล็ก
4 : มักใชกั้ บเครืองยนต์ทงั 2 จังหวะและ 4 จังหวะขนาดใหญ่

ข ้อที 273 :
ระบบจุดระเบิดแบบใดเป็ นระบบทีใชตั้ วเก็บประจุเก็บพลังงานไฟฟ้ าไว ้ เพือเปลียนเป็ นไฟฟ้ าแรงดัน
สูงสง่ ไปยังหัวเทียน
1 : Magneto Ignition System
2 : Coil Ignition System
3 : Capacitive Discharge Ignition System
4 : Transistorized Coil Ignition System

ข ้อที 274 :
หัวเทียนทัวไปมีสว่ นทีสําคัญอยูด
่ งั ต่อไปนี
1 : เขียว ฉนวน และเปลือก
2 : ฉนวน ขัว และเปลือก
3 : เขียว ขัว และเปลือก
4 : ฉนวน เขียวและเปลือก
ธิ

ข ้อที 275 :
สท

ี งหวะ แบบจุดระเบิดด ้วยประกายไฟ ทีนิยมใชกั้ นมากเป็ นแบบใดต่อ


ระบบจุดระเบิดของเครืองยนต์สจั

ไปนี
งวน

1 : แบตเตอรีและขดลวด
2 : แมกนีโต
3 : ี ไี อ
ซด
4 : ทรานซส ิ เตอร์

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 56/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 276 :

กร
การคายประจุไฟฟ้ าทีเขียวหัวเทียน เพือกระตุ ้นการเผาไหม ้ให ้เกิดขึนในเครืองยนต์เผาไหม ้ภายใน
แบบจุดระเบิดด ้วยประกายไฟนัน จะเหมาะสมทีตําแหน่งใดดังต่อไปนี

ิ ว
10๐- 30๐ ก่อนศูนย์ตายล่าง

าวศ
1 : ตําแหน่ง
2 : ตําแหน่ง 10๐- 30๐ ก่อนศูนย์ตายบน
3 : ตําแหน่ง 0๐- 5๐ ก่อนศูนย์ตายล่าง
สภ
4 : ตําแหน่ง 0๐- 5๐ ก่อนศูนย์ตายบน

ข ้อที 277 :
ข ้อใดกล่าวถึงการจุดระเบิดของเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟได ้อย่างถูกต ้อง
1 : การจุดระเบิดเริมขึนด ้วยหัวเทียนก่อนลูกสูบถึงศูนย์ตายบน และความดันสูงสุดควรเกิดขึน
ประมาณ 16๐ หลังศูนย์ตายบน
2 : การจุดระเบิดเริมขึนด ้วยตัวเองก่อนลูกสูบถึงศูนย์ตายบน และความดันสูงสุดควรเกิดขึน
ประมาณ 16๐ หลังศูนย์ตายบน
3 : การจุดระเบิดเริมขึนด ้วยหัวเทียนก่อนลูกสูบถึงศูนย์ตายบน และความดันสูงสุดควรเกิดขึน
ประมาณ 8๐ หลังศูนย์ตายบน
4 : การจุดระเบิดเริมขึนด ้วยตัวเองก่อนลูกสูบถึงศูนย์ตายบน และความดันสูงสุดควรเกิดขึน
ประมาณ 8๐ หลังศูนย์ตายบน

ข ้อที 278 :
หัวเทียนร ้อนแตกต่างกับหัวเทียนเย็นอย่างไร
1 : หัวเทียนร ้อนจะมีความยาวของระยะทางการนํ าความร ้อนจากปลายฉนวนไปยังเปลือกอีกด ้าน
มากกว่าหัวเทียนเย็น
2 : หัวเทียนเย็นจะมีความยาวของระยะทางการนํ าความร ้อนจากปลายฉนวนไปยังเปลือกอีกด ้าน
มากกว่าหัวเทียนร ้อน

3 : หัวเทียนร ้อนจะมีระยะทางการนํ าความร ้อนจากปลายฉนวนไปยังเปลือกอีกด ้านสนกว่
าหัว
เทียนเย็น
4 : หัวเทียนร ้อนจะมีเขียวหัวเทียนมากกว่าหัวเทียนเย็น อย่างน ้อยเท่าตัว

ข ้อที 279 :

ความเร็วในการเผาไหม ้แบบราบเรียบของสารผสมระหว่างเชอเพลิ
งกับอากาศนัน จะขึนอยูก
่ บ ิ
ั สงใด
เป็ นสําคัญ
1 : ความดัน อุณหภูมแ ิ ละอัตราสว่ นสมมูล
ธิ

2 : ลักษณะการเผาไหม ้และอัตราสว่ นสมมูล


3 : ลักษณะการเผาไหม ้ ความดัน และอุณหภูม ิ
สท

4 : ความดัน อุณหภูม ิ และมลพิษ



งวน

ข ้อที 280 :

ข ้อใดกล่าวถึงหน ้าทีหลักของระบบจุดระเบิดได ้ถูกต ้อง


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 57/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : ทําให ้มีการเริมต ้นกระบวนการเผาไหม ้ในแต่ละวัฏจักรใด ้เหมาะสมกับการทํางานของ


เครืองยนต์
2 : ทําให ้มีการเริมต ้นกระบวนการเผาไหม ้และสามารถแพร่กระจายได ้ทัวถึงภายในกระบอกสูบใน

กร
แต่ละวัฏจักรเพือให ้เหมาะสมกับการทํ างานของเครืองยนต์
3 : ทําให ้มีการเริมต ้นกระบวนการแพร่กระจายของการเผาไหม ้ภายในกระบอกสูบในแต่ละวัฏจักร

ิ ว
ให ้เหมาะสมกับการทํ างานของเครืองยนต์

าวศ
4 : ทําให ้มีการเริมต ้นกระบวนการแพร่กระจายของเปลวไฟในแต่ละวัฏจักรตลอดชว่ งภาระและ
อัตราเร่งในจุดทีเหมาะสมในวัฏจักรการทํางานของเครืองยนต์
สภ

ข ้อที 281 :
จังหวะการจุดระเบิดทีเหมาะสมทีสุดจะแปรผันตามเหตุผลใดต่อไปนี
1 : ื
การเปลียนแปลงอัตราเร่งของเครืองยนต์ และปริมาณความต ้องการของเชอเพลิงและอากาศ
2 : การเปลียนแปลงอัตราเร็วเครืองยนต์ ความดันท่อไอดีและสว่ นประกอบของสารผสม
3 : การเปลียนแปลงอัตราเร่งเครืองยนต์ อุณหภูมแิ ละสว่ นประกอบของสารผสม
4 : ิ ละสว่ นประกอบของสารผสม
การเปลียนแปลงอัตราเร็วเครืองยนต์ อุณหภูมแ

ข ้อที 282 :
การจุดระเบิดโดยผิวร ้อน(Hot Spot)คืออะไร
1 : เป็ นการเผาไหม ้ทีเกิดขึนเองของสารผสม อันเกิดจากคุณสมบัตข ื
ิ องเชอเพลิ ง
2 : เป็ นลักษณะการเผาไหม ้ได ้เองของกากคาร์บอนทีตกค ้างภายในกระบอกสูบเมือเกิดความดัน
สูงมากของเครืองยนต์

3 : เป็ นลักษณะการเผาไหม ้เชอเพลิ งกับอากาศทีติดตามซอกแหวนของลูกสูบและผิวผนัง
กระบอกสูบเมือเกิดความดันสูงมากของเครืองยนต์

4 : เป็ นการเผาไหม ้ทีมีการจุดระเบิดของสารผสม อากาศกับเชอเพลิ งโดยจุดร ้อนบนผนังห ้อง เผา
ไหม ้หรือสารตกค ้างทีติดอยูใ่ นห ้องเผาไหม ้ทีลุกแดงอยู่

ข ้อที 283 :
Break down please หมายถึงอะไร
1 : จุดทีเกิดความต ้านทานภายในหน ้าทองขาวเกิดกระแสไฟฟ้ าผ่านอย่างรวดเร็ว ทําให ้เกิดแรง
เคลือนมหาศาล ทีเขียวหัวเทียน
2 : จุดทีความต่างศก ั ย์เสย
ี สภาพฉั บพลัน ทําให ้ความต ้านทานของชอ ่ งว่างลดลงอย่างมากและ
กระแสไฟฟ้ าผ่านชอ ่ งว่างเพิมขึนอย่างรวดเร็ว
3 : จุดทีมีสนามแม่เหล็กเกิดขึนระหว่างขัวบวกกับขัวลบ ทําให ้เกิดกระแสไฟฟ้ าผ่านอย่างรวดเร็ว
เกิดแรงเคลือนมหาศาลทีเขียวหัวเทียน
4 : จุดทีมีความต ้านทานภายในหน ้าทองขาวเกิดกระแสไฟฟ้ าผ่านอย่างรวดเร็ว และเกิดการหยุด
ของชว่ งฉั บพลันทําให ้เกิดกระแสไฟฟ้ าผ่านชอ ่ งว่างเพิมขึนอย่างรวดเร็ว
ธิ
สท

ข ้อที 284 :
แรงบิดเบรกสูงสุดสําหรับสภาพการทํางานจะถูกจํากัดด ้วยเหตุผลใดต่อไปนี
งวน

1 : แรงบิดสูงสุดหรือกําลังสูงสุด และการควบคุมจังหวะการจุดระเบิด
2 : อุณหภูมจิ ด ื
ุ เดือดของเชอเพลิ ง และการควบคุมจังหวะการจุดระเบิด
3 : การควบคุมมลพิษหรือความจําเป็ นในการควบคุมการน็ อค และจังหวะการจุดระเบิด

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 58/113
5/3/2021 สภาวิศวกร



4 : ความต ้องการปริมาณเชอเพลิ ิ
งหรือความสนเปลื ื
องเชอเพลิ
ง และการควบคุมจังหวะการจุด


ระเบิด

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 285 :
มีการโต ้เถียงกันในเรืองการตังไฟในการจุดระเบิด โดยนาย ก กล่าวว่าควรตังไฟจุดระเบิดล่วงหน ้ามาก
เมือเครืองยนต์อยูภ่ ายใต ้ภาระงานหนัก นาย ข กล่าวว่าควรตังไฟจุดระเบิดล่วงหน ้ามากก็เมือ
เครืองยนต์ต ้องการความเร็วสูง ใครกล่าวได ้ถูกต ้อง
สภ
1 : นาย ก ถูกต ้อง
2 : นาย ข ถูกต ้อง
3 : ถูกทังนาย ก และนาย ข
4 : ผิดทังนาย ก และนาย ข

ข ้อที 286 :
ข ้อใดกล่าวถึงการทํางานของระบบจุดระเบิดทีดี
1 : แรงเคลือนไฟฟ้ าทีเกิดขึนต ้องสูงพอสามารถจุดประกายไฟระหว่างเขียวหัวเทียนได ้
2 : จังหวะจุดระเบิดทีเหมาะสมต ้องมีระยะเวลาในการจุดระเบิดทีเหมาะสมกับความเร็วรอบของ
เครืองยนต์และภาระ

3 : มีความทนทานต่อการสนสะเทื อนและความร ้อนของเครืองยนต์
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 287 :
ข ้อใดกล่าวถึงหลักการทีทําให ้เกิดแรงเคลือนไฟแรงสูงได ้อย่างถูกต ้อง

1 : การเหนียวนํ าของเสนเเรงแม่ เหล็กผ่านขดลวดเกิดการยุบตัวทําให ้เกิดแรงดันไฟฟ้ า
2 : การเหนียวนํ าตัวเองเมือกระแสไฟฟ้ าไหลเข ้าขดลวดจนเต็มและถูกตัดวงจรอย่างทันทีทน ั ใด
สนามแม่เหล็กจะยุบตัวลงตัดกับขดลวดเกิดการเปลียนแปลงการเหนียวนํ าของแม่เหล็ก ทําให ้เกิด
แรงดันไฟฟ้ าขึน
3 : การเหนียวนํ าร่วมเมือขดลวดปฐมภูมแ ิ ละขดลวดทุตย ิ ภูมอ
ิ ยูร่ อบๆ แกนเหล็กอ่อนเดียวกัน โดย

เสนแรงแม่ เหล็กยืดตัวทําให ้ขดลวดทุตยิ ภูมเิ กิดแรงดันไฟฟ้ าขึน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 288 :
การทีแรงดันไฟฟ้ าจะเกิดการเหนียวนํ ามากหรือน ้อยขึนอยูก
่ บ

1 : ้
จํานวนของเสนแรงแม่
เหล็ก
2 : ความโตของขดลวด
ธิ

3 : การเปลียนแปลงของสนามแม่เหล็ก
4 : ถูกทุกข ้อ
สท

งวน

ข ้อที 289 :
มุมดเวล (Dwell Angle) คือ

1 : มุมของลูกเบียวจานจ่ายในตําแหน่งทีหน ้าทองขาวเปิ ด
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 59/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


2 : มุมของลูกเบียวจานจ่ายในตําแหน่งทีหน ้าทองขาวปิ ด



3 : มุมตําแหน่งการเกิดเสนแรงแม่เหล็กในตําแหน่งเปิ ด

4 : มุมตําแหน่งการเกิดเสนแรงแม่เหล็กในตําแหน่งปิ ด

กร
ิ ว
ข ้อที 290 :
าวศ
การควบคุมการจุดระเบิดล่วงหน ้ามีความสําคัญอย่างไร
ั พันธ์กบ
สภ
1 : เพือปรับให ้การจุดระเบิดเกิดความสม ั ความเร็วรอบของเครืองยนต์และภาระ
2 : เพือป้ องกันปั ญหาการชงิ จุดระเบิดและลดปั ญหามลภาวะทีอาจเกิดขึน
3 : เพือป้ องกันปั ญหาของการเผาไหม ้ทีไม่สมบูรณ์
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 291 :

ข ้อใดอาจเป็ นสาเหตุให ้สนเปลื ื
องนํ ามันเชอเพลิ

1 : หัวเทียนบอด สายหัวเทียนและคอยล์ขาดใน หรือตังไฟไม่ถก ู ต ้อง
2 : ตําแหน่งการจุดระเบิดไม่ถก ื
ู ต ้องอันมาจากนํ ามันเชอเพลิ

3 : เพือป้ องกันปั ญหาของการเผาไหม ้ทีไม่สมบูรณ์
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 292 :

ค่าความล่าชาในการจุ
ดระเบิดคือ
1 : คุณสมบัตก ิ ารเปลียนสภาพของละอองนํ ามันให ้เป็ นไอ
2 : เป็ นคุณสมบัตใิ นการจุดระเบิดของนํ ามัน
3 : ระยะเวลาทีเสย ี ไปในการทําละอองเชอเพลิ
ื งให ้ร ้อนขึน
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 293 :
ค่าตัวเลขซเี ทนตําจะสง่ ผลอย่างไร
1 : ้
ค่าความล่าชาในการจุ ดระเบิดจะยาวนาน
2 : ความดันในกระบอกสูบพุง่ ตําลง
3 : การเผาไหม ้จะเริมขึนเร็ว
4 : ถูกทุกข ้อ
ธิ

