Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 242

คู่มือ

การจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2566 – 2570


สาหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570)

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ตุลาคม 2565
คู่มือการจัดเก็บข้อมูลพืน้ ฐานระดับหมู่บา้ น (กชช. 2ค) ปี 2566-2570

คำนำ
ตามที่กรมการพัฒ นาชุมชนได้พัฒ นาเครื่องชี้วัดการจัดเก็บข้อมูล พื้นฐานระดับหมู่ บ้ า น
(กชช. 2ค) สาหรับเก็บข้อมูลตามภารกิจที่ได้รับมอบหมาย โดยได้กาหนดห้วงเวลาในการปรับปรุงเครื่องชี้
วั ด และแบบสอบถามเป็ น ประจ าทุ ก 5 ปี เพื่ อ ให้ ก ารวางแผนพั ฒ นา ด าเนิ น ได้ อ ย่ า งสอดคล้ อ งกั บ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งในปี พ.ศ.2566 เป็นปีเริ่มต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2566 - 2570) ดังนั้น ห้วงเวลาดังกล่าว จึงมีความจาเป็นต้องใช้เครื่องชี้วัด
เกณฑ์ชี้วัดและแบบสอบถามชุดใหม่สาหรับจัดเก็บข้อมูล พื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค.) โดยกรอบ
แนวคิดในการปรั บ ปรุ งเครื่ องชี้วัดข้อ มูล พื้นฐานระดั บหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ดัง กล่ าว คณะกรรมการ
อานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน (พชช.) มีมติเห็นชอบ ให้ดาเนินการภายใต้เป้าหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
ด้วยความสาคัญดังกล่าว กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดทาโครงการจัดทาเครื่องชี้วัดคู่มือ
การจัดเก็บข้อมูลความจาเป็น พื้นฐาน (จปฐ.) สาหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ
ฉบั บ ที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษา ออกแบบเครื่ อ งชี้ วั ด เกณฑ์ ชี้ วั ด และ
ข้อคาถามสาหรับการจัดเก็บข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค)
วิเคราะห์แนวโน้มการพัฒนาคุณภาพชีวิต แนวทางควบคุมคุณภาพการจัดเก็บข้อมูล และรูปแบบการ
รายงานด้วยระบบสารสนเทศที่รองรับความต้องการของทุกภาคส่วน และในครั้งนี้ กรมการพัฒนาชุมชน
ได้มอบหมายให้ส านั กงานศูนย์ วิจัย และให้ คาปรึกษาแห่ งมหาวิทยาลั ยธรรมศาสตร์ ดาเนินโครงการ
ดังกล่าวเพื่อเป็นแนวทางสาหรับใช้ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566 -
2570) รวมทั้งพัฒนารูปแบบควบคุมคุณภาพข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับ
หมู่บ้าน (กชช. 2ค) ที่เป็นไปตามหลักวิชาการและมีความสอดคล้องกับบริบทของชุมชน และรองรับความ
ต้องการของทุกภาคส่วน นั้น
คู่มือการจัดเก็บข้อมูล พื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2566 - 2570 ฉบับเป็นส่วน
หนึ่ง โครงการจัดทาเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐาน
ระดับ หมู่บ้ าน (กชช. 2ค) ส าหรั บ ใช้ช่ ว งแผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.
(2566 - 2570) ซึ่งข้อมูลความพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2566 - 2570 ประกอบด้วย 7
หมวด 44 ตัวชี้วัด และมีรายละเอีย ดความเป็นมาและหลั กการของข้อมูล ความจาเป็นพื้นฐาน การ
ตรวจสอบความถูกต้อง รวมทั้งกลไกและกระบวนการบริห ารจัด เก็บ เพื่อให้ ได้รูปแบบการควบคุ ม
คุณภาพการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นไปตามหลักวิชาการ และมีความสอดคล้องกับบริบทของชุมชน เพื่อให้ทุก
ภาคส่วนสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อการวางแผนการพัฒนาคุณภาพของประชาชนต่อไป

ตุลาคม 2565


คู่มือการจัดเก็บข้อมูลพืน้ ฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) ปี 2565-2569

สำรบัญ
หน้ำ
คำนำ ก

สำรบัญ ข

1. ความหมายข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) 1


2. หลักการของข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) 1
3. วัตถุประสงค์ของข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) 1
4. แนวคิด และความเป็นมาของข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) 2
5. ความสาคัญของข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) 3
6. ประโยชน์ของข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน/ชุมชน (กชช. 2ค) 3
7. กลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) 4
8. ตัวชี้วัดข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) สาหรับใช้ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 10
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570)
9. หน่วยงานที่รับผิดชอบตัวชี้วัดข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ระดับกระทรวง 12
10. ระดับคะแนนของตัวชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค 17
11. การจัดระดับการพัฒนาของหมู่บ้าน 17
12. แนวคิดเบื้องหลังคาถาม และองค์ประกอบของข้อมูลหลัก ๆ ของแบบสอบถาม 18
กชช. 2ค
13. คาอธิบายตัวชี้วัดข้อมูล กชช. 2ค 20
14. การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) สาหรับใช้ช่วงแผนพัฒนา 58
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570)

ภำคผนวก 111

ภาคผนวก ก แบบสอบถาม 113


ภาคผนวก ข แนวทางและขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลและแผนปฏิบัติการการจัดเก็บข้อมูล 116
กชช. 2ค
ภาคผนวก ค วิธีการกรอกข้อมูล กชช. 2ค 122
ภาคผนวก ง แบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2566-2570 126
ข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ประกอบด้วย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด
ภาคผนวก จ แบบติดตามผลการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) 237


คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค) ป 2565-2569

ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)


ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13
(ป 2566 - 2570)

1. ความหมายขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)

ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) คือ ขอมูลหมูบานที่แสดงใหเห็นสภาพทั่วไป และ


ปญหาของหมูบานชนบทดานตาง ๆ เชน โครงสรางพื้นฐาน เศรษฐกิจ สภาพแรงงาน สุขภาวะและ
อนามัย ความรูและการศึกษา การมีสว นรวมและความเขมแข็งของชุม ชน ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ และความเสี่ยงในชุมชน เปนขอมูลที่จัดเก็บทุกหมูบานในชนบท
เปนประจําทุก 2 ป
เครื่องชี้วัดสภาพปญหาของหมูบานในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับ
ที่ 13 (ป 2566-2570) มี 7 ดาน 44 ตัว ชี้วัด มีการจัดระดับ ความรุนแรงของป ญหา และระดั บ
การพั ฒ นาของหมู บ า น ทํ า ให ท ราบลํ า ดับ ความสํา คั ญ ของป ญ หา และพื้ น ที่ เ ป า หมายที่ ค วรไดรั บ
การพัฒนาเปนพิเศษ

2. หลักการของขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)

2.1 ขอมูล กชช. 2ค เปนขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน/ชุมชน ที่ทําใหสามารถรูสภาพปญหา


ของหมูบาน ซึ่งจะนําไปสูการวางแผนแกไขปญหาของหมูบาน ตําบล ของหนวยงานราชการที่เกี่ยวข อง
หรือกลุม/องคกร ประชาชน เพื่อใหประชาชนไดมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น
2.2 ขอมูล กชช. 2ค เปนขอมูลที่ตองดําเนินการจัดเก็บทุก 2 ป ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ
วันที่ 22 กันยายน 2530 โดยการจัดเก็บขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ และการสัมภาษณจากผูนํา
ทองถิ่น ในแตล ะหมูบา น เพื่อนําขอมูลที่ไดไปใชในการวางแผนพัฒนาตําบล แผนพัฒนาอําเภอ และ
แผนพัฒนาจังหวัด

3. วัตถุประสงคของขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)

3.1 เพื่อใชขอมูล กชช. 2ค เปนเครื่องมือในการสํารวจสภาพความเปนอยูของประชาชนใน


แตละหมูบา นทั่วประเทศ สําหรับการวางแผน การกํา หนดนโยบาย และเปนขอ มูลการประเมิ น ผล
การพัฒนาโดยสวนรวม
3.2 เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของไดใชประโยชนจากขอมูล กชช. 2ค ในการวางแผนการติดตาม
และประเมินผลการพัฒนาชนบท

1
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ป 2566-2570

3.3 เพื่อใชระดับการพัฒนาของหมูบานจากขอมูล กชช. 2ค กําหนดพื้นที่เปาหมายในการ


พัฒนาของแตละจังหวัด อําเภอ และตําบล

4. แนวคิด และความเปนมาของขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค)

ป 2525 สํานักงานคณะกรรมการพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ (สศช.) มอบให


กรมการพัฒนาชุมชน (พช.) จัดเก็บขอมูล กชช. 2ค ในพื้นที่เปาหมาย 38 จังหวัด 12,586 หมูบาน
ป 2527 สํานักงานคณะกรรมการพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ (สศช.) มอบให
กรมการพัฒนาชุมชน (พช.) จัดเก็บขอมูล กชช. 2ค ในพื้นที่เปาหมาย 38 จังหวัด 12,586 หมูบาน
และคณะอนุกรรมการแผนพัฒนาระดับภูมิภาคและทองถิ่น (อผภ.) เห็นชอบใหกรมการพัฒนาชุมชน
(พช.) จัดเก็บขอมูลนอกพื้นที่เปาหมาย 42,246 หมูบาน รวม 54,832 หมูบาน
ป 2529 ศูนยประสานการพัฒนาชนบทแหงชาติ (ศปช.) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ขอความรวมมือจากกระทรวงมหาดไทย ในฐานะผูรับผิดชอบงาน
ของคณะอนุกรรมการแผนพัฒนาระดับภูมิภาคและทองถิ่น (อผภ.) มอบหมายใหกรมการพัฒนาชุมชน
(พช.) จัดเก็บขอมูล กชช. 2ค ทุกหมูบานทั่วประเทศ จํานวน 54,832 หมูบาน
ป 2530 คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2530 เห็นชอบใหมีการเก็บ ขอมูล
กชช. 2ค ผนวกกับขอมูล จปฐ. เปนประจําทุก 2 ป ตั้งแตป 2533 เปนตนไป
ป 2536 คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2536 “ใหทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ
กับการพัฒนาชนบท นําขอมูล กชช. 2ค และขอมูล จปฐ. ไปใชประโยชนในการวางแผนพัฒนาชนบท
ทุกระดับ การกําหนดนโยบาย และแนวทางการปฏิบัติ รวมทั้งการอนุมัติโครงการและการติดตามการ
พัฒนาชนบทดวย”
ป 2559 ไดมีการปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล กชช. 2ค เพื่อใชจัดเก็บขอมูลในชวงแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดยมี 7 หมวด 33 ตัวชี้วัด
ป 2566 ไดมีการศึกษาปรับปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล กชช. 2ค เพื่อใชจัดเก็บขอมูลในชวง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) ซึ่งสามารถสรุปเครื่องชี้วัดและ
แบบสอบถามขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค ) ไดทั้งหมด 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด
วิวัฒนาการของขอมูล กชช. 2ค ในชวง 20 ปที่ผานมา
มีการปรับ ปรุงแบบสอบถาม และเครื่องชี้วัดในทุ ก ชว งแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสั ง คม
แหงชาติ (ทุก 5 ป) เพื่อใชเปนเครื่องมือในการกําหนดปญ หา และเปาหมายการพัฒนา เพื่อจัดสรร
งบประมาณใหตรงตามสภาพความเปนจริง
โดยตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 เปนตนมา ขอมูล กชช. 2ค ได
ใชเปนเครื่องมือของทองถิ่นมากขึ้น ควบคูไปกับการสนับสนุนงานพัฒนาชนบท ระดับนโยบาย กระทรวง
และภูมิภาค
คํายอ กชช. 2ค
คําวา “กชช. 2ค” มักเปนคําถามสําหรับนักพัฒนารุนหลังวา มีความหมายอยางไร

2
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค) ป 2566-2570

"กชช. 2ค" เปนหนึ่งในรหัสของชุดขอมูลที่นักพัฒนาชนบท อาทิ นายโฆสิต ปนเปยม


รัษฐ และ ดร.ธเนตร นรภูมิพิพัชน ที่ไดริเริ่มจัดทําขอมูลพื้นฐานระดับตาง ๆ ขึ้น โดยนําคําวา “กชช.
2ค” มาจาก “คณะกรรมการพัฒนาชนบทแหงชาติ” ซึ่งประกอบดวยชุดขอมูลดังนี้
“กชช. 2ก” หมายถึง ขอมูลพื้นฐานระดับจังหวัด 38 จังหวัด ซึ่งมีรายชื่อทําเนียบ
หมูบานยากจน จํานวน 12,555 หมูบาน ที่ไดประกาศไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ
ที่ 5 ขณะนี้ไมมีการจัดเก็บแลว
“กชช. 2ข” หมายถึง ขอมูลพื้นฐานระดับ อําเภอ ซึ่งเคยจัดเก็บในป 2526 และ
2528 ขณะนี้ไมมีการจัดเก็บแลว
“กชช. 2ค” หมายถึง ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน
ดังนั้นคําวา “กชช. 2ค” จึงเปนรหัสของชุดขอมูลพื้นฐานไมใชคํายอซึ่งแตกตางจากคําวา
“จปฐ.” ซึ่งเปนคํายอของ “ความจําเปนขั้นพื้นฐาน”

5. ความสําคัญของขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)

5.1 ขอมูล กชช. 2ค เปนขอมูลกลางของประเทศ ที่ใชเปนเครื่องมือในการบริหารการ


พัฒนาชนบท และยังเปนขอมูลชุดเดียวที่จัดเก็บทุกหมูบานทั่วประเทศ ที่มีอยูในขณะนี้ โดยมีการนํา
ขอมูล กชช. 2ค มาใชประโยชนทั้งในระดับนโยบาย และการแปลงสูการปฏิบัติของสวนภูมิภาค และ
ทองถิ่น
5.2 ขอมูล กชช. 2ค เปนขอมูลที่หนวยปฏิบัติในสวนภูมิภาค สามารถคนหาปญหาเบื้องตน
ในส ว นที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ ใช ใ นการกํ า หนดนโยบาย และแนวทางการดํ า เนิ น งาน เช น การส ง เสริ ม
อุตสาหกรรมในครัวเรือน และการสงเสริมฟนฟูสภาพแวดลอมสําหรับแหลงทองเที่ยว ที่สามารถกอใหเกิด
รายไดในทองถิ่น ซึ่งหนวยงานปฏิบัติ สามารถจัดสรรงบประมาณใหตรงตามปญหาที่พบจากขอมูล กชช.
2ค ได เปนตน

6. ประโยชนของขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน/ชุมชน (กชช. 2ค)

6.1 ประชาชนในแตละหมูบานทั่วประเทศ สามารถทราบถึง คุณภาพชีวิต สภาพความเปนอยู


และสภาพปญหาของหมูบาน/ชุมชนของตนเองวาเปนอยางไร
6.2 หนวยงานที่เกี่ยวของและองคกรปกครองสวนทองถิ่น สามารถใชประโยชนจากขอมูล
กชช. 2ค ในการวางแผนการติดตาม และประเมินผลการพัฒนาชนบท การจัดระดับการพัฒนาของ
หมูบาน การจัดทํา แผนพัฒนาในดา นตา ง ๆ ตลอดจนการกํา หนดพื้นที่เ ปา หมาย ในการพัฒนาของ
หนวยงานแตละระดับ ทั้งสวนกลางจังหวัด อําเภอ และตําบล
6.3 ภาคเอกชน สามารถนําขอมูลจาก กชช. 2ค มาใชในการตัดสินใจ และวางแผนใน
การบริหารจัดการเพื่อลงทุนทางธุรกิจ

3
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ป 2566-2570

7. กลไกและกระบวนการบริหารจัดเก็บขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)

คณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน กลไกสนับสนุน/เลขานุการ


(พชช.)
ระดับชาติ
ปลัดกระทรวง
มหาดไทย: ประธานฯ คณะทํางานปรับปรุงเครื่องชี้วัดฯ กรมการพัฒนาชุมชน

1 14

ระดับจังหวัด คณะทํางานบริหารการจัดเก็บขอมูลฯ ระดับจังหวัด


ผูวา ฯ หรือ รองผูว า สํานักงานพัฒนา
: ประธานฯ ชุมชนจังหวัด

2 13

ระดับอําเภอ คณะทํางานบริหารการจัดเก็บขอมูลฯ ระดับอําเภอ สํานักงานพัฒนา


นายอําเภอ ชุมชนอําเภอ
: ประธานฯ

3 12

ระดับตําบล คณะทํางานบริหารการจัดเก็บขอมูลฯ ระดับตําบล พัฒนากรประจําตําบลและ


ผูบ ริหารทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่น
: ประธานฯ
4 11

คณะผูจดั เก็บขอมูลระดับครัวเรือน

การไดรบั ความรู นําเสนอขอมูลระดับ 10


5 ตําบล
ความเขาใจ

การออกแบบวิธกี าร
6 จัดเก็บขอมูล
ตรวจทานขอมูล 9

บันทึกและประมวล
7
การจัดเก็บขอมูล ขอมูล 8

4
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอนที่ กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ กลไก


ระยะเวลา1
สนับสนุน
1 คณะกรรมการ 1. ประชุมชี้แจงทําความเขาใจ กรมการ กันยายน
อํานวยการงานพัฒนา เครื่องชี้วัดขอมูลพื้นฐานระดับ พัฒนาชุมชน
คุณภาพชีวิตของ หมูบา น (กชช.2ค) ในแตละ
ประชาชน (พชช.) หมวด
โดยมีปลัดกระทรวง 2. ระดมความคิดความคาดหวังและ
มหาดไทย เปนประธาน ตัวชี้วดั ของแตละกระทรวง /
และมีผูแทนกระทรวง/ หนวยงานที่เกี่ยวของ
หนวยงานตาง ๆ เปน 3. ออกแบบวิธีการควบคุมและ
กรรมการ และมีกรมการ บูรณาการการจัดเก็บขอมูลและ
พัฒนาชุมชนเปนฝาย การใชประโยชนขอมูลพืน้ ฐาน
เลขานุการ ระดับหมูบ าน (กชช.2ค) รวมกัน
ระหวางหนวยงาน
4. กําหนดการประชาสัมพันธใหเกิด
การตระหนักและรับรูถึง
ความสําคัญของขอมูลและการนํา
ขอมูลไปใชประโยชนในการ
พัฒนาประเทศรวมกัน
5. แตงตั้งคณะทํางานบริหารการ
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับจังหวัด
2 คณะทํางานบริหาร 1. ประชุมชี้แจงทําความเขาใจ สํานักงาน ตุลาคม
การจัดเก็บขอมูลฯ เครื่องชี้วัด ขอมูลพื้นฐานระดับ พัฒนาชุมชน
ระดับจังหวัด หมูบาน (กชช.2ค) ในแตละ จังหวัด
โดยมีผูวา ราชการ หรือ หมวดกับหนวยงานที่เกี่ยวของ
รองผูวาราชการที่ผูวา ระดับจังหวัด
ราชการมอบหมายเปน 2. ออกแบบวิธีการควบคุมและ
ประธาน และมีผูแทน บูรณาการการจัดเก็บขอมูลและ
จากหนวยงานตาง ๆ ใน การใชประโยชนขอมูลพืน้ ฐาน
จังหวัดเปนกรรมการ ระดับหมูบาน (กชช.2ค) รวมกัน
และให สํานักงานพัฒนา ระหวางหนวยงานในจังหวัด
ชุมชนจังหวัดเปน 3. กําหนดการประชาสัมพันธใหเกิด
เลขานุการ การตระหนักและรับรูถึง
ความสําคัญของขอมูลและการนํา
ขอมูลไปใชประโยชน
4. แตงตั้งคณะคณะทํางานบริหาร
การจัดเก็บขอมูลฯ ระดับอําเภอ

1
เปนขอมูลที่ตองดําเนินการจัดเก็บทุก 2 ป

5
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอนที่ กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ กลไก


ระยะเวลา1
สนับสนุน
3 คณะทํางานบริหารการ 1. ประชุมชี้แจงทําความเขาใจ สํานักงาน พฤศจิกายน
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับ เครื่องชี้วัด ในแตละหมวดกับ พัฒนาชุมชน
อําเภอ หนวยงานที่เกี่ยวของระดับอําเภอ อําเภอ
โดยมีนายอําเภอ เปน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นใน
ประธาน และมีผูแทน อําเภอ
จากหนวยงานตาง ๆ 2. ออกแบบวิธกี ารควบคุมและ
ระดับอําเภอเปน บูรณาการการจัดเก็บขอมูลและ
กรรมการ ทั้งนี้อาจจะให การใชประโยชนขอ มูลพืน้ ฐาน
ผูบริหารองคกรปกครอง ระดับหมูบาน (กชช.2ค) รวมกัน
สวนทองถิ่นทุกแหงรวม ระหวางหนวยงานในอําเภอ
เปนกรรมการดวย และ 3. กําหนดการประชาสัมพันธใหเกิด
ใหสํานักงานพัฒนา การตระหนักและรับรูถ งึ
ชุมชน เปนเลขานุการ ความสําคัญของขอมูลและการนํา
ขอมูลไปใชประโยชน
4. คณะทํางานบริหารการจัดเก็บ
ขอมูลฯ ระดับตําบล
4 คณะทํางานบริหารการ 1. ประชุมชี้แจงทําความเขาใจ พัฒนากร พฤศจิกายน
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับ เครื่องชี้วัดขอมูลพื้นฐานระดับ ประจําตําบล –กุมภาพันธ
ตําบล หมูบาน (กชช.2ค) ในแตละหมวด และองคกร
โดยมีนายกเทศมนตรี / กับหนวยงานที่เกี่ยวของระดับ ปกครองสวน
นายกองคการบริหาร ตําบล ทองถิ่น
สวนตําบล หรือปลัด 2. แตงตั้งคณะผูจัดเก็บขอมูลระดับ
องคกรปกครองสวน ครัวเรือน
ทองถิ่นเปนประธานและ 3. ออกแบบวิธีการควบคุมและ
มีผูแทนจากหนวยงาน การบูรณาการการจัดเก็บขอมูล
ตางๆ ในตําบลเปน และการใชประโยชนขอมูล
กรรมการ ทั้งนี้อาจจะ กชช.2ค. รวมกันระหวาง
แตงตั้ง ผูแทนจากคณะ หนวยงานในตําบล
ผูจัดเก็บขอมูลระดับ 4. กําหนดการประชาสัมพันธใหเกิด
ครัวเรือนรวมเปน การตระหนักและรับรูถึง
กรรมการดวย และให ความสําคัญของขอมูลและการนํา
พัฒนากรประจําตําบล ขอมูลไปใชประโยชน
และนักพัฒนาชุมชนของ
อปท.เปนเลขานุการและ
ผูชวยเลขานุการของ
คณะทํางาน

6
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอนที่ กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ กลไก


ระยะเวลา1
สนับสนุน
5 คณะผูจัดเก็บขอมูล การไดรับความรูความเขาใจ พัฒนากร
ระดับหมูบ า น 1. ทําความเขาใจแบบสอบถาม ประจําตําบล
โดยพิจารณาความ ทุกขออยางละเอียด และองคกร
เหมาะสมในแตละพื้นที่ 2. อบรมเสริมสรางความรูความ ปกครองสวน
ทั้งนี้อาจจะประกอบดวย เขาใจแบบสอบถาม เทคนิคและ ทองถิ่น
กํานัน ผูใหญบาน ทักษะที่สาํ คัญในการจัดเก็บ
สมาชิกสภาองคการ ขอมูล โดยวิทยากรที่มีความรู
บริหารสวนตําบล และความเชี่ยวชาญ
(ส.อบต.) สมาชิกสภา 3. เสริมสรางทัศนคติทดี่ ีและถูกตอง
เทศบาล (สท.) อสม. เกี่ยวกับเกณฑและตัวชี้วัดของ
อพม. กรรมการหมูบาน ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น
หัวหนาคุม/โซน เปนตน (กชช.2ค) เพื่อใหไดขอมูลที่เปน
โดยใหประธาน ประโยชนในการพัฒนาและ
คณะทํางานบริหาร กําหนดแนวทางการพัฒนา
การจัดเก็บขอมูลฯ คุณภาพชีวิตไดอยางถูกตอง
ระดับตําบลเปนผูแตงตั้ง 4. ควรใหคนในชุมชนมีสวนรวมใน
การจัดเก็บ เนื่องจากการจัดเก็บ
ขอมูลขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น
(กชช.2ค) เปนเรื่องของ
กระบวนการเรียนรูของคนใน
พื้นที่ เพื่อเรียนรูวิถีชวี ิตของ
ตนเอง และในขณะเดียวกันก็เปน
การสํารวจตนเองวาไดรับสิทธิ
สวัสดิการดานตาง ๆ ของรัฐ
หรือไม ซึ่งผูจัดเก็บควรเปน
ผูที่มีความใกลชดิ กับชุมชน หรือ
ผูนําหมูบา น ซึง่ จะไดขอมูลที่มี
ความเปนจริงมากที่สุด และ
เขาใจในบริบทของชุมชนตนเอง
มากที่สุด
6 คณะผูจัดเก็บขอมูล การออกแบบวิธีการจัดเก็บขอมูล พัฒนากร
ระดับหมูบาน 1. การจัดเก็บขอมูลพื้นฐานระดับ ประจําตําบล
หมูบาน (กชช.2ค) ตามความ และองคกร
เหมาะสมของบริบทพืน้ ที่ ปกครองสวน
ทองถิ่น
7 คณะผูจัดเก็บขอมูล การจัดเก็บขอมูล พัฒนากร
ระดับหมูบาน ประจําตําบล

7
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอนที่ กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ กลไก


ระยะเวลา1
สนับสนุน
1. ลงพื้นที่เก็บขอมูลโดยการ และองคกร
สัมภาษณ หรือสนทนากลุมกับ ปกครองสวน
ผูนําชุมชน และอาจจะเชิญชวน ทองถิ่น
สมาชิกในชุมชนรวมรับฟงและให
ขอมูลประกอบดวย เพื่อความ
สมบูรณและถูกตองของขอมูล
เพิ่มมากขึ้น
2. หลังจากการจัดเก็บขอมูลฯ
ทุกขอครบเปนที่เรียบรอยแลว
ผูนําชุมชนลงรายชื่อรับรอง
ความถูกตองของขอมูล
8 คณะผูจัดเก็บขอมูล บันทึกและประมวลขอมูล พัฒนากร
ระดับหมูบาน 1. การบันทึกขอมูล ผูจัดเก็บขอมูล ประจําตําบล
และผูใหขอมูล วาผานเกณฑและ และองคกร
ไมผานเกณฑในเรื่องใดบาง ปกครองสวน
2. มอบหมายใหผูนําชุมชนเพื่อ ทองถิ่น
รับทราบและผลการจัดเก็บขอมูล
ของครัวเรือนตนเองและใช
ประโยชนจากขอมูลรวมกันใน
การแกไขปญหาของสมาชิกใน
ครัวเรือนตอไป
9 คณะผูจัดเก็บขอมูล ตรวจทานขอมูล พัฒนากร
ระดับหมูบาน 1. สอบทานขอมูลที่ถูกตองและ ประจําตําบล
เขมงวด ทั้งนี้อาจจะผูกพันธกับ และองคกร
คาตอบแทนที่เหมาะสม ปกครองสวน
ทองถิ่น
10 คณะผูจัดเก็บขอมูล นําเสนอขอมูลระดับตําบล พัฒนากร
ระดับหมูบาน 1. ประชุมคณะผูจัดเก็บขอมูลระดับ ประจําตําบล
ครัวเรือนเพื่อนําเสนอขอมูลและ และองคกร
เตรียมนําเสนอใหคณะทํางาน ปกครองสวน
บริหารการจัดเก็บขอมูลฯ ระดับ ทองถิ่น
ตําบลรับรอง
2. รวมกันสรุปและถอดบทเรียน
การจัดเก็บขอมูลที่ผานมา
11 คณะทํางานบริหาร 1. จัดเวทีนําเสนอขอมูลพื้นฐาน พัฒนากร
การจัดเก็บขอมูลฯ ระดับหมูบาน (กชช.2ค) ประจําตําบล
ระดับตําบล ประจําป และองคกร

