Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

เอกสารประกอบการเรียน

วิชา คณิต ศาสตร์เ พิ่มเติม 5 (ค23201)


เรื่อง กรณฑ์ที่ส อง
ชั้นมัธ ยมศึกษาปีท ี่ 3

ชื่อ – นามสกุล……………………………………………………………………………………
ชั้น ………………เลขที่………………
โรงเรีย นสาธิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุน ัน ทา
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 1

บทที่ 1 กรณฑ์ที่ 2
1. สมบัต ิข อง√a เมื่อ a ≥ 0

1. เมื่อ a เป็นจานวนจริงบวกใดๆ รากที่สองของ a คือ จานวนจริงที่ยกกาลังสองแล้วได้ a

และถ้า a=0 รากที่สองของ a คือ 0

ตัวอย่างที่ 1
2 เป็นรากที่สองของ 4 เพราะ 22 = 4
เป็นรากที่สองของ 4 เพราะ
9
เป็นรากที่สองของ เพราะ
16
9
เป็นรากที่สองของ เพราะ
16

2. เมื่อ a เป็นจานวนจริงบวก รากที่สองของ a มีสองราก คือ รากที่สองที่เป็นบวกซึ่งแทนด้วย


สัญลักษณ์ √a และรากที่สองที่เป็นลบ ซี่งแทนด้วยสัญลักษณ์ −√a
ตัวอย่างที่ 2
รากที่สองของ 49 มีสองรากคือ

9
รากที่สองของ มีสองรากคือ
25

รากที่สองของ 15 มีสองรากคือ

3. เมื่อ a เป็นจานวนจริงบวก (√a ) 2 = a และ (−√a ) 2 = a

ตัวอย่างที่ 3
2
(√3) =
2
(−√19) =
2
2
(√ ) =
5
2
(−√0.03) =
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 2

ค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง
1. |a| = a เมื่อ a > 0

2. |a| = −a เมื่อ a < 0

ตัวอย่างที่ 4 3. |a| = 0 เมื่อ a = 0

|5| = เพราะ
|−3| = เพราะ

4. √a2 = |a| เมื่อ a เป็นจานวนจริงใด ๆ

ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าของ √16 ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของ √(−13)2


วิธีทา วิธีทา

จานวนในรูป √𝑎 เมื่อ 𝑎 ≥ 0 มีสมบัติที่สาคัญสองข้อ ดังนี้

5. √𝑎√𝑏 = √𝑎𝑏 เมื่อ 𝑎 ≥ 0, 𝑏 ≥ 0


√𝑎 𝑎
6. =√ เมื่อ 𝑎 ≥ 0, 𝑏 > 0
√𝑏 𝑏

√108
ตัวอย่างที่ 7 √ 5 × √ 45 ตัวอย่างที่ 8
√3
วิธีทา วิธีทา
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 3

แบบฝึกหัด 1.1
1. จงทาให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
1) √36𝑎2 เมื่อ 𝑎 > 0
2) −√196𝑚2 𝑛4 เมื่อ 𝑚 > 0 และ 𝑛 > 0
3) √12.25𝑝 4 𝑞6 𝑟16 เมื่อ 𝑝 > 0 และ 𝑞 > 0 และ 𝑟 > 0
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 4

2. จงทาให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
√108
1) √32 2) √ 5 × √ 45 3)
√3

324 49𝑚6 𝑛8
4) √ 5)√
529 361
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 5

2. การด าเนิน การของจานวนจริงซึ่งเกี่ย วกับกรณฑ์ท ี่ส อง

การบวกและการคูณจานวนจริงที่อยู่ในรูป √𝑎 เมื่อ 𝑎 ≥ 0 มีสมบัติดังนี้


1.สมบัติของการสลับที่สาหรับการบวก
√𝑎 + √𝑏 = √𝑏 + √𝑎

เช่น.......................................................................................................................................................................
2.สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรั บการบวก
(√𝑎 + √𝑏) + √𝑐 = √𝑎 + (√𝑏 + √𝑐)

เช่น.......................................................................................................................................................................
3.สมบัติการสลับที่สาหรับการคู ณ
√𝑎 × √𝑏 = √𝑏 × √𝑎