ข ้อที 294 :
สท

มุมดเวล (Dwell Angle) มากเกินไปจะสง่ ผลอย่างไร


1 : ระยะห่างหน ้าทองขาวจะกว ้างขึนเกิดประกายไฟได ้ง่ายเมือหน ้าทองขาวเริมเปิ ด


งวน

2 : ระยะห่างหน ้าทองขาวจะแคบลงเกิดประกายไฟได ้ง่ายเมือหน ้าทองขาวเริมเปิ ด


3 : ระยะห่างหน ้าทองขาวจะแคบลงเกิดประกายไฟได ้ยากเมือหน ้าทองขาวเริมเปิ ด
4 : ระยะห่างหน ้าทองขาวจะกว ้างขึนเกิดประกายไฟได ้ยากเมือหน ้าทองขาวเริมเปิ ด

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 60/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 295 :
มุมดเวล (Dwell Angle) น ้อยเกินไปจะสง่ ผลอย่างไร

กร
ั ทําให ้กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านขดลวดปฐมภูมม
1 : จะทําให ้ระยะเวลาทีหน ้าทองขาวปิ ดสน ิ เี วลา
มากขึน เมือความเร็วรอบเครืองยนต์เพิมขึนกระแสไฟฟ้ าวงจรปฐมภูมไิ ม่เพียงพอ ทําให ้จังหวะจุด

ิ ว
ระเบิดผิดพลาด

าวศ
2 : จะทําให ้ระยะเวลาทีหน ้าทองขาวเปิ ดยาว ทําให ้กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านขดลวดปฐมภูมม ิ เี วลา
น ้อยลง เมือความเร็วรอบเครืองยนต์เพิมขึนกระแสไฟฟ้ าวงจรปฐมภูมไิ ม่เพียงพอ ทําให ้จังหวะจุด
ระเบิดผิดพลาด
สภ
3 : จะทําให ้ระยะเวลาทีหน ้าทองขาวปิ ดสนั ทําให ้กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านขดลวดปฐมภูมม ิ เี วลา
น ้อยลง เมือความเร็วรอบเครืองยนต์เพิมขึนกระแสไฟฟ้ าวงจรปฐมภูมไิ ม่เพียงพอ ทําให ้จังหวะจุด
ระเบิดผิดพลาด
4 : จะทําให ้ระยะเวลาทีหน ้าทองขาวเปิ ดยาว ทําให ้กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่านขดลวดปฐมภูมม ิ เี วลา
มากขึน เมือความเร็วรอบเครืองยนต์เพิมขึนกระแสไฟฟ้ าวงจรปฐมภูมไิ ม่เพียงพอ ทําให ้จังหวะจุด
ระเบิดผิดพลาด

ข ้อที 296 :
ข้อใดกล่าวถูกเกียวกับข้อจํากัดของการทํางานของคาร์บูเรเตอร์
1 : สามารถควบคุมส่ วนผสมระหว่างอากาศกับเชือเพลิงได้อย่างแน่นอน เนื องจากอัตราส่ วนสมมูล ( ) คงที
2 : ทีอัตราเร็ วรอบตํา คาร์ บูเรเตอร์ จะให้ส่วนผสมหนามากกว่าส่ วนผสมบาง ทังๆทีเครื องยนต์ตอ้ งการส่ วน
ผสมบางทีภาวะเดินเบา
3 : ทีภาระเครื องยนต์ปานกลาง ในคาร์ บูเรเตอร์ พบว่าอัตราส่ วนสมมูลจะลดลงเมืออัตราไหลของอากาศมาก
ขึน
4 : ทีตําแหน่งเปิ ดลินเร่ งเต็มที (WOT) เมืออัตราไหลของอากาศเพิมขึนถึงค่าสู งสุ ด อัตราส่ วนสมมูลค่อนข้าง
จะคงที แต่เครื องยนต์ตอ้ งการส่ วนผสมหนาขึน ( >1.0)

ข ้อที 297 :

ข ้อใดเป็ นข ้อดีของระบบฉีดเชอเพลิ ื
งโดยอ ้อม (IDI) เมือเปรียบเทียบกับระบบเชอเพลิ
งตรง (DI)
1 : ระบบ IDI ให ้กําลังและ BMEP สูงกว่าระบบ DI รวมทังมีควันดําเกิดขึนน ้อย

2 : บํารุงรักษาได ้ง่ายกว่า เนืองจากหัวฉีดเชอเพลิ ้
งทีใชสามารถทํ าความสะอาดได ้ในตัวเองขณะ

ใชงานและมี ความเค ้นทางกลตํา
3 : ทีภาวะเดินเบา เครืองยนต์ในระบบ IDI จะเดินเรียบและเงียบกว่า
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 298 :

ข ้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต ้องเกียวกับหน ้าทีของระบบฉีดเชอเพลิ
งในเครืองยนต์ CI

1 : ฉีดเชอเพลิ ึ รป
งเป็ นละอองซงมี ู ทรงตามแบบของห ้องเผาไหม ้
ธิ


2 : การเริมฉีดและหยุดฉีดต ้องเป็ นไปอย่างรวดเร็ว โดยจะต ้องไม่เกิดหยดนํ ามันเชอเพลิ
งขึนใน
สท

ภายหลัง

3 : ควบคุมปริมาณการสง่ เชอเพลิ
ื งทีเหมาะสมกับอัตราเร็วรอบและภาระของเครืองยนต์
4 : ถูกทุกข ้อ
ส งวน

ข ้อที 299 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 61/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข ้อใดไม่มใี นเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ


1 : หัวเทียน

กร
2 : ห ้องเผาไหม ้ชว่ ย
3 : ไอดี
4 : ถูกทุกข ้อ

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 300 :
รอบเครื องยนต์เดินเบามีลกั ษณะอย่างไร

1 : รอบเครื องยนต์ทีสามารถเร่ งได้สูงสุ ด


2 : รอบเครื องยนต์ทีสิ นเปลืองเชือเพลิงน้อยทีสุ ด
3 : รอบเครื องยนต์ทีช้าทีสุ ดทีเครื องยนต์สามารถทํางานได้ครบรอบวัฏจักร
4 : ไม่มีขอ้ ใดถูก

ข ้อที 301 :
อุปกรณ์ใดไม่มใี นเครืองยนต์โรตารี
1 : ี
วาล์วไอดีและวาล์วไอเสย
2 : ฟลายวีล
3 : หัวเทียนจุดระเบิด
4 : โรเตอร์สามเหลียม

ข ้อที 302 :
Ignition Delay คืออะไร
1: ช่วงลามเปลวไฟ
2: เวลาในการจุดระเบิด
3: ช่วงเวลาระหว่างทีเริ มฉี ดนํามันจนถึงจุดทีเริ มติดไฟ
4: ข้อ 2 และ 3 ถูก

ข ้อที 303 :
ค่า Ignition Delay จะขึนอยูก่ บั ค่าใดของเชือเพลิง
1: Cetane Number
2: Heating Value
ธิ

3: Flash Point
สท

4: Density

งวน

เนือหาวิชา : 379 : Cycle



ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 62/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 304 :

กร
ิ ว
าวศ
1 : 52.9 %
สภ
2 : 94.5 %

3 : 47.1 %

4 : 35.9 %

ข ้อที 305 :
เมือมีการเปรียบเทียบระหว่างวัฏจักรอ๊อตโต ดีเซล และดูอล ิ ธิภาพ
ั (จํากัดความดัน) ดังรูป ประสท

ความร ้อนบ่งช ของวัฏจักรใดมีคา่ สูงสุด เรียงตามลําดับมากไปหาน ้อย

1 : ดูอล
ั > อ๊อตโต > ดีเซล

2 : ดีเซล > ดูอล


ั > อ๊อตโต

3 : ดูอล
ั > ดีเซล > อ๊อตโต
ธิ

4 : อ๊อตโต > ดูอล


ั > ดีเซล
สท

งวน

ข ้อที 306 :
ิ ธิภาพความร ้อนบ่งช ี (Specific Thermal Efficiency) ของวัฏจักรดีเซล
ข ้อใดเป็ นสมการหาประสท

มาตรฐานอากาศ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 63/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

อข
กร
ิ ว
1:

าวศ
สภ
2:

3:

4:

ข ้อที 307 :
เครืองยนต์ดเี ซล 6 สูบ 4 จังหวะ ความจุ 3.3 ลิตร วัดกําลังเพลาได ้ 57 kW ทีความเร็วรอบ 2,000
RPM จงหาแรงบิดทีเกิดขึนในสภาวะนี
1 : 0.27 kJ
2 : 0.37 kJ
3 : 0.47 kJ
4 : 0.77 kJ

ข ้อที 308 :
เครืองยนต์ดเี ซล 6 สูบ 4 จังหวะ ความจุ 3.3 ลิตร วัดกําลังเพลาได ้ 57 kW ทีความเร็วรอบ 2,000
RPM จงหาความดันยังผลเฉลียเบรก(Brake Mean Effective Pressure)ในสภาวะนี
1 : 936.36 kPa
2 : 1036.36 kPa
3 : 1136.36 kPa
4 : 1336.36 kPa

ข ้อที 309 :
ธิ
สท

งวน

1 : 40 %
2 : 48 %
3 : 51 %

4 : 54 %
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 64/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 310 :

ิ ว
้ าศูนย์กลางกระบอกสูบ 35 cm ระยะชก
เครืองยนต์ดเี ซล 6 สูบ 2 จังหวะ เสนผ่ ั 105 cm กําลังเบรก

าวศ
3,600 kW ทีความเร็วรอบ 210 RPM จงหาแรงบิดทีความเร็วรอบนี
1 : 82 kN-m
2 : 84 kN-m
สภ
3 : 162 kN-m
4 : 164 kN-m

ข ้อที 311 :
้ าศูนย์กลางกระบอกสูบ 35 cm ระยะชก
เครืองยนต์ดเี ซล 6 สูบ 2 จังหวะ เสนผ่ ั 105 cm กําลังเบรก
3,600 kW ทีความเร็วรอบ 210 RPM จงหาความดันยังผลเฉลียเบรก(Brake Mean Effective
Pressure)
1 : 850 kPa
2 : 871 kPa
3 : 1679 kPa
4 : 1700 kPa

ข ้อที 312 :

1 : 12.45
2 : 15.32
3 : 16.45
4 : 17.32

ข ้อที 313 :
ธิ
สท

งวน

1:
2:

3:
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 65/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


4:


กร
ิ ว
ข ้อที 314 :

าวศ
สภ

1 : 8.5:1
2 : 9.5:1
3 : 10:1
4 : 11:1

ข ้อที 315 :

1 :
2 :
3 :
4 :

ข ้อที 316 :
ธิ
สท

1 :
งวน

2 :
3 :
4 :

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 66/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 317 :

กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

ข ้อที 318 :

1:

2:

3:

4:

ข ้อที 319 :
ธิ
สท

งวน

1:

2:

3:
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 67/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
4:

กร
ิ ว
ข ้อที 320 :

าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

ข ้อที 321 :

1:

2:

3:

4:

ข ้อที 322 :
ธิ
สท

ส งวน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 68/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : 24.1 %


2 : 25.9 %

กร
3 : 27.9 %

ิ ว
าวศ
4 : 28.1 %
สภ

ข ้อที 323 :

1 : 689 kJ/kg

2 : 778 kJ/kg

3 : 878 kJ/kg

4 : 989 kJ/kg

ข ้อที 324 :
ธิ
สท

1 : 1.15 kJ

2 : 1.91 kJ
งวน

3 : 2.15 kJ

4 : 2.91 kJ

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 69/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 325 :

ิ ว
าวศ
สภ

1 : 15.25:1

2 : 17.25:1

3 : 18.65:1

4 : 19.25:1

ข ้อที 326 :
เหตุใดวัฏจักรจริงจึงมีกําลังน ้อยกว่าวัฏจักรอากาศมาตรฐาน

1 : ความดันที BTDC ของวัฏจักรจริงตํากว่าวัฏจักรทางทฤษฎี


2 : การเผาไหม ้ไม่สมบูรณ์
3 : เกิดการรัวไหลทําให ้ปริมาตรหัวสูบมากกว่าทีกําหนด
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 327 :
ิ ธิภาพความร ้อนบ่งช(Specific
ข ้อใดคือสมการหาประสท ี Thermal Efficiency)ของวัฏจักรดีเซล
อุดมคติ
ธิ

1:
สท

งวน

2:

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 70/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
3:

ิ ว
4:
าวศ
สภ

ข ้อที 328 :
ั แอร์มาตรฐานใชกั้ บเครืองยนต์ประเภทใด
วัฏจักรดูอล

1 : เครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ
2 : เครืองยนต์จดุ ระเบิดด ้วยการอัด
3 : เครืองยนต์โรตารี
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 329 :
วัฏจักรอ๊อตโตอากาศมาตรฐานใชกั้ บเครืองยนต์ประเภทใด

1 : เครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ

2 : เครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยการอัด

3 : เครืองยนต์สเตอร์ลงิ

4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 330 :
วัฏจักรดีเซลอากาศมาตรฐานใชกั้ บเครืองยนต์ประเภทใด

1 : เครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ

2 : เครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยการอัด
ธิ

3 : เครืองยนต์โรตารี
สท

4 : ไม่มข
ี ้อถูก
ส งวน

ข ้อที 331 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 71/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


Dual-Cycle เป็ นวัฏจักรผสมระหว่างวัฏจักรใด


1 : Carnot และ Otto

กร
2 : Carnot และ Diesel
3 : Wancel และ Diesel
4 : Otto และ Diesel

ิ ว
าวศ
สภ
ข ้อที 332 :
ข ้อใดกล่าวถึงเครืองยนต์ Stratified Charged ได ้ถูกต ้อง
1 : การปรับปรุงการสง่ สว่ นผสมของเชอเพลิ
ื งเข ้ากระบอกสูบให ้มีความหนาบางต่างกันและให ้จุด
เผาไหม ้ทีสว่ นผสมหนาก่อนแล ้วจึงลามไปยังสว่ นผสมบาง ทําให ้การเผาไหม ้สมบูรณ์ขนึ
2 : การปรับปรุงการสง่ สว่ นผสมของเชอเพลิ
ื งเข ้ากระบอกสูบให ้มีความหนาบางต่างกันและให ้จุด
เผาไหม ้ทีสว่ นผสมบางก่อนแล ้วจึงลามไปยังสว่ นผสมหนา ทําให ้การเผาไหม ้สมบูรณ์ขน ึ
3 : การเผาไหม ้ทีสว่ นผสมบางก่อนแล ้วจึงลามไปยังสว่ นผสมหนา ทําให ้การเผาไหม ้สมบูรณ์
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

ข ้อที 333 :
การจัดระบบวาล์วให ้เหลือมมากขึนคือมี Overlap มากกว่าเดิมจงสง่ ผลดีด ้านใด
1 : ทําให ้ปริมาณอากาศเข ้าห ้องเผาไหม ้มากกว่าสง่ ผลให ้การเผาไหม ้สมบูรณ์ขน


2 : ปริมาณไอเสยเหลือในกระบอกสูบมากขึน ทําให ้อุณหภูมห ิ ้องเผาไหม ้ลดลง NOX ลดลง

3 : ปริมาณเชอเพลิ ิ ้องเผาไหม ้เพิมขึน สง่ ผลให ้การ
งทีเข ้าในกระบอกสูบมากขึน ทําให ้อุณหภูมห
เผาไหม ้สมบูรณ์ขนึ CO, HC ลดลง
4 : ข ้อ 1 และ 3 ถูกต ้อง