8
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอนที่ กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ กลไก


ระยะเวลา1
สนับสนุน
2. จัดกระบวนการรับรองขอมูล ปกครองสวน
ระดับตําบล ทองถิ่น
3. จัดทํารายงานการพัฒนาหมูบา น
ชนบทไทยระดับตําบล
4. สื่อสารและประชาสัมพันธผาน
ชองทางตาง ๆ ในระดับตําบล
5. วางแผนการพัฒนาหมูบานชนบท
ในตัวชี้วัดทีต่ กเกณฑระดับตําบล
12 คณะทํางานบริหาร 1. จัดเวทีนําเสนอขอมูลพื้นฐาน สํานักงาน
การจัดเก็บขอมูลฯ ระดับหมูบาน (กชช.2ค) พัฒนาชุมชน
ระดับอําเภอ ประจําป ระดับอําเภอ อําเภอ
2. จัดกระบวนการรับรองขอมูล
ระดับอําเภอ
3. จัดทํารายงานการพัฒนาหมูบา น
ชนบทไทยระดับอําเภอ
4. สื่อสารและประชาสัมพันธผาน
ชองทางตางๆ
5. วางแผนการพัฒนาหมูบานชนบท
ไทยในตัวชี้วัดที่ตกเกณฑระดับ
อําเภอ
13 คณะทํางานบริหารการ 1. จัดเวทีนําเสนอขอมูลพื้นฐาน สํานักงาน มีนาคม
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับ ระดับหมูบาน (กชช.2ค) พัฒนาชุมชน
จังหวัด ประจําป ระดับจังหวัด จังหวัด
2. จัดกระบวนการรับรองขอมูล
ระดับจังหวัด
3. จัดทํารายงานการพัฒนาหมูบา น
ชนบทไทยระดับจังหวัด
4. สื่อสารและประชาสัมพันธผาน
ชองทางตาง ๆ
5. วางแผนการพัฒนาหมูบานชนบท
ไทยในตัวชี้วัดที่ตกเกณฑระดับ
จังหวัด
14 คณะกรรมการ 1. ใหความคิดเห็นและรับรองขอมูล กรมการ เมษายน
อํานวยการงานพัฒนา พื้นฐานระดับหมูบ าน (กชช.2ค) พัฒนาชุมชน
คุณภาพชีวิตของ 2. จัดทํารายงานการพัฒนาหมูบา น
ประชาชน (พชช.) ชนบทไทยประจําป

9
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอนที่ กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ กลไก


ระยะเวลา1
สนับสนุน
3. สื่อสารและประชาสัมพันธผาน
ชองทางตาง ๆ
4. วางแผนการพัฒนาหมูบานชนบท
ไทยในตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ

8. ตัวชี้วัดขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) สําหรับใชในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม


แหงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570)

จากการศึกษาและปรับ ปรุงเครื่องชี้วัดขอมูล กชช. 2ค ที่จะนํามาใชในการจัดเก็บขอมูล


ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) มี 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด
ดังนี้

สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานหมูบาน / ชุมชน


ขอที่ 1 ขอมูลดานประชากร
สวนที่ 2 ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 1 โครงสรางพื้นฐาน (10 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 1 ถนน
ตัวชี้วัดที่ 2 น้ําดื่ม
ตัวชี้วัดที่ 3 น้ําใช
ตัวชี้วัดที่ 4 น้ําเพื่อการเกษตร
ตัวชี้วัดที่ 5 ไฟฟาและเชื้อเพลิงในการหุงตม
ตัวชี้วัดที่ 6 การมีที่ดินทํากิน
ตัวชี้วัดที่ 7 การติดตอสื่อสาร
ตัวชี้วัดที่ 8 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดที่ 9 สิ่งอํานวยความสะดวกคนพิการและผูสูงอายุ
ตัวชี้วัดที่ 10 พื้นที่สาธารณะสีเขียวและพื้นที่สาธารณะประโยชน
หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (10 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 11 การมีงานทํา
ตัวชี้วัดที่ 12 การทํางานในสถานประกอบการ
ตัวชี้วัดที่ 13 รานอาหารและรานคา
ตัวชี้วัดที่ 14 ผลผลิตจากการทํานา
ตัวชี้วัดที่ 15 ผลผลิตจากการทําไร
ตัวชี้วัดที่ 16 ผลผลิตจากการทําสวน
ตัวชี้วัดที่ 17 ปศุสัตวและการประมง

10
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 18 ผลผลิตจากการทําเกษตรอื่น ๆ
ตัวชี้วัดที่ 19 การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ตัวชี้วัดที่ 20 การทองเที่ยว
หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย (7 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 21 การปองกันโรคติดตอ
ตัวชี้วัดที่ 22 การไดรับบริการและดูแลสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 23 อนามัยแมและเด็ก
ตัวชี้วัดที่ 24 สุขภาวะคนพิการและผูสูงอายุ
ตัวชี้วัดที่ 25 อนามัยสิ่งแวดลอม
ตัวชี้วัดที่ 26 ความปลอดภัยในการทํางาน
ตัวชี้วัดที่ 27 การกีฬาและการออกกําลังกาย
หมวดที่ 4 ความรูและการศึกษา (4 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 28 การใหบริการดานการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 29 ความรอบรู
ตัวชี้วัดที่ 30 การไดรับการฝกอบรมดานตางๆ
ตัวชี้วัดที่ 31 โอกาสเขาถึงระบบการศึกษาของคนพิการ
หมวดที่ 5 การมีสวนรวมและความเขมแข็งของชุมชน (5 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 32 การรวมกลุมของประชาชน
ตัวชี้วัดที่ 33 การมีสวนรวมของชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 34 ความปลอดภัยของหมูบาน / ชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 35 ศาสนสถาน ศูนยเรียนรูชุมชน และภูมิปญญาชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 36 การไดรับความคุมครองทางสังคม
หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (5 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 37 การใชทรัพยากรธรรมชาติและดูแลสิ่งแวดลอม
ตัวชี้วัดที่ 38 คุณภาพดิน
ตัวชี้วัดที่ 39 คุณภาพน้ํา
ตัวชี้วัดที่ 40 การจัดการสภาพสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
ตัวชี้วัดที่ 41 การจัดการมลพิษ
หมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ (3 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 42 ความปลอดภัยจากยาเสพติด
ตัวชี้วัดที่ 43 ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ
ตัวชี้วัดที่ 44 ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน

11
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ป 2566-2570

9. หนวยงานที่รับผิดชอบตัวชี้วัดขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ระดับกระทรวง

หนวยงานรับผิดชอบ
ลําดับ ตัวชี้วัด
หนวยงานหลัก หนวยงานรวม
สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานหมูบาน / ชุมชน
ขอที่ 1 ขอมูลดาน
ประชากร
สวนที่ 2 ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 1 โครงสรางพื้นฐาน (10 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 1 ถนน กระทรวงคมนาคม หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
กระทรวงมหาดไทย
ตัวชี้วัดที่ 2 น้ําดื่ม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
ตัวชี้วัดที่ 3 น้ําใช กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
กระทรวงคมนาคม
ตัวชี้วัดที่ 4 น้ําเพื่อการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงมหาดไทย
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม
ตัวชี้วัดที่ 5 ไฟฟาและเชื้อเพลิง กระทรวงมหาดไทย
ในการหุงตม กระทรวงพลังงาน
ตัวชี้วัดที่ 6 การมีที่ดินทํากิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
กระทรวงมหาดไทย และสิ่งแวดลอม
สํานักนายกรัฐมนตรี
ตัวชี้วัดที่ 7 การติดตอสื่อสาร กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ สํานักงานคณะกรรมการกิจการ
และสังคม กระจายเสียง กิจการโทรทัศน
และกิจการโทรคมนาคม
แหงชาติ

12
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค) ป 2566-2570

หนวยงานรับผิดชอบ
ลําดับ ตัวชี้วัด
หนวยงานหลัก หนวยงานรวม
ตัวชี้วัดที่ 8 สถานพัฒนาเด็ก กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ
ปฐมวัย กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดที่ 9 สิ่งอํานวยความ กระทรวงการพัฒนาสังคม
สะดวกคนพิการ และความมั่นคงของมนุษย
และผูสูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดที่ 10 พื้นที่สาธารณะ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงการทองเที่ยวและ
สีเขียวและพื้นที่ และสิ่งแวดลอม กีฬา
สาธารณะ กระทรวงมหาดไทย
ประโยชน
หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (10 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 11 การมีงานทํา กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
กระทรวงพาณิชย
กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
กระทรวงศึกษาธิการ
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
ตัวชี้วัดที่ 12 การทํางานในสถาน กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
ประกอบการ กระทรวงพาณิชย
กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
กระทรวงศึกษาธิการ
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
ตัวชี้วัดที่ 13 รานอาหารและ กระทรวงพาณิชย กระทรวงสาธารณสุข
รานคา กระทรวงมหาดไทย
ตัวชี้วัดที่ 14 ผลผลิตจากการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
ทํานา
ตัวชี้วัดที่ 15 ผลผลิตจากการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
ทําไร
ตัวชี้วัดที่ 16 ผลผลิตจากการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
ทําสวน
ตัวชี้วัดที่ 17 ปศุสัตวและ กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
การประมง

13
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ป 2566-2570

หนวยงานรับผิดชอบ
ลําดับ ตัวชี้วัด
หนวยงานหลัก หนวยงานรวม
ตัวชี้วัดที่ 18 ผลผลิตจากการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
ทําเกษตรอื่น ๆ
ตัวชี้วัดที่ 19 การประกอบ กระทรวงอุตสาหกรรม หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
อุตสาหกรรมใน กระทรวงมหาดไทย
ครัวเรือน
ตัวชี้วัดที่ 20 การทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและ กระทรวงมหาดไทย
กีฬา กระทรวงวัฒนธรรม
หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย (7 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 21 การปองกัน กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย
โรคติดตอ กระทรวงแรงงาน
ตัวชี้วัดที่ 22 การไดรับบริการ กระทรวงสาธารณสุข
และดูแลสุขภาพ
อนามัย
ตัวชี้วัดที่ 23 อนามัยแมและเด็ก กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดที่ 24 สุขภาวะคนพิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
และผูสูงอายุ ความมั่นคงของมนุษย
ตัวชี้วัดที่ 25 อนามัยสิ่งแวดลอม กระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดที่ 26 ความปลอดภัยใน กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข
การทํางาน กระทรวงอุตสาหกรรม
ตัวชี้วัดที่ 27 การกีฬาและ กระทรวงการทองเที่ยวและ กระทรวงมหาดไทย
การออกกําลังกาย กีฬา กระทรวงศึกษาธิการ
หมวดที่ 4 ความรูและการศึกษา (4 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 28 การใหบริการดาน กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย
การศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 29 ความรอบรู กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ สํานักงานคณะกรรมการกิจการ
และสังคม กระจายเสียง กิจการโทรทัศน
กระทรวงสาธารณสุข และกิจการโทรคมนาคม
กระทรวงการคลัง แหงชาติ
ตัวชี้วัดที่ 30 การไดรับการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ
ฝกอบรมดานตางๆ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม

14
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค) ป 2566-2570

หนวยงานรับผิดชอบ
ลําดับ ตัวชี้วัด
หนวยงานหลัก หนวยงานรวม
ตัวชี้วัดที่ 31 โอกาสเขาถึงระบบ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
การศึกษาของ ความมั่นคงของมนุษย
คนพิการ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม
หมวดที่ 5 การมีสวนรวมและความเขมแข็งของชุมชน (5 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 32 การรวมกลุมของ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ประชาชน ความมั่นคงของมนุษย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศึกษาธิการ
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน
(พอช.)
ตัวชี้วัดที่ 33 การมีสวนรวมของ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ชุมชน ความมั่นคงของมนุษย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน
(พอช.)
ตัวชี้วัดที่ 34 ความปลอดภัยของ สํานักงานตํารวจแหงชาติ กระทรวงยุติธรรม
หมูบาน / ชุมชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย
กระทรวงมหาดไทย
ตัวชี้วัดที่ 35 ศาสนสถาน ศูนย กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงมหาดไทย
เรียนรูชุมชน กระทรวงเกษตรและสหกรณ
และภูมิปญญา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
ชุมชน และสิ่งแวดลอม
สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ
ตัวชี้วัดที่ 36 การไดรับความ กระทรวงการพัฒนาสังคม สํานักงานตํารวจแหงชาติ
คุมครองทางสังคม และความมั่นคงของมนุษย กระทรวงยุติธรรม
กระทรวงมหาดไทย

15
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ป 2566-2570

หนวยงานรับผิดชอบ
ลําดับ ตัวชี้วัด
หนวยงานหลัก หนวยงานรวม
หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (5 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 37 การใช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงการทองเที่ยวและ
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม กีฬา
และดูแล กระทรวงเกษตรและสหกรณ
สิ่งแวดลอม
ตัวชี้วัดที่ 38 คุณภาพดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ
ตัวชี้วัดที่ 39 คุณภาพน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ
และสิ่งแวดลอม กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงมหาดไทย
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
ตัวชี้วัดที่ 40 การจัดการสภาพ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงมหาดไทย
สิ่งแวดลอมอยาง และสิ่งแวดลอม
ยั่งยืน
ตัวชี้วัดที่ 41 การจัดการมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม
และสิ่งแวดลอม กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงมหาดไทย
หมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบตั ิ (3 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 42 ความปลอดภัยจาก สํานักงานคณะกรรมการ กระทรวงสาธารณสุข
ยาเสพติด ปองกันและปราบปรามยา กระทรวงศึกษาธิการ
เสพติด กระทรวงมหาดไทย
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
ตัวชี้วัดที่ 43 ความปลอดภัยจาก กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ
ภัยพิบัติ กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม
กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย
สํานักงานตํารวจแหงชาติ
หนวยบัญชาการทหารพัฒนา
ตัวชี้วัดที่ 44 ความปลอดภัยจาก สํานักงานตํารวจแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรม
ความเสี่ยงในชุมชน กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงมหาดไทย

16
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค) ป 2566-2570

หนวยงานรับผิดชอบ
ลําดับ ตัวชี้วัด
หนวยงานหลัก หนวยงานรวม
กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม

10. ระดับคะแนนของตัวชี้วัดขอมูล กชช. 2ค

ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ในชวงแผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ


ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) มี 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด เมื่อทําการวิเคราะหขอมูลและเปรียบเทียบ
กับเกณฑชี้วัดแลว จะทําใหทราบวาในแตละตัวชี้วัดอยูในคะแนนระดับใด ซึ่งมีทั้งหมด 3 ระดับ ดังนี้
ถาได 1 คะแนน หมายถึง ตัวชี้วัดนั้นมีปญหามาก (ต่ํากวาเกณฑ)
ถาได 2 คะแนน หมายถึง ตัวชี้วัดนั้นมีปญหาปานกลาง (อยูในเกณฑ)
ถาได 3 คะแนน หมายถึง ตัวชี้วัดนั้นมีปญหานอย/ไมมีปญหา (สูงกวาเกณฑ)

11. การจัดระดับการพัฒนาของหมูบาน

จากคะแนนที่ไดจะนําไปสูการจัดระดับการพัฒนาของหมูบานวา เปนหมูบานระดับใด ทั้งนี้


โดยใชตัวชี้วัดที่ได 1 คะแนน เปนหลักในการพิจารณา ดังนี้
ถาได 1 คะแนน จํานวน 15-44 ตัวชี้วัด จัดเปนหมูบานเรงรัด (ยังไมพัฒนา)
พัฒนาอันดับ 1
ถาได 1 คะแนน จํานวน 8-14 ตัวชี้วัด จัดเปนหมูบานเรงรัด (กําลังพัฒนา)
พัฒนาอันดับ 2
ถาได 1 คะแนน จํานวน 0-7 ตัวชี้วัด จัดเปนหมูบานเรงรัด (พัฒนาแลว)
พัฒนาอันดับ 3
การเรียงลําดับหมูบานที่ควรไดรับการพิจารณาแกไขปญหาใหยึดหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ
1 (ยังไมพัฒนา) เปนเปาหมายอันดับแรก หมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ 2 และหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ
3 เปนเปาหมายถัดไปตามลําดับ ในกรณีที่มีหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ 1 หลายหมูบาน ที่มีตัวชี้วัดที่ได
คะแนน 1 มากกวาหมูบานอื่น ๆ อยูในลําดับแรก ที่ควรไดรับการพิจารณาแกไขปญหากอน แตถายังมี
จํานวนตัวชี้วัดที่ไดคะแนน 1 เทากันอีก ใหพิจารณาหมูบานที่มีจํานวนประชากรมากกวาอยูในลําดับแรก
ที่ควรไดรับการพิจารณาแกไขปญหากอน

17
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

12. แนวคิดเบื้องหลังคําถาม และองคประกอบของขอมูลหลัก ๆ ของแบบสอบถาม กชช. 2ค

เนื้อหาของแบบสอบถาม แนวคิดเบื้องหลังคําถาม องคประกอบขอมูล กชช. 2ค


สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานหมูบาน/ชุมชน จุดประสงคของขอมูลสวนนี้เพื่อบงบอกถึงสภาพ ที่ตั้งหมูบาน จํานวนครัวเรือนและประชากร
พื้น ฐานของหมู บา น (Village Profile) ในดา น
สถานที่ตั้ง จํานวนประชากร
หมวดที่ 1 โครงสรางพื้นฐาน จุดประสงคเพื่อใหทราบถึงโครงสรางพื้นฐานของ ถนน น้ําดื่ม น้ํ าใช น้ําเพื่อการเกษตร การมีไฟฟ า และ
หมูบาน การเขาถึงแหลงน้ํา น้ําดื่ม-น้ําใช การมี เชื้อเพลิงในการหุงตม การมีที่ดินทํากิน การติดตอสื่อสาร
ไฟฟาใช ลักษณะทางกายภาพ ทั้งการคมนาคม โทรศัพทมือถือ โทรศัพทประจําบาน อินเทอรเน็ต และ
และช อ งทางการติ ด ต อ สื่ อ สารกั บ ภายนอก โทรศัพทสาธารณะ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย สิ่งอํานวย
หมูบ าน ที่ดินทํ ากิน และกิจ กรรมสาธารณะใน ความสะดวกคนพิ ก ารและผู สู ง อายุ พื้ น ที่ ส าธารณะสี
ชุมชน สวนใหญเปนขอมูลที่มีความเปลี่ยนแปลง เขียวและพื้นที่สาธารณะประโยชน
เคลื่อนไหวชา
หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ จุ ด ประสงค เ พื่ อ ให ท ราบสภาพการมี ง านทํ า การมีงานทํามีอาชีพและมีรายได การทํางานในสถาน
การไปทํ า งาน นอ กตํ าบล การท อ งเที่ ยว ประกอบการภายในตําบล รานอาหารที่ไดรับมาตรฐาน
ก า ร ไ ด รั บ ก า ร คุ ม ค ร อ ง ต า ม ก ฎ ห ม า ย ทองถิ่นหรือกรมอนามัย การทํานา ทําไร ทําสวน ปศุ
ประกันสังคม สถานะทางเศรษฐกิจของหมูบาน สัตว การประมง เกษตรอื่น ๆ การประกอบอุตสาหกรรม
วา ประชาชนส ว นใหญ ประกอบอาชีพ ใด และ ในครัวเรือน และการทองเที่ยว
อาชีพใด สามารถสรางรายไดใหกับหมูบานมาก
ครัวเรือนใดใชเวลาในการประกอบอาชีพนั้นใน
1 ปมากกวาอาชีพอื่น ๆ ถือวานั้นคืออาชีพหลัก
ถึงแมจะมีรายไดนอยกวาอาชีพรองก็ตาม

18
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เนื้อหาของแบบสอบถาม แนวคิดเบื้องหลังคําถาม องคประกอบขอมูล กชช. 2ค


หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย จุ ดปร ะสงค ข องข อ มู ล ส วน นี้ เพื่ อทรา บ การปองกันโรคติดตอเพื่อมิใหเกิดการปวยและตาย การ
สถานการณ ก ารพึ่ ง พาและดู แ ลตนเองในด าน เข า ถึ ง และได รั บ บริ ก ารและดู แ ลสุ ข ภาพของเด็ ก คน
สุขภาพ การเขาถึงและการไดรับบริการและดูแล พิ ก าร ผู สู ง อายุ และคนในชุ ม ชน อนามั ย แม แ ละเด็ ก
สุ ขภาพอนามัยของทุกคนในชุมชน โดยเฉพาะ อนามัยสิ่งแวดลอมในการจัดการขยะ สวมสิ่งปฏิกูล และ
คนพิการและผูสูงอายุ การสงเสริมสุขภาพการ ที่อยูอาศัย ความปลอดภัยไมเจ็บปวยในการทํางาน การ
ป องกันโรคและการรัก ษาพยาบาล การได รั บ กีฬาและการออกกําลังกาย
บาดเจ็บ/เจ็บปวยเนื่องจากการทํางาน และดาน
อนามัยสิ่งแวดลอม
หมวดที่ 4 ความรูและการศึกษา จุดประสงค ข องข อ มู ลส วนนี้ ตองการทราบถึ ง การใหบริการดานการศึกษา การเขาถึงการศึกษาของคน
การให บ ริ ก ารด า นการศึ ก ษา และโอกาสใน พิ ก ารและคนในชุ มชน ความรอบรู ด า นสุ ข ภาพ ดา น
การเข า ถึ ง การศึ ก ษาของคนพิ ก ารและคนใน ดิจิทัล ดานสื่อ ดานการเงิน การไดรับการฝกอบรมดาน
ชุ มชน ความรอบรูในดานตาง ๆ การไดรับการ อาชีพ การศึกษา และสุขภาวะ
ฝกอบรม รวมถึงโอกาสการไดรับการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)
หมวดที่ 5 การมีสวนรวมและความเขมแข็งของ จุดประสงคของขอมูลสวนนี้ เพื่อทราบถึงการมี การ รวมกลุ ม การมี ส วน ร ว มของป ระช า ช น ใน
ชุมชน สวนรวมของประชาชนในการพัฒนา การแสดง การทํากิ จกรรมของชุมชน ความปลอดภั ยของหมูบาน
ความคิ ด เห็ น ความเข ม แข็ ง ของชุม ชนในการ ศาสนสถาน ศูนยเรียนรูชุมชน และภูมิปญญาชุมชน การ
พึ่งพาตนเอง ตลอดจนทุนทางสังคมที่ชุมชนมีอยู ไดรับความคุมครองทางสังคม ของผูมีอายุ 60 ปขึ้นไป
และการไดรับความคุมครองทางสังคม คนพิการ เด็กกําพรา เด็กถูกทอดทิ้ง และเด็กเรรอน ที่
ไมไดรับการดูแล

19
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เนื้อหาของแบบสอบถาม แนวคิดเบื้องหลังคําถาม องคประกอบขอมูล กชช. 2ค


หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จุดประสงคของขอมูลสวนนี้ เพื่อตองการทราบ การเข า ถึ ง การใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละดู แ ล
ถึ ง สถานภาพของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม คุณภาพดิน คุณภาพน้ํา การจัดการสภาพ
สิ่ ง แวดล อ ม ทั้ ง ดิ น น้ํ า การจั ด การสภาพ สิ่ ง แวดล อ มขยะมู ลฝอย ของเสียอั น ตราย และน้ํ า เสีย
สิ่ ง แวดล อ ม และการจั ด การมลพิ ษ อย า งถู ก การจัดการมลพิษทางอากาศและทางเสียง
สุขลักษณะในหมูบาน
หมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ จุดประสงคของขอมูลสวนนี้ เพื่อตองการทราบ การใช ย าเสพติ ด ในหมู บ า น/ชุ ม ชน การก อ ความ
สภาวะทั่วไปของคนในชุมชนตอปญหายาเสพติด เดือดรอนของผูใชยาเสพติด การปองกันและแกไขปญหา
และความรุนแรงของปญหา การประสบภัยพิบัติ ยาเสพติ ด การเตรี ย มความพร อ มรั บ มื อ ภั ย พิ บั ติ ข อง
ความเสี่ ย งในเรื่ อ งการพนั น ป ญ หาเด็ ก วั ย รุ น หมูบ าน ความเสี่ยงในชุมชนเรื่ องการพนั น ป ญหาเด็ ก
ตี กั น ป ญ หา เด็ ก ติ ด เ กม ป ญห าเด็ ก แ ว น วั ย รุ น ตี กั น ป ญ หาเด็ ก ติ ด เกม ป ญ หาเด็ ก แว น การ
การทะเลาะวิ ว าทอั น เนื่ อ งมาจากการดื่ ม สุ ร า ทะเลาะวิ ว าทอั นเนื่ องมาจากการดื่ ม สุ ร า และ
และอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส อาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส

20
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

13. คําอธิบายตัวชี้วัดขอมูล กชช. 2ค


ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ที่ใชในการเก็บขอมูลชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 (ป 2565-2569 ) มี 7 หมวด
44 ตัวชี้วัด มีความหมาย หรือคําอธิบายในแตละตัวชี้วัด ดังนี้
หมวดที่ 1 โครงสรางพื้นฐาน (10 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


1. ถนน เพื่อสะทอนใหเห็นถึงความสะดวกในการเดินทางของคนในชุมชน 1. ถนนเส น ทางหลั กของหมูบา น หมายถึ ง ถนนสายที่ อ ยูเฉพาะ
จากตั ว หมู บ า นถึ ง อํ า เภอหรื อ ชุ ม ชนที่ ใ กล ที่สุ ด ที่ ค นในชุ มชน ภายในเขตพื้นที่ของหมูบาน ที่ประชาชนสวนใหญของหมูบาน ใชเปน
สวนมากไปซื้อ-ขายของกินของใช การไปติดตอราชการที่ตัวที่วา เสนทางคมนาคมเปนประจํามากที่สุด (เสนทางหลักเสนเดียวเทานั้น)
การอําเภอ โดยพิจารณาจากการมี ถนนติดตอ กับ อํ าเภอที่ ใ กล 2. ใช ก ารไดดี หมายถึ ง ไมเปน หลุ มเปน บ อ สั ญ จรไปมาได อ ย า ง
ที่สุด ที่คนในชุมชนสวนมากนิยมไปซื้อ-ขายของกินของใชตลอด สะดวก
เสนทางและมีรถรับจางวิ่งตลอดทุกฤดูหรือไม และในกรณีที่ไมมี 3. อําเภอหรือชุมชนที่ใกลที่สุด หมายถึง อําเภอหรือชุมชนที่คนใน
ถนนนั้น สวนมากใชวิธีการเดินทางแบบใด โดยใชเวลานานมาก หมู บ า น/ชุ ม ชนนี้ ส ว นมากไป ซื้ อ -ขายของกิ น ของใช และติ ด ต อ
นอยเพียงใด ซึ่งขอบเขตในการถามใหคํานึงถึงเฉพาะถนนที่อยูใน ราชการ ซึ่งรวมทั้งอําเภอหรือชุมชนที่หมูบาน/ชุมชนนี้ไมไดอยูในเขต
ประเทศไทยเทานั้น การปกครองดวย
2. น้ําดื่ม เพื่ อ บ ง บอกถึ ง คุ ณ ภาพ และความเพี ย งพอของน้ํ า ที่ ใ ช เ พื่ อ 1. น้ําสะอาด หมายถึง น้ําฝน น้ําประปา และน้ําบาดาล ที่ผานเกณฑ
การบริ โ ภคตามเกณฑ ที่ กํ า หนด (5 ลิ ต รต อ คนต อ วั น ) โดย มาตรฐานน้ําสะอาดขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) หรือกรม
พิจารณาจากครัวเรือนที่มีน้ําสะอาดสําหรับดื่ม และบริโภคตอป อนามัยที่สาธารณสุขตําบล ตรวจสอบแลววาใชดื่มได ถาเปนน้ําจาก
วามีจํานวนมากนอยเพียงใด แหลงธรรมชาติตองผานการตมหรือแกวงสารสมแลวเติมคลอรีนจึงจะ
จัดวาเปนน้ําสะอาด หรือน้ําที่ผานเครื่องกรองน้ําที่ไดมาตรฐาน หรือ
น้ําบรรจุขวด ที่มีเครื่องหมาย อย.