เช่น.......................................................................................................................................................................
4.สมบัติการเปลี่ยนหมู่สาหรั บการคูณ
(√𝑎 × √𝑏) × √𝑐 = √𝑎 × (√𝑏 × √𝑐)

เช่น.......................................................................................................................................................................
5.สมบัติการแจกแจง
√𝑎 × (√𝑏 + √𝑐) = (√𝑎 × √𝑏) + (√𝑎 × √𝑐)

และ (√𝑏 + √𝑐) × √𝑎 = (√𝑏 × √𝑎) + (√𝑐 × √𝑎 )

เช่น.......................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 6

การบวกและการลบ
***หลักการ*** ต้องเป็นกรณฑ์เดียวกัน แล้วนาสัมประสิทธิ์มาบวกหรือลบกัน

𝒂√𝒙 + 𝒃√𝒙 = (𝒂 + 𝒃)√𝒙

𝒂√𝒙 − 𝒃√𝒙 = (𝒂 − 𝒃)√𝒙

ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวก 2√ 3 + 5√ 3

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลบ 2√27 − √ 12

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลลัพธ์ √ 48 − 15√12 + √ 75


วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 7

การคูณและการหาร
ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลคูณ 2√3 × 3√ 27

2√60
ตัวอย่างที่ 5 จงหาผลลัพธ์
√45
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 8

ตัวอย่างที่ 6 จงหาผลลัพธ์ 2√ 6 × (3√ 6 − 2√ 24)

√320
ตัวอย่างที่ 7 จงหาผลลัพธ์ √60
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 9

แบบฝึกหัด 1.2
1. จงทาให้เป็นผลสาเร็จ
1. 7 √5 + 2 √5
2. 5 √3 + 4 √3 – 8 √3
3. √50 – √8
4. √2 × (√8 – √12)
–3√1280
5.
√180
50
6. √ เมื่อกาหนดให้ √6 ≈ 2.449
3
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 10

3. การน าไปใช้

ตัวอย่างที่ 1 บันไดอันหนึ่งวางพาดขอบหน้าต่างพอดี ระยะทางจากโคนบันไดถึงตึกเท่ากับ 20 เมตร และ


บันไดอยู่สูงจากพื้น 12 เมตร จงหาว่าบันไดยาวกี่เมตร
กาหนดให้ A AB = 12 เมตร
BC = 20 เมตร
หา AC
B C

วิธีทา ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มี B เป็นมุมฉาก


̂

จากทฤษฎีบทของพีทาโกรัส
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 11

ตัวอย่างที่ 2 กล่องทรงลูกบาศก์ใบหนึ่งมีแต่ละด้านยาว 12 นิ้ว ดังรูป จงหา AC ยาวเท่าใด

12

12

D 12 C

วิธีทา จากรูป ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมี ̂


B เป็นมุมฉาก
BDC เป็นรูปสามเหลี่ยมมี ̂
D เป็นมุมฉาก
และ AB = BD = DC = 12 นิ้ว
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 12

ตัวอย่างที่ 3 ลานกีฬากลางแจ้งรูปวงกลมสองแห่ง สาหรับผู้ใหญ่และเด็กมีพื้นที่ 200  ตารางเมตร และ 50


 ตารางเมตรตามลาดับ จงหาว่ารัศมีของลานกีฬาสาหรับผู้ใหญ่ยาวกว่าเด็กกี่เมตร

วิธีทา กาหนดให้ รัศมีลานกีฬาสาหรับผู้ใหญ่เป็น r1 เมตร


รัศมีลานกีฬาสาหรับเด็กเป็น r2 เมตร
วิชาคณิตศาสตร์ 5 มัธยมศึกษาปีที่ 3 13

แบบฝึกหัด 1.3
1. ตึกแห่งหนึ่งสูง 60 เมตร ต้องการโยงสายไฟเพื่อติดหลอดไฟสี ต่างๆ จากยอดตึกลงมายังพื้นถนนด้านหน้าตึก
ซึ่งห่างจากชานตึก 20 เมตร จะต้องใช้สายไฟทั้งหมดกี่เมตร
A

60

B 20 C

2. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าที่มีด้านยาวด้านละ 8 นิ้ว จงหาความสูงของรูปสามเหลี่ยมนี้


A

B C

You might also like