ข ้อที 334 :
Direct Injection ในเครืองยนต์ CI จะมีคณ
ุ สมบัตอ
ิ ย่างไร
1 : ให ้อัตราสว่ นการอัดตํากว่าแบบ Indirect Injection
2 : ให ้กําลังสูงสุดทีอัตราเร่งเครืองยนต์ตํากว่าแบบ Indirect Injection
3 : ื
ฉีดเชอเพลิ งทีความดันสูงกว่าแบบ Indirect Injection
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 335 :
ข้อดีของเครื องยนต์สเตอร์ลิง (Stirling Engine) คือ
1: เป็ นเครื องยนต์เผาไหม้ภายในทีให้ไอเสี ยทีสะอาด แต่มีควันมาก
ธิ

2: เป็ นเครื องยนต์เผาไหม้ภายในทีให้ไอเสี ยทีสะอาด ควันน้อย ไม่มีกลิน ไม่มีเสี ยง


สท

3: เป็ นเครื องยนต์เผาไหม้ภายนอกทีให้ไอเสี ยทีสะอาด แต่มีควันมาก


4: เป็ นเครื องยนต์เผาไหม้ภายนอกทีให้ไอเสี ยทีสะอาด ควันน้อย ไม่มีกลิน ไม่มีเสี ยง


ส งวน

ข ้อที 336 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 72/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข้อดีขอ้ ใดกล่าวถึงเครื องยนต์ไฮบริ ด (Hybrid) ได้ถูกต้อง


1: เป็ นเครื องยนต์ทีใช้ทงแก๊
ั สโซลีนและไฟฟ้าร่ วมกัน

กร
2: เป็ นเครื องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟใช้ร่วมกับไฟฟ้า
3: เป็ นเครื องยนต์สเตอร์ลิงทีมีมอเตอร์ไฟฟ้า

ิ ว
4: ถูกทุกข้อ

าวศ
สภ
เนือหาวิชา : 380 : Fundamental of heat balance

ข ้อที 337 :
คําว่าเครืองจักรความร ้อน “Heat Engine” หมายถึงข ้อใด
1 : ้ อเพลิ
เครืองจักรทีใชเช ื งเพือการเผาไหม ้
2 : เครืองจักรทีมีการเผาไหม ้ในภาชนะปิ ด
3 : เครืองจักรทีเปลียนแปลงพลังงานความร ้อนให ้เป็ นงานกล
4 : ้
เครืองจักรทีทํางานแล ้วให ้ความร ้อนออกมาใชงาน

ข ้อที 338 :
เครืองยนต์สน ั ดาปภายใน “Internal Combustion Engine” ทีใชกั้ บยานยนต์ทวไป
ั มีการจุดระเบิด
การเผาไหม ้เป็ นแบบใด
1 : จุดระเบิดจากความร ้อนในห ้องเผาไหม ้ในสภาวะทีเหมาะสม
2 : จุดระเบิดจากการอัดและการจุดประกายไฟพร ้อมกัน
3 : จุดระเบิดจากการอัดหรือการจุดประกายไฟหลังการอัดสนสุิ ด
4 : จุดระเบิดจากการอัดหรือการจุดประกายไฟก่อนการอัดสนสุ ิ ด

ข ้อที 339 :
เครืองยนต์สน ั ดาปภายนอก “External Combustion Engine” ทีใชกั้ บยานยนต์ทวไป
ั มีการจุดระเบิด
การเผาไหม ้เป็ นแบบใด
1 : เผาไหม ้ให ้ความร ้อนในห ้องเผาไหม ้ในสภาวะทีเหมาะสม
2 : จุดระเบิดจากการอัดและการจุดประกายไฟพร ้อมกัน
3 : จุดระเบิดจากการอัดหรือการจุดประกายไฟหลังการอัดสนสุ ิ ด
4 : จุดระเบิดจากการอัดหรือการจุดประกายไฟก่อนการอัดสนสุ ิ ด

ข ้อที 340 :
ธิ

เครืองยนต์ลก ู สูบหมุน “Rotary Engine” หนึงสูบ เมือหมุนครบหนึงรอบ มีจังหวะการอัดได ้กีครัง


สท

1 : 1 ครัง
2 : 3 ครัง

3 : 6 ครัง
งวน

4 : 2 ครัง

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 73/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ขอ
ข ้อที 341 :
เครืองยนต์ลก ู สูบหมุน “Rotary engine” หนึงสูบ เมือหมุนครบหนึงรอบ มีจังหวะการจุดระเบิดกีครัง

กร
1 : 1 ครัง
2 : 3 ครัง

ิ ว
3 : 6 ครัง

าวศ
4
สภ : 2 ครัง

ข ้อที 342 :
เครืองยนต์ลก ู สูบหมุน “Rotary Engine” หนึงสูบ เมือหมุนครบหนึงรอบ มีจังหวะการดูดไอดีกครั
ี ง
1 : 1 ครัง
2 : 3 ครัง
3 : 6 ครัง
4 : 2 ครัง

ข ้อที 343 :
เครืองยนต์ลก ี กีครัง
ู สูบหมุน “Rotary Engine” หนึงสูบ เมือหมุนครบหนึงรอบ มีจังหวะการคายไอเสย
1 : 1 ครัง
2 : 3 ครัง
3 : 6 ครัง
4 : 2 ครัง

ข ้อที 344 :
ิ ว่ นใดของเครืองยนต์
ปลอกสูบ “Liner” ประกอบอยูใ่ นชนส
1 : ลูกสูบ
2 : ื บ
เสอสู
3 : ฝาสูบ
4 : ก ้านสูบ

ข ้อที 345 :
สว่ นใดของลูกสูบทีใชในเครื
้ ้ านศูนย์กลางของสว่ นกลมโตทีสุด
องยนต์ ทีมีขนาดเสนผ่
1 : สว่ นบนสุดของลูกสูบเหนือแหวนอัด
2 : สว่ นบนเหนือแหวนนํ ามัน
3 : สว่ นคอลูกสูบด ้านล่างแหวนนํ ามัน
ธิ

4 : สว่ นชายล่างสุด
สท

งวน

ข ้อที 346 :
ทังเครืองยนต์ CI และ SI โดยทัวไปมีแหวนอัดและแหวนนํ ามันจํานวนเท่าใด

1 : . แหวนอัด 2 วง แหวนนํ ามัน 1 วง


2 : แหวนอัด 1 วง แหวนนํ ามัน 2 วง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 74/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : แหวนอัด 2 วง แหวนนํ ามัน 2 วง


4 : แหวนอัด 3 วง แหวนนํ ามัน 1 วง

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 347 :
Crankshaft Offset หมายถึงข ้อใด
1 : ระยะจากศูนย์กลาง Main Bearing ถึง Journal Bearing ของเพลาข ้อเหวียง
สภ
2 : ระยะพิกด
ั เผือที Main Bearing ของเพลาข ้อเหวียง
3 : ระยะพิกดั เผือที Journal Bearing ของเพลาข ้อเหวียง
4 : ระยะการแกว่งตัวของเพลาข ้อเหวียงขณะหมุน

ข ้อที 348 :
ข ้อความต่อไปนีข ้อใดถูกต ้อง
1 : ี งหวะมีความเร็วรอบหมุนมากกว่าเครืองยนต์สองจังหวะ
เครืองยนต์สจั
2 : ี งหวะมีนําหนักมากกว่าเครืองยนต์สองจังหวะ
เครืองยนต์สจั
3 : เครืองยนต์สจัี งหวะมีกา๊ ซมลพิษมากกว่าเครืองยนต์สองจังหวะ
4 : เครืองยนต์สจั ี งหวะมีความสนเปลื
ิ ื
องเชอเพลิ งมากกว่าเครืองยนต์สองจังหวะ

ข ้อที 349 :
ข ้อความต่อไปนีข ้อใดผิด
1 : ี งหวะมีความเร็วรอบหมุนน ้อยกว่าเครืองยนต์สองจังหวะ
เครืองยนต์สจั
2 : ี งหวะมีนําหนักน ้อยกว่าเครืองยนต์สองจังหวะ
เครืองยนต์สจั
3 : เครืองยนต์สจัี งหวะมีกา๊ ซมลพิษน ้อยกว่าเครืองยนต์สองจังหวะ
4 : เครืองยนต์สจั ี งหวะมีความสนเปลื
ิ ื
องเชอเพลิ งน ้อยกว่าเครืองยนต์สองจังหวะ

ข ้อที 350 :
เครืองยนต์ GDI คือเครืองยนต์แบบใด
1 : ื
เครืองยนต์ดเี ซลแบบฉีดเชอเพลิ งเข ้าห ้องเผาไหม ้ตรง
2 : ื
เครืองยนต์กา๊ ซโซลีนแบบฉีดเชอเพลิ งเข ้าห ้องเผาไหม ้ตรง
3 : เครืองยนต์ดเี ซลแบบจุดระเบิดในห ้องเผาไหม ้ตรง
4 : เครืองยนต์กา๊ ซโซลีนแบบจุดระเบิดในห ้องเผาไหม ้ตรง

ข ้อที 351 :
ธิ

Fly Wheel เป็ นอุปกรณ์ทใช ้


ี ในเครื
องยนต์เพือวัตถุประสงค์หลักตามข ้อใด
สท

1 : ทําให ้ล ้อหมุนบินได ้

2 : ทําให ้เครืองยนต์ทํางานครบวัฏจักรของการทํางานได ้
งวน

3 : ั
เป็ นนํ าหนักถ่วงเพือไม่ให ้เครืองยนต์สนขณะทํ างาน
4 : เป็ นสว่ นต่อกําลังไปยังเกียร์

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 75/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 352 :


ิ ว่ นตามข ้อใด
SOHC เป็ นอักษรย่อของชนส

กร
1 : Super Overlap Higher Camshaft
2 : Single Overlap Heavy Duty Camshaft
3 : Single Over Head Camshaft

ิ ว
4 : Swirl Over Head Camshaft

าวศ
สภ
ข ้อที 353 :
คําว่า Swept Volume หมายถึงข ้อใด
1 : Displacement Volume
2 : Total Volume
3 : Clearance Volume
4 : Crevice Volume

ข ้อที 354 :
Variable Geometry Turbocharger เป็ นเทอร์โบชาร์จแบบใด
1 : ขับด ้วยเครืองยนต์ มีวาล์วระบายไอเสย ี ทีเรียกว่า Waste Gate แบบปรับได ้
2 : ี มีวาล์วระบายไอเสย
ขับด ้วยแก๊สไอเสย ี ทีเรียกว่า Waste Gate แบบปรับได ้
3 : ขับด ้วยแก๊สไอเสยี มีใบพัดคอมเพรสเซอร์แบบปรับมุมได ้
4 : ขับด ้วยแก๊สไอเสย ี มีใบพัดเทอร์ไบน์แบบปรับมุมได ้

ข ้อที 355 :
Air Standard Otto Cycle ประกอบด ้วยขบวนการอะไรบ ้าง
1 : ปริมาตรคงที อุณหภูมค
ิ งที
2 : ปริมาตรคงที อาไดเบติก(Adiabatic)
3 : ความดันคงที อุณหภูมคิ งที
4 : ความดันคงที อาไดเบติก(Adiabatic)

ข ้อที 356 :
Air Standard Diesel Cycle ประกอบด ้วยขบวนการอะไรบ ้าง
1 : ปริมาตรคงที อุณหภูมค
ิ งที ความดันคงที
2 : ปริมาตรคงที อาไดเบติก(Adiabatic) อุณหภูมคิ งที
3 : ความดันคงที อุณหภูมคิ งที อาไดเบติก(Adiabatic)
4 : ความดันคงที อาไดเบติก(Adiabatic) ปริมาตรคงที
ธิ
สท

งวน

ข ้อที 357 :
Air Standard Dual Cycle ประกอบด ้วยขบวนการอะไรบ ้าง
1 : ปริมาตรคงที อุณหภูมค
ิ งที ความดันคงที

2 : ปริมาตรคงที อาไดเบติก(Adiabatic) อุณหภูมค


ิ งที
3 : ความดันคงที อุณหภูมคิ งที ปริมาตรคงที
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 76/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


4 : ความดันคงที อาไดเบติก(Adiabatic) ปริมาตรคงที


กร
ิ ว
ข ้อที 358 :

าวศ
Air standard Otto cycle ประกอบด ้วยขบวนการอะไรบ ้าง
1 : ปริมาตรคงที อุณหภูมค
ิ งที
2 : ปริมาตรคงที อาไดเบติก (Adiabatic)
สภ
3 : ความดันคงที อุณหภูมคิ งที
4 : ความดันคงที อาไดเบติก (Adiabatic)

ข ้อที 359 :
ผู ้ผลิตรถยนต์สว่ นใหญ่ในปั จจุบน
ั มีการติดตัง EGR valve ในเครืองยนต์ เพือวัตถุประสงค์ตามข ้อใด
1 : ลดไฮโดรคาร์บอน
2 : ลดคาร์บอนมอนน๊อกไซด์
3 : ลดคาร์บอนไดออกไซด์
4 : ลดไนโตรเจนออกไซด์

ข ้อที 360 :
ลูกสูบทีใชกั้ บเครืองยนต์สน
ั ดาปภายในชนิดสจั
ี งหวะโดยทัวไปมีแหวนลูกสูบตามข ้อใด
1 : แหวนอัด 2 แหวนกวาด1 แหวนนํ ามัน 1
2 : แหวนอัด 1 แหวนกวาด1 แหวนนํ ามัน 2
3 : แหวนอัด 2 แหวนนํ ามัน 2
4 : แหวนอัด 2 แหวนนํ ามัน 1

ข ้อที 361 :

1 : 15.00 : 1
2 : 15.25 : 1
3 : 15.49 : 1
4 : 15.69 : 1
ธิ

ข ้อที 362 :
สท

Blow by Gas เกิดขึนทีในสว่ นใดของเครืองยนต์กอ


่ น

1 : กระบอกสูบ
งวน

2 : ฝาสูบ
3 : ท่อไอดี
4 : ท่อไอเสยี

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 77/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 363 :
ั ราสว่ นการอัดตามข ้อใด
เครืองยนต์แบบจุดระเบิดด ้วยประกายไฟ โดยทัวไปมีอต

กร
1 : 8-12:1
2 : 8-15:1

ิ ว
3 : 15-18:1

าวศ
4
สภ : 15-22:1

ข ้อที 364 :
ั ราสว่ นการอัดตามข ้อใด
เครืองยนต์แบบจุดระเบิดด ้วยการอัด โดยทัวไปมีอต
1 : 8-12:1
2 : 8-15:1
3 : 15-18:1
4 : 15-22:1

ข ้อที 365 :
แหวนลูกสูบของเครืองยนต์ควรมีแหวนอัดอย่างน ้อยกีตัว
1 : 1 ตัว
2 : 2 ตัว
3 : 3 ตัว
4 : 1 หรือ 2 ตัวก็ได ้

ข ้อที 366 :
ความเรียบทีผิวกระบอกสูบของเครืองยนต์ในปั จจุบน
ั ควรมีคา่ อยูท
่ เท่
ี าใด
1 : 0 - 0.5 ไมครอน
2 : 0.5 - 1.0 ไมครอน
3 : 1.0 - 1.5 ไมครอน
4 : 1.5 - 2.0 ไมครอน