21
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


2. เกณฑวัดความเพียงพอของน้ําดื่มและบริโภคตลอดป หมายถึง
ปริมาณน้ํา 5 ลิตรตอคนตอวัน (ใชดื่ม 2 ลิตร และอื่น ๆ อีก จํานวน
3 ลิตร ไดแก ใชประกอบอาหาร ลางหนา บวนปากและแปรงฟน เปน
ตน)
3. น้ําใช เพื่อบงบอกถึงครัวเรือนที่มีน้ําใชเพียงพอตลอดปตามเกณฑที่ 1. น้ําใช หมายถึง น้ําที่ใชในครัวเรือน สําหรับซักลางและอาบ
กําหนด (45 ลิตร หรือ ประมาณ 2 ปป ตอคนตอวัน) วามี 2. เกณฑวัดความเพียงพอของน้ําใชตลอดป หมายถึง ปริมาณน้ําที่
จํานวนมากนอยเพียงใด ใช 45 ลิตรตอคนตอวัน (หรือประมาณ 2 ปบตอคนตอวัน)
3. บอบาดาล/น้ําใตดิน ใหรวมถึงบอตอก และบอเจาะดวย
4. บอน้ําตื้น หมายถึง บอที่ใสปลอกซีเมนต ไม คอนกรีต หรือ
บอดินถาวรที่ใชประจํา
5. น้ําประปา หมายถึง น้ําที่สงไปตามทอใหบริการแจกจายไปถึง
ครัวเรือนในหมูบาน เชน ประปาภูมิภาค ประปาชนบท ประปา
หมูบาน หรือประปาภูเขา เปนตน (ไมนับรวมประปาที่ใชในโรงเรียน
และวัด แตหากมีการจายน้ําไปบานพักครู หรือครัวเรือนในหมูบานให
นับดวย)
4. น้ําเพื่อ เพื่อสะทอนใหเห็นถึงสภาพการทําการเกษตร โดยพิจารณาจาก
การเกษตร แหลงน้ํา และความเพียงพอของการใชน้ํา ในการทําการเกษตร
5. ไฟฟาและ เพื่อบงบอกถึงครัวเรือนที่มีไฟฟาของรัฐใชวามีจํานวนมากนอย 1. ระยะทางที่มีเศษของกิโลเมตร ใหปดทิ้งแตถาระยะทางไมถึง 1
เชื้อเพลิงในการหุง เพียงใดหรือในกรณีที่ไมมีไฟฟาใช ชุมชนมีการใชไฟฟาจาก กิโลเมตร ใหตอบ 1 กิโลเมตร
ตม พลังงานทดแทนหรือจากแหลงใดหรือไม รวมถึงชุมชนมีการใช 2. พลังงานแสงอาทิตย /โซลารโฮม หมายถึง พลังงานที่ไดจากการ
เชื้อเพลิงในการหุงตมแบบใด แผรังสีของดวงอาทิตย

22
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


3. พลังงานชีวมวล หมายถึง พลังงานที่ไดจากพืชและสัตวชนิดตาง
ๆ เชน เศษไม ขยะ วัสดุเหลือใชทางการเกษตร โดยกระบวนการแปร
รูปชีวมวลไปเปนพลังงานรูปแบบตาง ๆ
4. ไมโครกริด หมายถึง การใชระบบสารสนเทศ ประมวลผล
วิเคราะห และสั่งการใหเกิดการผลิตและสงจายไฟฟาแบบอัตโนมัติ
ภายใตชื่อโครงขายไฟฟาอัจฉริยะหรือสมารทกริด
5. จํานวนครัวเรือนที่มีไฟฟาใช และ ครัวเรือนที่ไมมีไฟฟาใช
ทั้งหมด เมื่อรวมจํานวนครัวเรือนทั้ง 2 ประเภทแลว จะตองเทากับ
จํานวนครัวเรือนทั้งหมดของหมูบาน/ชุมชน ในขอ 1.1
6. มีไฟฟาใช หมายถึง การมีไฟฟาของรัฐ และ/หรือ ไฟฟาที่ไมใช
ของรัฐ
6. การมีที่ดินทํากิน เพื่ อ บ ง บอกถึ ง ลั ก ษณะการถื อ ครองที่ ดิ น ของคนส ว นใหญ ใ น 1. เกษตรกรรมยั่ ง ยื น เป น ระบบเกษตรกรรมที่ เ กี่ ย วข อ กั บ
หมูบาน โดยดูจากจํานวนครัวเรือนที่มีที่ดินทํากินเปนของตนเอง การผสมผสาน และเชื่ อ มโยงระหว า งดิ น การเพาะปลู ก และ
และไมตองเชา กับตองเชาเพิ่มบางสวน และตองเชาที่ดินทํากิน การเลี้ยงสัตว การเลิกหรือลดการใชทรัพยากรจากภายนอกระบบ ที่
ทั้งหมดมีจํานวนมากนอยเพียงใด อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดล อม และหรือสุขภาพของเกษตรกรและ
ผู บริโภค ตลอดจนเนนการใชเทคนิคที่เปน หรื อปรับใหเปน สวนหนึ่ง
ของกระบวนการธรรมชาติข องทองถิ่นนั้ น ๆ มี 5 ระบบ ไดแก 1)
เกษตรผสมผสาน 2) เกษตรอิ น ทรี ย 3) เกษตรธรรมชาติ
4) เกษตรทฤษฎีใหม และ5) วนเกษตรหรือไรนาปาผสม
2. เกษตรทฤษฎี ใ หม คื อ การผลิ ต เพื่ อ พึ่ ง ตนเองให ไ ด ในพื้ น ที่
การเกษตร เฉลี่ย 10-15 ไร แบงออกเปนสัดสวน 30 : 30 : 30 :

23
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


10 ( รอยละ 30 ขุดสระน้ํา : รอยละ 30 ทําสวนหรือไมผล : รอยละ
30 ทํานา : รอยละ 10 ปลูกสรางบาน)
3. กิจการเกษตรในบริเวณหัวไรปลายนา หมายถึง การปลูกพัก พืช
ไมผล เลี้ยงเปด ไก ปลา และอื่น ๆ เพื่อบริโภคในบริเวณบางสวนของ
ไรหรือนา นอกเหนือจากการปลูกพืช ผัก หรือปลูกขาว
7. การติดตอสื่อสาร เพื่อสะทอนใหเห็นถึงโอกาสในการกระจายการบริการ ดาน 1. วิทยุสื่อสารสมัครเลน หมายถึง วิทยุคมนาคมที่ไดรับอนุญาตจาก
การสื่อสารของรัฐและเอกชน โดยดูวามีสถานที่ใหบริการ ทางราชการ โดยนํามาใชเพื่อประโยชนสวนรวม โดยไมเกี่ยวของกับ
โทรศัพทสาธารณะที่ใชการได มีโทรศัพทประจําบาน ผลประโยชนทางดานธุรกิจ หรือการเงิน หรือการเมือง
โทรศัพทมือถือ วิทยุสื่อสาร อินเทอรเน็ต และชองทางการ
ติดตอสื่อสารภายในชุมชนและระหวางภายในกับภายนอกชุมชน
8. สถานพัฒนาเด็ก เพื่อสะทอนใหเห็นถึงโอกาสของเด็กเล็กในชุมชน ในการเขาถึง 1. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ปฐมวัย การใหบริการของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และการดําเนินงาน หมายถึง สถานศึกษาที่ใหการอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ และ
ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีคุณภาพและมาตรฐาน ทั้งดาน สงเสริมพัฒนาการการเรียนรูใหเด็กเล็กอายุระหวาง 2-5 ป ใหมีความ
การบริหารจัดการ ดานบุคลากร ดานอาคารสถานที่ สิ่งแวดลอม พรอม ดานรางกาย อารมณ-จิตใจ สังคมและสติปญญา
และความปลอดภัย ดานวิชาการ ดานการมีสวนรวม และดาน 2. มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง แนวทาง
สงเสริมเครือขาย การดําเนินงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ใหมีมาตรฐานและมีคุณภาพ
เปนไปในแนวทางเดียวกัน มี 6 ดาน ประกอบดวย
1) ดานการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 2) ดานบุคลากร
3) ดานอาคาร สถานที่ สิ่งแวดลอมและความปลอดภัย 4) ดาน
วิชาการ และกิจกรรมตามหลักสูตร 5) ดานการมีสวนรวม และ
สงเสริมสนับสนุน และ 6) ดานสงเสริมเครือขายการพัฒนาเด็กปฐมวัย

24
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


9. สิ่งอํานวยความ เพื่อสะทอนใหเห็นถึงหนวยงานของรัฐ องคกรเอกชน หรือองคกร 1. กฎกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2555 กําหนดใหอาคารหรือสถานที่ของ
สะดวกคนพิการและ อื่น ๆ ในหมูบาน ไดมีการจัดบริการสิ่งอํานวยความสะดวกใหแก หนวยงานของรัฐ องคกรเอกชน หรือองคกรอื่นใดใหมีอุปกรณ สิ่งอํานวย
ผูสูงอายุ คนพิการและผูสูงอายุในชุมชนหรือไม ความสะดวก หรือบริการเพื่อใหคนพิการสามารถเขาถึงและใชประโยชนได
อยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (1) ที่นั่งสําหรับคนพิการหรือพื้นที่สํา หรับ
จอดรถเข็นคนพิ การ (2) ทางลาด (3) พื้นผิ วตางสัมผัสสําหรับคนพิการ
ทางการเห็น (4) บันไดเลื่อนสําหรับคนพิการ (5) ทางลาดเลื่อนหรือทาง
เลื่อนในแนวราบ (6) ราวกันตกหรือผนังกันตก (7) ถังขยะแบบยกเคลื่อนที่
ได (8) สถานที่ติดตอหรือประชาสัมพันธสําหรับ คนพิ การ (9) โทรศัพท
สาธารณะสําหรับคนพิการ (10) จุดบริการน้ําดื่มสําหรับคนพิการ (11) ตู
บริการเงินดวนสําหรับคนพิการ (12) ประตูสําหรับคนพิการ (13) หองน้ํา
สําหรับ คนพิ การ (14) ลิฟตสําหรับ คนพิการ (15) ที่จอดรถสํา หรับคน
พิการ (16) สัญญาณเสียงและสัญญาณแสงขอความชวยเหลือสําหรับคน
พิการ (17) ปายแสดงอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ
(18) ทางสัญจรสําหรับคนพิการ (19) ตูไปรษณียสําหรับคนพิการ (20)
พื้ นที่สําหรับ หนีภั ยของคนพิการ (21) การประกาศเตือนภั ยสํา หรับคน
พิการทางการเห็น และตัวอักษรไฟวิ่งหรือสัญญาณไฟเตือนภัย สําหรับคน
พิ การทางการไดยินหรือสื่อ ความหมาย (22) การประกาศข อมูลที่เป น
ประโยชนสําหรับคนพิการทางการเห็น และตัวอักษรไฟวิ่งหรือ ปายแสดง
ความหมายสําหรับคนพิการทางการไดยินหรือสื่อความหมาย และ (23)
เจาหนาที่ซึ่งผานการฝกอบรมและมีคุณสมบัติตรงกับความตองการของคน
พิการแตละประเภท อยางนอยหนึ่งคนเพื่อใหบริการคนพิการ

25
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


10. พื้นที่สาธารณะ เพื่อบงบอกถึงลักษณะของพื้นที่สาธารณะภายในชุมชน ซึ่งดูจาก 1. พื้นที่สีเขียว คือ อาณาบริเวณที่มีพืชขึ้นปกคลุม ไมวาจะเปนทั้งใน
สีเขียวและพื้นที่ การมี พื้ น ที่ สี เ ขี ย วและพื้ น ที่ ส าธารณะประโยชน สํ า หรั บ ให เมือง และนอกเมืองโดยที่ประชาชนสามารถเขาไปใชประโยชนได ซึ่ง
สาธารณะประโยชน ประชาชนทุกคนในชุมชนไดใชประโยชน และบํารุงรักษารวมกัน ประโยชนนี้อาจจะเปนทางตรงหรือทางออมก็ได ไมวาจะเปนพักผอน
วามีจํานวนมากนอยเพียงใด และมีความปลอดภัยหรือไม หยอนใจ ออกกําลังกาย เชน สวนสาธารณะ สวนหยอม พื้นที่สีเขียว
บริการของหมูบาน เกาะกลางถนน ตนไมสองขางทาง เปนตน
2. พื้นที่สาธารณะ คือ พื้นที่ที่ประชาชนทุกคนสามารถเขาถึงและ
เขาใชได สามารถแสดงออกไดทางความคิดของตนเองไดโดยไมขัดตอ
กฎกติกาของส ว นรวม เชน ลานชุ มชน ลานเมื อ ง ศาลาประชาคม
หองน้ําสาธารณะ เปนตน

หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (10 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


11. การมี ง านทํ า เพื่อสะทอนใหเห็นถึงโอกาสในการประกอบอาชีพ และมีรายได 1. การมีงานทํา ใหนับคนอายุ 15-59 ป มีการประกอบอาชีพและที่
โดยเนนคนอายุ 15-59 ป มีการประกอบอาชีพและที่มีรายได มีรายได (ยกเว นผูที่ กําลั งศึกษาอยางเดี ยว โดยไมไดประกอบอาชี พ
(ยกเวนผูที่กําลังศึกษาอยางเดียว โดยไมไดประกอบอาชีพหรือ หรือคนพิการที่ไมสามารถชวยตนเองได)
คนพิการที่ไมสามารถชวยเหลือตนเองได) 2. การประกอบอาชีพและมีรายได คือ การทํางานที่เปนงานประจํา
ทุ ก อาชี พ ทั้ ง ที่ อ ยู ภ ายในครั ว เรื อ นหรื อ นอกครั ว เรื อ น โดย
มี ร ายได ที่ เ กิ ด จากการทํ า งานดั ง กล า ว ทั้ ง ในลั ก ษณะรายวั น
รายสัปดาห รายเดือน รายชิ้นงาน หรืองานเหมา
3. แรงงานนอกระบบ คือ ผูมีงานทําที่ไมไดรับความคุมครอง หรือไม
มีหลักประกันทางสังคมจากการทํางาน” หรือกลาวอีกนัยหนึ่งว าเปน

26
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


“ผู ที่ ทํ า งานส ว นตั ว โดยจะมี ลู ก จ า งหรื อ ไม ก็ ไ ด หรื อ ลู ก จ า งที่ ไ ม มี
ประกันสังคมหรือสวัสดิการพนักงานของรัฐ”
4. สถานภาพการทํางานแรงงานนอกระบบสวนใหญ คือ ประกอบ
ธุรกิจสวนตัวโดยไมมีลูกจาง ธุรกิจครัวเรือน ลูกจางเอกชน (ไมประกัน
ตนและทํางานไมถึง 3 เดือน) นายจาง (ไมประกันตน) ลูกจางรัฐบาล
(ผูรับจางเหมาไมประกันตน) และการรวมกลุมของแรงงานนอกระบบ
5. งานที่รับไปทําที่บาน หมายถึง งานที่ลูกจางรับจากนายจางไปผลิต
ประกอบ บรรจุ ซ อ มหรื อ แปรรู ป สิ่ ง ของในบ า นของลู ก จ า ง หรื อ
สถานที่อื่น ที่มิใชสถานประกอบกิจการของนายจางตามที่ไดตกลงกัน
เพื่ อรับ คา จ า ง โดยใช วั ตถุ ดิ บ หรื อ อุ ป กรณ ในการผลิ ตของนายจ า ง
ทั้งหมดหรือบางสวน และโดยปกติ การทํางานนั้นเปนสวนหนึ่งสวนใด
หรื อทั้ ง หมดในกระบวนการผลิตหรื อธุ ร กิ จ ในความรับผิ ดชอบของ
นายจาง
6. แรงงานขา มชาติ/แรงงานตางดาว คือ บุคคลที่ไมไดมีสัญชาติ
ไทย ไมมีบัตรประจําตัวประชาชน เปนบุคคลที่มีสัญชาติอื่นที่ไดมีการ
อพยพ ยายถิ่นฐานเขามาทํางานในประเทศไทย
12. การทํางานใน เพื่ อ สะท อ นให เ ห็ น ถึ ง โอกาส ในการประกอบอาชี พ ในสถาน 1. สถานประกอบการ หมายถึง สถานที่ที่ใชในการประกอบกิจกรรม
สถานประกอบการ ประกอบการทั้ ง จากภายในและภายนอกตํ าบล เช น โรงงาน ทางเศรษฐกิจและอยูในที่ตั้งที่แนนอน ไมวากิจกรรมนั้นจะดําเนินงาน
รานคา บริษัท หางรานโรงแรม รีสอรท เปนตน โดยบุคคลที่เปนเจาของหรือควบคุมกิจกรรมโดยนิติบุคคลก็ตาม
2. โรงงานอุตสาหกรรม หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะ
ที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแตหาแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหา
แรงมาขึ้นไป หรือใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนขึ้นไปโดยใชเครื่องจักรหรือไม

27
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


ก็ ต าม สํา หรั บ ทํ า ผลิ ต ประกอบ บรรจุ ซ อ ม ซ อ มบํ า รุ ง ทดสอบ
ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ไมนับงาน
ที่รับชวงมาทํา เชน เย็บเสื้อโหล ทําไฟกระพริบ ทําหมวก และไมนับ
อุตสาหกรรมในครัวเรือน ตามขอ 13 รานคา บริษัท หางราน โรงแรม
รีสอรท เปนตน
3. โรงงาน หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักร
มีกําลังรวมตั้งแตหาสิบแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหาสิบแรงม า
ขึ้นไป หรือใชคนงานตั้งแตหาสิบคนขึ้นไป โดยใชเครื่องจักรหรือไมก็
ตามเพื่ อ ประกอบกิ จ การโรงงาน ทั้ ง นี้ ตามประเภทหรื อ ชนิ ด ของ
โรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง
4. การทํางานนอกตําบล หมายถึง คนงานที่อพยพไปทํางานในที่ตาง
ๆ ทั้งในหรือตางประเทศ เปนการชั่วคราวหรือถาวร ตามความตองการ
ข อ ง ต ล า ด แ ร ง ง า น แ ล ะ โ อ ก า ส ก า ร มี ง า น ทํ า ดั ง นั้ น
ไมนับคนงานที่ทํางานแบบไป-กลับในวันเดียว
13. รานอาหารและ เพื่อสะทอนใหเห็นถึงการใหบริการของรานอาหาร หรือแผงลอย 1. รานอาหาร หมายถึง อาคารที่จัดไวเพื่อประกอบอาหารหรื อปรุง
รานคา ในชุมชน ที่ไดรับมาตรฐานจากทองถิ่นหรือกรมอนามัย รวมถึง อาหารจนสํ า เร็ จ และจํ า หน า ย ให ผู ซื้ อ สามารถบริ โ ภคได ทั น ที ซึ่ ง
ความสะอาดปลอดภั ย อีกทั้ง แสดงใหเ ห็ น ถึ งสภาพเศรษฐกิ จ ครอบคลุมถึงภัตตาคาร สวนอาหาร หองอาหารในโรงแรมและศู นย
รานคาการใหบริการตาง ๆ ภายในชุมชน อาหาร
2. แผงลอยจํ าหนายอาหาร หมายถึง แคร แทน โตะ แผง รถเข็น
หรือพาหนะอื่นใด ที่ขายอาหาร เครื่องดื่ม น้ําแข็งโดยตั้งประจําที่
3. รา นอาหารและแผงลอยจํ า หน า ยอาหารได ม าตรฐานท องถิ่น
หมายถึ ง ร า นอาหาร และแผงลอยจํ า หน า ยอาหารผ า นเกณฑ

28
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


มาตรฐานตามเทศบัญญัติหรือขอกําหนดของทองถิ่น (เทศบาล/อบต.)
หรือกรณีที่เทศบาล/อบต. ยังไมมีการออกเทศบัญญัติ หรือขอกําหนด
ก็จะถือตามขอกําหนดดานสุขาภิบาลอาหารของรานอาหาร และแผง
ลอยจําหนายอาหาร ที่ออกโดยกรมอนามัย
4. รานคา ใหนับเฉพาะรานคาที่มีอาคารสถานที่ถาวร ไมนับหาบเร/
แผงลอย ในกรณีที่ร านคา ที่ ขายของหลายอยา งในร านเดียวกั น ให
นับเปน 1 ราน โดยไมนับซ้ํา (เชน เปนรานที่ซอมรถยนต และเชื่อม
โลหะดวย แตมีรายไดจากการซอมรถยนต เปน หลักก็ ใหนั บเป นราน
ซอมรถยนต เปนตน)
14. ผลผลิตจาก เพิ่งสะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการผลิตขาว (ผลผลิตตอ 1. ครั ว เรื อ นมี ร ายได เ ฉลี่ ย ครั ว เรื อ นละกี่ บ าทต อ ป เป น รายได ที่
การทํานา ไร) ทั้งนี้จะแยกออกเปน 2 ระดับ คือ ไมหักคาใชจายจะไดทราบมูลคาของผลผลิตทั้งหมดของครัวเรือน เชน
(1) การทํานา 2 ครั้ง จะใชเทียบกับเกณฑเฉลี่ยของทั่วประเทศ ในหมูบานมี 70 ครัวเรือน มีรายได 1,000 บาท 18 ครัวเรือน มีรายได
(2) การทํานา 1 ครั้ง จะใชเทียบกับเกณฑเฉลี่ยของแตละภาค 850 บาท 2 ครั ว เรื อน มี รายได 600 บาท 50 ครั ว เรื อน ดั งนั้ น
ครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ย 710 บาทตอครัวเรือน
2. ชีวภั ณฑ หมายถึง ชี วินทรีย ได แก รา แบคทีเรีย ไวรัส ไสเดือน
ฝอย และแมลงศั ตรู พืช ธรรมชาติ ใช เป น สารควบคุมโรคและแมลง
ศัตรูพืช เพื่อลดหรือทดแทนสารปองกันกําจัดศัตรูพืช โดยจะตองเปน
ชีวภัณฑที่มีความปลอดภัยตอมนุษย และสัตวรวมทั้งสภาพแวดลอม และ
สามารถผลิตขยายปริมาณไดมากพอเพียงตอการนําไปใชประโยชน เชน
แบคทีเรียบีทีกําจัดแมลง ไวรัสเอ็นพีวี ไสเดือนฝอยกําจัดแมลง แบคทีเรีย
บาซิลั สควบคุ มโรคพื ช แมลงหางหนี บ ไร ตัวห้ํ า มวนพิ ฆาต ด วงเต า

29
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


แมลงวั นซีโนเซีย แตนเบียน แมลงดําหนาม เชื้อราเขียว เชื้อโปรโตซั ว
เชื้อรา เชื้อราไตรโคเดอรมา เปนตน
3. พันธุขาวสงเสริมหรือพันธุขาวราชการ หมายถึง ขาวพันธุดีที่ทาง
ราชการรับ รอง หรือสงเสริมให เกษตรกรทําการเพาะปลูก ซึ่งไดแ ก
พันธุ กข. พันธุดีอื่น ๆ ที่เปนที่นิยมของเกษตรกร เชน กข.7 กข.10
สุพรรณบุรี 60 ขาวขาวดอกมะลิ 5 ขาวดอกมะลิ 105 เปนตน
4. การแปลงมาตราชั่ง ตวง วัด
1 เกวียน (ขาว) = 1,000 กก.
1 หาบ (เล็ก) = 60 กก.
1 หาบ (ใหญ) = 100 กก.
1 หมื่น (ขาว) = 12 กก.ฃ
1 ลิตร (ขาวสาร) = 3/4 กก.
1 ถัง (ขาวเปลือก) = 10 กก.
1 ถัง (ขาวสาร) = 15 กก.
1 ถัง (ถั่วตาง ๆ) = 15 กก.
1 ตัน = 1,000 กก.
15. ผลผลิตจาก เพื่อสะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพการผลิตพืชไรตาง ๆ ทั้งพืช 1. การแปลงมาตราชั่ง ตวง วัด ถาผลผลิตของพืชไรใดในขอ 15 นี้
การทําไร อายุยาวหรือพืชไรอายุสั้น โดยดูปริมาณผลผลิตตอไร ตาม ไมใชหนวยวัดเปนกิโลกรัม ใหประเมินเปนกิโลกรัม ผลผลิตใดที่ไมมีใน
ประเภทของพืชไรแตละชนิดที่ครัวเรือนสวนมากในหมูบานปลูก ตารางการแปลงมาตราชั่ง ตวง วัด นี้ ใหประมาณคาเปนกิโลกรัม
เทียบกับเกณฑเฉลี่ยผลผลิตตอไรทั่วประเทศ ขาวโพดเลี้ยงสัตว 1 ถัง = 15 กิโลกรัม
ขาวโพดเลี้ยงสัตว 13 ฝก = เมล็ดขาวโพด 1 กิโลกรัม
(สีออกจากฝกแลว)

30
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


มันเสนตากแหง 1 กิโลกรัม = หัวมันสด 2.2 กิโลกรัม
มันอัดเม็ด 1 กิโลกรัม = หัวมันสด 2.4 กิโลกรัม
แปงมัน 1 กิโลกรัม = หัวมันสด 4.5 กิโลกรัม
2. พืชไรอายุสั้น คือ พืชไรที่มีอายุนับตั้งแตปลูกถึงเก็บเกี่ยว นอยกวา
4 เดือน เชน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วน้ํานาง
แดง ถั่ว มะแฮะ ข าวฟาง เป นตน ทั้งนี้ไมร วมถึง พืชผั ก เชน พริ ก
กระเทียม แตงกวา ขาวโพดออน ขาวโพดฝกสด (ขาวโพดขาวเหนียว
ขาวโพดสวีท) แตงโมออน หอมแบง หอมแดง หอมหั วใหญ มันเทศ
มันฝรั่ง เผือก หนอไมฝรั่ง มะเขือเทศ เปนตน
3. พื ช ไร อ ายุ ย าว คื อ พื ช ไร ที่ มีอ ายุ นั บ ตั้ง แต ป ลู ก จนถึ ง เก็ บ เกี่ย ว
มากกวา 4 เดือน เชน ขาวไร ออย มันสําปะหลัง ปอ ฝาย สัปปะรด
ยาสูบ ปานศรนารายณ กก แตงโมเมล็ด พริกไทย เปนตน
16. ผลผลิตจาก เพื่ อ สะท อ นให เ ห็ น ถึ ง มู ล ค า ของผลผลิ ต ต อ ครั ว เรื อ น ในการ 1. การทําสวนผลไม นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเองและที่เชาจากผูอื่น
การทําสวน ประกอบอาชี พ การทํ า สวน ได แ ก สวนผลไม สวนผั ก สวนไม ทั้งที่อยูในและนอกหมูบานชุมชน และไมรวมกิจการเกษตร ในบริเวณ
ดอกไมประดับหรือเพาะพันธุไมขาย และสวนยางพารา บานหรือหัวไรปลายนา
2. การทํ า สวนผั ก ได แ ก พริ ก กระเที ย ม แตงกวา ข า วโพดอ อน
ขาวโพดฝกสด (ขาวโพดขาวเหนียว ขาวโพดสวีท) แตงโมออน หอม
แบง หอมแดง หอมหัวใหญ มันเทศ มันฝรั่ง เผือก หนอไมฝรั่ง มะเขือ
เทศ เปนตน (นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเองและที่เชาจากผูอื่นทั้ งที่อยู
ในและนอกหมูบานชุมชน และไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือ
หัวไรปลายนา)

