บทที่ 8.1 โมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ - 2561

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

ENGINEERING MECHANICS I: STATICS

กลศาสตร์วิศวกรรม 1: สถิตยศาสตร์
โดย อ.ดร. เจษฎาภรณ์ ปริ ยดากล
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล
หนังสื ออ้างอิง :
J.L. Meriam & L,G, Kraige, Engineering Mechanics: Statics, John Wiley & Sons (Meriam & Kraige)
R.C. Hibbeler, Engineering Mechanics: Statics, Pearson Education (Hibberler)

1
ENGINEERING MECHANICS: STATICS
บทที่ 8: โมเมนต์ความเฉื่ อยของพื้นที่
เซนทรอยด์
โมเมนต์ความเฉื่ อยของพื้นที่

2
1 จุดเซ็นทรอยด์ (Centroid)
• หลักการและแนวคิดของ Centroid
• ประเภทของ Centroid
• พื ้นที่ประกอบ (Area Composition)

3
1 จุดเซ็นทรอยด์ : จุดศูนย์กลางมวล (Center of Mass)
• เราสามารถทดลองหาจุดศูนย์ถ่วง (Center of gravity), G ของวัตถุได้ โดยการแขวนวัตถุที่ตาแหน่ง
ต่างๆกัน จากนันให้
้ ลากเส้ นที่แรงกระทาผ่าน

( Merium & Kraige )


• เราจะสมมติให้ แรงที่เกิดขึ ้นจากแรงดึงดูดของโลกมีคา่ สม่าเสมอเพื่อให้ ได้ จดุ ศูนย์ถ่วงเพียงจุดเดียว
4
1 จุดเซ็นทรอยด์: จุดศูนย์กลางมวล (Center of Mass)
การหาจุดศูนย์ กลางมวล
โมเมนต์ของแรงลัพธ์ W รอบแกนใดๆ จะมีคา่ เท่ากับผลรวมของโมเมนต์ยอ่ ย dW รอบ
แกนอันเดียวกัน

( Merium & Kraige ) 5


1 จุดเซ็นทรอยด์: จุดศูนย์กลางมวล (Center of Mass)
การหาจุดศูนย์ กลางมวล
จากสมการจุดศูนย์กลางแรงโน้ มถ่วง ถ้ าค่า g คงที่ทวั่ ทังมวล
้ m จะได้ สมการจุด
ศูนย์กลางมวล
แทนค่า W=mg
dW= gdm

6
1 จุดเซ็นทรอยด์ : จุดศูนย์กลางมวลและจุดศูนย์ถ่วง
• ในวิชานี ้เราจะคิดว่าจุดศูนย์กลางมวลและจุดศูนย์ถ่วงเป็ นจุดเดียวกัน (เนื่องจากค่า g คงที่)
• เรามักเรี ยกจุดศูนย์กลางมวล (มากกว่าจุดศูนย์ถ่วง)

( Merium & Kraige ) 7


1 จุดเซ็นทรอยด์ : Centroid or Center of Volume
การหาจุดศูนย์ กลางปริมาตร
จากสมการจุดศูนย์กลางมวล ถ้ าความหนาแน่นคงที่ทวั่ ทังปริ
้ มาตร จะได้ สมการจุด
ศูนย์กลางปริมาตรหรื อจุดเซ็นทรอยด์ของปริมาตร

8
1 จุดเซ็นทรอยด์
(1) จุดเซ็นทรอยด์ของพื ้นที่ (Center of Area)
จากสมการจุดศูนย์กลางปริมาตร ถ้ าปริมาตรคือแผ่ นที่มีพนื ้ ที่ A และหนา t คงที่ จะได้ สมการจุด
ศูนย์ กลางพืน้ ที่หรื อจุดเซ็นทรอยด์ของพื ้นที่

9
1 จุดเซ็นทรอยด์
(2) จุดเซ็นทรอยด์ของเส้ น (Center of Line)
จากสมการจุดศูนย์กลางปริมาตร ถ้ าปริมาตรคือเส้ นยาว L ที่มีพื ้นที่หน้ าตัด A คงที่ จะได้ สมการ
จุดศูนย์ กลางเส้ นหรื อจุดเซ็นทรอยด์ของเส้ น

10
1 จุดเซ็นทรอยด์ : รู ปทรงประกอบ
(1) Center of Mass (CM) of Composite body
การหาจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุที่สามารถแยกออกเป็ นรูปทรงย่อยๆประกอบกัน

( Merium & Kraige ) 11


1 จุดเซ็นทรอยด์ : รู ปทรงประกอบ
(2) Centroid of Composite body
การหาจุดศูนย์กลางของเส้ น/พื ้นที่/ปริมาตร (Centroid) ของรูปทรงประกอบ
กรณีที่รูปทรงซับซ้ อน และไม่สามารถอินทิเกรตได้ เราจะใช้ วิธีแบ่งรูปออกเป็ นชิ ้นส่วนย่อยๆ

12
Centroid of Composite body

( Merium & Kraige ) 13


Centroid of Composite body

( Merium & Kraige ) 14


ตัวอย่างที่ 8.1
จงหาจุดเซนทรอยด์ของพื ้นที่ตามรูป

( Merium & Kraige ) 15


ตัวอย่างที่ 8.1
จงหาจุดเซนทรอยด์ของพื ้นที่ตามรูป

( Merium & Kraige ) 16


ตัวอย่างที่ 8.2
จงหาจุดเซนทรอยด์ของพื ้นที่ตามรูป

( Hibbeler ) 17
ตัวอย่างที่ 8.2
( Hibbeler )

18
ตัวอย่าง ( Hibbeler ) 19
ตัวอย่างที่ 8.3
จงหา จุดศูนย์กลางมวลของชิ ้นส่วนตามรูป โดยแผ่นชิ ้นส่วนในแนวดิง่ มีมวล 25 kg/m2
แผ่นฐานมีมวล 40 kg/m2 เพลามีมวล 7.83 Mg/m3

( Merium & Kraige ) 20


ตัวอย่าง ( Merium & Kraige ) 21
การบ้าน 1 (14/11/61)
จงหาจุดเซนทรอยด์ของพื ้นที่ตามรูป (Ans: xത = 103.59 mm , yത = 103.59 mm)

( Merium & Kraige ) 22


y y y

x x x

23
การบ้าน 2 (14/11/61)
จงหา จุดศูนย์กลางมวลของแผ่นโลหะ

( Merium & Kraige ) 24

You might also like