ข ้อที 367 :
คําว่าDisplacement Volume หมายถึงข ้อใด
1 : ปริมาตรเหนือลูกสูบทังหมดขณะอยูท ่ ศู
ี นย์ตายบน
2 : ปริมาตรเหนือลูกสูบทังหมดขณะอยูท ่ ศู
ี นย์ตายล่าง
3 : ปริมาตรทังหมดทีลูกสูบดูดได ้ทางทฤษฎี
ธิ

4 : ปริมาตรทังหมดทีลูกสูบดูดได ้ทางปฏิบต ั ิ
สท

งวน

ข ้อที 368 :
คําว่าClearance volume หมายถึงข ้อใด

1 : ปริมาตรเหนือลูกสูบทังหมดขณะอยูท
่ ศู
ี นย์ตายบน
2 : ปริมาตรเหนือลูกสูบทังหมดขณะอยูท่ ศู
ี นย์ตายล่าง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 78/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : ปริมาตรทังหมดทีลูกสูบดูดได ้ทางทฤษฎี


4 : ปริมาตรทังหมดทีลูกสูบดูดได ้ทางปฏิบต
ั ิ

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 369 :
Crevice Volume คือปริมาตรทีตําแหน่งใดของเครืองยนต์
1 : ปริมาตรเหนือลูกสูบทังหมดขณะอยูท่ ศู
ี นย์ตายบน
สภ
2 : ปริมาตรเหนือลูกสูบทังหมดขณะอยูท ่ ศู
ี นย์ตายล่าง
3 : ปริมาตรทังหมดในห ้องข ้อเหวียง
4 : ่ งว่างระหว่างลูกสูบและกระบอกสูบเหนือแหวนอัด
ชอ

ข ้อที 370 :
คําว่า Dead Volume ในเครืองยนต์หมายถึงข ้อใด
1 : ปริมาตรทีไม่มก
ี ารเปลียนแปลงมวล
2 : ปริมาตรทีไม่มกี ารเคลือนทีของมวล
3 : ปริมาตรทีมวลมีการเคลือนทีน ้อยมาก
4 : ปริมาตรทีมีขนาดคงที

ข ้อที 371 :
E G R เป็ นค่าย่อมาจากข ้อใด
1 : Exhaust Gas Ratio
2 : Exhaust Gas Return
3 : Exhaust Gas Retard
4 : Exhaust Gas Recirculation

ข ้อที 372 :
ี เข ้าไปผสมกับไอดีได ้ในอัตราเท่าใด จึงจะไม่ทําให ้เครืองยนต์มป
E G R Valve ยอมให ้ไอเสย ี ั ญหา
1 : 0 – 15 %
2 : 0 – 30 %
3 : 0 – 50 %
4 : 0 – 75 %

ข ้อที 373 :
ธิ

ี กลับมาเข ้ามาผสมในไอดีเกิดขึนในสถานะใด
การนํ าแก๊สไอเสย
สท

1 : ต ้องการกําลังจากเครืองยนต์มาก

2 : ต ้องการกําลังจากเครืองยนต์น ้อยสุด
งวน

3 : ต ้องการกําลังจากเครืองยนต์ปานกลาง
4 : ทุกสภาวการณ์ทํางานของเครืองยนต์

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 79/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 374 :


ี กลับเข ้ามาผสมในไอดีเพือจุดประสงค์ใด
การนํ าแก๊สไอเสย

กร
1 : เพิมกําลังให ้กับเครืองยนต์
2 : ลดอัตราความสนเปลืิ ื
องเชอเพลิ

3 : ลดแก๊สมลพิษทัวไป

ิ ว
4 : ลดแก๊สไนโตรเจนออกไซด์

าวศ
สภ
ข ้อที 375 :
EGR Valve ติดตังอยูท ี ว่ นใดของเครืองยนต์
่ ส
1 : ระหว่างท่อไอดีและท่อไอเสย ี
2 : ระหว่างท่อไอเสยี และเครืองยนต์
3 : ระหว่างท่อไอดีและเครืองยนต์
4 : ในเครืองยนต์

ข ้อที 376 :
Crank Offset หมายถึงข ้อใด
1 : การวางเพลาข ้อเหวียงให ้เยืองศูนย์
2 : รัศมีของเพลาข ้อเหวียง
3 : ้ งกลางของลูกสูบและเพลาข ้อเหวียงเยืองกัน
เสนกึ
4 : การวางเครืองเอียงไม่ตงตรง

ข ้อที 377 :
จุดประสงค์ทต ี ้องทําให ้กึงกลางจุดหมุนของสลักลูกสูบเยืองกับกึงกลางของลูกสูบเพือข ้อใด
1 : เพือลดอาการน็ อคของเครืองยนต์
2 : เพือลดอาการตบข ้างของลูกสูบ
3 : เพือทําให ้ลูกสูบมีความสมดุล
4 : ี งเงียบ
เพือให ้เครืองยนต์มเี สย

ข ้อที 378 :
เครืองยนต์ใชลู้ กสูบแบบ Over Square มีลก
ั ษณะตามข ้อใด
1 : ระยะชกั มากกว่าเสนผ่้ านศูนย์กลาง
2 : ระยะชก ั น ้อยกว่าเสนผ่
้ านศูนย์กลาง
3 : ระยะชก ั เท่ากับเสนผ่
้ านศูนย์กลาง
ธิ

4 : ้ านศูนย์กลางลูกสูบมากกว่ามาตรฐาน
เสนผ่
สท

งวน

ข ้อที 379 :
เครืองยนต์ใชลู้ กสูบแบบ Under Square มีลก
ั ษณะตามข ้อใด

ั มากกว่าเสนผ่
1 : ระยะชก ้ านศูนย์กลาง
ั ้ านศูนย์กลาง
2 : ระยะชกน ้อยกว่าเสนผ่
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 80/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : ระยะชกั เท่ากับเสนผ่
้ านศูนย์กลาง


้ านศูนย์กลางลูกสูบน ้อยกว่ามาตรฐาน
4 : เสนผ่

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 380 :
เครืองยนต์ใชลู้ กสูบแบบ Square มีลก
ั ษณะตามข ้อใด
1 : ระยะชกั มากกว่าเสนผ่้ านศูนย์กลางลูกสูบ
ั น ้อยกว่าเสนผ่
้ านศูนย์กลางลูกสูบ
สภ
2 : ระยะชก
3 : ระยะชก ั เท่ากับเสนผ่
้ านศูนย์กลางลูกสูบ
4 : ้ านศูนย์กลางลูกสูบตามมาตรฐาน
เสนผ่

ข ้อที 381 :
เครืองยนต์ DI คือเครืองยนต์ทมี
ี ลก
ั ษณะตามข ้อใด
1 : มีการจ่ายไฟจุดระเบิดโดยตรงไม่ผา่ นจานจ่าย
2 : มีการฉีดนํ ามันโดยตรงเข ้าห ้องเผาไหม ้หลัก
3 : มีการฉีดนํ ามันโดยตรงเข ้าห ้องเผาไหม ้ชว่ ย
4 : มีการระบายความร ้อนโดยตรงไม่ต ้องมีหม ้อนํ า

ข ้อที 382 :
เครืองยนต์ IDI คือเครืองยนต์ทมี
ี ลก
ั ษณะตามข ้อใด
1 : มีการจ่ายไฟจุดระเบิดโดยตรงไม่ผา่ นจานจ่าย
2 : มีการฉีดนํ ามันโดยตรงเข ้าห ้องเผาไหม ้หลัก
3 : . มีการฉีดนํ ามันโดยตรงเข ้าห ้องเผาไหม ้ชว่ ย
4 : มีการระบายความร ้อนโดยตรงไม่ต ้องมีหม ้อนํ า

ข ้อที 383 :
เครืองยนต์ GDI คือเครืองยนต์ทมี
ี ลก
ั ษณะตามข ้อใด
1 : มีการจ่ายไฟจุดระเบิดโดยตรงไม่ผา่ นจานจ่าย
2 : มีการฉีดนํ ามันโดยตรงเข ้าห ้องเผาไหม ้หลัก
3 : มีการฉีดนํ ามันโดยตรงเข ้าห ้องเผาไหม ้ชว่ ย
4 : มีการระบายความร ้อนโดยตรงไม่ต ้องมีหม ้อนํ า

ข ้อที 384 :
ธิ

เครืองยนต์ Direct Ignition คือเครืองยนต์ทมี


ี ลก
ั ษณะตามข ้อใด
สท

1 : มีการจ่ายไฟจุดระเบิดโดยตรงไม่ผา่ นจานจ่าย

2 : มีการจ่ายไฟจุดระเบิดโดยตรงทีห ้องเผาไหม ้หลัก


งวน

3 : มีการจ่ายไฟจุดระเบิดโดยตรงทีห ้องเผาไหม ้ชว่ ย


4 : มีการจุดระเบิดตรงไม่ผา่ นหัวเทียน

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 81/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


ข ้อที 385 :


เครืองยนต์ GDI คือเครืองยนต์ทมี
ี ลก
ั ษณะตามข ้อใด

กร
1 : ้
มีการจุดระเบิดโดยใชประกายไฟ
2 : มีการจุดระเบิดโดยการอัดความดันสูง
3 : มีการใชนํ้ ามันโซล่าเพือการเผาไหม ้

ิ ว
4 : ใชกั้ บรถจักรยานยนต์

าวศ
สภ
ข ้อที 386 :
ทีอัตราสว่ นการอัดเท่ากัน วัฏจักรแบบใดทีให ้งานมากทีสุด
1 : วัฏจักรออตโต
2 : วัฏจักรดีเซล
3 : วัฏจักดูอลั
4 : เท่ากันทุกวัฏจักร

ข ้อที 387 :
ทีความดันสูงสุดเท่ากัน วัฏจักรแบบใดทีให ้งานมากทีสุด
1 : วัฏจักรออตโต
2 : วัฏจักรดีเซล
3 : วัฏจักดูอลั
4 : เท่ากันทุกวัฏจักร

ข ้อที 388 :

1 : วัฏจักรออตโต
2 : วัฏจักรดีเซล
3 : วัฏจักดูอลั
4 : ้
ใชได ้กับทุกวัฏจักร

ข ้อที 389 :
กําลังงานเนืองจากความร ้อนทีเครืองยนต์ได ้รับเหนือหัวลูกสูบคือข ้อใด
1 : IHP-FHP
2 : BHP-FHP
ธิ

3 : BHP+FHP
สท

4 : IHP-BHP

งวน

ข ้อที 390 :
กําลังงานเนืองจากความร ้อนทีเครืองยนต์ได ้รับทีเพลาข ้อเหวียงคือข ้อใด

1 : IHP-FHP
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 82/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


2 : BHP-FHP


3 : BHP+FHP
4 : IHP-BHP

กร
ิ ว
ข ้อที 391 :
าวศ
กําลังงานเนืองจากความร ้อนทีเครืองยนต์สญ ี ไปคือข ้อใด
ู เสย
สภ
1 : IHP-FHP
2 : BHP-FHP
3 : BHP+FHP
4 : IHP-BHP

ข ้อที 392 :
คําว่า Equivalent Ratio หมายถึงข ้อใด
1 : อัตราสว่ นการอัดเปรียบเทียบ
2 : อัตราสว่ นความดันเปรียบเทียบ
3 : อัตราสว่ นอากาศต่อเชอเพลิ
ื งเปรียบเทียบ
4 : อัตราสว่ นเชอเพลิ
ื งต่ออากาศเปรียบเทียบ

ข ้อที 393 :
เครืองยนต์ทเผาไหม
ี ้โดยมีคา่ Equivalent Ratio มากกว่า 1 หมายถึงข ้อใด
1 : การเผาไหม ้ทีสว่ นผสมหนา
2 : การเผาไหม ้ทีสว่ นผสมบาง
3 : ้
การเผาไหม ้ทีใชอากาศมากกว่
าทางทฤษฎี
4 : การเผาไหม ้ทีสมบูรณ์

ข ้อที 394 :
เครืองยนต์ทเผาไหม
ี ้โดยมีคา่ Equivalent Ratio น ้อยกว่า 1 หมายถึงข ้อใด
1 : การเผาไหม ้ทีสว่ นผสมหนา
2 : การเผาไหม ้ทีสว่ นผสมบาง
3 : ้
การเผาไหม ้ทีใชอากาศน ้อยกว่าทางทฤษฎี
4 : การเผาไหม ้ทีสมบูรณ์
ธิ

ข ้อที 395 :
สท

เครืองยนต์ทเผาไหม
ี ้โดยมีคา่ equivalent ratio เท่ากับ 1 หมายถึงข ้อใด

1 : การเผาไหม ้ทีสว่ นผสมหนา


งวน

2 : การเผาไหม ้ทีสว่ นผสมบาง


3 : ้
การเผาไหม ้ทีใชอากาศน ้อยกว่าทางทฤษฎี
4 : การเผาไหม ้ทีสมบูรณ์

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 83/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 396 :
การสูญเสย ี พลังงานความร ้อนเนืองจากการระบายความร ้อนของนํ าในเครืองยนต์ข ้อใดมีคําตอบใกล ้

กร
เคียงทีสุด
1 : น ้อยกว่า 10 %

ิ ว
2 : น ้อยกว่า 20 %

าวศ
3 : น ้อยกว่า 30 %
4 : น ้อยกว่า 40 %
สภ

ข ้อที 397 :
การสูญเสย ี พลังงานความร ้อนเนืองจากการระบายและไล่ไอเสย
ี ของเครืองยนต์ข ้อใดมีคําตอบใกล ้
เคียงทีสุด
1 : น ้อยกว่า 10 %
2 : น ้อยกว่า 20 %
3 : น ้อยกว่า 30 %
4 : น ้อยกว่า 40 %

ข ้อที 398 :
พลังงานความร ้อนทีเปลียนเป็ นงานทีได ้ของเครืองยนต์ข ้อใดมีคําตอบใกล ้เคียงทีสุด
1 : น ้อยกว่า 10 %
2 : น ้อยกว่า 20 %
3 : น ้อยกว่า 30 %
4 : น ้อยกว่า 40 %

ข ้อที 399 :
ธิ
สท

สงวน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 84/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


จากรูปปริมาตรเหนือลูกสูบคือข ้อใด


กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

ข ้อที 400 :
ธิ
สท

ส งวน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 85/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


จากรูปจงหาอัตราสว่ นการอัดของลูกสูบ


กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

ข ้อที 401 :
ธิ
สท

ส งวน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 86/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


จากรูปความเร็วของลูกสูบหาจากข ้อใด


กร
ิ ว
าวศ
สภ

1:

2:

3:

4:

ข ้อที 402 :
ธิ

1 : วัฏจักรออตโต
สท

2 : วัฏจักรดีเซล

3 : วัฏจักดูอลั
4 : ถูกทุกข ้อ
ส งวน

ข ้อที 403 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 87/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ิ ว
1
2
3
:
:
:
าวศ
วัฏจักรออตโต
วัฏจักรดีเซล
วัฏจักดูอลั
สภ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 404 :
เครืองยนต์เครืองหนึงผลิตแรงม ้าเบรค 20 kW มีประสทิ ธิภาพทางกล 80% และมีประสท ิ ธิภาพทาง
ความร ้อนอินดิเขต(indicated Therml Efficiency) เท่ากับ 33% พลังงานทีให ้กับเครืองยนต์มคี า่
เท่าใด
1 : 8.25 kW
2 : 48.48 kW
3 : 75.76 kW
4 : 25 kW