31
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


3. การทําสวนไมดอกไมประดับหรือเพาะพันธุไมเพื่อขาย นับพื้นที่
เพาะปลูกของตนเองและที่เช าจากผู อื่น ทั้งที่ อยู ในและนอกหมู บ า น
ชุมชน และไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือหัวไรปลายนา
4. การทําสวนยางพารา นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเองและที่เชาจาก
ผูอื่น ทั้ง ที่อ ยู ในและนอกหมูบ า น/ชุ มชน การตอบขอ นี้ ไม นั บ การ
รับจางทําสวนยางและรับจางกรีดยาง
17. ปศุสัตวและ เพื่อสะทอนใหเห็นถึงมูลคาของผลผลิตตอครัวเรือน ในการ 1. การเลี้ยงสัตวเพื่อขาย หมายถึง การเลี้ยงสัตวเปนอาชีพหลัก หรือ
การประมง ประกอบอาชีพทางดานการปศุสัตว ซึ่งเปนการเลี้ยงสัตวเพื่อขาย อาชีพรอง หรืออาชีพเสริม
ไดแก โคเนื้อ โคนม กระบือ หมู เปด ไก และสัตวอื่น ๆ สัตวใช 2. ทุงหญาสาธารณะ หมายถึง ที่ดินที่มีหญาหรือพืชอื่นขึ้นเองตาม
งาน และเครื่องจักรในการเกษตร ตลอดจนการประกอบอาชีพ ธรรมชาติ และใชเปนที่เลี้ยงสัตว โดยประชาชนสามารถนําสัตวเขาไป
ทางดานการประมงน้ําทะเล ประมงน้ําจืด และการเพาะเลี้ยง กินหญาหรือพืชในดินผืนนั้นได
สัตวน้ํา 3. คาเชาวัว ควาย หรื อรถไถ ถาจายเปนผลผลิตใหประเมิน ราคา
เปนบาท
4. เครื่ องจักรในการเกษตร เชน ควายเหล็ก รถไถ รถแทรกเตอร
เปนตน
5. เครื่องจักรในการเกษตรขนาดเล็ก คือ ความแรงของเครื่องยนตที่
มีขนาด ไมเกิน 16 แรงมา
6. เครื่องจักรในการเกษตรขนาดกลาง คือ ความแรงของเครื่องยนต
ที่มีขนาด ตั้งแต 16 - 40 แรงมา
7. เครื่องจักรในการเกษตรขนาดใหญ คือ ความแรงของเครื่องยนต
ที่มีขนาดตั้งแต 40 แรงมาขึ้นไป

32
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


8. ประมงขนาดเล็ ก หมายถึ ง ผูป ระกอบการอาชี พ ประมงที่ ใ ช
แรงงานในครอบครัวเปนหลัก ใชเรือขนาดยาวไมเกิน 10 เมตร ขนาด
เครื่องยนตไมเกิน 30 แรงมา ทําการประมงไมไกลจากหมูบานมากนัก
และเฉลี่ยหางจากฝงประมาณ 5 กิโลเมตร
9. ประมงน้ําจืด หมายถึง การจับปลาน้ําจืดในแหลงน้ําธรรมชาติ
หรือแหลงน้ําที่สรางขึ้น รวมทั้งการขุดบอลอปลา
18. ผลผลิตจาก เพื่อสะทอนใหเห็นถึงมูลคาของผลผลิตตอครัวเรือน ในการ 1. การปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ไดแก สวนมะพราว สน ปาลมน้ํามัน
การทําเกษตรอื่น ๆ ประกอบอาชีพเกษตรอื่น ๆ ไดแก การปลูกพืชเศรษฐกิจ การทํา กาแฟ โกโก มะมวงหิมพานต ใบชา หมาก สะตอ ตาลโตนด หวาย
กิจการทางการเกษตร การทําเกษตรฤดูแลง การปลูกกัญชา เปน มะนาว ไมสัก กระถินเทพา สะเดาเทียม ยูคาลิปตัส ตีนเปด ไมยางนา
ตน อีกทั้งยังแสดงใหเห็นถึง การใหบริการสาธารณะทางดาน ไผ เปนตน (นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง และที่เชาจากผูอื่น ทั้งที่อยู
การเกษตรในชุมชนอีกดวย ในและนอกหมูบานชุมชน และไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือ
หัวไรปลายนา)
2. การทํากิจการเกษตรอื่น ๆ ไดแก ปลูกตนกระจูด เพาะเห็ด ปลูก
ตนจาก ปลูกหมอน เปนตน ซึ่งไมใชการปลูกพืชไร พืชสวนและทํานา
(นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง และที่เชาจากผูอื่น ทั้งที่อยูในและนอก
หมูบานชุมชน และไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือหัวไรปลาย
นา)
3. การทําเกษตรฤดูแลง หมายถึง การปลูกพืชไรอายุสั้น หรือพืชผัก
ในฤดูแลง (นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง และที่เชาจากผูอื่น ทั้งที่อยู
ในและนอกหมูบานชุมชน และไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือ
หัวไรปลายนา)

33
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


4. ตลาดกลางสินคาเกษตร หมายถึง แหลงรวบรวมและซื้อขายสินคา
เกษตรเป น ประจํ า ตลอดป ที่ มี ผู ซื้ อ ขายจํ า นวนมากเข า มา ทํ า การ
แขงขันการซื้อขายสินคากันโดยตรงในรูปการขายสงดวยวิธีการ ตกลง
ราคาอยางเปดเผยหรือประมูลราคา เชน ตลาดกลางขาว ธกส. เปนตน
5. ตลาดนัดสินคาเกษตร หมายถึง จุดรวมการซื้อขายหรือจุดนัดพบ
ของผู ซื้ อ ขายที่ จ ะมาซื้ อ สิ น ค า โดยตรง อาจมี ก ารซื้ อ ขายกั น
ทุกวัน ในชวงที่มีสินคาออกสูตลาดมาก หรือกําหนดเอาวันหนึ่งวันใด
หรื อ ช ว งหนึ่ ง ชว งใด ทํ า การซื้ อ ขายกั น ตามแต จะนั ด หมายสถานที่
ตามแตความเหมาะสม ควรอยูในแหลงผลิตนั้น ๆ สวนใหญมักจัดเปน
ตลาดนั ด ที่ มี ก ารซื้ อ ขายสิ น ค า ชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง เช น ตลาดนั ด
ขาวเปลือก ตลาดนัดขาวโพด ตลาดนัดถั่วเหลือง ตลาดนัดโค-กระบือ
เปนตน
19. การประกอบ เพื่ อ สะท อ นให เ ห็ น ถึ ง มู ล ค า ของผลผลิ ต ต อ ครั ว เรื อ น ในการ 1. อุตสาหกรรมในครัวเรื อนและหั ตถกรรม หมายถึง การลงทุน
อุตสาหกรรมใน ประกอบอาชีพอุตสาหกรรม หรือหัตถกรรมในครัวเรือน จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ มาทํ า การผลิ ต แล ว จํ า หน า ยด ว ยตนเอง และ
ครัวเรือน การรั บ จ า งทํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ โ ดยมี ผู จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ มาให ประเภทของ
อุ ต สาหกรรม ได แ ก 1) ทอผ า 2) จั ก สาน (จากวั ส ดุ ทุ ก ชนิ ด )
3) ถั ก ทอ (จากเส น ใยพื ช ) 4) การแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑจ ากผลผลิ ต
การเกษตร หรือการแปรรูปสินคาเกษตร เชน ถนอมอาหาร (จากพืช
และสั ตว) 5) เครื่องมือเครื่องใชจากโลหะ (ตีมีด, หล อหลอมโลหะ,
บั ด กรี สั ง กะสี ) 6) เครื่ อ ง ป น ดิ น เผา( รว มกา รทํ า อิ ฐ ม อ ญ )
7) เจียระไนเพชรพลอยและหินสี 8) แกะสลัก (จากวัสดุทุกชนิด) 9)

34
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


เ ย็ บ ป ก ถั ก ร อ ย 1 0 ) เ ค รื่ อ ง เ รื อน ( จ า ก ไ ม , ไ ม ไ ผ , ห ว า ย)
11) ผลิตภัณฑจากซีเมนต 12) อื่น ๆ
20. การทองเที่ยว เพื่อบงบอกถึงโอกาสในการเพิ่มรายไดต อครัวเรือน จากการมี 1. สถานที่ทองเที่ยว คือ สถานที่ทองเที่ยวที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ
สถานที่ทองเที่ยวของตํ าบล โดยใหมีการระบุ รายไดจ ากการมี เชน ทะเล ภูเขา ปา น้ําตก เกาะ แกง ฯลฯ และเกิดโดยการกระทํา
สถานที่ทอ งเที่ย วภายใน/ภายนอกตําบลของครั ว เรื อนเพื่ อให ของมนุษย อาทิ เพื่อพักผอน เพื่อสุขภาพ เพื่อความสนุกสนานผจญ
ทราบถึงรายได รวมไปถึงจํานวนครัวเรือนที่ไดรับผลกระทบจาก ภัย เพื่อการกีฬาและนันทนาการ เพื่อศาสนา เชน รีสอรท ที่อาบน้ําพุ
การเปนแหลงทองเที่ยว สงผลกระทบดานใด และไดรับการแกไข รอน สวนสนุก อางเก็บน้ํา วัด พิพิธภัณฑ โบราณสถาน/โบราณวัตถุ
ปญหาหรือไม ซึ่งจะนํามาใชในการประกอบการจัดทํานโยบาย ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต เปนตน
หรือแผนงานดานการสงเสริมการทองเที่ยวของหมูบาน/ชุมชน 2. สถานที่ ท อ งเที่ ย วภายนอกตํ า บล คื อ สถานที่ ท อ งเที่ ย วที่ อยู
หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) หรือของจังหวัด ภายนอกตําบลของอําเภอเดียวกัน หรือตําบลของจังหวัดที่มีแนวเขต
ติดตอกัน
3. ประเภทการทองเที่ยว ตามแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ
ป 2565 - 2580 กําหนดใหสงเสริมการทองเที่ยว ดังนี้
1) การท อ งเที่ ย วเชิ ง สร า งสรรค แ ละวั ฒ นธรรม หมายถึ ง
สรางสรรคคุณคาสินคาและบริการการทองเที่ยว มุงเนน การใชองค
ความรูและนวั ตกรรม ผนวกกั บจุ ดแข็ งในดานความหลากหลายทาง
ทรัพยากรธรรมชาติ วั ฒนธรรม และวิ ถีชีวิต
2) การทองเที่ยวเชิงธุรกิจ หมายถึง สงเสริมใหไทยเปนจุดหมาย
ปลายทางการท อ งเที่ ย วเชิ ง ธุ ร กิ จ ครอบคลุ ม การจั ด ประชุ ม และ
นิทรรศการ การจัดงานแสดงสินคา การจัดกิจกรรมการทองเที่ยวเปน
รางวัล การจัดการแขงขันกีฬาระดับนานาชาติ การทองเที่ยวเชิงกีฬา

35
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


รวมถึ งการพั กผ อนระหวา งหรื อหลั งการประกอบธุรกิจ หรือ การทํา
กิจกรรมตาง ๆ
3) การท อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ ความงามและแพทย แ ผนไทย
หมายถึง พัฒนาและยกระดับมาตรฐานการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ความ
งาม และแพทย แผนไทย ทั้งสิน คา บริการ บุ คลากร ผูประกอบการ
และแหลงทองเที่ยวที่เกี่ยวของตลอดหวงโซคุณคาการทองเที่ยว
4 ) ก า ร ท อ ง เ ที่ ย ว สํ า ร า ญ ท า ง น้ํ า ห ม า ย ถึ ง ส ง เ ส ริ ม
การทองเที่ยวทางน้ําใหเปน อีกทางเลือ กหนึ่งของการท องเที่ ยวไทย
เปนแหลงสรางรายไดใหมใหกับประเทศ โดยคํานึงถึงความยั่งยืนของ
แห ล งท อ งเที่ ยว และกา รมี ส ว น ร ว มข องชุ ม ช น ครอ บคลุ ม
การทองเที่ยวทางทะเลและชายฝง และการทองเที่ยวในลุมน้ําสําคัญ
5) การทองเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค หมายถึง ยกระดับใหประเทศ
ไทยเปนศูนยกลางการเชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวภายในภูมิภาค
อาเซียน โดยใชประโยชนจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร แผนการลงทุนพัฒนา
โครงขายคมนาคมทั้งทางถนน ราง น้ํา และอากาศ และกรอบความ
รวมมือกับประเทศเพื่อนบาน ประเทศไทยเปนจุดเชื่อมตอการเดินทาง
ของนักทองเที่ยวในภูมิภาคอาเซียน

หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย (7 ตัวชี้วัด)

36
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


21. การปองกัน เพื่อบง บอกการใหบ ริ ก ารของรั ฐ ดา นสาธารณสุ ข โดยการฉี ด 1. โรค (Disease) คือ ความไมสบาย ความเจ็บปวย เปนภาวะที่ทําให
โรคติดตอ วัคซีนปองกันโรคติดตอ (ซึ่งสามารถปองกันไดดวยการฉีดวัคซีน) เกิดการเปลี่ยนแปลง หรือขั ดขวางการทํางานตามปกติของสวนใดสวน
และสะทอนใหเห็นถึงระดับความรุนแรงของโรคประเภทตาง ๆ หนึ่งของรางกายจนปรากฏอาการ ซึ่งโรคสามารถแบงตาม สาเหตุที่ทําให
โดยดูไดจ ากการมีจํ า นวนผู ปว ยหรือตายด ว ยโรคติดตอ ตาง ๆ เกิดโรคเปน 3 ประเภท ไดแก
มากนอยเพียงใด ซึ่งเนนเฉพาะโรคติดตอที่สามารถปองกันไดดวย ป ร ะ เ ภ ท ที่ 1 โ ร ค ไ ม ติ ด ต อ เ ป น โ ร ค ก ลุ ม NCDs (Non-
วัคซีน และผูที่ปวยหรือตายนั้นใหนับรวมทุกอายุ รวมไปถึงสถาน communicable diseases) คื อ โ ร ค ที่ ไ ม ติ ด ต อ ไ ม ว า จ ะ เ ป น
บริการหรือสถานประกอบการในชุมชนที่เสี่ยงตอการแพรระบาด การสัมผัส คลุกคลี หรือมีการสัมผัสกับสารคัดหลั่งตาง ๆ โรคกลุมนี้ไมได
ของโรค ไดมีการตรวจสอบมาตรฐานการใหบริการหรือไม เกิดจากเชื้อโรค แตเปนโรคที่มีความสัมพันธกับนิสัยหรือพฤติกรรมการ
ดําเนินชีวิต โรคไมติดตอที่เกิดขึ้นในคนไทยจํานวนมาก 7 โรค ไดแก (1)
เบาหวาน (2) หลอดเลือดสมอง (3) หลอดเลือดหัวใจตีบตัน (4) มะเร็ง
ปอด (5) อวนลงพุง (6) ความตันโลหิตสูง และ (7) มะเร็ง
ประเภทที่ 2 โรคติดตออันตราย (จากประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ป 2559 และ ป 2563 ดังนี้ (1) กาฬโรค (2) ไขทรพิษ (3) ไขเลือดออก
ไครเมียนคองโก (4) ไขเวสต ไนล (5) ไขเหลือง (6) โรคไขลาสซา (7)
โรคติดเชื้อไวรัสนิปาห (8)โรคติดเชื้อไวรัสมารบวรก (9) โรคติดเชื้อไวรัสอี
โบลา (10) โรคติดเชื้อไวรัสเฮนดรา (11) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลัน
รุนแรง หรือโรคซารส (12) โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือโรค
เมอรส (13) โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ประเภทที่ 3 โรคติ ด ต อ ตามฤดู ก าล (ประกาศกรมควบคุ ม โรค
ป 2563) โรคและภัยสุขภาพที่เกิดในชวงฤดูฝน ดังนี้ กลุมที่ 1 โรคติดตอ
ระบบทางเดินหายใจ แบงเปน (1) ไขหวัดใหญ (2) ปอดอักเสบ กลุมที่ 2

37
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


โรคติดตอทางเดิน อาหารและน้ํา (1) อุ จจาระรว ง อาหารเปน พิ ษ (2)
อหิวาตกโรค กลุมที่ 3 โรคติดตอนําโดยยุงลาย (1) ไขเลือดออก (2) ไข
ปวดขอยุงลายหรือชิคุนกุนยา (3) เลปโตสไปโรซิสหรือฉี่หนู และมือ เทา
ปาก
2. ภั ยสุขภาพ ไดแก 1) การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการจมน้ํ า 2)
การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการถูกฟาผา 3) อันตรายจากการถูกสัตว มี
พิษกัด และ 4) อันตรายจากการกินเห็ดพิษ
3. อ วนลงพุ ง คือ น้ํ าหนัก ตัว อยู ในเกณฑ มาตรฐานมี รูป รา งสมสว น
แตมีเสนรอบเอวที่มากเกินไป มีความเปนไปไดวามีไขมันสะสมที่ชองทอง
หรืออวัยวะภายในชองทองมากเกิน ไป หรืออาจเรียกอีกอยางว า ภาวะ
อวนลงพุง (คา BMI ซึ่งมีวิธีคํานวณดังนี้ นําน้ําหนักเปนกิโลกรัม หารดวย
สวนสูงเปนเมตรยกกําลังสอง หรือ BMI = น้ําหนัก (kg) ÷ สวนสูง (m)2
(โดยผูช ายควรมีรอบเอว ไมเกิน 90 ซม. หรือ 35.4 นิ้ว สวนผูหญิงควรมี
รอบเอวไม เ กิ น 80 ซม. หรื อ 31.5 นิ้ ว ค า BMI จะอยู ที่ 22 – 23
ในขณะที่หญิงที่รูปรางสมสวน คา BMI จะอยูที่ 19 – 20)
4. อาการเรื้อรัง หมายถึง อาการเจ็บปวยเรื้อรังไมติดตอ และโรคแหง
ความเสื่อม โดยมีลักษณะของกลุ มโรคคือ มีสาเหตุที่ไมชัดเจนแน น อน
มาจากหลายปจจัยเสี่ยง ระยะแฝงตัวนาน มีการดําเนินการของโรคความ
เจ็ บ ป ว ยนาน ไม ใ ช โ รคติ ด ต อ กลุ ม โรคนี้ มี ผ ลกระทบทํ า ให ร า งกาย
ไม ส ามารถทํ า หน า ที่ ไ ด ส มบู ร ณ มี ค วามพิ ก ารและส ว นใหญ รั ก ษาไม
หายขาด เชน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และ
โรคมะเร็ง เปนตน

38
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


22. การไดรับ เพื่อสะทอนใหเห็นถึงการใหบริ การของรัฐ ดานสาธารณสุ ข ใน
1. การเขาถึงบริ การและดู แลสุ ขภาพ หมายถึง การที่ป ระชาชนจะ
บริการและดูแล การดูแลรักษาสุขภาพของคนในชุมชน รวมถึงสะทอนใหเห็นถึง สามารถใชบริการเพื่อสุขภาพไมวาจะดวยตนเองหรือโดยผูอื่น ในสถาน
สุขภาพอนามัย โอกาสของคนในชุ ม ชน ในการเข า ถึ ง การให บ ริ ก ารและดู แ ล
บริการดานสุขภาพทั้งภายในหรือภายนอกตําบลได โดยไมมีอุปสรรคใน
สุ ข ภาพอนามั ย ภายในตํ า บล ตลอดจนการได รั บ สิ ท ธิ ใ น
ด า นระยะทาง การเดิ น ทาง ค า ใช จ า ย รวมถึ ง การรู สิ ท ธิ ใ นการรัก ษา
การรักษาพยาบาลหรือไม สุขภาพของตนเอง
2. สิทธิการรักษาพยาบาล 3 ระบบของคนไทย ประกอบดวย
1) สิ ท ธิ ส วั ส ดิ ก ารรั ก ษาพยาบาลของข า ราชการ คุ ม ครอง
การรักษาพยาบาลใหกับขาราชการและบุคคลในครอบครัว
2) สิทธิประกันสังคม สําหรับผูประกันตนตามสิทธิ สามารถเขารับ
ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ล ไ ด ที่ โ ร ง พ ย า บ า ล ที่ เ ลื อ ก ล ง ท ะ เ บี ย น
มีสํ า นักงานประกั น สั งคม กระทรวงแรงงานและสวั สดิ การสังคม ดู แล
ระบบการเบิกจายคารักษาพยาบาล
3) สิทธิหลักประกันสุ ขภาพ 30 บาท คุมครองคนไทยที่มีเลขบัตร
ประจําตัวประชาชน 13 หลัก ที่ไมไดรับสิทธิตามขอ 1 หรือขอ 2
3. แพทย ท างเลื อ ก หมายถึ ง วิ ธี ก ารรั ก ษาโรคที่ บํ า บั ด ด ว ยวิ ธี ท าง
ธรรมชาติ ที่ไมใชแผนปจจุบัน ซึ่งไมอาศัยเคมีบําบัดอยางเดียว เชน การ
ฝ ง เข็ ม การนวดกดจุ ด การปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมการบริ โ ภคด ว ยวิ ธี
ธรรมชาติบําบัด (ชีวจิตแมคโครไบโอติค) เปนตน
23. อนามัยแมและ เพื่ อ บ ง บอกการให บ ริ ก ารด า นสาธารณสุ ข ของรั ฐ หรื อ 1. ทารกเกิดมีชีพ หมายถึง การที่ทารกคลอดมาโดยวิธีใดก็ตามและไม
เด็ก สถานพยาบาลอื่น ๆ โดยการดูแลและใหบริการมารดาที่ตั้งครรภ คํานึงถึงระยะเวลาของการตั้งครรภ โดยทารกที่คลอดออกมานั้นจะตองมี
สะทอนใหเห็น ถึงประสิ ทธิภาพการดู แลและการทํ า คลอดบุตร การหายใจเพื่อแสดงอาการที่บงวามีชีวิต (มีลมหายใจเกินกวา 3 ชั่วโมง
โดยดูไดจากจํานวนมารดาที่เสียชีวิตตอการเกิดมีชีพ และจํานวน

39
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


มารดาที่ เ สี ย ชีวิต ตอ การเกิ ด ไรชี พ ของทารก ตลอดจนการให ขึ้นไป) เชน การเตนของหัวใจ หรือการเตนของเสนโลหิต สายสะดือ หรือ
ความรู เกี่ยวกับการดูแลสตรีตั้งครรภ การดูแลทารกตามหลัก การเคลื่อนไหวของรางกาย
วิชาการ และการวางแผนครอบครัว 2. ทารกเกิดไรชีพ หมายถึง การ คลอดตัวออนที่อยูในครรภมารดามาแลว
อยางนอย 28 สัปดาห ถาคลอดออก มาแลวมีชีวิตเรียกวา “เกิดมีชีพ” ถาไม
มีชีวิตเรียกวา “เกิดไรชีพ” หรือ “ตาย คลอด” ปจจุบัน คําวา การเกิด (birth)
ที่ใชกันทั่วไปหมายถึงบุตรเกิดรอด
3. การแทงบุ ตร หมายถึง การสิ้น สุดของการตั้งครรภ ซึ่งตัวอ อนหรือ
ทารกในครรภถูกขับออกมา อายุครรภนอยกวา 28 สัปดาห ถือเปนภาวะ
ผิดปกติอยางหนึ่งของการตั้งครรภ โดยการแทง แบงได 2 ลักษณะ ไดแก
การแทงตามธรรมชาติ และการแทงโดยมารดาตั้งใจ
4. แม วั ย รุนหรื อแม วัยใส คือ มารดาที่ ตั้ งครรภ แ ละให กํา เนิ ดทารก
ในขณะที่ตนเองยังมีอายุนอยกวา 20 ป
24. สุขภาวะคน เพื่อสะทอนให เห็ นถึ งการให บ ริการของรั ฐในดานสุขภาวะคน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เรื่อง ประเภทและ
พิการและผูสูงอายุ พิ ก าร และผูสู ง อายุ และบ ง บอกได ว า คนพิ ก ารและผู สู ง อายุ หลักเกณฑความพิการ (ฉบับที่สอง) ซึ่งออกตามความในพระราชบั ญญัติ
สามารถเขา ถึง การใหบ ริ การของรัฐ หรื อ ไม เพื่ ออํา นวยความ ส ง เสริ ม และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต คนพิ ก าร พ.ศ. 2550 ประกอบ
สะดวกในการดํารงชีวิตไดอยางเหมาะสม รวมถึงการเขาถึงการ พระราชบัญญั ติ สงเสริม และพั ฒนาคุณภาพชีวิตคนพิ การ (ฉบับที่ ส อง)
คุมครองทางสังคม และระบบประกันสุขภาพถวนหนา เปนตน พ.ศ. 2556 ไดกําหนดลักษณะความพิการไว 7 ประเภท ดังนี้
1. ความพิการทางการเห็น
(1) ตาบอด หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรม
ในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผล
มาจากการมีความบกพรองในการเห็น เมื่อตรวจวัดการเห็น ของสายตา
ขางที่ดีกวาเมื่อใชแวนสายตาธรรมดาแลว อยูในระดับแยกวา 3 สวน 60

40
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


เมตร (3/60) หรือ 20 สวน 400 ฟุต (20/400) ลงมาจนกระทั่งมอง
ไมเห็นแมแตแสงสวาง หรือมีลานสายตาแคบกวา 10 องศา
(2) ตาเห็ น เลื อ นราง หมายถึ ง การที่ บุ ค คลมี ข อ จํ า กั ด ในการ
ปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทาง
สังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมี ความบกพรองในการเห็นเมื่อตรวจวั ดการ
เห็ นของสายตาขางที่ดีกวา เมื่อใช แว นสายตาธรรมดาแลว อยู ในระดับ
ตั้งแต 3 สวน 60 เมตร (3/60) หรือ 20 สวน 400 ฟุต (20/400) ไป
จนถึงแยกวา 6 สวน 18 เมตร (6/18) หรือ 20 สวน 70 ฟุต (20/70)
หรือมีลานสายตาแคบกวา 30 องศา
2. ความพิการทางการไดยินหรือสื่อความหมาย
(1) หู ห นวก หมายถึ ง การที่ บุ ค คลมี ข อ จํ า กั ด ในการปฏิ บั ติ
กิจกรรมในชีวิต ประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม
ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการไดยินจนไมสามารถรับขอมูล
ผานทางการไดยิน เมื่อตรวจการไดยิน โดยใชคลื่นความถี่ที่ 500 เฮิรตซ
1,000 เฮิรตซ และ 2,000 เฮิรตซ ในหูขางที่ไดยินดีกวาจะสูญเสียการ
ไดยินที่ความดังของเสียง 90 เดซิเบลขึ้นไป
(2) หูตึง หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมา
จากการมีความบกพร องในการไดยินเมื่อตรวจวั ดการไดยิน โดยใชคลื่น
ความถี่ที่ 500 เฮิรตซ 1,000 เฮิรตซ และ 2,000 เฮิรตซ ในหูขางที่ได
ยิน ดีกวาจะสูญเสียการไดยิน ที่ ความดังของเสี ยงน อยกว า 90 เดซิเบล
ลงมาจนถึง 40 เดซิเบล

41
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


(3) ความพิการทางการสื่อความหมาย หมายถึง การที่บุคคลมี
ขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวม
ในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป นผลมาจากการมี ความบกพรองทางการสื่อ
ความหมาย เชน พูดไมได พูดหรือฟงแลวผูอื่นไมเขาใจ เปนตน
3. ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางรางกาย
(1) ความพิ ก ารทางการเคลื่ อ นไหว หมายถึ ง การที่บุ ค คลมี
ขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวม
ในกิ จ กรรมทางสั ง คม ซึ่ ง เปน ผลมาจากการมี ค วามบกพร อ งหรื อ การ
สูญเสียความสามารถของอวัยวะในการเคลื่อนไหว ไดแก มือ เทา แขน ขา
อาจมาจากสาเหตุ อั มพาต แขน ขา อ อนแรง แขน ขาขาด หรื อภาวะ
เจ็บปวยเรื้อรังจนมีผลกระทบตอการทํางานมือ เทา แขน ขา
(2) ความพิการทางรางกาย หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดใน
การปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรม
ทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรอง หรือความผิดปกติ ข อง
ศีรษะ ใบหนา ลําตัว และภาพลักษณภายนอกของรางกายที่เห็นได อยาง
ชัดเจน
4. ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม การที่บุคคลมีขอจํากัดใน
การปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรม
ทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากความบกพรองหรือความผิดปกติทางจิตใจหรือ
สมองในสวนของการรับรู อารมณ หรือความคิด
5. ค วา มพิ กา ร ทา งส ติ ป ญญา การ ที่ บุ คคลมี ข อจํ ากั ด ใ น
การปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรม

42
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


ทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีพัฒนาการชากวาปกติ หรือมีระดับเชาว
ปญญาต่ํากวาบุคคลทั่วไป โดยความผิดปกตินั้นแสดงกอนอายุ 18 ป
6. ความพิ ก ารทางการเรี ย นรู การที่ บุ ค คลมี ข อ จํ ากั ด ใน
การปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรม
ทางสังคมโดยเฉพาะดานการเรียนรู ซึ่งเปนผลมาจากความบกพรองทาง
สมอง ทําใหเกิดความบกพรองในดานการอานการเขียน การคิดคํานวณ
หรือกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอื่นในระดับความสามารถที่ต่ํากวาเกณฑ
มาตรฐานตามชวงอายุและระดับสติปญญา
7 . ค ว า ม พิ ก า ร อ อ ทิ ส ติ ก ก า ร ที่ บุ ค ค ล มี ข อ จํ า กั ด ใ น
การปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรม
ทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากความบกพรองทางพัฒนาการดานสังคม ภาษา
และการสื่อความหมาย พฤติกรรมและอารมณ โดยมีสาเหตุมาจากความ
ผิดปกติของสมอง และความผิดปกตินั้นแสดงกอนอายุ 2 ปครึ่ง ทั้งนี้ ให
รวมถึ ง การวิ นิ จ ฉั ย กลุ ม ออทิ ส ติ ก สเปกตรั มอื่ น ๆ เช น แอสเปอเกอร
(Asperger)
2. ประเภทของผูสูงอายุ
1) กลุมติดสังคม เปนผูส ูงวัยที่สามารถชวยเหลือตนเองไดดี สุขภาพดี
ไมมีโรคเรื้อรัง หรือมีโรคเรื้อรัง 1–2 โรค แตควบคุมได สามารถใชชีวิตใน
สั งคมไดโดยอิ สระ มักเขารวมกิจ กรรมในสังคม และมีศักยภาพในการ
ชวยเหลือผูอื่น
2) กลุ ม ติ ด บ า น เป น ผู สู ง วั ย ที่ ส ามารถช ว ยเหลื อ ตนเองได หรื อ
ต อ งการความช ว ยเหลื อ บางส ว น มี โ รคเรื้ อ รั ง หลายโรคหรื อ มี

43
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


ภาวะแทรกซอน มีขอจํากัดในการใชชีวิตในสังคม เชน มีปญหาสุขภาพ
(เคลื่อนไหวลําบาก ซึมเศรา หลงลืม สมองเสื่ อม)ไม ชอบออกสังคม ติด
ภาระทางบาน
3) กลุมติดเตียง เปนผูสูงวัยที่ไมสามารถชวยเหลือตนเองในการทํา
กิจวัตรประจําวันได ตองการความชวยเหลือจากผูอื่น มีการเจ็บปวยเรื้อรัง
มายาวนาน และมีภาวะแทรกซอน มีภาวะหงอมและเปราะบาง
25. อนามัย เพื่อสะทอนใหเห็นถึงการจัดการและควบคุมสิ่งแวดลอม ที่อาจ 1. อนามัยสิ่งแวดลอม หมายถึงการจัดการและควบคุมสิ่งแวดลอม ที่
สิ่งแวดลอม เปนอันตรายตอสุขภาพของคนในชุมชน ไดแก การจัดการขยะใน อาจเปนอันตรายตอสุขภาพของมนุษย เพื่อใหเกิดความสมดุลของระบบ
ครัวเรือน นิเวศระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม อันจะสงผลใหมนุษยมีความเปนอยูที่ดี
การจั ด การส ว มและสิ่ ง ปฏิ กู ล การจั ด บ า นหรื อ ที่ อ ยู อ าศั ย ถู ก ทั้งทางรางกาย จิตใจ และสังคม
สุขลักษณะ 2. หลักการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมพื้นฐาน
การจั ด หาและเฝ า ระวั ง คุ ณ ภาพอาหารและน้ํ า ดื่ ม การอยู ใ น (1) การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน ขยะแบงเปน 4 ประเภท
สิ่งแวดลอมที่เปนพื้นที่พิเศษ หรือพื้นที่เสี่ยง 1) ขยะยอยสลาย คือ ขยะเนาเสียและยอยสลายไดเร็ว นํามาหมักทําปุย
ได เชน เศษผัก เปลือกผลไม เศษอาหาร เปนตน 2) ขยะรีไซเคิล คือ
ของเสียบรรจุภัณฑหรือวัสดุเหลือใชที่นํากลับมาใชประโยชนใหมได เชน
แกว กระดาษ กระปองเครื่องดื่ม เศษพลาสติก กลองเครื่องดื่ม เปนตน 3)
ขยะทั่วไปคือขยะประเภทอื่น ๆ ที่ยอยสลายยาก ไมคุมคาถานํากลับมาใช
ประโยชนใหม เชน พลาสติกหอลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป เปนตน
และ 4) ขยะอัน ตราย คือ ขยะปนเป อนที่ กอให เกิดอัน ตรายตอคนและ
สิ่งแวดลอม ไดแก ติดไฟงาย ปนเปอนสารพิษ กัดกรอน มีเชื้อโรคปะปน
อยู ระเบิด ทําใหระคายเคือง เปนตน

44
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


(2) การจัดการสวมและสิ่งปฏิกูล คือการรักษาสภาพใหสะอาด ไมมีน้ํา
ขังหรือสกปรกมีกลิ่นเหม็น
(3) การจัดบานหรือที่อยูอาศัยใหสะอาด ถูกสุขลักษณะ และ สงเสริม
พฤติกรรมสุขภาพที่ดีในบานที่พักอาศัย เพื่อลดความเสี่ยงตอสุขภาพ และ
ลดการเกิด โรคติ ดต อ จากสั ตว พาหะและแมลงนําโรคมาสู คน เช น หนู
แมลงสาบ ยุง เปนตน
(4) การจัดหาและเฝาระวังคุณภาพอาหารและน้ําดื่ม เพื่อลดป ญหา
โรค อาหาร มีการกรองน้ํา เปนตน
(5) การจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมในพื้นที่พิเศษ หรือพื้นที่เสี่ยง ซึ่งเปน
พื้นที่ที่มีมลภาวะ 7 ประเด็น ไดแก ฝุนควัน น้ําเสียน้ําไมสะอาด ขยะมูล
ฝอย สวมสิ่งปฏิกูล สัตวและแมลงที่เปนพาหะนําโรค และใชสารเคมี
(6) การจั ดการอนามั ย สิ่ ง แวดลอ มอื่ น ๆ เช น การจัดการอนามั ย
สิ่ งแวดลอมในชุมชนเพื่อรองรั บต อกรณีสาธารณภั ย หรือภั ยพิบั ติ ทาง
ธรรมชาติ การจัดการมลพิษทางอากาศทั้งภายในอาคาร หรือ ภายนอก
อาคาร การจัดการเหตุรําคาญดานอนามัยสิ่งแวดลอม เปนตน
(คูมือการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมในชุมชน สําหรับประชาชน: สํานัก
อนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.2560)
26. ความปลอดภัย เพื่ อ บ ง บอกถึ ง ความปลอดภั ย ของร า งกาย จากการประกอบ 1. การบาดเจ็บหรือเจ็บปวยจากการทํางาน หมายถึง การถูกของมีคม
ในการทํางาน อาชีพ โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรม ซึ่งเปนอาชีพหลั กของชาว บาด ถู ก ของหนัก ตกทั บ หรื อ กระแทกตกจากที่ สูง การบาดเจ็ บ การ
ชนบท โดยดูจากการไมบาดเจ็บเนื่องจากการทํางาน และหรือไม บาดเจ็บสาหัส พิการ และการเสียชีวิตจากการทํางาน รวมทั้งการเจ็บปวย
เจ็บปวยจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช จากการปฏิบัติงานบางอาชีพที่เปนอันตรายตอสายตา เชน ชางเชื่อมโลหะ
เปนตน

45
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


2. การเจ็บป ว ยจากการใช ส ารเคมีกํ า จั ด ศัต รูพืช หมายถึ ง ผูป ว ยมี
อาการดังต อไปนี้ เชน ผื่นคันที่ผิวหนัง แนน หนาอก ไอ หอบ อาเจีย น
อุจจาระรวง หมดสติ ในขณะใชหรือหลังจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช
3. ขอมูลการบาดเจ็บหรือเจ็บปวยเก็บรวบรวมไดจากระเบียนรายงาน
รบ.1ก.01 หรือ รบ.1ก/1 ของสถานบริการสาธารณสุขทั้งนี้ไมรวมกรณี
เจ็บปวย หรือตายจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช โดยผิดวัตถุประสงค
เชน การฆาตัวตาย เปนตน
27. การกีฬาและ เพื่อบง บอกถึงความรว มมือของคนในชุม ชนในการดํ าเนินการ
การออกกําลังกาย แขงขันกีฬา โดยดูจากจํานวนครั้งที่ไดมีการแขงขัน กีฬาภายใน
หมูบาน หรือระหวางหมูบาน ตลอดจนสามารถสะทอนใหเห็นถึง
การใหบริการของรัฐในดานการออกกํ าลังกายเพื่อสุขภาพ โดย
การจัดพื้นที่ในการเลนกีฬาและออกกําลังกายในชุมชน อีกทั้งยัง
บงบอกไดวาคนในชุมชนมีความรวมมือในการจัดกิจ กรรมการ
ออกกําลังกาย โดยดูไดจากจํานวนครั้งที่มีการจัดกิจกรรม

หมวดที่ 4 ความรูและการศึกษา (4 ตัวชี้วัด)

46
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


28. การใหบริการ เพื่อแสดงใหเห็นถึงโอกาสทางการศึกษาของคนในชุมชน และบง 1. ศูนยการเรียนรูชุมชน หมายถึง แหลงหรือสถานที่ที่มีการจัด
ดานการศึกษา บอกไดวาคนในชุมชนสามารถเขาถึงการใหบริการดานการศึกษา การศึกษา เพื่อการเรียนรูตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ที่เกิดโดย
ภายในตําบล ทั้งในสวนสถานศึกษาและแหล งเรียนรูที่เปน ของ ชุ ม ชน ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น จากการสื บ ทอดของป ญ ญาท อ งถิ่ น โดยมี
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีบ ริ ก ารอุ ป กรณ สิ่ ง ปราชญชาวบานเปนผูถายทอดความรู เชน การจัดการทรัพยากร
อํานวยความสะดวกหรือไม ในจั ง หวั ดนาน การทํ าเกษตรผสมผสานของผูใหญ วิบู ลย การ
พึ่งตนเองแบบกลุมอโศก ทั้งนี้ไมจําเปนตองมีสิ่งปลูกสรางรองรับ
อาจเปนแปลงนา หรือกระบวนการที่เปนแหลงความรู
29. ความรอบรู เพื่อบงบอกถึงความสามารถหรือทักษะของคนในชุมชนในดานที่ 1. ความรอบรู ด า นสุ ข ภาพ (Health literacy) หมายถึ ง
จํา เปน สํา หรับ การดํา รงชี วิต โดยพิ จ ารณาจากคนในชุมชนมี ความสามารถหรื อทั กษะของบุ ค คลที่ จ ะเข าใจ ข อมู ลสุ ขภาพ
ความรู ใ นด า นสุ ข ภาพ ด า นดิ จิ ทั ล ด า นสื่ อ และด า นการเงิ น โตตอบซักถาม แลกเปลี่ยนขอมูลสุขภาพ รวมทั้งเลือกรับบริการ
หรือไม สุ ข ภาพในชี วิ ต ประจํ า วั น เช น การเลื อ กที่ จ ะเชื่ อ หรื อ ไม เ ชื่ อ
ความรูสุขภาพที่ไดรับมา ความสามารถในการตัดสินใจเลือกใช
ผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก าร เกี่ ย วกั บ สุ ข ภาพอย า งเหมาะสม
ความสามารถที่จะแนะนําและบอกตอขอมูลสุขภาพใหคนอื่นได
2. ความรอบรูดานดิจิทัล (Digital Literacy) หมายถึง บุคคล
มีสมรรถนะในการเขาถึง คนหา คัดกรอง วิเคราะห สังเคราะห
จั ดการ ประยุ กตใช สื่ อสาร สร า ง แบ ง ปน และติ ดตามข อ มู ล
สารสนเทศได อย างเหมาะสม ปลอดภั ย มี ความรับผิ ดชอบ มี
มารยาท เคารพสิทธิและกฎหมาย ดวยเครื่องมือและเทคโนโลยีที่
เหมาะสมและหลากหลาย
3. ความรอบรูดานสื่อ (Media literacy) หมายถึง การอาน
สื่ อ ให ออกเพื่ อพั ฒนาทั กษะในการเข า ถึ ง สื่ อ การวิ เ คราะห สื่อ

47
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


การตีความเนื้อหาของสือ การประเมินคาและเขาใจผลกระทบ
ของสื่อ รวมถึงความสามารถใชสื่อใหเกิดประโยชนได
4. ความรอบรูทางการเงิน (Financial literacy) หมายถึง
การที่ ป ระชาชนมี ค วามรู แ ละความสามารถในการจั ด การ
ทรั พ ยากรทางการเงิ น ของตนเอง ตั้ ง แต ก ารหารายได การ
วางแผนทางการเงิ น การออม การลงทุ น และการจั ด ทํ า
งบประมาณรายรับรายจายไดอยางมีประสิทธิภาพ
30. การไดรับการ เพื่ อ บ ง บอกถึ ง การกระจายโอกาสการให บ ริ ก ารของรั ฐ ใน
ฝกอบรมดานตาง ๆ การอบรมใหความรูแกประชาชนในดานตาง ๆ ไดแก ดานอาชีพ
ดานการศึกษา และดานสุขภาวะ และเพื่อทราบความตองการ
เรียนรูและฝกอบรมของคนในชุมชน
31. โอกาสเขาถึง เพื่อบงบอกถึงการเขาถึงระบบการศึกษาของคนพิการ โดยเฉพาะ
ระบบการศึกษาของ คนพิการในหมูบาน/ชุมชนที่ชวยเหลือตนเองได ไดรับการศึกษา
คนพิการ ภาคบังคับ 9 ป (ป.1 – มัธยมศึกษาปที่ 3) และเพื่อทราบความ
ตองการของคนพิการในหมูบาน/ชุมชนในการฝกอาชีพ

หมวดที่ 5 การมีสวนรวมและความเขมแข็งของชุมชน (5 ตัวชี้วัด)

48
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


32. การรวมกลุม เพื่อสะทอนใหเห็นถึงโอกาสของคนในครัวเรือนที่ไดเปนสมาชิก 1. การรวมกลุ ม คื อ การที่ ป ระชาชน หรื อ คนในชุ ม ชนมี
ของประชาชน กลุม ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ เชน กลุมออมทรัพย การรวมตัวกันตั้งแต 2 คนขึ้นไป มีการทํากิจกรรมรวมกันเพื่ อให
เพื่อการผลิต กลุมสตรี กลุมบริหารจัดการที่ดินสาธารณะ กลุม บรรลุเปาหมาย ซึ่งสามารถแบงไดเปนกลุม 2 ประเภทคือ 1) กลุม
เกี่ ย วกั บ การปกป อ งมรดกทางวั ฒ นธรรม และกิ จ กรรมทาง ที่เปนทางการ คือการแตงตั้งขึ้นตามโครงสรางอํานาจหนาที่ เพื่อ
วัฒนธรรม เปนตน และมีการรวมกลุมเพื่อทํากิจกรรมในชุมชน มี ปฏิบั ติง านให สํ าเร็ จ เช น กลุ มออมทรั พย เ พื่ อ การผลิ ต เป น ตน
จํานวนมากนอยเพียงใด 2) กลุมที่ไมเปนทางการ คือ สมาชิกรวมตัวขึ้นมาเองไมเปนไปตาม
คําสั่ง กอขึ้น มาเปน ไปตามความสนใจรวมกั นและมิตรภาพ เชน
กลุมธรรมชาติ กลุมอนุรักษวัฒนธรรม กลุมเกษตร เปนตน
33. การมีสวนรวม เพื่อบง บอกถึงคนในครัว เรือนมี ส วนร ว มในการทํ า กิจ กรรม มี 1. เวทีประชาคม หมายถึง การจัดใหมีการประชุมคนสว นใหญ
ของชุมชน สวนรวมในการแสดงความคิดเห็น และปฏิบัติตน เพื่อประโยชน ของชุมชน เพื่อเป ดโอกาสให ทุกคนมีสวนรวมในการแสดงความ
ของชุมชนหรือทองถิ่นมากนอยเพียงใด คิดเห็น การเสนอปญหา และแนวทางการแกไขปญหาของชุมชน
ผลลัพธ ของเวทีประชาคม ไมจําเปนต องไดแผนชุมชนที่เปนลาย
ลักษณอักษร
2. แผนชุ ม ชน หมายถึง การกํา หนดอนาคตและกิ จ กรรมการ
พั ฒ นาของชุ มชน โดยเกิ ดขึ้ น จากคนในชุมชนที่ มีก ารรวมตัวกัน
จัดทําแผนขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชน ใหเปนไป
ตามที่ตองการ และสามารถแกปญหาที่ชุมชนเผชิญอยูรวมกัน โดย
คนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมกําหนดแนวทาง และทํากิจกรรม
การพัฒนารวมกัน โดยยึดหลักการพึ่งตนเอง ลดการพึ่งพิงภายนอก
ด ว ยการคํ า นึ ก ถึ ง ศั ก ยภาพ ทรั พ ยากร ภู มิ ป ญ ญา วิ ถี ชี วิ ต
วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมในทองถิ่นเปนหลัก จึงกลาวไววา แผน
ชุมชน เปนของชุมชน ดําเนินการโดยชุมชน และเพื่อประโยชนของ

49
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


ชุมชนเอง ซึ่งแตกต า งจากแผนที่ ภ าครั ฐจั ดทํ า ขึ้ น มาเพื่ อจั ดสรร
งบประมาณเปนหลัก
34. ความปลอดภัย เพื่อบงบอกถึงหมูบาน/ชุมชนนี้ มีความปลอดภัยมากนอยเพียงใด
ของหมูบาน / ซึ่งดูไดจากการไมมีเหตุที่เปนอาชญากรรมในหมูบาน/ชุมชน และ
ชุมชน การมี บ ริ ก ารด า นความปลอดภั ย จากทั้ ง ภาครั ฐ และภาค
ประชาชน
35. ศาสนสถาน เพื่อสะทอนใหเห็นถึงโอกาสของคนในชุมชนไดรับการเรียนรูจาก 1. ภูมิปญญาท องถิ่น /ภูมิปญญาชาวบา น หมายถึง ความรูที่
ศูนยเรียนรูชุมชน ปราชญชาวบา น จากสถาบัน ทางศาสนา และจากศู น ย เ รียนรู สั่งสมกันมา หรือสืบทอดกันมาและสอดคลองกับวัฒนธรรมทองถิ่น
และภูมิปญญา ชุมชน ทั้งในและนอกหมูบาน วามีมากนอยเพียงใด และวิถีชีวิตของชาวบานในการดํารงชีวิต และการผลิต
ชุมชน 2. ปราชญชาวบาน หมายถึง ผูรู ผูชํานาญการ ผูนําหรือบุคคล
ตั ว อย า ง ในด า นเกษตรกรรม อุ ต สาหกรรมและหั ต ถกรรม
การแพทยแผนไทย การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
กองทุนและธุรกิจชุมชน ศิลปกรรม ภาษาและวรรณกรรม ปรัชญา
ศาสนาและประเพณี และดานโภชนาการ เปนตน
3. แพทยแผนไทย หมายถึง ผู ที่ประกอบโรคศิลปะตามความรู
หรื อ ตํ า ราแผนไทยที่ ถ า ยทอดและพั ฒ นาสื บ ต อ กั น มาหรือ ตาม
การศึกษาจากสถานที่ศึกษาที่มีคณะกรรมการรองรับ
36. การไดรับความ เพื่ อ สะท อ นให เ ห็ น ว า ในหมู บ า น/ชุ ม ชน มี ส วั ส ดิ ก ารสั ง คมที่ 1. กลุมเปาหมาย ไดแก คนที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป คนพิการและ
คุมครองทางสังคม หมู บ า นได จั ด ขึ้ น หรื อ กองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนมี ก ารดํ า เนิ น เด็ ก กํ า พร า เด็ ก ถู ก ทอดทิ้ ง เด็ ก เร ร อ นที่ ไ ม ไ ด รั บ การดู แ ลจาก
กิจกรรมอยางตอเนื่องจากกองทุนหมุนเวียน เพื่อชวยเหลือกลุม ครอบครัวคนในชุมชน สวัสดิการชุมชน สวัสดิการภาครัฐ/เอกชน
คนยากจนและดอยโอกาสหรือไม โดยเฉพาะ ผูสูงอายุ คนพิการ และกลุมเสี่ยงที่อาจถูกทอดทิ้ง
เด็กกําพรา เด็กถูกทอดทิ้ง และเด็กเรรอน

50
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


2. การไดรับการดูแลเอาใจใส หมายถึง ไดรับการดูแลเอาใจใสใน
ชีวิตความเปนอยู ดานอาหารการกิน เสื้อผาเครื่องนุงหม และไดรับ
การดูแลเมื่อยามเจ็บไข ไดปวย การดูแลเอาใจใสดานสภาพจิตใจ
จากคนในครอบครัว หมูบานหรือชุมชน รวมทั้ งไดรับสวั สดิ ก าร
ชุมชนหรือเบี้ยยังชีพ จากภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือไม
3. การคามนุษย หมายถึง การกระทําที่เกี่ยวของกับการเปนธุระ
จัดหาการนําพา การรับตัวไว และการบริหารบุคคลที่ไดมา ซึ่งก็คือ
ผูเสียหายจากการคามนุษย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําตัวผูเสียหาย
ไปกอใหเกิดผลกําไร

หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (5 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


37. การใช เพื่ อ บ ง บอกถึ ง ครั ว เรื อ นสามารถเข า ถึ ง การใช ป ระโยชน จ าก
ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของชุมชนมากนอยเพียงใด
และดูแลสิ่งแวดลอม
38. คุณภาพดิน เพื่อบงบอกถึงพื้นผิวดินในหมูบานวามีคุณภาพอยางไร 1. ดินตื้น หมายถึง ดินที่มีลูกรัง ศิลาแลง กอนกรวด หรือเศษหิน
เปนจํานวนมากอยูในดินตื้นกวา 50 เซนติเมตร หรือเศษหินเปน
จํานวนมาก
2. หนาดินถูกชะลาง หมายถึง การที่ดินชั้นบนซึ่งประกอบดวย
ธาตุอาหารตาง ๆ และมีความสมบูรณมากกวาสวนอื่น ถูกน้ําทําให
อนุภาคของดินแตกกระจายออกจากกัน และพัดพาอนุภาคนั้นให

51
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


เคลื่ อ นย า ยไปจากพื้ น ที่ เ พาะปลู ก เป น ผลให ดิ น ขาดความอุดม
สมบูรณ และเสื่อมคุณภาพ
3. ดินจื ด หมายถึงดิน ที่ขาดความอุดมสมบูรณของธาตุอาหาร
ตามธรรมชาติ ที่สําคัญตองพึ่งพาปุยจํานวนมากในการเพาะปลูก
4. ดินเค็ม หมายถึง ดินที่มีเกลือคลอไรด หรือซัลเฟตผสมอยูใน
อั ต ราส ว นสู ง ทํ า ให เ นื้ อ ดิ น แน น เป น ผลทํ า ให พื ช ไม ส ามารถนํ า
สารอาหารบางชนิดในดินมาใช เพื่อการเจริญเติบโตได ซึ่งจะทําให
ผลผลิตทางการเกษตรในบริเวณนั้นลดลง อาจสังเกตดินชนิดนี้ได
จากการมีเกลือเปนฝาสีขาวเกาะบนหนาดิน
5. ดิ น เปรี้ ย ว หมายถึง ดิ น ที่ มี แ ร ธ าตุ ป ระเภทกรด เช น ธาตุ
ไฮโดรเจน เหล็ก และอลูมิเนียม ผสมอยูในปริมาณคอนขางสูง เมื่อ
ธาตุเหลานี้ละลายออกมามาก จะทําใหเนื้อดินเหนียวและมีความ
อุดมสมบูรณลดลง พบไดทั่วไปโดยเฉพาะดินที่ใชเพาะปลูกหรือมี
การใสปุยวิทยาศาสตรเปนเวลานาน
39. คุณภาพน้ํา เพื่อบงบอกถึงคุณภาพของแหลงน้ําผิวดินในหมูบานวามี่คุณภาพ 1. แหลงน้ําผิวดิน ไดแก แหลงน้ําธรรมชาติที่สามารถนําน้ําขึ้นมา
อยางไร ใชได และแหลงน้ําที่สรางขึ้น
4 0 . ก า ร จั ด ก า ร เพื่อบงบอกถึงสภาพขยะมูลฝอย ขยะของเสียอันตราย และน้ํ า 1. ขยะมูล ฝอย หมายความรวมถึง เศษกระดาษ เศษผา เศษ
สภาพสิ่ ง แวดล อ ม เสี ย ในหมูบ า นว า เป น อย า งไร อั น จะทํ า ให ส ภาพแวดล อ มใน อาหาร เศษสินคา เศษถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูลสัตว
อยางยั่งยืน หมูบานดูสะอาด นาอยูอาศัย โดยดู ไดจากการมีปญหาขยะมู ล หรือซากสั ตว รวมตลอดถึ ง สิ่ งอื่น ใดที่เก็บ กวาดจากถนน ตลาด
ฝอย ขยะของเสีย อัน ตราย และน้ํ า เสี ย มี ก ารจั ดการอย า งถู ก ที่เลี้ยงสัตวหรือที่อื่น ๆ
สุขลักษณะหรือไม 2. การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวม
การขนถาย การขนสง และการกําจัดขยะมูลฝอย โดยมีมาตรการ