ข ้อที 405 :
เครืองยนต์เครืองหนึงผลิตแรงม ้าเบรค 20 kW มีประสทิ ธิภาพทางกล 80% และมีประสท ิ ธิภาพทาง
ความร ้อนอินดิเขต(Indicated Thermal Efficiency) เท่ากับ 33% พลังงานทีหัวลูกสูบของเครืองยนต์
มีคา่ เท่าใด
1 : 8.25 kW
2 : 48.48 kW
3 : 75.76 kW
4 : 25 kW

ข ้อที 406 :
ภายในกระบอกสูบ โลหะทีบริเวณจุดใดของลูกสูบมีโอกาสเกิดการไหม ้มากทีสุด
1 : หัวลูกสูบ
2 : แหวนอัด
3 : แหวนนํ ามัน
4 : สลักลูกสูบ
ธิ
สท

ข ้อที 407 :

การเผาไหม ้ของเครืองยนต์ดเี ซลเกิดขึนอย่างไร


งวน

1 : แผ่ออกจากหัวเทียนไปยังผนังกระบอกสูบ
2 : เกิดการลุกไหม ้พร ้อมๆกันทีเดียว
3 : แผ่ออกจากหัวฉีดไปยังผนังกระบอกสูบ

4 : เกิดการลุกไหม ้จากสว่ นทีเหมาะสมแล ้วแผ่ออกเป็ นวงกว ้าง


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 88/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
กร
ข ้อที 408 :
การเผาไหม ้ของเครืองยนต์แก๊สโซลีนเกิดขึนอย่างไร

ิ ว
1 : แผ่ออกจากหัวเทียนไปยังผนังกระบอกสูบ

าวศ
2 : เกิดการลุกไหม ้พร ้อมๆกันทีเดียว
3 : แผ่ออกจากหัวฉีดไปยังผนังกระบอกสูบ
4 : เกิดการลุกไหม ้จากสว่ นทีเหมาะสมแล ้วแผ่ออกเป็ นวงกว ้าง
สภ

ข ้อที 409 :

1 : 1,463 kW
2 : 1,638 kW
3 : 87,780 kW
4 : 98,280 kW

ข ้อที 410 :

1 : 1,463 kW
2 : 1,638 kW
3 : 87,780 kW
4 : 98,280 kW

ข ้อที 411 :
ธิ
สท

1 : 1563 kJ/min
งวน

2 : 1653 kJ/min
3 : 1356 kJ/min
4 : 1536 kJ/min

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 89/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 412 :

กร
ิ ว
1 :
าวศ
3396 kJ/min
สภ
2 : 3936 kJ/min
3 : 3639 kJ/min
4 : 3369 kJ/min

ข ้อที 413 :

1 : 24.9 %
2 : 26.4 %
3 : 30.5 %
4 : 48.7 %

ข ้อที 414 :

1 : 24.9 %
2 : 26.4 %
3 : 30.5 %
4 : 48.7 %

ข ้อที 415 :
ธิ
สท

งวน

1 : 24.9 %

2 : 26.4 %
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 90/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : 30.5 %


4 : 48.7 %

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 416 :
สภ

1 : 24.9 %
2 : 26.4 %
3 : 30.5 %
4 : 48.7 %

ข ้อที 417 :

1 : 78.9 %
2 : 80.4 %
3 : 84.5 %
4 : 86.7 %

ข ้อที 418 :

1 : 355.2 kJ/kg
2 : 322.5 kJ/kg
3 : 535.2 kJ/kg
ธิ

4 : 235.5 kJ/kg
สท

งวน

ข ้อที 419 :

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 91/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ขอ
กร
ิ ว
1
2
:
:
าวศ
22.0%
24.3 %
สภ
3 : 29.8 %
4 : 32.5 %

ข ้อที 420 :

1 : 22.0%
2 : 24.3 %
3 : 29.8 %
4 : 32.5 %

ข ้อที 421 :

1 : 22.0%
2 : 24.3 %
3 : 29.8 %
4 : 32.5 %
ธิ
สท

ข ้อที 422 :

ส งวน
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 92/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

อข
กร
ิ ว
1
2
:
:
าวศ
22.0%
24.3 %
สภ
3 : 29.8 %
4 : 32.5 %

ข ้อที 423 :

1 : 21.2 %
2 : 24.3 %
3 : 29.8 %
4 : 32.5 %

ข ้อที 424 :

1 : 134,400 kJ/h
2 : 1,938,461 kJ/h
3 : 2,072,861 kJ/h
4 : 2,207,261 kJ/h
ธิ

ข ้อที 425 :
สท

งวน

1 : 34,400 kJ/h

2 : 34,674 kJ/h
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 93/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : 36,571 kJ/h


4 : 38,461 kJ/h

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 426 :
สภ

1 : 22.31 %
2 : 24 41 %
3 : 25.71 %
4 : 27.21 %

ข ้อที 427 :
้ อการเผาไหม ้จํานวน 4 kg/h ถ ้าไฮโดรเจน 1 kg มี
นํ ามันมีไฮโดรเจน 15 % คาร์บอน 85 % ถูกใชเพื
นํ าออกมาจากการเผาไหม ้ทังหมด 9 kg จงหาปริมาณนํ าทีได ้จากการเผาไหม ้
1 : 0.09 kg/min
2 : 1.09 kg/min
3 : 2.09 kg/min
4 : 3.09 kg/min

ข ้อที 428 :
้ อการเผาไหม ้จํานวน 4
นํ ามันมีไฮโดรเจน 15 % คาร์บอน 85 % มีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg ถูกใชเพื
kg/h ถ ้าไฮโดรเจน 1 kg มีนําออกมาจากการเผาไหม ้ทังหมด 9 kg จงหาปริมาณนํ าทีได ้จากการเผา
ไหม ้
1 : 0.09 kg/min
2 : 1.09 kg/min
3 : 2.09 kg/min
4 : 3.09 kg/min

ข ้อที 429 :
้ อการเผาไหม ้จํานวน 4
นํ ามันมีไฮโดรเจน 15 % คาร์บอน 85 % มีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg ถูกใชเพื
kg/h ถ ้าไฮโดรเจน 1 kg มีนําออกมาจากการเผาไหม ้ทังหมด 9 kg จงหาปริมาณความร ้อนทีได ้จาก
ธิ

การเผาไหม ้
สท

1 : 430 kJ/min

2 : 2436 kJ/min
3 : 2646 kJ/min
งวน

4 : 2866 kJ/min

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 94/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 430 :
นํ ามันมีไฮโดรเจน 15 % คาร์บอน 85 % มีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg ถูกใชเพื ้ อการเผาไหม ้จํานวน 4

กร
kg/h โดยใชอั้ ตราสว่ นอากาศต่อเชอเพลิ
ื ง 32:1 ถ ้าไฮโดรเจน 1 kg มีนําออกมาจากการเผาไหม ้
ทังหมด 9 kg จงหาปริมาณไอเสย ี ทีได ้ จากการเผาไหม ้ทีมีความชนผสมอยู
ื ่

ิ ว
1 : 2.2 kg/min

าวศ
2 : 2.4 kg/min
3 : 2.6 kg/min
4 : 2.8 kg/min
สภ

ข ้อที 431 :
นํ ามันมีไฮโดรเจน 15 % คาร์บอน 85 % มีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg ถูกใชเพื ้ อการเผาไหม ้จํานวน 4
kg/h โดยใชอั้ ตราสว่ นอากาศต่อเชอเพลิ
ื ง 32:1 ถ ้าไฮโดรเจน 1 kg มีนําออกมาจากการเผาไหม ้
ทังหมด 9 kg จงหาปริมาณไอเสย ี แห ้งที ได ้จากการเผาไหม ้
1 : 2.11 kg/min
2 : 2.44 kg/min
3 : 2.66 kg/min
4 : 2.88 kg/min

ข ้อที 432 :
้ องหนึงใชนํ้ ามันทีมีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg จํานวน 4 kg/h ผลิตกําลังม ้า IHP ได ้
เครืองยนต์ใชเครื
เท่ากับ 15.7 kW ได ้กําลังม ้า BHP เท่ากับ 10.6 kW ระบายความร ้อนด ้วยนํ า 845.45 kJ/min ไอเสย ี
ไหลออกด ้วยพลังงาน 826.67 kJ/min คิดเป็ นพลังงานทีสูญเสย ี ไปกับการแผ่รังสแ
ี ละอืนๆของ
เครืองยนต์เป็ นเท่าใด
1 : 19.45 %
2 : 22.18 %
3 : 28.83 %
4 : 32.86 %

ข ้อที 433 :
้ องหนึงใชนํ้ ามันทีมีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg จํานวน 4 kg/h ผลิตกําลังม ้า IHP ได ้
เครืองยนต์ใชเครื
เท่ากับ 15.7 kW ได ้กําลังม ้า BHP เท่ากับ 10.6 kW ระบายความร ้อนด ้วยนํ า 845.45 kJ/min ไอเสย ี
ไหลออกด ้วยพลังงาน 826.67 kJ/min คิดเป็ นพลังงานทีได ้จากหัวลูกสูบของเครืองยนต์เป็ นเท่าใด
1 : 19.45 %
2 : 22.18 %
3 : 28.83 %
4 : 32.86 %
ธิ
สท

งวน

ข ้อที 434 :
้ องหนึงใชนํ้ ามันทีมีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg จํานวน 4 kg/h ผลิตกําลังม ้า IHP ได ้
เครืองยนต์ใชเครื
เท่ากับ 15.7 kW ได ้กําลังม ้า BHP เท่ากับ 10.6 kW ระบายความร ้อนด ้วยนํ า 845.45 kJ/min ไอเสย ี
ไหลออกด ้วยพลังงาน 826.67 kJ/min คิดเป็ นพลังงานทีได ้จากเพลาข ้อเหวียงของเครืองยนต์เป็ น

เท่าใด
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 95/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : 19.45 %


2 : 22.18 %
3 : 28.83 %

กร
4 : 32.86 %

ิ ว
ข ้อที 435 :าวศ
้ องหนึงใชนํ้ ามันทีมีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg จํานวน 4 kg/h ผลิตกําลังม ้า IHP ได ้
เครืองยนต์ใชเครื
สภ
เท่ากับ 15.7 kW ได ้กําลังม ้า BHP เท่ากับ 10.6 kW ระบายความร ้อนด ้วยนํ า 845.45 kJ/min ไอเสย ี
ไหลออกด ้วยพลังงาน 826.67 kJ/min คิดเป็ นพลังงานทีสูญเสย ี ไปกับไอเสย ี ของเครืองยนต์เป็ น
เท่าใด
1 : 19.45 %
2 : 22.18 %
3 : 28.83 %
4 : 32.86 %

ข ้อที 436 :
้ องหนึงใชนํ้ ามันทีมีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg จํานวน 4 kg/h ผลิตกําลังม ้า IHP ได ้
เครืองยนต์ใชเครื
เท่ากับ 15.7 kW ได ้กําลังม ้า BHP เท่ากับ 10.6 kW ระบายความร ้อนด ้วยนํ า 845.45 kJ/min ไอเสย ี
ไหลออกด ้วยพลังงาน 826.67 kJ/min คิดเป็ นประสท ิ ธิภาพทางกลของเครืองยนต์เป็ นเท่าใด
1 : 67.51 %
2 : 52.18 %
3 : 48.83 %
4 : 32.86 %

ข ้อที 437 :
้ องหนึงใชนํ้ ามันทีมีคา่ ความร ้อน 43 MJ/kg จํานวน 4 kg/h ผลิตกําลังม ้า IHP ได ้
เครืองยนต์ใชเครื
เท่ากับ 15.7 kW ได ้กําลังม ้า BHP เท่ากับ 10.6 kW ระบายความร ้อนด ้วยนํ า 845.45 kJ/min ไอเสย ี

ไหลออกด ้วยพลังงาน 826.67 kJ/min คิดเป็ นประสทธิภาพทางพลังงานของเครืองยนต์เป็ นเท่าใด
1 : 19.45 %
2 : 22.18 %
3 : 28.83 %
4 : 32.86 %

ข ้อที 438 :
คาบูเรเตอร์ (Carburetor) มีหน ้าทีอะไร
ธิ
สท

1 : จ่ายไฟให ้กับหัวเทียน
2 : ั ดาปในเครืองยนต์
ลดปริมาณนํ าทีได ้จากการสน

3 : ื
จ่ายนํ ามันเชอเพลิงผสมกับอากาศ
งวน

4 : กําหนดเวลาการจุดระเบิด

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 96/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 439 :
สว่ นประกอบใดทีไม่มใี นเครืองยนต์สน
ั ดาปภายในแบบจุดระเบิด ทัวไป

กร
1 : เครืองมือวัดอัตราการไหลอากาศ (Air Flow Meter)
2 : เครืองมือวัดปริมาณออกซเิ จน (Oxygen Sensor)

ิ ว
3 : กรองนํ ามันดีเซล

าวศ
4
สภ : ื
หัวฉีดนํ ามันเชอเพลิ

ข ้อที 440 :
อุปกรณ์ใดต่อไปนี ไม่จําเป็ นต ้องมีในเครืองยนต์แบบทีติดตัง คาบูเรเตอร์ (Carburetor) เป็ นอุปกรณ์

จ่ายนํ ามันเชอเพลิ

1 : หัวเทียน
2 : จานจ่าย (Distributor)
3 : เครืองมือวัดอัตราการไหลอากาศ (Air Flow Meter)
4 : ื
ปั มนํ ามันเชอเพลิ

ข ้อที 441 :
สําหรับเครืองยนต์แบบจุดระเบิดทัวไป การจุดระเบิดในแต่ละสูบจะถูกกําหนดด ้วย
1 : หัวเทียน(Spark Plug)
2 : จานจ่าย (Distributor)
3 : สวิทชจ์ ดุ ระเบิด (Ignition Switch)
4 : คอลย์จด ุ ระเบิด (Ignition Coil)

ข ้อที 442 :
คอล์ยจุดระเบิด (Ignition Coil) ทําหน ้าทีอะไร
1 : กําหนดเวลาการจุดระเบิดของแต่ละสูบ
2 : เพิมกําลังไฟในการจุดระเบิด
3 : ถ่วงเวลาการจุดระเบิด
4 : จุดระเบิดในชว่ งทีเครืองยนต์ต ้องการอัตราเร่งสูง

ข ้อที 443 :
การทีมีกลไกการจุดระเบิดล่วงหน ้า (Spark Advanced) เพือวัตถุประสงค์ใด
1 : เพิมเวลาการจุดระเบิดให ้นานขึน
2 : เพือให ้การจุดระเบิดสมบูรณ์ขน

ธิ

3 : เพือให ้ประสทิ ธิผลการทํางานของเครืองยนต์สงู สุดในทุกรอบการทํางาน


สท

4 : เพือเพิมแรงดูดของเครืองยนต์

งวน

ข ้อที 444 :
เครืองมือวัดปริมาณออกซเิ จน (Oxygen Sensor) จะติดตังไว ้ทีชว่ งใดของเครืองยนต์