52
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


ปองกันไมใหขยะมูลฝอยเปนสาเหตุของสภาพรกรุงรังจนกอใหเกิด
ปญหา เหตุรําคาญ หรืออุบัติภัย หรือเปนแหลงเพาะพันธุของสัตว
และแมลงนําโรค หรือกอใหเกิดมลพิษทางดิน น้ํา และอากาศ
3. การเก็ บ รวบรวมขยะมู ล ฝอยที่ ถู ก สุ ข ลั ก ษณะ หมายถึ ง
การเก็บ รวบรวมขยะมู ลฝอยลงในภาชนะที่ทํ า ด วยวั สดุ แ ข็งแรง
มีฝาปด และมีความจุพอเพียงกับปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้น
4. การขนถายหรือขนสงขยะมูลฝอย หมายถึง การลําเลียงขยะ
มูลฝอยจากสถานที่เกิดขยะไปยังสถานที่กําจัด ที่สามารถปองกัน
การฟุงกระจาย และการตกหลนของขยะมูลฝอยได
5. การกําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลั กษณะ หมายถึง การกําจัด
ขยะมูลฝอย โดยวิธีฝงกลบวิธีหมักทําปุย หรือวิธีเผาในเตาเผา หรือ
สถานที่ที่จัดไวเฉพาะเพื่อการเผาขยะ
6. ของเสียอันตราย หมายถึง ของเสียที่มีองคประกอบของวัตถุ
อั นตราย ไดแก วั ตถุระเบิด วัตถุ ไวไฟ วัตถุออกซิไดซ วัตถุมีพิษ
วัตถุที่ทําใหเกิดโรค วัตถุกัดกรอน วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่กอใหเกิด
การระคายเคือง เคมีภัณฑ หรือสิ่งอื่น
7. น้ําเสีย หมายถึง ของเสียที่อยูในสภาพเปนของเหลว รวมทั้ง
มวลสารที่ปะปนหรือปนเปอนอยู
41. การจัดการ เพื่อบงบอกถึง ความสามารถของคนในหมูบาน/ชุ มชน รวมถึง 1. มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะอากาศที่มีสารเจือปนอยูใน
มลพิษ หนว ยงานอื่น รวมจัดการแกไขปญหามลพิษทางอากาศ และ ปริมาณที่สูง เชน ฝุนละอองจากลมพายุ ไฟไหมปา กาซ ธรรมชาติ
มลพิษทางเสียง มลพิษจากทอไอเสีย เปนตน

53
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


2. มลพิ ษ ทางเสี ย ง หมายถึ ง เสี ย งที่ ดั ง เกิ น ความจํ า เป น จน
กอ ใหเกิ ดผลเสี ย ต อสุ ขภาพอนามั ย ของคน มาจากแหลง ต าง ๆ
มากมาย ไดแก การคมนาคม โรงงานอุตสาหกรรม เปนเสียงที่เกิด
จากการทํางานของเครื่องจักรขนาดตาง ๆ ครัวเรือน เปนเสียงที่
เกิ ด จากเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช ภ ายในบ า น เช น เครื่ อ งตั ด หญ า
เครื่องดูดฝุน เครื่องขัดพื้น วิทยุ โทรทัศน เปนตน

หมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ (3 ตัวชี้วัด)

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


42. ความปลอดภัย เพื่อสะทอนใหเห็ นถึ ง ความรว มมื อระหว างคนในหมู บาน และ 1. ยาเสพติ ด หมายถึ ง ผงขาว เฮโรอี น ฝ น กั ญ ชา ยาบ า
จากยาเสพติด รั ฐ บาล ในการป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด โดยดูจ าก สารระเหย ยาคลายเครียด ยากลอมประสาท ยาอี ยาเลิฟ ยาเค
จํานวนผูใชยาเสพติดมีจํานวนมากนอยเพียงใด และมีการดําเนิน เคตามีน โคเคน ไอซ เป นตน ทั้ งนี้ ไมนับรวมเหลา บุ หรี่ หรือยา
กิจกรรมการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดหรือไม แกปวดตาง ๆ
2. ผูใชหรือผูเสพยาเสพติดในหมูบาน หมายถึง ผูใชหรือผูเสพ
ยาเสพติดที่ อาศั ย อยู ในหมูบา นนี้เทานั้น โดยไม นับรวมผู ใชห รื อ
ผูเสพยาเสพติดจากที่อื่นมามั่วสุม หรือใชในหมูบานนี้เปนสถานที่
เสพยาเสพติด ยอดรวมของผูใชยาเสพติดตามชนิดยา ตองเทากับ
หรือมากกวา ยอดรวมผูใชยาเสพติดทั้งหมด ของหมูบาน
3. ผูใชหรือผูเสพยาเสพติด ตามคําสั่งศูนยอํานวยการตอสูเพื่อ
เอาชนะยาเสพติดแหงชาติที่ 16/2546 ถือวาเปนผูปวยควรไดรับ
การดูแลไดรับการบําบัดรักษา

54
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


4. วัตถุประสงคเพื่อใชเปนขอมูลในการหาแนวทางการปองกัน
และแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด ให กั บ ประชาชนในหมู บ า นเพื่ อ
ให พ น จากพิ ษ ภั ย ของยาเสพติ ด เท า นั้ น ไม มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ
การปราบปรามหรือจับกุมผูติดยาเสพติดแตอยางใด
43. ความปลอดภัย เพื่ อ สะท อ นให เ ห็ น ถึ ง การเตรี ย มพรอ มรั บ มื อ กั บ ภั ย พิ บั ติ ข อง 1. ภั ยพิบัติ หมายถึง สาธารณภัย อันไดแก อั คคีภั ย วาตภัย
จากภัยพิบัติ หมูบาน/ชุมชน โดยพิจารณาจากการตระหนักรู มีความรูความ อุทกภัย ภัยแลง ภาวะฝนแลง ฝนทิ้งชวง ภัยจากลูกเห็บ ภัยอันเกิด
เขาใจของคนในชุมชน และการมีสวนรวมของคนในชุมชน รวม จากไฟปา ภัยที่เกิดจากโรคหรือการระบาดของแมลง หรือศัตรูพืช
คิด รวมทํา รวมวางแผน จัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัย ทุ กชนิ ด ภัย อัน เกิ ดจากโรคที่ แ พร หรื อระบาดในมนุ ษย อากาศ
ชุมชนเปนฐาน เชน การมีระบบเตือนภัย มีกิจกรรมเตรียมรับมือ หนาวจัดผิดปกติ ภัยสงคราม และภัยอัน เนื่องมาจากการกระทํา
มี ก ารฝ ก ซอ มอพยพประชาชน และมีศูน ย อ พยพ/ศูน ย พั ก พิ ง ของผูกอการราย กองกําลังจากนอกประเทศ ตลอดจนภัยอื่น ๆ
เปนตน ไม ว า เกิ ด จากธรรมชาติ ห รื อ มี บุ ค คลหรื อ สั ต ว ทํ า ให เ กิ ด ขึ้ น ซึ่ ง
ก อใหเกิดอัน ตรายแก ชีวิต รางกายของประชาชน หรือทํ าใหเกิด
ความเสียหายแกทรัพยสินของประชาชน
2. การเตรี ย มความพร อ มรั บ มื อ กั บ ภั ย พิ บั ติ หมายถึ ง
การเตรียมการรับ มือกับภั ยพิ บัติ มุงเนนกิจกรรมต าง ๆ ที่ทําให
ครัวเรือนมีความสามารถในการคาดการณ เผชิญเหตุ และจัดการ
กับผลกระทบจากภัยพิบัติอยางเปนระบบ หากเตรียมความพรอม
ไดดีจะทําใหสามารถดําเนินการตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ทั้งในชวง
ก อ น ระหว า ง และหลั ง การเกิ ด ภั ย พิ บั ติ และเพิ่ ม โอกาสใน
การรักษาชีวิตใหปลอดภัยจากเหตุการณภัยพิบัติไดมากขึ้น
3. ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง โอกาส/เหตุการณ ที่ก อ ใหเกิด
ผลกระทบหรือความเสียหาย ซึ่งมีความไมแนนอน เปนไปไดวาจะ

55
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัด จุดมุงหมายตัวชี้วัด คําอธิบาย


ไมเกิดเหตุการณใด ๆ ขึ้น ในขณะเดียวกันก็มีความเปนไปไดที่จะ
เกิดเหตุการณนั้นขึ้นเชนกัน
44. ความปลอดภัย เพื่อสะทอนใหเห็นถึงความเสี่ยงในดานตาง ๆ ของหมูบาน/ชุมชน 1. ความเสี่ ยง หมายถึ ง โอกาสที่ จะเกิ ด ความผิดพลาด ความ
จากความเสี่ยงใน ไดแก ความเสี่ยงในดานการพนัน ปญหาเด็กวัยรุนตีกัน ปญหา เสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปลา หรือเหตุการณที่ไมพึงประสงค
ชุมชน เด็กติดเกม ปญหาเด็กแวน ปญหาการใชความรุน แรง ทะเลาะ ซึ่ งอาจเกิ ดขึ้ น ในอนาคต และมี ผลกระทบหรื อทําให ดํ าเนิ นงาน
วิวาทจากการดื่มสุรา โดยดูจากจํานวนการเลนการพนันชนิดตาง ไมประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค
ๆ จํ านวนปญ หา และความเสี่ ย งเหลา นั้ น ก อใหเ กิ ดป ญ หากั บ 2. เด็กติดเกม หมายถึง เด็กที่มีกิจกรรมการเลนเกมอยางเดียว
หมูบาน/ชุมชน หรือไม ไมสนใจอยาง อื่น หมกมุนอยูกับเกมทั้งวันทั้งคืน มีผลกระทบตอ
รางกายและจิตใจ
3. อาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส หมายถึง การกระทําความผิด
โดยใช ร ะบบคอมพิ ว เตอร อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ ป น เครื่ อ งมื อ ในการ
กระทําความผิด เชน การหลอกโอนเงินทางบัญชีธนาคาร หลอก
ขายของออนไลน การพนันออนไลน เปนตน

14. การวิเคราะหขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) สําหรับใชชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569)

หมวดที่ 1 โครงสรางพื้นฐาน (10 ตัวชี้วัด)

56
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 1 ถนน ถนนเสนทางหลักในหมูบาน/ชุมชนใชการไดดี หรือไม ถนนเสนทางหลักในหมูบาน/ชุมชนใช 3 
(คําถามขอ 1.2) การไดดีตลอดทั้งป
 ไมดีตลอดทั้งป ถนนเสนทางหลักในหมูบาน/ชุมชน 2
 พอใชได พอใชการได หรือ ใชไดดีเฉพาะใน
 ดีเฉพาะในฤดูแลง ฤดูแลง หรือ พอใชไดตลอดทั้งป
 พอใชไดตลอดทั้งป ถนนเสนทางหลักในหมูบาน/ชุมชน 1
 ใชการไดดีตลอดทั้งป ใชไดไมดีตลอดทั้งป
ตัวชี้วัดที่ 2 น้ําดื่ม ครัวเรือนที่มีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดป ครัวเรือนที่มีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและ 3 
(คําถามขอ 2.1) บริโภคเพียงพอตลอดป มากกวารอย
(1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน ละ 95 ของครัวเรือนทั้งหมด
...............................ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ครัวเรือนที่มีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและ 2
(2) จํานวนครัวเรือนที่มีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภค บริโภคเพียงพอตลอดป ระหวางรอย
เพียงพอตลอดป...............................ครัวเรือน ละ 63-95 ของครัวเรือนทั้งหมด
วิธีคาํ นวณ ครัวเรือนที่มีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและ 1
(2) x 100 = บริโภคเพียงพอตลอดป นอยกวารอย
รอยละ =
(1) ...................... ละ 63 ของครัวเรือนทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 3 น้ําใช ครัวเรือนที่มีน้ําใชเพียงพอตลอดป (คําถามขอ 3.1) ครัวเรือนที่มีน้ําใชเพียงพอตลอดป 3 
(1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน .............. จากแหลง มากกวารอยละ 95 ของ
ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ครัวเรือนทั้งหมด

57
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(2) จํานวนครัวเรือนที่มีน้ําใชเพียงพอตลอดป............... ครัวเรือนที่มีน้ําใชเพียงพอตลอดป 2
ครัวเรือน ระหวางรอยละ 63-95 ของ
วิธีคํานวณ ครัวเรือนทั้งหมด
(2) x 100 = ครัวเรือนที่มีน้ําใชเพียงพอตลอดป 1
รอยละ =
(1) .......................นอยกวารอยละ 63 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 4 น้ําเพื่อ น้ําจากแหลงน้ําในหมูบานและชุมชนนี้ใชสําหรับการเพาะปลูก น้ําจากแหลงน้ําในหมูบานและชุมชน 3 
การเกษตร เพียงพอหรือไม (คําถามขอ 4.1) นี้ใชสําหรับการเพาะปลูกเพียงพอ
 ไมเพียงพอ ตลอดป
 เพียงพอเฉพาะฤดูฝน น้ําจากแหลงน้ําในหมูบานและชุมชน 2
 เพียงพอตลอดป นี้ใชสําหรับการเพาะปลูกเพียงพอ
 ไมมีแหลงน้ําสําหรับเพาะปลูก เฉพาะฤดูฝน
 ไมไดใชแหลงน้ําสําหรับการเพาะปลูก น้ําจากแหลงน้ําในหมูบานและชุมชน 1
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวนเกณฑการชี้วัดในขอนี้ ถาใน นี้ใชสําหรับการเพาะปลูกไมเพียงพอ
หมูบาน /ชุมชนนี้ไมมีหรือไมไดใชน้ําเพื่อการเกษตร ตลอดป
ตัวชี้วัดที่ 5 ไฟฟาและ หมูบาน/ชุมชนนี้ มีไฟฟาใช หรือไม (คําถามขอ 5.1.1) ครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชนที่มี 3 
เชื้อเพลิงใน (1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน ไฟฟาใช มากกวารอยละ 95 ของ
การหุงตม ...............................ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ครัวเรือนทั้งหมด

58
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(2) จํานวนครัวเรือนมีไฟฟาใชทั้งหมด............................ ครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชนที่มี 2
ครัวเรือน ไฟฟาใช ระหวางรอยละ 85-95
วิธีคาํ นวณ ของครัวเรือนทั้งหมด
(2) x 100 = ครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชนที่มี 1
รอยละ =
(1) ....................... ไฟฟาใชนอยกวารอยละ 85 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 6 การมีที่ดินทํา (1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน ครัวเรือนมีที่ดินทํากินเปนของ 
กิน .................... ตนเองแตตองเชาเพิ่มบางสวน รวม
ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) กับ ครัวเรือนไมมีที่ดินทํากินเปน
(2) ครัวเรือนมีที่ดินทํากินเปนของตนเองแตตองเชาเพิ่ม ของตนเองตองเชาที่ดินทั้งหมด
บางสวน ..................... ครัวเรือน (คําถามขอ 6.1.2) - ถาจํานวนดังกลาว นอยกวารอยละ 3
(3) ครัวเรือนไมมีที่ดินทํากินเปนของตนเองตองเชาที่ดิน 10 ของจํานวนครัวเรือนทั้งหมด
ทั้งหมด..................... ครัวเรือน (คําถามขอ 6.1.3) - ถาจํานวนดังกลาว อยูระหวาง 2
วิธีคาํ นวณ รอยละ 10-25 ของจํานวนครัวเรือน
[(2)+(3)] x 100 = ทั้งหมด
รอยละ =
(1) ...................... - ถาจํานวนดังกลาว มากกวารอยละ 1
25 ของจํานวนครัวเรือนทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 7 การ สวนที่ 1 จํานวนครัวเรือนที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่ จํานวนครัวเรือนที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่ 3 
ติดตอสื่อสาร (โทรศัพทมือถือ) หรือมีอินเทอรเน็ตประจําบาน/ (โทรศั พ ท มื อ ถื อ ) หรื อ โทรศั พ ท
อินเทอรเน็ตมือถือ ประจําบาน หรือ อินเทอรเน็ตประจํา

59
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน บ า น/อิ น เทอร เ น็ ต มื อ ถื อ มากกว า
(1) ....................ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ร อ ยละ 70 ของครั ว เรื อ นทั้ ง หมด
(2) ครัวเรือนที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่ (โทรศัพทมือถือ) แ ละ ห มู บ า น มี บ ริ ก ารโ ท รศั พ ท
จํานวน..................ครัวเรือน (คําถามขอ 7.1.1) สาธารณะที่ใชการได
(3) ครัวเรือนที่มีโทรศัพทประจําบาน จํานวน................... จํานวนครัวเรือนที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่ 2
ครัวเรือน (คําถามขอ 7.1.2) (โทรศั พ ท มื อ ถื อ ) หรื อ โทรศั พ ท
(4) ครัวเรือนที่มีอินเทอรเน็ตประจําบาน/อินเทอรเน็ตมือ ประจําบาน หรือ อินเทอรเน็ตประจํา
ถือ จํานวน..................ครัวเรือน (คําถามขอ 7.1.3) บาน/อินเทอรเน็ตมือถือ มากกวารอย
(5) จํานวนครัวเรือนที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่ (โทรศัพทมือถือ) ละ 70 ของครั ว เรื อนทั้ งหมด หรือ
หรือ โทรศัพทประจําบาน หรือ อินเทอรเน็ตประจํา หมูบานมีบริการโทรศัพทสาธารณะที่
บาน/อินเทอรเน็ตมือถือ โดยใหเลือกจากขอ (2) หรือ ใชการได อยางใดอยางหนึ่ง
(3) หรือ (4) ที่มีจํานวนครัวเรือนมากที่สุด จํานวนครัวเรือนที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่ 1
วิธีคํานวณ (โทรศั พ ท มื อ ถื อ ) หรื อ โทรศั พ ท
รอยละ (5) x 100 = ประจําบาน หรือ อินเทอรเน็ตประจํา
= (1) ....................... บ า น/อิ น เทอร เ น็ ต มื อ ถื อ น อ ยกว า
ร อ ยละ 70 ของครั ว เรื อ นทั้ ง หมด
และ หมู บ า นไม มี บ ริ ก ารโทรศั พ ท
สวนที่ 2 หมูบานมีบริการโทรศัพทสาธารณะที่ใชการได สาธารณะที่ใชการได
จํานวนโทรศัพทสาธารณะ............เครื่อง (คําถามขอ 7.1.7)

60
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 8 สถานพัฒนา (1) หมูบาน/ชุมชน สามารถเขาถึงการบริการสถานพัฒนาเด็ก หมูบ าน/ชุ มชนสามารถเข า ถึง สถาน 3 
เด็กปฐมวัย ปฐมวัยหรือไม (คําถามขอ 8.1) พั ฒ นาเด็ ก ปฐมวั ย ได และ ผ า น
 เขาถึง มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
 เขาไมถึง หมูบ าน/ชุมชนสามารถเขาถึงได แต 2
(2) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่หมูบาน/ชุมชน สามารถเขาถึง ไม ผ า นมาตรฐานสถานพั ฒ นาเด็ ก
ผานมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย (คําถามขอ 8.2) ปฐมวัย
 ใช หมูบาน/ชุมชนไมสามารถเขาถึงสถาน 1
 ไมใช พัฒนาเด็กปฐมวัยได
ตัวชี้วัดที่ 9 สิ่งอํานวย อาคารหรือสถานที่ของหนวยงานของรัฐ องคกรเอกชน หรือ หมูบาน /ชุมชนมีสิ่งอํานวยความ 3 
ความสะดวก องคกรอื่น ๆ ในหมูบาน / ชุมชนนี้ มีสิ่งอํานวยความสะดวกแก สะดวกตั้งแต 18 ขอขึ้นไป
คนพิการและ คนพิการและผูสูงอายุ ดังตอไปนี้หรือไม (คําถามขอ 9.1) หมูบาน /ชุมชนมีสิ่งอํานวยความ 2
ผูสูงอายุ ลําดับ สิ่งอํานวยความสะดวก มี ไมมี สะดวก ระหวาง 11-17 ขอ
1 ที่นั่งสําหรับคนพิการหรือพื้นที่ หมูบาน /ชุมชนมีสิ่งอํานวยความ 1
สําหรับจอดรถเข็นคนพิการและ สะดวก ต่ํากวา 11 ขอ
ผูสูงอายุ
2 ทางลาด
3 พื้นผิวตางสัมผัสสําหรับคนพิการ
ทางการเห็น
4 บันไดเลื่อนสําหรับคนพิการ

61
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
5 ทางลาดเลื่อนหรือทางเลื่อนใน
แนวราบ
6 ราวกันตกหรือผนังกันตก
7 ถังขยะแบบยกเคลื่อนที่ได
8 สถานที่ติดตอหรือประชาสัมพันธ
สําหรับคนพิการ
9 โทรศัพทสาธารณะสําหรับคน
พิการ
10 จุดบริการน้ําดื่มสําหรับคนพิการ
11 ตูบริการเงินดวนสําหรับคนพิการ
12 ประตูสําหรับคนพิการ
13 หองน้ําสําหรับคนพิการและ
ผูสูงอายุ
14 ลิฟตสําหรับคนพิการและผูสูงอายุ
15 ที่จอดรถสําหรับคนพิการและ
ผูสูงอายุ
16 สัญญาณเสียงและสัญญาณแสงขอ
ความชวยเหลือสําหรับคนพิการ
และผูสูงอายุ

62
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
17 ปายแสดงอุปกรณหรือสิ่งอํานวย
ความสะดวกสําหรับคนพิการและ
ผูสูงอายุ
18 ทางสัญจรสําหรับคนพิการ
19 ตูไปรษณียสําหรับคนพิการ
20 พื้นที่สําหรับหนีภัยของคนพิการ
21 การประกาศเตือนภัยสําหรับคน
พิการทางการเห็นฯ
22 การประกาศขอมูลที่เปนประโยชน
สําหรับคนพิการทางการเห็นฯ
23 เจาหนาที่ซึ่งผานการฝกอบรมคอย
ใหบริการ
รวม
ตัวชี้วัดที่ 10 พื้นที่ (1) หมูบาน/ชุมชน มีพื้นที่สาธารณะสีเขียวหรือไม (คําถามขอ หมูบาน/ชุมชนมีพื้นที่สาธารณะสี 3 
สาธารณะสี 10.1) เขียว และ มีบริการพื้นที่สาธารณะ
เขียวและ  มี หมูบาน/ชุมชนมีพื้นที่สาธารณะสี 2
พื้นที่  ไมมี เขียว หรือ มีบริการพื้นที่สาธารณะ
สาธารณะ (2) หมูบาน/ชุมชน มีบริการพื้นที่สาธารณะหรือไม (คําถามขอ 10.2) อยางใดอยางหนึ่ง
ประโยชน  มี หมูบาน/ชุมชนไมมีพื้นที่สาธารณะสี 1
 ไมมี เขียว และ ไมมีบริการพื้นที่สาธารณะ

63
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (10 ตัวชี้วัด)


เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 11 การมีงานทํา (1) คนอายุ 15 - 59 ป มีการประกอบอาชีพและมี คนอายุ 15 – 59 ป มี การประกอบ 3 
รายได (คําถามขอ 11.1) จํานวน อาชี พ และมี ร ายได มากกว า ร อ ยละ
.............................คน 97 ขึ้นไป
(2) คนอายุ 15 – 59 ป ไมมีการประกอบอาชีพและ คนอายุ 15 – 59 ป มี การประกอบ 2
ไมมี ร ายได (ไม นั บ คนที่ กํ า ลั ง ศึ ก ษาต อ และคน อาชีพและมีรายได รอยละ 80 – 97
พิการที่ไมสามารถช วยเหลือตนเองได) (คําถาม คนอายุ 15 – 59 ป มี การประกอบ 1
ขอ 11.2) อาชี พ และมี ร ายได น อ ยกว า ร อ ยละ
จํานวน.............................คน 80
วิธีคาํ นวณ
(1) x 100 =
รอยละ =
(1) + (2) ......................
ตัวชี้วัดที่ 12 การทํางานใน หมูบาน/ชุมชนนี้ มีสถานประกอบการภายในตําบล จํ า นวนครั ว เรื อ นที่ ทํ า งานในสถาน 3 
สถาน หรือไม ประกอบการที่อยูภายในตําบลนี้
ประกอบการ (คําถามขอ 12.1.1) มากกว า ร อ ยละ 10 ของครั ว เรื อ น
 มี ทั้งหมด
 ไมมี จํ า นวนครั ว เรื อ นที่ ทํ า งานในสถาน 2
(1) ครัวเรือนทั้งหมด.............................ครัวเรือน (คําถาม ประกอบการที่อยูภายในตําบลนี้
ขอ 1.1) ระหวางร อยละ 5-10 ของครัวเรือน
ทั้งหมด

64
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(2) จํานวนครัวเรือนของหมูบาน/ชุมชนนี้ที่มีคนทํางานใน จํ า นวนครั ว เรื อ นที่ ทํ า งานในสถาน 1
สถานประกอบการภายในตําบลนี้......................ครัวเรือน ประกอบการที่อยูภายในตําบลนี้
(คําถามขอ 12.1.2 (1)) น อ ยกว า ร อ ยละ 5 ของครั ว เรื อ น
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถาไม ทั้งหมด
มีสถานประกอบการในตําบล
วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) .......................
ตัวชี้วัดที่ 13 รานอาหารและ หมูบาน/ชุมชนนี้ มีรานอาหารที่ไดรับมาตรฐานทองถิ่น หมูบาน/ชุมชน มีรานอาหาร และ แผง 3 
รานคา หรือกรมอนามัย (คําถามขอ 13.1.1) ลอย ที่ไดรับมาตรฐานทองถิ่นหรือกรม
 มี อนามัย
 ไมมี หมูบาน/ชุมชน มีรานอาหาร หรือ แผง 2
หมูบาน/ชุมชนนี้ มีแผงลอยที่ไดรับมาตรฐานทองถิ่นหรือ ลอย ที่ไดรับมาตรฐานทองถิ่นหรือกรม
กรมอนามัย (คําถามขอ 13.1.2) อนามัย อยางใดอยางหนึ่ง
 มี หมูบาน/ชุมชน มีรานอาหาร และ แผง 1
 ไมมี ลอย ทีไ่ มไดรับมาตรฐานทองถิ่นหรือ
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถาไม กรมอนามัย
มีสถานประกอบการในตําบล

65
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 14 ผลผลิตจากการ (1) ครัวเรือนทั้งหมด.............................ครัวเรือน คําถาม ใ นกร ณี ที่ ครั ว เ รื อนส  ว น มากใ น 
ทํานา ขอ 1.1) หมูบ านนี้ทํานาตั้งแต ปละ 2 ครั้งขึ้น
(2) มีครัวเรือนที่ทํานา.............................ครัวเรือน ไป
(คําถามขอ 14.2) ใชเกณฑตอไปนี้
(3) พื้นที่ทํานา.............................ไร (คําถามขอ 14.1) ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก
(4) พื้นที่ทําการเกษตรทั้งหมด.............................ไร มากกวา 700 กก./ไร 3
(คําถามขอ 14.1 + 15.1 + 15.6 + 16.1.1 + ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 2
16.2.1 + 16.3.1 + 16.4.1 + 17.1.2 + 18.4.2 + 500 - 700 กก./ไร
18.5.1 + 18.6.1) ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 1
(5) สวนมากทํานาปละ.............................ครั้ง (คําถาม นอยกวา 500 กก./ไร
ขอ 14.5) ใ นกร ณี ที่ ครั ว เ รื อนส  ว น มากใ น
(6) ไดผลผลิตไรละ.............................กิโลกรัม (คําถาม หมูบานนี้ทํานา ปละ 1 ครั้ง ใชเกณฑ
ขอ 14.7) ตอไปนี้
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถา ภาคกลาง
- มีครัวเรือนที่ทํานานอยกวารอยละ 20 ของ ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก
ครัวเรือนทั้งหมด หรือ มากกวา 600 กก./ไร 3
- มีพื้นที่ทํานาในหมูบาน/ชุมชน นอยกวารอยละ ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 2
20 ของพื้นที่การเกษตรของหมูบาน/ชุมชน 450 - 600 กก./ไร
ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 1
นอยกวา 450 กก./ไร

66
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
วิธีคาํ นวณแบบที่ 1 ภาคเหนือ
(2) x 100 = ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก
รอยละ =
(1) ....................... มากกวา 580 กก./ไร 3
ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 2
วิธีคาํ นวณแบบที่ 2 420 - 580 กก./ไร
(3) x 100 = ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 1
รอยละ =
(4) ....................... นอยกวา 420 กก./ไร
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก
มากกวา 370 กก./ไร 3
ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 2
270 - 370 กก./ไร
ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 1
นอยกวา 270 กก./ไร
ภาคใต
ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก
มากกวา 480 กก./ไร 3
ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 2
300 - 480 กก./ไร

67
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
ครัวเรือนสวนมากไดผลผลิตขาวเปลือก 1
นอยกวา 300 กก./ไร
ตัวชี้วัดที่ 15 ผลผลิตจากการ (1) ครัวเรือนทั้งหมด.............................ครัวเรือน ก. ใหพิจารณาเฉพาะพืชไรที่มีจํานวน 
ทําไร (คําถามขอ 1.1) ครั ว เรื อ นเพาะปลู ก มากเป น อั น ดั บ
(2) พื้นที่ทําการเกษตรทั้งหมด.............................ไร หนึ่งจากพืชไรอายุสั้น หรือพืชไรอายุ
(คําถามขอ 14.1 + 15.1 + 15.6 + 16.1.1 + ยาว โดยใช พืชที่มีคะแนนสูงสุด เป น
16.2.1 + 16.3.1 + 16.4.1 + 17.1.2 + 18.4.2 + เกณฑ  ก ารชี้ วั ด ตามหลั ก เกณฑ
18.5.1 + 18.6.1) ดังตอไปนี้
(3) พืชไรอายุสั้นที่ครัวเรือนสวนมากปลูกมากเปนอันดับ พืชไรอายุสั้น
หนึ่ง............................. (คําถามขอ 15.3) ขาวโพดเลี้ยงสัตว
(4) มีครัวเรือนที่ปลูกทั้งหมด.............................ครัวเรือน ผลผลิตตอไร มากกวา 700 กก. 3
(คําถามขอ 15.3 (1)) ผลผลิตตอไร 450 – 700 กก. 2
(5) มีพื้นที่ปลูกทั้งหมด............................ไร (คําถามขอ ผลผลิตตอไร นอยกวา 450 กก. 1
15.3 (2)) ถั่วเหลือง
(6) ปที่ผานมาครัวเรือนไดผลผลิตเฉลี่ย ผลผลิตตอไร มากกวา 280 กก. 3
ไรละ.............................กิโลกรัม (คําถามขอ 15.3 (4)) ผลผลิตตอไร 220 - 280 กก. 2
(7) พืชไรอายุยาวที่ครัวเรือนสวนมากปลูกมากเปน ผลผลิตตอไร นอยกวา 220 กก. 1
อันดับหนึ่ง............................. (คําถามขอ 15.8) ถั่วเขียว
(8) มีครัวเรือนที่ปลูกทั้งหมด.............................ครัวเรือน ผลผลิตตอไร มากกวา 120 กก. 3
(คําถามขอ 15.8 (1)) ผลผลิตตอไร 100 - 120 กก. 2

68
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(9) มีพื้นที่ปลูกทั้งหมด.............................ไร (คําถามขอ ผลผลิตตอไร นอยกวา 100 กก. 1
15.8 (2)) ถั่วลิสง
(10) ปที่ผานมาครัวเรือนไดผลผลิตเฉลี่ย ผลผลิตตอไร มากกวา 250 กก. 3
ไรละ.............................กิโลกรัม (คําถามขอ 15.8 (4)) ผลผลิตตอไร 200 - 250 กก. 2
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถา ผลผลิตตอไร นอยกวา 200 กก. 1
- มีครัวเรือนที่ปลูกพืชไรอายุสั้นหรืออายุยาวเปน ขาวฟาง
อันดับหนึ่งนอยกวารอยละ 15 ของครัวเรือน ผลผลิตตอไร มากกวา 240 กก. 3
ทั้งหมด หรือ ผลผลิตตอไร 200 - 240 กก. 2
- มีพื้นที่ปลูกพืชไรอายุสั้นและอายุยาวเปนอันดับ ผลผลิตตอไร นอยกวา 200 กก. 1
หนึ่งนอยกวารอยละ 15 ของพื้นที่การเกษตร พืชไรอายุยาว
ทั้งหมด ออย
ผลผลิตตอไร มากกวา 13,000 กก. 3
วิธีคาํ นวณแบบที่ 1 ผลผลิตตอไร 9,000 – 13,000 กก. 2
ผลผลิตตอไร นอยกวา 9,000 กก. 1
พืชไรอายุสั้น (4) x 100 มันสําปะหลัง
= .................
รอยละ = (1) ผลผลิตตอไร มากกวา 4,000 กก. 3
พืชไรอายุยาว (8) x 100 ผลผลิตตอไร 3,000 – 4,000 กก. 2
= .................
รอยละ = (1) ผลผลิตตอไร นอยกวา 3,000 กก. 1
ฝาย
ผลผลิตตอไร มากกวา 200 กก. 3

69
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(ถาคํานวณคร. ไดเกินรอยละ 15 ใหใชวิธีคํานวณแบบที่ ผลผลิตตอไร 160 - 200 กก. 2
2) ผลผลิตตอไร นอยกวา 160 กก. 1
(ถานอยกวารอยละ 15 อีกใหขามไปทําขอ 16) ปอแกว
ผลผลิตตอไร มากกวา 220 กก. 3
วิธีคาํ นวณแบบที่ 2 ผลผลิตตอไร 180 - 220 กก. 2
(พืชไรอายุสั้น หรืออายุยาว ใครมากกวา ใหใชพืชนั้นเปน ผลผลิตตอไร นอยกวา 180 กก. 1
ตัวคิดเกณฑ) สับปะรด
พืชไรอายุสั้น (5) x 100
= ................. ผลผลิตตอไร มากกวา 4,500 กก. 3
รอยละ = (2) ผลผลิตตอไร 3,500 – 4,500 กก. 2
พืชไรอายุยาว (9) x 100
= ................. ผลผลิตตอไร นอยกวา 3,500 กก. 1
รอยละ = (2) ข. ถ า พื ช ไร เ พาะปลู ก ไม ใ ช พื ช ไร
ขา งต น ใหพิ จ ารณาจากไดข องการ
กรณีที่ไมใชพืชไรขางตน เพาะปลูกพืชไรที่ปลูกมากเปนอันดับ
พืชไรอายุสั้น หนึ่ง
(1) ครัวเรือนทั้งหมด.............................ครัวเรือน - ถาพืชนั้นเปนพืชไรอายุสั้น จะต อง
(คําถามขอ 1.1) ทําการปลูกทั้ง 2 ฤดู
(2) มีครัวเรือนที่ปลูกทั้งหมด.............................ครัวเรือน - แตถาเปนพืชไรอายุยาว ไมตองคูณ
(คําถามขอ 15.3 (1)) ดวย 2
(3) มีพื้นที่ปลูกทั้งหมด............................ไร (คําถามขอ ครัวเรือนสวนมากมีรายไดจากการขาย
15.3 (2)) มากกวา 42,600 บาท/ป 3

70
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(4) ปที่ผานมาครัวเรือนไดผลผลิตเฉลี่ย ครัวเรือนสวนมากมีรายไดจากการขาย 2
ไรละ.............................กิโลกรัม (คําถามขอ 15.3 (4)) 21,300 - 42,600 บาท/ป
(5) ราคาขายกิโลกรัมละ...............................บาท ครัวเรือนสวนมากมีรายไดจากการขาย 1
..............สตางค (คําถามขอ 15.3 (5)) ต่ํากวา 21,300 บาท/ป
(6) ครัวเรือนสวนมากทําการปลูกฤดูใด
.............................. (คําถามขอ 15.3 (7))
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถาไมมี
การปลูกพืชไรอายุสั้นทั้งสองฤดู
วิธีคาํ นวณ
(รายไดของพืชอายุสั้น ซึ่งไมใชพืชไรที่กําหนดไวในเกณฑ
การชี้วัดที่ปลูกมากอันดับหนึ่ง และทําการปลูกทั้งสองฤดู
(ฤดูฝนและฤดูแลง)
(3) x (4) x (5) x 2
รอยละ =
(1)
= ............................................บาทตอป.
พืชไรอายุยาว
(1) มีครัวเรือนที่ปลูกทั้งหมด.............................ครัวเรือน
(คําถามขอ 15.8 (1))
(2) มีพื้นที่ปลูกทั้งหมด............................ไร (คําถามขอ
15.8 (2))

71
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(3) ปที่ผานมาครัวเรือนไดผลผลิตเฉลี่ย
ไรละ.............................กิโลกรัม (คําถามขอ 15.8 (4))
(4) ราคาขายกิโลกรัมละ...............................บาท..............
สตางค (คําถามขอ 15.8 (5))
วิธีคาํ นวณ
(รายไดของพืชอายุยาว ซึ่งไมใชพืชไรที่กําหนดไวในเกณฑ
การชี้วัดที่ปลูกมากอันดับหนึ่ง)

(2) x (3) x (4)


รอยละ =
(1)
= ............................................บาทตอป
ตัวชี้วัดที่ 16 ผลผลิตจาก ก. ทําสวนผลไม ขอนี้ใหพิจารณาตามหลักเกณฑขอ 
การทําสวน (1) ครัวเรือนทั้งหมด.............................ครัวเรือน ก - ง แลวใชขอที่มีคะแนนสูงสุด
(คําถามขอ 1.1) เปนเกณฑการชี้วัด
(2) ครัวเรือนที่ทําสวนผลไม................................
ครัวเรือน (คําถามขอ 16.1.2) ทําสวนผลไม / ทําสวนผัก / ทําสวน
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถา ไมดอกไมประดับหรือเพาะพันธุไม
จํานวนครัวเรือนที่ทําสวนผลไมนอยกวารอยละ 10 ของ เพื่อขาย
ครัวเรือนทั้งหมด ใหคํานวณเกณฑการชี้วัดแยกตาม
วิธีคาํ นวณ ประเภทของการประกอบอาชีพและ 3

72
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(2) x 100 = เลือกคะแนนต่ําสุดเปนคะแนนของ ขอ
รอยละ =
(1) ....................... ก. , ข. และ ค.
รายไดตอครัวเรือน
(3) ครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ย .................................. มากกวา 42,600 บาท/ป
บาทตอป (คําถามขอ 16.1.4) รายไดตอครัวเรือน 2
21,300 - 42,600 บาท/ป
รายไดตอครัวเรือน 1
ข. ทําสวนผัก นอยกวา 21,300 บาท/ป
(1) ครัวเรือนทั้งหมด.............................ครัวเรือน
(คําถามขอ 1.1) ทําสวนยาง
(2) ครัวเรือนที่ทําสวนผัก................................ ครัวเรือนสวนมากมีรายไดจากการขาย
ครัวเรือน (คําถามขอ 16.2.2) มากกวา 42,600 บาท/ป 3
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถา ครัวเรือนสวนมากมีรายไดจากการขาย 2
จํานวนครัวเรือนที่ทําสวนผักนอยกวารอยละ 10 ของ 21,300 - 42,600 บาท/ป
ครัวเรือนทั้งหมด ครัวเรือนสวนมากมีรายไดจากการขาย 1
นอยกวา 21,300 บาท/ป

73
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) ......................

(3) ครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ย ..................................


บาทตอป (คําถามขอ 16.2.4)

ค. ทําสวนไมดอกไมประดับหรือเพาะพันธุไมเพื่อขาย
(1) ครัวเรือนทั้งหมด.............................ครัวเรือน
(คําถามขอ 1.1)
(2) ครัวเรือนที่ทําสวนไมดอกไมประดับหรือ
เพาะพันธุไมเพื่อขาย.........................................
ครัวเรือน (คําถามขอ 16.3.2)
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถา
จํานวนครัวเรือนที่ทําสวนไมดอกไมประดับหรือเพาะพันธุ
ไมเพื่อขายนอยกวารอยละ 10 ของครัวเรือนทั้งหมด
วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ = (1) .......................

74
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(3) ครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ย ..................................
บาทตอป (คําถามขอ 16.3.4)
(4)
ง. ทําสวนยางพารา
(1) ครัวเรือนทั้งหมด.............................ครัวเรือน
(คําถามขอ 1.1)
(2) ครัวเรือนที่ทําสวนยางพารา.............................
ครัวเรือน (คําถามขอ 16.4.2)
(3) ครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ย ..................................
บาทตอป (คําถามขอ 16.4.4)
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถา
จํานวนครัวเรือนที่ทําสวนยางพารานอยกวารอยละ 10
ของครัวเรือนทั้งหมด

วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) .......................
ตัวชี้วัดที่ 17 ปศุสัตวและการ ก. เลี้ยงสัตวเพื่อขาย ก. เลี้ยงสัตวเพื่อขาย 
ประมง เลี้ยงโคเนื้อ โคนม กระบือ หมายเหตุ คาเกณฑการชี้วัดของขอนี้
ไดจากคะแนนต่ําสุด ระหวางเกณฑ

75
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(1) ครัวเรือนทั้งหมด.............................ครัวเรือน การชี้วัดของการเลี้ยงโค และของการ
(คําถามขอ 1.1) เลี้ยงกระบือ
(2) ครัวเรือนที่เลี้ยงโคเนื้อ โคนม กระบือ เพื่อขาย เกณฑการชี้วัด จํานวนครัวเรือนที่ผสม
.................................ครัวเรือน (คําถามขอ พันธุโค กระบือ โดยใชพันธุที่ทาง
17.1.3.1 + 17.1.3.2 + 17.1.3.3) ราชการสงเสริมรวมการผสมเทียมดวย
มากกวารอยละ 80
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถา ของจํานวนครัวเรือนที่เลี้ยง 3
จํานวนครัวเรือนที่เลี้ยงโคเนื้อ โคนม กระบือ เพื่อขาย รอยละ 40 - 80 2
นอยกวารอยละ 10 ของครัวเรือนทั้งหมด ของจํานวนครัวเรือนที่เลี้ยง
นอยกวารอยละ 40 1
วิธีคาํ นวณ ของจํานวนครัวเรือนที่เลี้ยง
(2) x 100 = ข. ประมงน้ําทะเล
รอยละ =
(1) ....................... หมายเหตุ คาเกณฑการชี้วัดของขอนี้
(ถาคํานวณไดนอยกวารอยละ 10 ใหขามไปพิจารณา ไดจากคะแนนต่ําสุดระหวางเกณฑการ
ขอ ค.) ชี้วัดของประมงขนาดเล็ก และขนาด
กลางถึงใหญ
เลี้ยงโคเนื้อเพื่อขายและผสมพันธุ ประมงทะเลขนาดเล็ก
ครัวเรือนประมงขนาดเล็ก มีรายไดตอ
ครัวเรือน มากกวา 53,250 บาท/ป 3

76
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(1) ครัวเรือนที่เลี้ยงโคเนื้อเพื่อขาย ครัวเรือนประมงขนาดเล็ก มีรายไดตอ 2
.............................ครัวเรือน (คําถามขอ ครัวเรือน 31,950 - 53,250 บาท/
17.1.3.1 ) ป
(2) ครัวเรือนที่เลี้ยงโคเนื้อเพื่อขายและผสมพันธุ ครัวเรือนประมงขนาดเล็ก มีรายไดตอ 1
.................................ครัวเรือน ครัวเรือน นอยกวา 31,950 บาท/ป
(คําถามขอ 17.1.3.1 (3)) ประมงทะเลขนาดกลาง – ใหญ
วิธีคาํ นวณ ครัวเรือนประมงขนาดกลาง - ใหญ มี
(2) x 100 = รายไดตอครัวเรือน มากกวา 4 ลาน
รอยละ =
(1) ....................... บาท/ป 3
ครัวเรือนประมงขนาดกลาง - ใหญ มี 2
เลี้ยงโคนมเพื่อขายน้ํานม รายไดตอครัวเรือน 3 - 4 ลานบาท/ป
(1) ครัวเรือนที่เลี้ยงโคนมเพื่อขายน้ํานม ครัวเรือนประมงขนาดกลาง - ใหญ มี 1
.............................ครัวเรือน (คําถามขอ รายไดตอครัวเรือน นอยกวา 3 ลาน
17.1.3.2 ) บาท/ป
(2) ครัวเรือนที่เลี้ยงโคนมเพื่อขายน้ํานมและผสม ประมงน้ําจืด
พันธุ. ................................ครัวเรือน มีรายไดตอครัวเรือน
(คําถามขอ 17.1.3.2 (3)) มากกวา 42,600 บาท/ป 3
มีรายไดตอครัวเรือน 2
21,300 - 42,600 บาท/ป

77
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
วิธีคาํ นวณ มีรายไดตอครัวเรือน 1
(2) x 100 = นอยกวา 21,300 บาท/ป
รอยละ =
(1) ....................... การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา
หมายเหตุ คาเกณฑการชี้วัดของขอนี้
เลี้ยงกระบือเพื่อขาย ไดจากคะแนนต่ําสุด ระหวางดัชนีของ
(1) ครัวเรือนที่เลี้ยงกระบือเพื่อขาย การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํากรอย น้ําทะเล
.............................ครัวเรือน (คําถามขอ และน้ําจืด
17.1.3.3 ) การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํากรอย น้ําทะเล
(2) ครัวเรือนที่เลี้ยงกระบือเพื่อขายและผสมพันธุ เกณฑที่ใชวัด การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา
.................................ครัวเรือน กรอย น้ําทะเลถามีรายไดต่ํากวา
(คําถามขอ 17.1.3.3 (3)) 85,200 บาท ใหใชเกณฑของการ
เพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด
วิธีคาํ นวณ รายไดตอครัวเรือน
(2) x 100 = มากกวา 1.5 แสนบาท/ป 3
รอยละ =
(1) ....................... รายไดตอครัวเรือน 2
1 - 1.5 แสนบาท/ป
หมายเหตุ ใชคารอยละที่ต่ํากวาระหวางโคกับกระบือ รายไดตอครัวเรือน 1
สําหรับไปเทียบเกณฑการชี้วัดของขอ ก. นอยกวา 1 แสนบาท/ป
การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด 3

78
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
ข. ประมงน้ําทะเล รายไดตอครัวเรือน
(1) ครัวเรือนทั้งหมด.................................... มากกวา 42,600 บาท/ป
ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) รายไดตอครัวเรือน
(2) ครัวเรือนที่ทําประมงทะเลขนาดเล็ก 21,300 - 42,600 บาท/ป 2
.............................ครัวเรือน (คําถามขอ รายไดตอครัวเรือน
17.3.1.1 (1)) นอยกวา 21,300 บาท/ป 1
(3) ครัวเรือนทําประมงทะเลขนาดกลาง - ใหญ
.............................ครัวเรือน (คําถามขอ
17.3.1.2 (1))

หมายเหตุ จะมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถามี


จํานวนครัวเรือนประมงขนาดเล็ก รวมกับ ขนาดกลาง -
ใหญ มากรอยละ 20 ของจํานวนครัวเรือนทั้งหมด และ
ครัวเรือนประมงขนาดกลาง - ใหญ มากกวารอยละ 5
ของครัวเรือนทั้งหมด

วิธีคาํ นวณ
( (2) + (3) ) x 100 =
รอยละ =
(1) .......................

79
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(ถาคํานวณไดนอยกวารอยละ 20 ใหขามไปพิจารณา
ขอ ค.)

(4) ครัวเรือนประมงทะเลขนาดเล็กมีรายไดเฉลี่ย
................................บาทตอป (คําถามขอ
17.3.1.1 (2))
(5) ครัวเรือนประมงทะเลขนาดกลาง - ใหญ มี
รายไดเฉลี่ย................................บาทตอป
(คําถามขอ 17.3.1.2 (2))

ค. ประมงน้ําจืด
(1) ครัวเรือนทั้งหมด....................................
ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1)
(2) มีครัวเรือนที่ทําประมงน้ําจืด............................
ครัวเรือน (คําถามขอ 17.3.2 (1))

วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) .......................

80
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(ถาคํานวณไดนอยกวารอยละ 20 ใหขามไปพิจารณา
ขอ ง.)
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑชี้วัดขอนี้ ถามีจํานวน
ครัวเรือนที่ประมงน้ําจืด นอยกวารอยละ 10 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด

(3) ครัวเรือนประมงน้ําจืดมีรายไดเฉลี่ย ครัวเรือนละ


..................................บาทตอป (คําถามขอ
17.3.2 (2))

ง. การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํากรอย ทะเล
(1) ครัวเรือนทั้งหมด....................................
ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1)
(2) มีครัวเรือนที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํากรอย น้ําทะเล
............................ครัวเรือน (คําถามขอ 17.4.1)

หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถามี


ครัวเรือนที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํากรอย น้ําทะเล นอยกวารอย
ละ 20 ของครัวเรือนทั้งหมด

81
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) .......................

(ถาคํานวณไดนอยกวารอยละ 20 ใหขามไปพิจารณา
การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด)
(3) ครัวเรือนที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํากรอย น้ําทะเล มี
รายไดเฉลี่ย ครัวเรือนละ.....................................
บาทตอป (คําถามขอ 17.4.1 (2))

จ. การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด
(1) ครัวเรือนทั้งหมด....................................
ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1)
(2) มีครัวเรือนที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด
............................ครัวเรือน (คําถามขอ 17.4.4)

หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถามี


ครัวเรือนที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด นอยกวารอยละ 10 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด

82
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) ......................

(ถาคํานวณไดนอยกวารอยละ 20 ใหขามไปพิจารณา
ขอ 18)
(3) ครัวเรือนที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด มีรายไดเฉลี่ย
ครัวเรือนละ.....................................บาทตอป
(คําถามขอ 17.4.4 (2))
ตัวชี้วัดที่ 18 ผลผลิตจากการ พืชเศรษฐกิจอื่น ๆ พืชเศรษฐกิจอื่นๆ และกิจการเกษตร 
ทําเกษตรอื่น ๆ (1) ครัวเรือนทั้งหมด....................................... อื่นๆ ใหคํานวณเกณฑการชี้วัดแยก
ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ตามประเภทของการประกอบอาชีพ
(2) ครัวเรือนที่ปลูกพืชเศรษฐกิจเพื่อขาย และเลือกคะแนนต่ําสุดเปนคะแนน
................................ครัวเรือน (คําถามขอ รายไดตอครัวเรือน
18.4.3) มากกวา 42,600 บาท/ป 3
วิธีคาํ นวณ รายไดตอครัวเรือน 2
(2) x 100 = 21,300 - 42,600 บาท/ป
รอยละ =
(1) ...................... รายไดตอครัวเรือน 1
นอยกวา 21,300 บาท/ป

83
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(3) ครัวเรือนที่ปลูกพืชเศรษฐกิจมีรายไดเฉลี่ย
ครัวเรือนละ.................................บาทตอป
(คําถามขอ 18.4.5)

กิจการเกษตรอื่น ๆ
(1) ครัวเรือนทั้งหมด.......................................
ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1)
(2) ครัวเรือนที่ทํากิจการเกษตรอื่น ๆ
................................ครัวเรือน (คําถามขอ
18.5.1)
วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) ......................
(3) ครัวเรือนที่ทํากิจการเกษตรอื่น ๆ มีรายไดเฉลี่ย
ครัวเรือนละ.......................................บาทตอป
(คําถามขอ 18.5.2 (3))
ตัวชี้วัดที่ 19 การประกอบ (1) ครัวเรือนทั้งหมด....................................... อุตสาหกรรมในครัวเรือน 
อุตสาหกรรมใน ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) รายไดเฉลี่ยตอครัวเรือน
ครัวเรือน มากกวา 63,900 บาท/ป 3

84
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(2) มีครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอุตสาหกรรมใน รายไดเฉลี่ยตอครัวเรือน 2
ครัวเรือน........................................ครัวเรือน 42,600 - 63,900 บาท/ป
(คําถามขอ 19.1) รายไดเฉลี่ยตอครัวเรือน 1
นอยกวา 42,600 บาท/ป
หมายเหตุ จะไมมีการคํานวณเกณฑการชี้วัดขอนี้ ถา
จํานวนครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอุตสาหกรรมใน
ครัวเรือน และหัตถกรรมมีนอยกวารอยละ 30 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) .......................

(ถาคํานวณไดนอยกวารอยละ 30 ใหขามไปพิจารณา
ขอ 20)

(3) ผลรวมของรายไดเฉลี่ยตอปจากการประกอบ
อาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน และหัตถกรรม
ของครัวเรือนในแตละประเภท
............................................บาท (คําถามขอ
19.2 (2) + 19.3 (2) + 19.4 (2))

85
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คาคะแนน วิเคราะห
(คะแนนที่ได)
(4) จํานวนประเภทอุตสาหกรรมในครัวเรือนที่ทํามี
ทั้งหมด........................................ประเภท
(คําถามขอ 19.2 , 19.3 และ 19. 4 )
วิธีคํานวณ
(3) x 100 =.......................บาท
รอยละ =
(4) ตอป
.........................
ตัวชี้วัดที่ 20 การทองเที่ยว (1) ครัวเรือนทั้งหมด.......................................... จํานวนครัวเรือนที่มีรายไดจากแหลง 3 
ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ทองเที่ยว มากกวารอยละ 5 ของ
(2) จํานวนครัวเรือนที่มีรายไดจากการมีสถานที่ ครัวเรือนทั้งหมด
ทองเที่ยวภายในตําบล..................................... จํานวนครัวเรือนที่มีรายไดจากแหลง 2
ครัวเรือน (คําถามขอ 20.1.5 + 20.1.6 ) ทองเที่ยว ระหวางรอยละ 1 - 5 ของ
(3) จํานวนครัวเรือนที่มีรายไดจากการมีสถานที่ ครัวเรือนทั้งหมด
ทองเที่ยวภายนอกตําบล..................................... ไมมีครัวเรือนที่มีรายไดจากแหลง 1
ครัวเรือน (คําถามขอ 20.1.7) ทองเที่ยว
วิธีคาํ นวณ
( (2) + (3) ) x 100
รอยละ = =.........................
(1)

86
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย (7 ตัวชี้วัด)


เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 21 การปองกัน (1) จํานวนผูปวยดวยโรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีน ไมมีจํานวนผูป วยและตายดวย 3 
โรคติดตอ ...............คน (คําถามขอ 21.1.1.2 (1) ถึง (13) และ โรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีน
21.1.1.3 (1) ถึง (7)) มีจํานวนผูปวยดวยโรคติดตอที่ปองกัน 2
(2) จํานวนผูต ายดวยโรคติดตอที่ปองกันไดดวยวัคซีน ไดดวยวัคซีน
...............คน (คําถามขอ 21.1.1.2 (1) ถึง (13) และ มีจํานวนผูตายดวยโรคติดตอที่ปองกัน 1
21.1.1.3 (1) ถึง (7)) ไดดวยวัคซีน
ตัวชี้วัดที่ 22 การไดรับบริการ หมูบาน/ชุมชนนี้ สามารถเขาถึงบริการและดูแลสุขภาพ ครัวเรือนสามารถเขาถึงบริการและ 3 
และดูแล อนามัยภายในตําบล หรือไม ดูแลสุขภาพอนามัยภายในตําบลรอย
สุขภาพอนามัย (คําถามขอ 22.1) ละ100 ของครัวเรือนทั้งหมด
(1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน ครัวเรือนสามารถเขาถึงบริการและ 2
...............................ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ดูแลสุขภาพอนามัยภายในตําบล
(2) จํานวนครัวเรือนที่สามารถเขาถึงบริการและดูแล ระหวางรอยละ 90-99 ของครัวเรือน
สุขภาพอนามัยภายในตําบล.................ครัวเรือน ทั้งหมด
วิธีคาํ นวณ ครัวเรือนสามารถเขาถึงบริการและ 1
(2) x 100 = ดูแลสุขภาพอนามัยภายในตําบล นอย
รอยละ =
(1) ....................... กวารอยละ 90 ของครัวเรือนทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 23 อนามัยแมและ ในรอบปที่ผานมาหมูบาน/ชุมชนนี้ หมูบ าน/ชุ มชนนี้ ไมมีมารดาเสี ยชีวิต 3 
เด็ก (1) จํานวนมารดาเสียชีวิตตอการเกิดมีชีพ (คําถาม ต อการเกิ ดมี ชี พ ไม มี มารดาเสีย ชีวิ ต
ขอ 23.1.3) ตอการเกิดไรชีพ และ ไมมี ทารกมีชีพ

87
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
 ไมมี  มี ที่ ไม ได เกิ ด ใน โ รง พ ยา บ าล หรื อ
(2) จํานวนมารดาเสียชีวิตตอการเกิดไรชีพ (คําถาม สถานพยาบาล หรื อ เกิ ด โดยไม ไ ด รั บ
ขอ 23.1.4) การดูแลอยางถูกตองตามหลักวิชาการ
 ไมมี  มี หมูบ าน/ชุ มชนนี้ มี มารดาเสียชีวิตตอ 2
(3) จํานวนทารกมีชีพที่ไมไดเกิดในโรงพยาบาล หรือ การเกิดมีชีพ หรือมีมารดาเสียชีวิตตอ
สถานพยาบาล หรือเกิดโดยไมไดรับการดูแล การเกิดไรชีพ หรือ มีทารกมีชีพที่ไมได
อยางถูกตองตามหลักวิชาการ (คําถามขอ เกิดในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล
23.1.5) หรื อ เกิ ด โดยไม ไ ด รั บ การดู แ ลอย า ง
 ไมมี  มี ถูกตองตามหลักวิชาการ อยางใดอยาง
หนึ่ง
หมูบาน/ชุมชนนี้ มีมารดาเสียชีวิตตอ 1
การเกิดมีชีพ และมีมารดาเสียชีวิตตอ
การเกิดไรชีพ และมีทารกมีชีพที่ไมได
เกิดในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล
หรือเกิดโดยไมไดรับการดูแลอยาง
ถูกตองตามหลักวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 24 สุขภาวะคน หมูบาน / ชุมชนนี้มีคนพิการที่ยังไมเขาระบบประกัน หมูบาน/ชุมชนนี้ ไมมีคนพิการที่ยังไม 3 
พิการและ สุขภาพถวนหนา (คําถามขอที่ 24.1.4) เขาระบบประกันสุขภาพทั่วหน า และ
ผูสูงอายุ  ไมมี  มี ไมมีผูสูงอายุที่ไมสามารถเขาถึ งระบบ

88
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
หมูบาน / ชุมชนนี้มผี ูสูงอายุที่ไมสามารถเขาถึงระบบการ การดูแลสุขภาพและการคุมครองทาง
ดูแลสุขภาพและการคุมครองทางสังคม (คําถามขอที่ สังคม
24.2.6) หมูบาน/ชุมชนนี้ มีคนพิการที่ยังไมเขา 2
 ไมมี  มี ระบบประกั น สุ ข ภาพทั่ ว หน า หรื อ มี
ผู สูงอายุที่ไมสามารถเขาถึงระบบการ
ดูแลสุขภาพและการคุมครองทางสังคม
อยางใดอยางหนึ่ง
หมูบาน/ชุมชนนี้ มีคนพิการที่ยังไมเขา 1
ระบบประกั น สุ ข ภาพทั่ ว หน า และมี
ผู สูงอายุที่ไมสามารถเขาถึงระบบการ
ดูแลสุขภาพและการคุมครองทางสังคม
ตัวชี้วัดที่ 25 อนามัย ก. หมูบาน / ชุมชนนี้ ครัวเรือนมีการจัดการขยะใน ทั้งขอ ก. ข. และ ค.ตองมีครัวเรือน 3 
สิ่งแวดลอม ครัวเรือน (คําถามขอที่ 25.1) มากกวารอยละ 80 ของครัวเรือน
(1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน ทั้งหมด
...............................ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ขอ ก. ข. และ ค. มีขอใดขอหนึ่งที่มี 2
(2) จํานวนครัวเรือนที่มีการจัดการขยะในครัวเรือน ครัวเรือนนอยกวารอยละ 80 ของ
............................ครัวเรือน (คําถามขอ 25.1) ครัวเรือนทั้งหมด
วิธีคาํ นวณ ขอ ก. ข. และ ค. มี 2 ขอที่มีครัวเรือน 1
(2) x 100 = นอยกวารอยละ 80 ของครัวเรือน
รอยละ =
(1) ...................... ทั้งหมด

89
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)

ข. หมูบาน / ชุมชนนี้ ครัวเรือนที่มีการจัดการสวมและสิ่ง


ปฏิกูล (คําถามขอที่ 25.2)
(1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน
...............................ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1)
(2) จํานวนครัวเรือนที่มีการจัดการสวมและสิ่งปฏิกูล
............................ครัวเรือน (คําถามขอ 25.2)
วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) .......................