1 : ก่อนทีอากาศจะเข ้าเครืองกรองอากาศ
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 97/113
5/3/2021 สภาวิศวกร



2 : ก่อนทีนํ ามันเชอเพลิ งจะนํ ามาผสมกับอากาศ


3 : ก่อนอากาศเข ้าสูล่ ก
ู สูบ
4 : วางไว ้ในสว่ นท่อไอเสย ี ตอนต ้น

กร
ิ ว
ข ้อที 445 :
าวศ ิ ตัง Catalytic Converter จะสง่ ผลอะไร
การทีเครืองยนต์ไม่ตด
สภ
1 : เครืองยนต์จะมีกําลังลดลง
2 : เครืองยนต์จะทําให ้เกิดมลพิษเพิมขึน
3 : ื
ทําให ้อากาศผสมกับนํ ามันเชอเพลิงไม่ด ี
4 : ั ดาปลดความสมบูรณ์ลง
ทําให ้การสน

ข ้อที 446 :

เครืองยนต์ 4 สูบแบบจุดระเบิดด ้วยหัวเทียน โดยทัวไปทีใชในรถยนต์ จะมีรอบเดินเบาทีประมาณ
เท่าใด
1 : 100 – 300 RPM
2 : 700 – 900 RPM
3 : 1500 – 1800 RPM
4 : 2500 – 3000 RPM

ข ้อที 447 :

เครืองยนต์แบบจุดระเบิดด ้วยการอัดโดยทัวไปจะผสมนํ ามันเชอเพลิ
งกับอากาศบริเวณใด
1 : ก่อนทีจะเข ้าสูเ่ ครืองกรองอากาศ
2 : ก่อนทีจะเข ้าสูเ่ ครืองยนต์
3 : ระหว่างทีอากาศอยูใ่ นเครืองยนต์
4 : ก่อนทีอากาศจะออกจากห ้องเผาไหม ้

ข ้อที 448 :
เครืองยนต์สน ั ดาปภายในแบบจุดระเบิด ทีใชในรถยนต์
้ ทวไปจะเป็
ั ี งหวะ ซงหมายความ
นเครืองแบบสจั ึ
ว่าแต่ละสูบจะมีจํานวนครังการจุดระเบิดต่อรอบการหมุนของเพลาข ้อเหวียงในเครืองยนต์เท่าใด
1 : จุดระเบิด 4 ครังต่อการทํางาน 1 รอบเพลาข ้อเหวียง
2 : จุดระเบิด 2 ครังต่อการทํางาน 1 รอบเพลาข ้อเหวียง
3 : จุดระเบิด 1 ครังต่อการทํางาน 1 รอบเพลาข ้อเหวียง
4 : จุดระเบิด 1 ครังต่อการทํางาน 2 รอบเพลาข ้อเหวียง
ธิ
สท

ข ้อที 449 :
ข ้อใดไม่ใชส่ ว่ นประกอบของในเครืองยนต์สน
ั ดาปภายในแบบจุดระเบิด ทีใชระบบจ่
้ ื
ายนํ ามันเชอเพลิ

งวน

แบบหัวฉีด
1 : หัวเทียน (Spark Plug)
2 : จานจ่าย (Distributor)

3 : คาร์บเู รเตอร์ (Carburetor)


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 98/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


4 : คอลย์จด
ุ ระเบิด (Ignition Coil)


กร
ิ ว
ข ้อที 450 :
การสมดุลย์พลังงานสําหรับกระบวนการเผาไหม้นนหมายถึ
ั ง
1:
2:
าวศ
พลังงานทีเข้าระบบและพลังงานทีออกจากระบบ จะเท่ากับพลังงานทีเข้าสะสมภายในระบบ
พลังงานทีเข้าและออกจากระบบจะเท่ากับพลังงานทีเข้าสู่ ระบบ
สภ
3: พลังงานทีออกจากระบบและพลังงานทีสะสมอยูภ่ ายในระบบ จะเท่ากับพลังงานทีเข้าสู่ ระบบ
4: ไม่มีขอ้ ถูก

ข ้อที 451 :
ข้อใดเป็ นหน่วยของพลังงาน
1: Pa
2: Nm
3: N
4: ถูกทุกข้อ

เนือหาวิชา : 381 : Fuel & Combustion

ข ้อที 452 :

ถ ้าเชอเพลิ ื
งชนิดหนึงมีจํานวนโมลเท่ากับ N และมีมวลโมเลกุลเท่ากับ M เชอเพลิ
งจะมีมวลเท่าใด
1 : m = 1/(NM)
2 : m = NM
3 : m = N/M
4 : m = M/N

ข ้อที 453 :
Air-Fuel Ratio (AF) นิยามว่า
1 : ื
มวลของเชอเพลิ
ง ต่อ มวลของอากาศ
2 : ื
มวลของอากาศ ต่อ มวลของเชอเพลิง
3 : ื
มวลของเชอเพลิ ื
ง ต่อ (มวลรวมของอากาศและเชอเพลิ ง)
4 : ื
มวลของอากาศ ต่อ (มวลรวมของอากาศและเชอเพลิง)
ธิ
สท

งวน

ข ้อที 454 :
Fuel-Air Ratio (FA) นิยามว่า

1 : มวลของเชอเพลิ
ง ต่อ มวลของอากาศ

2 : มวลของอากาศ ต่อ มวลของเชอเพลิง


3 : มวลของเชอเพลิ ื
ง ต่อ (มวลรวมของอากาศและเชอเพลิ
ง)
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 99/113
5/3/2021 สภาวิศวกร



4 : มวลของอากาศ ต่อ (มวลรวมของอากาศและเชอเพลิ
ง)


กร
ิ ว
ข ้อที 455 :

าวศ
Stoichiometric Air หมายความว่า
1 : มวลของอากาศทีเป็ นอากาศในบรรยากาศมาตรฐาน
2 : มวลของอากาศทีทําให ้การเผาไหม ้เป็ นการเผาไหม ้แบบหนา (Rich)
สภ
3 : มวลของอากาศทีทําให ้การเผาไหม ้เป็ นการเผาไหม ้แบบบาง (Lean)
4 : มวลของอากาศทีทําให ้การเผาไหม ้เป็ นการเผาไหม ้แบบพอดีตามทฤษฎี

ข ้อที 456 :
ค่า Equivalence Ratio คือ
1 : ค่า Fuel-Air Ratio ทีเป็ นจริง ต่อ Fuel-Air Ratio ทางทฤษฎี
2 : ค่า Fuel-Air Ratio ทีเป็ นจริง ต่อ Fuel-Air Ratio ปั จจุบน

3 : ค่า Fuel-Air Ratio ทางทฤษฎี ต่อ Fuel-Air Ratio ปั จจุบน ั
4 : ค่า Fuel-Air Ratio ของการสน ั ดาปตลอดเวลาการทํางาน

ข ้อที 457 :
ค่า Equivalence Ratio เมือมีคา่ มากกว่า 1 หมายความว่า
1 : การสน ั ดาปเป็ นแบบหนา (Rich)
2 : การสน ั ดาปเป็ นแบบบาง (Lean)
3 : การสน ั ดาปเป็ นไปตามทฤษฎีทต
ี ้องการ
4 : ยังสรุปไม่ได ้

ข ้อที 458 :
โดยทัวไปประสทิ ธิภาพการเผาไหม ้จะลดลงเมือ
1 : อัตราสว่ นผสมนันบาง (Lean) ลง
2 : อัตราสว่ นผสมนันหนา (Rich) ขึน
3 : อัตราสว่ นผสมเป็ นไปตามทฤษฎี
4 : ประสทิ ธิภาพการเผาไหม ้ ไม่ขนกั
ึ บอัตราสว่ นผสม

ข ้อที 459 :
ในไอเสย ี จะเกิดหยดนํ าขึนในท่อไอเสย
ี ของรถยนต์ เมือ
ธิ

1 : อุณหภูมข
ิ องไอเสย ี ลดลงตํากว่า 100 องศา C
สท

2 : อุณหภูมขิ องไอเสย ี ลดลงตํากว่า 0 องศา C


3 : อุณหภูมข ิ องไอเสย ี ลดลงตํากว่า 37 องศา C


งวน

4 : อุณหภูมข ิ องไอเสย ี ลดลงตํากว่าอุณหภูมจ


ิ ด
ุ นํ าค ้าง (Dew Point)

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 100/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 460 :

ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับการสนเปลื ื
องเชอเพลิ
งของเครืองยนต์

กร

1 : การสนเปลื ื
องเชอเพลิ ื
งจําเพาะเป็ นอัตราการไหลของมวลเชอเพลิ
งต่อหน่วยกําลังทีให ้ออกมา

ิ ว

2 : การสนเปลื ื
องเชอเพลิ ิ ธิภาพของเครืองยนต์ในการใชเช
งจําเพาะเป็ นการวัดประสท ้ อเพลิ
ื งเพือ

าวศ
ผลิตงานออกมา


3 : การสนเปลื ื
องเชอเพลิ ั พันธ์กน
งมีความสม ื
ั กับอัตราการไหลของมวลเชอเพลิ

สภ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 461 :
จากข ้อต่อไปนีข ้อใดเป็ นประโยชน์ในการกําหนดสภาวะการทํางานของเครืองยนต์

1 : อัตราการไหลของมวลอากาศและอัตราการไหลของมวลเชอเพลิ

2 : อัตราสว่ นอากาศ/เชอเพลิ
ื ง (A/F)

3 : อัตราสว่ นเชอเพลิ
ื ง/อากาศ (F/A)

4 : ถูกทุกข ้อ

5:

ข ้อที 462 :

เชอเพลิ งประเภทใดทีมีองค์ประกอบของกลุม
่ OH รวมอยูด
่ ้วย
1 : Benzene
2 : Octane
3 : Alcohol
4 : Propane

ข ้อที 463 :

นํ ามันเชอเพลิ
งทีป้ องกันการ Knock ได ้ดีควรมีคณ
ุ สมบัตท
ิ เรี
ี ยกว่า Ignition Delay เป็ นอย่างไร
1 : มี Ignition Delay สูงกว่า 1 วินาที
2 : มี Ignition Delay ตํากว่า 1 วินาที
3 : ควรมี Ignition Delay ตําทีสุดทีจะเป็ นไปได ้
ธิ

4 : ควรมี Ignition Delay สูงทีสุดทีจะเป็ นไปได ้


สท

งวน

ข ้อที 464 :

นํ ามันเชอเพลิ
งทีมี Octane Number 91 หมายความว่าอย่างไร
1 : นํ ามันนีป้ องกันการ Knock ได ้ 91% ของนํ ามัน Octane

2 : นํ ามันนีป้ องกันการ Knock ได ้ 9% ของนํ ามัน Octane


ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 101/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : นํ ามันนีเกิดการ Knock เหมือนกับนํ ามันทีประกอบด ้วย Octane 91% และ n-heptane 9%


4 : นํ ามันนีเกิดการ Knock เหมือนกับนํ ามันทีประกอบด ้วย Octane 91% และ Benzene 9%

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 465 :

โดยทัวไปการตรวจสอบนํ ามันเชอเพลิ
งเพือหา Octane Number แบบ Motor Method และ
Research Method จะมีลก
ั ษณะเทียบเคียงกันได ้อย่างไร
สภ
1 : Octane Number ทีได ้จาก Motor Method จะสูงกว่า
2 : Octane Number ทีได ้จาก Research Method จะสูงกว่า
3 : ทังสองกรณีจะมีคา่ เท่ากัน
4 : ไม่มข
ี ้อสรุปทีแน่นอนได ้

ข ้อที 466 :
การทีเราใสส ่ ารตะกัว เข ้าไปนํ ามันเชอเพลิ
ื งมีวต
ั ถุประสงค์เพือ
1 : ให ้การเผาไหม ้สะอาดขึน
2 : ทําให ้ลดมลภาวะทีอยูใ่ นไอเสย ี
3 : เพือป้ องกันการ Knock
4 : ทําให ้ลดจํานวนนํ าทีได ้จากการเผาไหม ้

ข ้อที 467 :
ตัวเลข Cetane เป็ นตัวเลขทีเป็ นคุณสมบัตข ื งทีใชกั้ บเครืองยนต์ประเภทใด
ิ องนํ ามันเชอเพลิ
1 : ื
เชอเพลิ งของเครืองยนต์แบบอัดระเบิด
2 : ื
เชอเพลิ งของเครืองยนต์แบบจุดระเบิด
3 : ื
เชอเพลิ งของเครืองยนต์แบบหมุนระเบิด
4 : เชอเพลิ ื งของเครืองยนต์ทก
ุ ชนิด

ข ้อที 468 :
ั ดาปภายในนัน เราใสแ
ในมุมมองของเครืองยนต์สน ่ อลกอฮอล์ในนํ ามันแก๊สโซฮอล์เพือสาเหตุใด
1 : ลดต ้นทุนการผลิต
2 : ชว่ ยเพิม Octane Number ให ้นํ ามัน
3 : ลดมลภาวะของไอเสย ี
4 : ถูกทุกข ้อ
ธิ

ข ้อที 469 :
สท


ค่า Lower Heating Value ของนํ ามันเชอเพลิ
งเป็ นการหาความร ้อนเมือ

1 : นํ าในการเผาไหม ้มีสภาพเป็ นนํ าแข็ง


งวน

2 : นํ าในการเผาไหม ้มีสภาพเป็ นของเหลว


3 : นํ าในการเผาไหม ้มีสภาพเป็ นไอนํ า
4 : ไม่มน ั ดาป
ี ํ าทีอยูใ่ นการสน

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 102/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 470 :

ค่า Higher Heating Value เป็ นการหาค่าความร ้อนของเชอเพลงเมื

กร
1 : นํ าในการเผาไหม ้มีสภาพเป็ นนํ าแข็ง
2 : นํ าในการเผาไหม ้มีสภาพเป็ นของเหลว

ิ ว
3 : นํ าในการเผาไหม ้มีสภาพเป็ นไอนํ า

าวศ
4
สภ : ไม่มน ั ดาป
ี ํ าทีอยูใ่ นการสน

ข ้อที 471 :
เซนเซอร์แลมด ้า (Lambda Sensor) ในเครืองยนต์มไี ว ้เพือ
1 : ี
ตรวจจับปริมาณนํ าในไอเสย
2 : ตรวจจับปริมาณออกซเิ จนในไอเสย

3 : ี
ตรวจจับปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในไอเสย
4 : ี
ตรวจจับคาร์บอนมอนน๊อกไชค์ในไอเสย

ข ้อที 472 :
กรณีใดต่อไปนี โดยทัวไปแล ้วจะเพิมโอกาสการเกิด Knock
1 : ตังเวลาการจุดระเบิดใกล ้จุดศูนย์ตายบน
2 : ตังเวลาการจุดระเบิดห่างจากจุดศูนย์ตายบน
3 : ตังเวลาการจุดระเบิดใกล ้จุดศูนย์ตายล่าง
4 : ตังเวลาการจุดระเบิดห่างจากจุดศูนย์ตายล่าง

ข ้อที 473 :
ค่าเฉลียของ Octane Number ทีได ้จากการทดสอบด ้วยวิธ ี Motor และวิธ ี Research เราเรียกว่า
1 : Anti-Octane Number
2 : Anti-Knock Index
3 : Average Octane Number
4 : Average Knock Index

ข ้อที 474 :
Fuel Sensitivity (FS) คือค่า
1 : Motor Octane Number ลบด ้วย Research Octane Number
2 : Research Octane Number ลบด ้วย Motor Octane Number
3 : Motor Octane Number บวกด ้วย Research Octane Number
ธิ

4 : Motor Octane Number หารด ้วย Research Octane Number


สท

งวน

ข ้อที 475 :
ี ของการใช ้ Alcohol เป็ นเชอเพลิ
ข ้อใดเป็ นข ้อเสย ื ง

1 : ต ้องนํ าเข ้าจากต่างประเทศ ไม่สามารถผลิตในประเทศได ้


2 : มีซลั เฟอร์ผสมอยูม ่ าก ทําให ้เกิดมลพิษมาก
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 103/113
5/3/2021 สภาวิศวกร



3 : มีการกัดกร่อนมากกว่านํ ามันเชอเพลิงปกติ



4 : มีความหนืดสูงกว่านํ ามันเชอเพลิวปกติอย่างมาก

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 476 :
เครืองยนต์ปัจจุบน
ั มีการพัฒนาการเผาไหม ้แบบ Lean-burn มากขึน เครืองยนต์ประเภทนีมีคณ
ุ สมบัต ิ
คือ
ใชนํ้ ามันในการเผาไหม ้ มากกว่า ทางทฤษฎี
สภ
1 :
2 : ใชนํ้ ามันในการเผาไหม ้ น ้อยกว่า ทางทฤษฎี
3 : ้ อเพลิ
ใชเช ื งแข็งในการเผาไหม ้
4 : ใชเช้ อเพลิ
ื งจากการเกษตรกรรมในการเผาไหม ้

ข ้อที 477 :
อุปกรณ์ทเป็
ี นตัวกําหนดให ้หัวเทียนในกระบอกสูบทีต ้องการจุดระเบิด คือ
1 : แบตเตอรี
2 : จานจ่าย
3 : ไดร์ชาร์ท
4 : คอลย์จดุ ระเบิด

ข ้อที 478 :
โดยปกติแล ้วในเครืองยนต์แบบจุดระเบิดความดันสูงสุดทีเกิดขึนในกระบอกสูบจะเกิดขึนเมือลูกสูบอยู่
ตําแหน่งใด
1 : ก่อนถึงจุดศูนย์ตายบนเล็กน ้อย
2 : หลังจากจุดศูนย์ตายบนเล็กน ้อย
3 : ก่อนถึงจุดศูนย์ตายล่างเล็กน ้อย
4 : หลังจากจุดศูนย์ตายล่างเล็กน ้อย

ข ้อที 479 :
โดยปกติแล ้วสําหรับเครืองยนต์แบบจุดระเบิดการเกิด Knock จะเกิดขึนเมือใด
1 : เกิดในชว่ งต ้นของจังหวะระเบิด
2 : เกิดในชว่ งท ้ายของจังหวะระเบิด
3 : เกิดในชว่ งต ้นของจังหวะอัด
4 : เกิดในชว่ งท ้ายของจังหวะอัด
ธิ
สท

ข ้อที 480 :

โดยปกติแล ้วสําหรับเครืองยนต์แบบอัดระเบิดการเกิด Knock จะเกิดขึนเมือใด


งวน

1 : เกิดในชว่ งต ้นของจังหวะระเบิด
2 : เกิดในชว่ งท ้ายของจังหวะระเบิด
3 : เกิดในชว่ งต ้นของจังหวะอัด
4 : เกิดในชว่ งท ้ายของจังหวะอัด

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 104/113
5/3/2021 สภาวิศวกร

ข อ
ข ้อที 481 :

กร
การทีเครืองยนต์ใชหั้ วเทียน 2 อันนัน ในมุมมองของการสน
ั ดาป ไม่เกียวข ้องกับข ้อใดต่อไปนี
1 : ลดมลภาวะ

ิ ว
2 : ลดโอกาสการเกิด Knock

าวศ
3 : ้ ้
ลดปริมาณนํ ามันทีใชได
4 : ั
ทําให ้ควบคุมการสนดาปง่ายขึน
สภ

ข ้อที 482 :

โดยปกติแล ้วถ ้านํ ามันเชอเพลิ
งมี Ignition Delay สูงจะมี
1 : Cetane Number ตํา
2 : Cetane Number สูง
3 : Cetane Number มีคา่ ใกล ้เคียงกันมาก
4 : ตัวเลขทังสองไม่เกียวข ้องกัน

ข ้อที 483 :
ั ดาปทีเกิดขึน สว่ นผสมโดยภาพรวมจะเป็ นแบบใด
ในเครืองยนต์แบบอัดระเบิด การสน
1 : สว่ นผสมบาง (Lean)
2 : สว่ นผสมหนา (Rich)
3 : สว่ นผสมตามทฤษฎี
4 : ไม่สามารถระบุได ้

ข ้อที 484 :
การฉีดนํ ามันเข ้ากระบอกสูบของเครืองยนต์อด
ั ระเบิด จะฉีดนํ ามันทีประมาณตําแหน่งใด
1 : ประมาณ 15-20 องศา ก่อนทีลูกสูบจะถึงจุดศูนย์ตายบน
2 : ประมาณ 40-50องศา ก่อนทีลูกสูบจะถึงจุดศูนย์ตายบน
3 : ประมาณ 70-90 องศา ก่อนทีลูกสูบจะถึงจุดศูนย์ตายบน
4 : ประมาณ 120-150 องศา ก่อนทีลูกสูบจะถึงจุดศูนย์ตายบน

ข ้อที 485 :

นํ ามันเชอเพลิ ้
งทีใชในเครื
องยนต์ดเี ซล ควรมีคณ
ุ สมบัตแ
ิ บบใด
1 : มีความหนืดสูง จะได ้ทนต่ออุณหภูมส ิ งู ได ้ดี
2 : สามารถระเหยตัวได ้ชา้ ป้ องกันการ Knock
ธิ

3 : ้ อป้ อกันการ Knock


แตกตัวได ้ชาเพื
สท

4 : สามารถระเหยตัวได ้เร็ว สนั ดาปด ้วยตนเองได ้ง่าย



งวน

ข ้อที 486 :
่ เดินเบา สว่ นผสม
โดยทัวไปแล ้ว เมือเครืองยนต์แบบจุดระเบิดทํางานในสภาพความเร็วรอบตํา เชน


ของนํ ามันเชอเพลิงควรเป็ นอย่างไร
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 105/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : สว่ นผสมหนา


2 : สว่ นผสมบาง
3 : สว่ นผสมตามทฤษฎี

กร
4 : เป็ นประเภทได ้ก็ได ้ ขึนกับอุณหภูมข
ิ องนํ าหล่อเย็น

ิ ว
ข ้อที 487 : าวศ
ในการคํานวณปกติ สําหรับอากาศมาตรฐานจะประกอบด ้วย
สภ
1 : ออกซเิ จนร ้อยละ 51 และไนโตรเจนร ้อยละ 49
2 : ออกซเิ จนร ้อยละ 41 และไนโตรเจนร ้อยละ 59
3 : ออกซเิ จนร ้อยละ 31 และไนโตรเจนร ้อยละ 69
4 : ออกซเิ จนร ้อยละ 21 และไนโตรเจนร ้อยละ 79

ข ้อที 488 :
ข ้อใดเป็ นคุณสมบัตข
ิ องนํ ามันดีเซลเมือมีการบําบัดโดยโรงกลัน
1 : ยิงมีการบําบัดโดยการกลันมากเท่าไรจะสง่ ผลให ้นํ าหนักโมเลกุลยิงน ้อยลงราคายิงสูงขึน
2 : ยิงมีการบําบัดโดยการกลันมากเท่าไรจะสง่ ผลให ้นํ าหนักโมเลกุลยิงมากราคายิงสูงขึน
3 : ยิงมีการบําบัดโดยการกลันมากเท่าไรจะสง่ ผลให ้ความหนืดยิงมากลงราคายิงสูงขึน
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 2 และ 3

ข ้อที 489 :

ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับเชอเพลิ
งไฮโดรเจน
1 : มลพิษตําไม่มกี า๊ ซคาร์บอนมอนอกไซด์และคาร์บอนในไอเสย ี
2 : มีความพร ้อมในการผลิตสามารถผลิตได ้หลายวิธดี ้วยกันรวมทังวิธก
ี ารแยกนํ าด ้วยไฟฟ้ า
3 : ิ
ไม่ทําลายสงแวดล ้อมหากรัวไหล
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 490 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับแก๊สธรรมชาติมเี ทน (Natural Gas Methane)

1 : มีคา่ ออกเทนสูงถึง 120 จึงเป็ นเชอเพลิ งทีดีสําหรับเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟ
2 : สารพิษในไอเสย ี น ้อยสารอัลดีไฮด์น ้อยกว่าเมือเปรียบเทียบกับการใชเมทานอล

3 : ประสท ิ ธิภาพเชงิ ปริมาตรตําเนืองจากเป็ นเชอเพลิ
ื งแก๊สและคุณสมบัตก ื
ิ ารเป็ นเชอเพลิ
งไม่คง

เสนคงวา
4 : ถูกทุกข ้อ
ธิ
สท

ข ้อที 491 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับเมทานอล (Methanol)
งวน

1 : สามารถผลิตเมทานอลได ้จากการหมักธัญพืชหรือจากนํ าตาลโดยสว่ นใหญ่ผลิตจากข ้าวโพด


อ ้อย ไม ้หรือกระดาษ
2 : ไอเสย ี จากเมทานอลมีไฮโดรคาร์บอนมากกว่าเอทานอล

ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 106/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : เมทานอลไม่เหมาะกับเครืองยนต์จด ื
ุ ระเบิดด ้วยการอัดเพราะเป็ นเชอเพลิ
งทีมีคา่ ออกเทนสูงจึง


มีคา่ ซเี ทนตํา
4 : ถูกทุกข ้อ

กร
ิ ว
ข ้อที 492 :
าวศ
ข ้อใดเป็ นข ้อด ้อยของแอลกอฮอล์ (Alcohol)
ี มากเพราะเปลวไฟมีอณ
สภ
1 : มีไนโตรเจนออกไซด์ในไอเสย ุ หภูมส
ิ งู
2 : มีคณ ื
ุ สมบัตใิ นการเป็ นเชอเพลิ ้
งไม่คงเสนคงวา
3 : มีคา่ พลังงานจําเพาะตําจึงให ้กําลังเครืองยนต์ตํา
4 : มีปัญหาการกลายเป็ นไอในท่อเชอเพลิ ื ง (Vapor Lock)

ข ้อที 493 :
ข ้อใดเป็ นข ้อดีของแอลกอฮอล์ (Alcohol)

1 : ไม่ทําลายสงแวดล ้อมหากรัวไหล

2 : เป็ นเชอเพลิ ิ ธิภาพให ้สูง
งออกเทนสูงมีคา่ ดัชนีต ้านการน็ อกสูงเกิน 100 และสามารถเพิมประสท
ขึนได ้หากถูกเพิมอัตราสว่ นการอัด
3 : ลดอุณหภูมข ิ องไอดีได ้มากในขณะระเหยไอดีในจังหวะดูดและจังหวะอัดจึงเย็นกว่าทําให ้ปริ
ิ ิ
สทธิภาพเชงปริมาตรของเครืองยนต์เพิมขึน และงานทีใชในจั ้ งหวะอัดก็ลดลงด ้วย
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 2 และข ้อ 3

ข ้อที 494 :

ข ้อได ้เปรียบของเชอเพลิ
งไฮโดรเจน (Hydrogen) คือ
1 : มลพิษตํา ไม่มค ี าร์บอนมอนอกไซด์และไฮโดรคาร์บอนในไอเสย ี เพราะไม่มคี าร์บอนปนอยูใ่ น

เชอเพลิ งในไอเสย ี จึงมีแต่นําและไนโตรเจนเกือบทังหมด
2 : อันตรายเพราะมีโอกาสระเบิดได ้ง่าย

3 : ค่าออกเทนสูงเกิน 120 จึงเป็ นเชอเพลิงทีดีสําหรับเครืองยนต์จด
ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟค่าออก
เทนทีสูงเป็ นเพราะความเร็วของเปลวไฟของแก๊สธรรมชาติทําให ้ใชอั้ ตราสว่ นการอัดสูงได ้
4 : ถูกเฉพาะข ้อ 1 และข ้อ 2

ข ้อที 495 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกียวกับโพรเพน (Propane)

1 : โพรเพนเป็ นเชอเพลิ งทีเหมาะสมกับเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยประกายไฟเพราะมีคา่ ออกเทนสูง
และมีมลพิษในไอเสยตํา ี

2 : โพรเพนเป็ นเชอเพลิ งทีเหมาะสมกับเครืองยนต์จด ุ ระเบิดด ้วยการอัดเพราะมีคา่ ซเี ทนสูงและมี
ธิ


มลพิษในไอเสยตํา
3 : โพรเพนมีคา่ พลังงานจําเพาะตําจึงให ้กําลังเครืองยนต์ตํา
สท

4 : โพรเพนเป็ นเชอเพลิ ื งออกเทนสูงมีคา่ ดัชนีต ้านการน็ อกสูงเกิน 120 และสามารถเพิม


ประสทิ ธิภาพให ้สูงขึนได ้หากถูกเพิมอัตราสว่ นการอัด


ส งวน

ข ้อที 496 :
ข ้อใดอธิบายความหมายของ Stoichiomethric Mixture ได ้ถูกต ้อง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 107/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


1 : เป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิ
ื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ นอัตราสว่ นทีพอเหมาะทําให ้การเผาไหม ้เป็ น


ไปอย่างสมบูรณ์ปริมาณของเชอเพลิ ื งจะถูกออกซไิ ดซจ ์ นหมด
2 : เป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ นอัตราสว่ นทีมีอากาศมากเกินค่าพอดี จึง

กร
ิ ามีออกซเิ จนเหลือและกําหนดอากาศทีใชในการเผาไหม
ทําให ้ผลปฏิกริ ย ้ ็ ต์ของ
้เป็ นเปอร์เซน
อากาศเกินพอดี

ิ ว
3 : เป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิ ื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ นอัตราสว่ นทีมีอากาศน ้อยกว่าค่าพอดี จึง

าวศ
ื ิ
ทําให ้เชอเพลิงถูกออกซไดซไม่หมด ์
4:
สภ

ข ้อที 497 :
ข ้อใดอธิบายความหมายของ Fuel Lean Mixture ได ้ถูกต ้อง
1 : เป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิ
ื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ นอัตราสว่ นทีพอเหมาะทําให ้การเผาไหม ้เป็ น
ไปอย่างสมบูรณ์ปริมาณของเชอเพลิ ื งจะถูกออกซไิ ดซจ ์ นหมด
2 : เป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ นอัตราสว่ นทีมีอากาศมากเกินค่าพอดี จึง
ิ ามีออกซเิ จนเหลือและกําหนดอากาศทีใชในการเผาไหม
ทําให ้ผลปฏิกริ ย ้ ็ ต์ของ
้เป็ นเปอร์เซน
อากาศเกินพอดี
3 : เป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิ ื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ นอัตราสว่ นทีมีอากาศน ้อยกว่าค่าพอดี จึง

ทําให ้เชอเพลิ งถูกออกซไิ ดซไ์ ม่หมด
4 : ผลของปฏิกริ ย ิ าจะมีแก๊สคาร์บอนมอนน๊อกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์ และนํ าในไอเสย ี

ข ้อที 498 :
ข ้อใดอธิบายความหมายของ Fuel Rich Mixture ได ้ถูกต ้อง
1 : เป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิ
ื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ นอัตราสว่ นทีพอเหมาะทําให ้การเผาไหม ้เป็ น
ไปอย่างสมบูรณ์ปริมาณของเชอเพลิ ื งจะถูกออกซไิ ดซจ ์ นหมด
2 : เป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ นอัตราสว่ นทีมีอากาศมากเกินค่าพอดี จึง
ิ ามีออกซเิ จนเหลือและกําหนดอากาศทีใชในการเผาไหม
ทําให ้ผลปฏิกริ ย ้ ็ ต์ของ
้เป็ นเปอร์เซน
อากาศเกินพอดี
3 : เป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิ ื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ นอัตราสว่ นทีมีอากาศน ้อยกว่าค่าพอดี จึง

ทําให ้เชอเพลิ งถูกออกซไิ ดซไ์ ม่หมด
4 : ผลของปฏิกริ ย ิ าจะมีแก๊สคาร์บอนมอนน๊อกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์ และนํ าในไอเสย ี

ข ้อที 499 :
ข ้อใดเป็ นความหมายของการเผาไหม ้ทีอากาศเกินพอดี 50%
1 : มีจํานวนเท่าของอากาศทางทฤษฏีคด ิ เป็ น 1.5 เท่าของอากาศทางทฤษฏี
2 : 50% Excess Air
ธิ

3 : ิ าจะมีออกซเิ จนสว่ นเหลืออยูใ่ นผลปฏิกริ ย


เมือเกิดปฏิกริ ย ิ า
สท

4 : ถูกทุกข ้อ

งวน

ข ้อที 500 :
ั ส่ วนประกอบใดในระบบ Common rail Direct Injection
Fuel Atomisation สัมพันธ์กบ

1: ปั มแรงดันสู ง
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 108/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


2 : รางร่ วม


3 : หัวฉี ดโซลินอย
4 : ECU

กร
ิ ว
ข ้อที 501 :
าวศ ั ส่ วนประกอบใดในระบบ Common rail Direct Injection
Pilot Injection สัมพันธ์กบ
: ปั มแรงดันสู ง
สภ
1
2 : รางร่ วม
3 : หัวฉี ดโซลินอย
4 : ECU

ข ้อที 502 :
Residence time หมายถึง
1 : เวลารวมทีสารทําปฏิกริ ย
ิ าแต่ละโมเลกุลอยูใ่ นระบบท่อไอเสย ี
2 : เวลาทีน ้อยทีสุดทีสารทําปฏิกริ ยิ าแต่ละโมเลกุลอยูใ่ นระบบท่อไอเสย ี
3 : เวลาทีมากทีสุดทีสารทําปฏิกริ ย ิ าแต่ละโมเลกุลอยูใ่ นระบบท่อไอเสยี
4 : เวลาเฉลียทีสารทําปฏิกริ ย
ิ าแต่ละโมเลกุลอยูใ่ นระบบท่อไอเสย ี

ข ้อที 503 :
ข้อใดเป็ นหน้าทีของตัวเร่ งปฏิกิริยาสามทาง
1 : การออกซิ ไดส์ CO และไฮโดรคาร์ บอนในไอเสี ยให้เป็ น CO2 และ นํา
2 : การรี ดิวซ์ NO โดยใช้ CO และ H2 ในไอเสี ย
3 : มีการรี ดิวซ์ NO และการออกซิ ไดส์ CO และ HC ซึ งเกิดขึนในตัวเร่ งอันเดียวกัน
4 : ทําหน้าทีควบคุมสารละอองของไอเสี ยของเครื องยนต์โดยใช้เครื องดักทีมีลกั ษณะพิเศษทีทนอุณหภูมิสูง
และสามารถทําความสะอาดได้เอง

ข ้อที 504 :
ข ้อใดเป็ นชนิดของเครืองกรองหรือเครืองดักสารละออง
1 : ชนิดโฟมเซรามิกส ์ และชนิดปฏิกรณ์อณ ุ หภาพ
2 : ชนิดแผ่นในเซรามิกส ์ และชนิดไอเสยี เชงิ เร่งปฎิกริ ย
ิ า
3 : ชนิดรังผึงเซรามิก และชนิดตะแกรงลวดเคลือบอลูมน ิ า
4 : ชนิดตะแกรงลวดเคลือบอลูมน ิ า และชนิดปฏิกรณ์อณ ุ หภาพ
ธิ
สท

ข ้อที 505 :
ปริ มาณมลพิษใดในไอเสี ยของเครื องยนต์ดีเซลทีมีปริ มาณตํากว่าเครื องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟประมาณ 5
งวน

เท่า
1 : HC
2 : CO

3 : NO
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 109/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


4 : NOx


กร
ิ ว
ข ้อที 506 :

าวศ
ั พันธ์กน
Single Catalyst Bed สม ั กับข ้อใด
1 : เครืองปฏิกรณ์อณุ หภาพ
2 : เครืองฟอกไอเสย ี เชงิ เร่งปฏิกริ ย
ิ า
สภ
3 : เครืองกรองและเครืองดักสารละออง
4 : ไม่มขี ้อใดถูก

ข ้อที 507 :
อัตราสว่ นอากาศเชอเพลิ
ื ึ
งซงไม่
สมบูรณ์และการเผาไหม ้ทีไม่สมบูรณ์มผ ี ชนิดใด
ี ลต่อแก๊สไอเสย
1 : HC
2 : CO
3 : NO
4 : NOx

ข ้อที 508 :
ข ้อใดเป็ นมลพิษหลักของเครืองยนต์ทใช ้
ี แอลกอฮอล์ ื
เป็ นเชอเพลิ

1 : Aldehydes
2 : Sulfur
3 : Lead
4 : Phosphorus

ข ้อที 509 :
ข้อใดเป็ นมลพิษทีเมือผสมอยูใ่ นไอเสี ยของเครื องยนต์และถูกปล่อยออกสู่ บรรยากาศจะทําให้เกิดฝนกรด

1 : Aldehydes

2 : Sulfur

3 : Lead

4 : Phosphorus
ธิ
สท

ข ้อที 510 :
งวน

ภาวะสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิ
ื งกับอากาศแบบใดทีเป็ นสว่ นผสมระหว่างเชอเพลิ
ื งกับตัวออกซไิ ดซใ์ น
อัตราสว่ นทีมีอากาศมากเกินค่าพอดี โดยมีผลทําให ้ปฏิกริ ย
ิ ามีออกซเิ จนเหลือ โดยกําหนดอากาศทีใช ้
ในการเผาไหม ้เป็ นเปอร์เซน็ ต์ของอากาศเกินพอดี

1 : Stoichiometric Mixture
2 : Fuel-Lean Mixture
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 110/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : Fuel-Rich Mixture


4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 511 :
ิ องสารผสมสว่ นหน ้า (First Element) หากต ้องการลดการน็ อกใน
ข ้อใดต่อไปนีเป็ นคุณสมบัตข
เครืองยนต์ CI
สภ
1 : การมีอณ
ุ หภูมท
ิ สู
ี ง
2 : การมีความหนาแน่นมาก

3 : สารผสมไวต่อการจุดติดไฟ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 512 :
ข ้อใดต่อไปนีเป็ นลักษณะและการออกแบบห ้องเผาไหม ้เปิ ดในระบบ DI

1 : การผสมระหว่างเชอเพลิ ื
งและอากาศ และอัตราการเผาไหม ้จะถูกควบคุมโดยระบบฉีดเชอเพลิ ง
2 : เครืองยนต์มป
ี ระสทิ ธิภาพทางความร ้อนสูง เนืองจากเครืองยนต์ถกู ออกแบบให ้มีพนที
ื ผนังห ้อง
เผาไหม ้ต่อหนึงหน่วยปริมาตรน ้อยทีสุด
3 : ห ้องเผาไหม ้จะออกแบบอยูร่ ะหว่างฝาสูบและลูกสูบ โดยทําเป็ นหลุมในลูกสูบ
4 : ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 513 :
ข ้อใดกล่าวถูกเกียวกับลักษณะของเครืองยนต์ดเี ซลรอบตําทีมีห ้องเผาไหม ้เปิ ด

1 : ปริมาณสนเปลื ื
องเชอเพลิ งจําเพาะสูงทีสุดเมือเปรียบเทียบกับเครืองยนต์ดเี ซลทุกๆแบบ
2 : A/F Ratio ตําจึงทําให ้การเผาไหม ้เกิดขึนอย่างสมบูรณ์ และทําให ้มีประสทิ ธิภาพเข ้าใกล ้
ประสท ิ ธิภาพของวัฏจักรอากาศมาตรฐาน
3 : เนืองจากมีการไหลวน อัตราสว่ นพืนทีผนังต่อปริมาตรของห ้องเผาไหม ้ตํา และอุณหภูมเิ ผา
ไหม ้ตําจึงทําให ้มีความร ้อนสูญเสยี ออกจากห ้องเผาไหม ้น ้อย
4 : เครืองยนต์สตาร์ทติดยาก และเกิดการสนเมื ั อเดินเครือง

ข ้อที 514 :
ข ้อใดไม่ถอ ั ดาปภายใน
ื ว่าเป็ นมลพิษทีเกิดจากการเผาไหม ้ในเครืองยนต์สน
1 : คาร์บอนไดออกไซด์
2 : คาร์บอนมอนอกไซด์
3 : ไนตริกออกไซด์
ธิ

4 : ไนโตรเจนไดออกไซด์
สท

งวน

ข ้อที 515 :
ข ้อใดไม่ใชส่ ารต ้านทานการน๊อคของเครืองยนต์
1 : นอร์มอลเฮปเทน

2 : เตตระเมทิลเลด
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 111/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


3 : ไอโซออกเทน


4 : เมทิลเทอร์เทียรีบวิ ทิลอีเทอร์

กร
ิ ว
าวศ
ข ้อที 516 :
เชือเพลิงทีไม่สามารถนํามาใช้กบั เครื องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟได้คือ
1: LPG
สภ
2: CNG
3: B5
4: E85

ข ้อที 517 :
ข้อใดอธิบายการเผาไหม้ของเครื องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟได้ถูกต้องทีสุ ด
1: จุดระเบิดพร้อมกันทัวห้องเผาไหม้
2: จุดระเบิดเปลวไฟค่อยๆ ลามจนเต็มห้องเผาไหม้
3: จุดระเบิดด้วยหัวเทียนลุกไหม้พร้อมกันทัวห้องเผาไหม้
4: จุดระเบิดด้วยตัวของเชือเพลิงเอง เปลวไฟลามเต็มห้องเผาไหม้

ข ้อที 518 :

ข ้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต ้องเกียวกับระบบฉีดเชอเพลิ
งโดยอ ้อม (Indirect Injection) เมือเปรียบเทียบ

กับระบบฉีดเชอเพลิ งโดยตรง (Direct Injection)

1 : ระบบฉีดเชอเพลิ งโดยตรง (Direct Injection) ใชกั้ บเชอเพลิ
ื งได ้หลายเกรดเมือเปรียบเทียบ

กับระบบฉีดเชอเพลิงโดยอ ้อม (Indirect Injection)

2 : ระบบฉีดเชอเพลิ งโดยตรง (Direct Injection) มีประสท ิ ธิภาพทางปริมาตรสูงกว่าและทีภาวะ

เดินเบาเครืองยนต์ในระบบฉีดเชอเพลิงโดยตรงจะเดินเรียบและเงียบกว่า
3 : ระบบฉีดเชอเพลิ ื งโดยอ ้อมสามารถให ้กําลังสูงกว่า BMEP มากกว่าและมีการบํารุงรักษาง่ายกว่า
4 : ข ้อ 2 และข ้อ 3 ถูก

ข ้อที 519 :
ข ้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต ้องเกียวกับลักษณะการออกแบบห ้องเผาไหม ้เปิ ด (Open Chamber) ใน
เครืองยนต์ระบบ DI
1 : มีการออกแบบให ้มีการไหลวนอย่างชาๆ ้ (Low Swirl)

2 : การผสมระหว่างเชอเพลิ งและอากาศและอัตราการเผาไหม ้จะถูกควบคุมโดยระบบฉีดเชอเพลิ ื ง
ธิ

3 : เครืองยนต์ทมี ิ ธิภาพใกล ้เคียงกับประสท


ี ห ้องเผาไหม ้เปิ ดจะมีประสท ิ ธิภาพทางความร ้อน ของ
สท

วัฏจักรอากาศมาตรฐาน
4 : ถูกทุกข้อ

ส งวน

ข ้อที 520 :
ขอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 112/113
5/3/2021 สภาวิศวกร


การใช้ระบบหัวฉี ดแทนคาร์บูเรเตอร์ในเครื องยนต์ SI เพราะ


1 : ควบคุมส่ วนผสมไอดีได้ดีทุกสถานการณ์

กร
2 : ได้กาํ ลังสู งสุ ดเพราะขยายท่อไอดีได้
3 : ฉี ดเชือเพลิงได้มากกว่า

ิ ว
4 : ถูกทุกข้อ

าวศ
สภ
ข ้อที 521 :
โดยทัวไปประสทิ ธิภาพการเผาไหม ้จะเพิมขึนเมือ
1 : อัตราสว่ นผสมนันหนา (Rich) ขึน
2 : อัตราสว่ นผสมนันบาง (Lean) ลง
3 : อัตราสว่ นผสมเป็ นไปตามทฤษฎี
4 : ประสทิ ธิภาพการเผาไหม ้ ไม่ขนกั
ึ บอัตราสว่ นผสม

ข ้อที 522 :
ข้อใดต่อไปนีกล่าวถูกต้องเกียวกับลักษณะการออกแบบห้องเผาไหม้เปิ ด (Open Chamber)ในเครื องยนต์ระบบ DI
1: มีการออกแบบให้มีการไหลวนอย่างช้าๆ (Low Swirl)
2 : การผสมระหว่างเชือเพลิงและอากาศและอัตราการเผาไหม้จะถูกควบคุมโดยระบบ ฉี ดเชือเพลิง
3 : เครื องยนต์ทีมีหอ
้ งเผาไหม้เปิ ดจะมีประสิ ทธิภาพใกล้เคียงกับประสิ ทธิภาพทางความร้อนของวัฏจักร
อากาศมาตรฐาน
4 : ถูกทุกข้อ

ข ้อที 523 :
องค์ประกอบใดต่อไปนีเป็ นตัวแปรสําคัญทีทําให้เกิดปฏิกริ ยาออกซิเดชันได้เร็ วขึน
1: นําหนักจําเพาะ
2: ปริ มาตร
3: ปริ มาณเชือเพลิง
4: อุณหภูมิ

สภาวิศวกร 487/1 ซอย รามคําแหง 39 (เทพลีลา 1) แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310


สายด่วน 1303 โทรสาร 02-935-6695
ิ ธิ 2555 สภาวิศวกร : ติดต่อสภาวิศวกร | Contact
@ สงวนลิขสท

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=48&aDb=0 113/113

You might also like