ค. หมูบาน / ชุมชนนี้ ครัวเรือนที่มีที่อยูอาศัยถูก


สุขลักษณะ (คําถามขอที่ 25.3)
(1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน
...............................ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1)
(2) จํานวนครัวเรือนที่มีที่อยูอาศัยถูกสุขลักษณะ
............................ครัวเรือน (คําถามขอ 25.3)
วิธีคาํ นวณ
(2) x 100 =
รอยละ =
(1) ......................

90
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 26 ความปลอดภัย (1) มีการบาดเจ็บจากการทํางานในสถานประกอบการ -ไมบาดเจ็บจากการทํางานในสถาน 3 
ในการทํางาน ...........คน (คําถามขอ 26.2) ประกอบการ และไมเจ็บปวยจากการ
(2) มีการเจ็บปวยจากการทํางานในสถานประกอบการ ทํางานในสถานประกอบการ และไม
............คน (คําถามขอ 26.3) เจ็บปวยจากการทํางานในกลุมแรงงาน
(3) มีการเจ็บปวยจากการทํางานในกลุมแรงงานนอก นอกระบบ/กลุมวิสาหกิจชุมชน/ผูรับ
ระบบ/กลุมวิสาหกิจชุมชน/ผูรับงานไปทําที่บาน..........คน งานไปทําที่บาน และไมเจ็บปวยจาก
(คําถามขอ 26.4) การใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช
(4) มีการเจ็บปวยจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช -มีการบาดเจ็บจากการทํางานในสถาน 2
..............คน (คําถามขอ 26.5) ประกอบการ หรือเจ็บปวยจากการทํางาน
ในสถานประกอบการหรือเจ็บปวยจาก
การทํางานในกลุมแรงงานนอกระบบ/กลุม
วิสาหกิจชุมชน/ผูรับงานไปทําที่บานหรือ
เจ็บปวยจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช
อยางนอย 1 อยาง
-มีการบาดเจ็บจากการทํางานในสถาน 1
ประกอบการ และเจ็บปวยจากการ
ทํางานในสถานประกอบการและ
เจ็บปวยจากการทํางานในกลุมแรงงาน
นอกระบบ/กลุมวิสาหกิจชุมชน/ผูรับ

91
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
งานไปทําที่บานและเจ็บปวยจากการ
ใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัดที่ 27 การกีฬาและ (1) มีการแขงขันกีฬาภายในหมูบาน/ชุมชน (คําถามขอ มีการแขงขันกีฬาภายในหมูบานหรือ 3 
การออกกําลัง 27.1.1) ระหวางหมูบานและมีการฝกสอนกีฬา
กาย (2) มีการฝกสอนกีฬาใหกับประชาชนในหมูบาน/ชุมชน ใหกับประชาชนมากกวา 3 ครั้ง
(คําถามขอ27.1.2) มีการแขงขันกีฬาภายในหมูบานหรือ 2
(3) มีการแขงขันกีฬาระหวางหมูบาน/ชุมชน (คําถามขอ ระหวางหมูบานและมีการฝกสอนกีฬา
27.1.3) ใหกับประชาชนระหวาง 1-3 ครั้ง
มีการแขงขันกีฬาภายในหมูบานหรือ 1
ระหวางหมูบานและมีการฝกสอนกีฬา
ใหกับประชาชนนอยกวา 1 ครั้ง
หรือไมมีเลย
หมวดที่ 4 ความรูและการศึกษา (4 ตัวชี้วัด)
เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 28 การใหบริการ หมูบาน/ชุมชนนี้ สามารถเขาถึงการใหบริการดาน หมูบาน/ชุมชนนี้สามารถเขาถึงการ 3 
ดานการศึกษา การศึกษาภายในตําบล ดังตอไปนี้ หรือไม ใหบริการดานการศึกษาภายในตําบล
จํานวน 6-9 ขอ

92
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
(1) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยหรือสถานรับเลี้ยงเด็ก หมูบาน/ชุมชนนี้สามารถเขาถึงการ 2
กอนวัยเรียน (คําถามขอที่ 28.1.1) ใหบริการดานการศึกษาภายในตําบล
 เขาไมถึง  เขาถึง จํานวน 5 ขอ
(2) โรงเรียนที่เปดสอนกอนระดับประถมศึกษา หมูบาน/ชุมชนนี้สามารถเขาถึงการ 1
(โรงเรียนอนุบาล) (คําถามขอ 28.1.2) ใหบริการดานการศึกษาภายในตําบล
 เขาไมถึง  เขาถึง จํานวนนอยกวา 5 ขอ
(3) โรงเรียนที่เปดสอนระดับประถมศึกษา (คําถาม
ขอ 28.1.3)
 เขาไมถึง  เขาถึง
(4) โรงเรียนที่เปดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนตน
(คําถามขอ 28.1.4)
 เขาไมถึง  เขาถึง
(5) โรงเรียนที่เปดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(คําถามขอ 28.1.5)
 เขาไมถึง  เขาถึง
(6) การศึกษาผูใหญ (คําถามขอ 28.1.6)
 เขาไมถึง  เขาถึง
(7) ที่อานหนังสือประจําหมูบาน/ชุมชนที่ (คําถามขอ
28.1.7)
 เขาไมถึง  เขาถึง

93
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
(8) หองสมุดประชาชน/หองสมุดโรงเรียน/หองสมุด
วัด ที่ใชการได (คําถามขอ 28.1.8)
 เขาไมถึง  เขาถึง
(9) ศูนยการเรียนรูชุมชน/ศูนยบริการอินเทอรเน็ต
ตําบล (คําถามขอ 28.2.2)
ตัวชี้วัดที่ 29 ความรอบรู ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญมีความรอบรูใน ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนมากกวา 3 
ประเด็นดังตอไปนี้ รอยละ50 มีความรอบรู จํานวน 9-
รอยละ = จํานวน คร. ในแตละขอของแตละดาน 12 ขอ
จํานวน คร.ตามขอ 1.1 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนมากกวา 2
ขอที่ ประเด็น ผลการประเมิน รอยละ50 มีความรอบรู จํานวน 5-8
ความรอบรูดานสุขภาพ ขอ
1 มีความรูในการเลือกที่จะเชื่อ  ใช ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนมากกวา 1
หรือไมเชื่อความรูสุขภาพที่  ไมใช รอยละ50 มีความรอบรู จํานวน 0-4
ไดรับมา (คําถามขอ 29.1.1) ขอ
2 มีความสามารถในการตัดสินใจ  ใช
เลือกใชผลิตภัณฑและบริการ  ไมใช
เกี่ยวกับสุขภาพอยางเหมาะสม
(คําถามขอ 29.1.2)

94
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
3 มีความสามารถที่จะแนะนํา  ใช
และบอกตอขอมูลสุขภาพให  ไมใช
คนอื่นได (คําถามขอ 29.1.3)
ความรอบรูดานดิจิทัล
4 มีความสามารถในการใช  ใช
เทคโนโลยีดิจิทัล  ไมใช
(คําถามขอ 29.2.1)
5 มีความสามารถในการติดตาม  ใช
ขอมูลสารสนเทศอยาง  ไมใช
เหมาะสม (คําถามขอ 29.2.2)
ความรอบรูดานสื่อ
6 มีความสามารถในการเขาถึงสื่อ  ใช
สาธารณะที่หลากหลาย  ไมใช
(คําถามขอ 29.3.1)
7 มีความสามารถในการวิเคราะห  ใช
แยกแยะสื่อที่ดีและไมดี รวมทั้ง  ไมใช
มีความเขาใจจุดมุงหมายการ
นําเสนอเนื้อหาของสื่อ (คําถาม
ขอ 29.3.2)

95
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
8 มีความสามารถในการประเมิน  ใช
คาและเขาใจผลกระทบของสื่อ  ไมใช
(คําถามขอ 29.3.3)
9 มีความสามารถในการใชสื่อให  ใช
เกิดประโยชนได (คําถามขอ  ไมใช
29.3.4)
ความรอบรูเรื่องการเงิน
10 มีความสามารถในการคนหา  ใช
และเขาถึงแหลงขอมูลทางการ  ไมใช
เงินได (คําถามขอ 29.4.1)
11 มีความรูและความสามารถใน  ใช
การจัดทําบัญชีรายรับ-รายจาย  ไมใช
วางแผนการใชจายเงินตาม
ความจําเปน และรูจักการออม
เงิน (คําถามขอ 29.4.2)
12 มีความรูและมีการสรางความ  ใช
มั่นคงทางการเงิน ดวยการนํา  ไมใช
เงินไปลงทุนเพื่อสรางรายได
(คําถามขอ 29.4.3)

96
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 30 การไดรับการ คนในหมูบาน/ชุมชนนี้ ไดรับการฝกอบรม ดังตอไปนี้ หมูบาน/ชุมชนนี้ ไดรับการฝกอบรม 3 
ฝกอบรมดาน หรือไม ครบทั้ง 3 ดาน
ตาง ๆ 1 ดานอาชีพ (คําถามขอ  ได หมูบาน/ชุมชนนี้ ไดรับการฝกอบรม 2
30.1.1)  ไมได ดานใดดานหนึ่ง
2 ดานการศึกษา (คําถามขอ  ได หมูบาน/ชุมชนนี้ ไมไดรับการฝกอบรม 1
30.1.2)  ไมได ทั้ง 3 ดาน
3 ดานสุขภาวะ (คําถามขอ  ได
30.1.3)  ไมได
ตัวชี้วัดที่ 31 โอกาสเขาถึง จํานวนคนพิการในหมูบาน/ชุมชนชวยเหลือตนเองไดที่ คนพิการในหมูบาน/ชุมชนที่ชวยเหลือ 3 
ระบบการศึกษา ไดรับการศึกษา ตนเองไดและรับการศึกษาภาคบังคับ
ของคนพิการ (1) จํานวนคนพิการในหมูบาน/ชุมชน ที่ชวยเหลือ 9 ป (ป.1-ม.3) มากกวารอยละ 97
ตนเองได .............................คน (คําถามขอ ขึ้นไป
31.1.1) คนพิการในหมูบาน/ชุมชนที่ชวยเหลือ 2
(2) จํานวนคนพิการในหมูบาน/ชุมชน ที่ชวยเหลือ ตนเองไดและรับการศึกษาภาคบังคับ
ตนเองไดและรับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป (ป.1- 9 ป (ป.1-ม.3) รอยละ 80-97 ขึ้นไป
ม.3) (คําถามขอ 31.2.1)............................คน คนพิการในหมูบาน/ชุมชนที่ชวยเหลือ 1
วิธีคาํ นวณ ตนเองไดและรับการศึกษาภาคบังคับ
(2) x 100 = 9 ป (ป.1-ม.3) นอยกวารอยละ 80
รอยละ =
(1) .......................

97
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

หมวดที่ 5 การมีสวนรวมและความเขมแข็งของชุมชน (5 ตัวชี้วัด)


เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 32 การรวมกลุม การรวมกลุมของประชาชน ในรอบปที่ผานมา ครัวเรือนมีสวน หมูบาน / ชุมชนนี้ มีการ 3 
ของประชาชน รวมในกิจกรรม ดังนี้ รวมกลุมมากกวา 6 กลุมขึ้นไป
ขอที่ ประเด็น ผลการประเมิน หมูบาน / ชุมชนนี้ มีการ 2
1 กลุมเกี่ยวกับการบริหารจัดการ  มี รวมกลุม ระหวาง 3-5 กลุม
ที่ดินสาธารณะ เพื่อประโยชน  ไมมี หมูบาน / ชุมชนนี้ มีการ 1
ดานตาง ๆ ของหมูบาน / รวมกลุม นอยกวา 3 กลุม
ชุมชน (คําถามขอ 32.1.1)
2 กลุมเกี่ยวกับการบริหารจัดการ  มี
ดานตาง ๆ สําหรับการมีที่อยู  ไมมี
อาศัย เพื่อลดจํานวนผูไรบาน/
ไรที่พึ่ง(คําถามขอ 32.1.2)
3 กลุมเกี่ยวกับการปกปองมรดก  มี
ทางวัฒนธรรมและกิจกรรมทาง  ไมมี
วัฒนธรรม(คําถามขอ 32.1.3)
4 กลุมเกี่ยวกับการปกปองภัย  มี
พิบัติจากธรรมชาติ (เชน ตัดไม  ไมมี
ทําลายปา ไฟปา ฝุนละออง
ขนาดเล็ก ฯลฯ) (คําถามขอ
32.1.4)

98
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
5 กลุมเกี่ยวกับการกําจัดมลภาวะ  มี
ทางสิ่งแวดลอม (ทางน้ํา ทาง  ไมมี
อากาศ ทางเสียง ขยะมูลฝอย
และสิ่งปฏิกูล)
(คําถามขอ 32.1.5)
6 กลุมเกี่ยวกับการทํากิจกรรม  มี
ดานพลังงาน เชน การอนุรักษ  ไมมี
พลังงาน พลังงานทดแทน
เทคโนโลยีพลังงาน เปนตน
(คําถามขอ 32.1.6)
7 กลุมเกี่ยวกับการประชุมของ  มี
หมูบาน / กลุมตาง ๆ เชน กลุม  ไมมี
ออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมสตรี
สหกรณการเกษตร กลุมอาชีพ
หรือกองทุนหมูบาน/ชุมชน ฯลฯ
(คําถามขอ 32.1.7)
8 กลุมเกี่ยวกับการทํากิจกรรม  มี
ชุมชนในพื้นที่ (เชน ปลูกตนไม  ไมมี
ทําความสะอาดสถานที่
สาธารณะ ฯลฯ)
(คําถามขอ 32.1.8)
9 กลุมอื่น ๆ ระบุ........................  มี
(คําถามขอ 32.1.9)  ไมมี

99
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 33 การมีสวนรวม ครัวเรือนที่มีสมาชิกเคยรวมทํากิจกรรมในหมูบาน/ชุมชน ครัวเรือนที่มีสมาชิกเคยรวมทํา 3 
ของชุมชน (คําถามขอ 33.1) กิจกรรมในหมูบาน/ชุมชน
(1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน มากกวารอยละ 95 ของ
...............................ครัวเรือน ครัวเรือนทั้งหมด
(2) จํานวนครัวเรือนที่มีสมาชิกเคยรวมทํากิจกรรมใน ครัวเรือนที่มีสมาชิกเคยรวมทํา 2
หมูบาน/ชุมชน...............................ครัวเรือน กิจกรรมในหมูบาน/ชุมชน
วิธีคาํ นวณ ระหวางรอยละ 70-95 ของ
(2) x 100 = ครัวเรือนทั้งหมด
รอยละ =
(1) ...................... ครัวเรือนที่มีสมาชิกเคยรวมทํา 1
กิจกรรมในหมูบาน/ชุมชน นอย
กวารอยละ 70 ของครัวเรือน
ทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 34 ความปลอดภัย ในรอบปที่ผานมา หมูบาน / ชุมชนนี้ มีความปลอดภัยใน หมูบาน/ชุมชนนี้ มีความ 3 
ของหมูบาน / ประเด็นดังตอไปนี้ ปลอดภัยในทุกขอ
ชุมชน ขอที่ ประเด็น ผลการประเมิน หมูบาน/ชุมชนนี้ มีความ 2
1 ไมมีจุดที่เปนซอยลึก ซอกหลืบ  ใช ปลอดภัย ระหวาง 6-8 ขอ
เปนที่เปลี่ยว ไฟฟาสองไมถึง  ไมใช หมูบาน/ชุมชนนี้ มีความ 1
(คําถามขอ 34.2.1) ปลอดภัย นอยกวา 6 ขอ
2 ไมมีคดีอาชญากรรมที่เกิดจาก  ใช
ความขัดแยงทางความคิด  ไมใช

100
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ทรัพยสิน ชูสาว หรือขมขืน
กระทําชําเรา (คําถามขอ
34.2.2)
3 ไมมีคนถูกประทุษรายตอ  ใช
ทรัพย (คําถามขอ 34.2.3)  ไมใช
4 ไมมีคนตกเปนเหยื่อความ  ใช
รุนแรงทางรางกาย จิตใจ หรือ  ไมใช
ทางเพศ (คําถามขอ 34.2.4)
5 ไมมีคนตกเปนเหยื่อการคา  ใช
มนุษย (คําถามขอ 34.2.5)  ไมใช
6 ไมมีคนถูกลักพาตัว (คําถาม  ใช
ขอ 34.2.6)  ไมใช
7 ไมมีคนถูกฆาตาย (คําถามขอ  ใช
34.2.7)  ไมใช
8 ไมมีคนถูกทํารายรางกาย  ใช
(คําถามขอ 34.2.8)  ไมใช
9 ไมมีคนถูกกระทําอนาจาร  ใช
ขมขืนหรือกระทําชําเรา แตไม  ไมใช
ถึงกับชีวิต (คําถามขอ
34.2.9)

101
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 35 ศาสนสถาน (1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน ครัวเรือนที่มีการเรียนรูจาก 
ศูนยเรียนรู ...............................ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ศูนยการเรียนรูชุมชน หรือ
ชุมชน และภูมิ (2) คนในครัวเรือนอยางนอย 1 คน ไดรับการเรียนรูจาก ปราชญชาวบาน 3
ปญญาชุมชน ปราชญชาวบาน หรือจากศูนยเรียนรูชุมชนทั้งในและ -มากกวารอยละ 10 ของ
นอกหมูบาน/ ชุมชน.................ครัวเรือน ครัวเรือนทั้งหมด
(คําถามขอ 35.3.3) -ระหวางรอยละ 5-10 ของ 2
วิธีคาํ นวณ ครัวเรือนทั้งหมด
(2) x 100 = -นอยกวารอยละ 5 ของ 1
รอยละ =
(1) ....................... ครัวเรือนทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 36 การไดรับความ (1) คนอายุ 60 ปขึ้นไป ที่ไมไดรับการดูแล จํานวนผูมีอายุ 60 ปขึ้นไป 3 
คุมครองทาง จํานวน.......................คน (คําถามขอ 36.12) คนพิการ เด็กกําพรา เด็กถูก
สังคม (2) คนพิการที่ไมไดรับการดูแล จํานวน.......................คน ทอดทิ้ง และเด็กเรรอน ที่ไมได
(คําถามขอ 36.10) รับการดูแล
(3) เด็กกําพรา เด็กถูกทอดทิ้ง และเด็กเรรอน ที่ไมไดรับ -นอยกวารอยละ 5 ของผูมี
การดูแล จํานวน.......................คน อายุ 60 ปขึ้นไป คนพิการ เด็ก
(คําถามขอ36.2 + 36.3 ) กําพรา เด็กถูกทอดทิ้ง และเด็ก
(4) ในหมูบานนี้มีผูสูงอายุ 60 ปขึ้นไป เรรอน
จํานวน........................คน (คําถามขอ 36.12) -ระหวางรอยละ 5-10 ของผูมี 2
(5) ในหมูบานนี้มีคนพิการทั้งหมด อายุ 60 ปขึ้นไป คนพิการ เด็ก

102
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
จํานวน ........................คน (คําถามขอ 24.1.1) กําพรา เด็กถูกทอดทิ้ง และเด็ก
(6) ในหมูบานนี้มีเด็กกําพรา เด็กถูกทอดทิ้ง และเด็ก เรรอน
เรรอนจํานวน.........................คน - มากกวารอยละ 10 ของผูมี 1
(คําถามขอ36.2 + 36.3 ) อายุ 60 ปขึ้นไป คนพิการ เด็ก
วิธีคาํ นวณ กําพรา เด็กถูกทอดทิ้ง และเด็ก
[(1)+(2)+(3)] x 100 = เรรอน
รอยละ =
[(4)+(5)+(6)] .......................

หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (5 ตัวชี้วัด)


เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 37 การใช จํานวนครัวเรือนที่ขาดโอกาสในการเขาถึง จํานวนครัวเรือนที่ขาดโอกาสในการ 3 
ทรัพยากรธรร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งที่แวดลอม เขาถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งที่
มชาติและดูแล (1) จํานวนครัวเรือนทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน แวดลอม นอยกวารอยละ 5 ของ
สิ่งแวดลอม ...............................ครัวเรือน (คําถามขอ 1.1) ครัวเรือนทั้งหมด
(2) จํานวนครัวเรือนที่ขาดโอกาสในการเขาถึงทรัพยากร จํานวนครัวเรือนที่ขาดโอกาสในการ 2
ธรรมชาติและสิ่งที่แวดลอม.................ครัวเรือน เขาถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งที่
(คําถามขอ 37.3.2) แวดลอม ระหวางรอยละ 5-10 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด

103
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
วิธีคาํ นวณ จํานวนครัวเรือนที่ขาดโอกาสในการ 1
(2) x 100 = เขาถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งที่
รอยละ =
(1) ......................แวดลอม มากกวารอยละ 10 ของ
ครัวเรือนทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 38 คุณภาพดิน ที่ดินสวนใหญของหมูบาน/ชุมชน มีคณ ุ ภาพดังนี้ (คําถาม ขอนี้ใหพิจารณากอนวาหมูบานมี 
ขอ 38.1) ปญหาเรื่องดินมีกรวดทราย ดินดาน
 ไมมีปญหาเรื่องคุณภาพดิน ดินเค็ม หรือดินเปรี้ยว หรือไม ถามี
 มีปญหาเรื่องดินตื้น หนาดินถูกชะลาง หรือดินจืด แมเพียงขอเดียว ใหถือวาได 1
 มีปญหาเรื่องดินมีกรวดทราย ดินดาน ดินเค็ม หรือ คะแนน 3
ดินเปรี้ยว ไมมีปญหาเรื่องคุณภาพดิน
มีปญหาเรื่องดินตื้น หนาดินถูกชะลาง 2
หรือดินจืด
มีปญหาเรื่องดินมีกรวดทราย ดินดาน 1
ดินเค็ม หรือดินเปรี้ยว
ตัวชี้วัดที่ 39 คุณภาพน้ํา (1) ในหมูบาน/ชุมชนนี้ มีจํานวนแหลงน้ําผิวดินทั้งหมด ในบริเวณหมูบานมีแหลงน้ําผิวดินที่มี 3 
จํานวน................แหง (คําถามขอ 39.1.1) คุณภาพเหมาะสมดี มากกวารอยละ
(2) แหลงน้ําผิวดินที่มีคุณภาพเหมาะสมดี จํานวน 80 ของแหลงน้ําผิวดินทั้งหมด และไม
...................แหง (คําถามขอ 39.1.1(1)) มีแหลงน้ําผิวดินที่มีคุณภาพไม
เหมาะสม

104
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
(3) แหลงน้ําผิวดินที่มีคุณภาพเหมาะสมพอใช จํานวน ในบริเวณหมูบานมีแหลงน้ําผิวดินที่มี 2
.................แหง(คําถามขอ 39.1.1(2)) คุณภาพเหมาะสมดี ระหวางรอยละ
60-80 ของแหลงน้ําผิวดินทั้งหมด
วิธีคาํ นวณแบบที่ 1 หรือมีแหลงน้ําผิวดินที่มีคุณภาพ
(2) x 100 = เหมาะสมพอใช มากกวารอยละ 90
รอยละ =
(1) ......................ของแหลงน้ําผิวดินทั้งหมด
และไมมีแหลงน้ําผิวดินที่มีคุณภาพไม
วิธีคาํ นวณแบบที่ 2 เหมาะสม
(3) x 100 = ในบริเวณหมูบานมีแหลงน้ําผิวดินที่มี 1
รอยละ =
(1) ...................... คุณภาพเหมาะสมดีนอยกวารอยละ
หรือ 60 ของแหลงน้ําผิวดินทั้งหมด หรือมี
แหลงน้ําผิวดินที่มีคุณภาพไมเหมาะสม จํานวน แหลงน้ําผิวดินทีม่ ีคุณภาพเหมาะสม
...................แหง (คําถามขอ 39.1.1(3)) พอใชไมเกินรอยละ 90 ของแหลงน้ํา
ผิวดินทั้งหมด
หรือมีแหลงน้ําผิวดินที่มีคุณภาพไม
เหมาะสม
ตัวชี้วัดที่ 40 การจัดการ (1) การจัดการขยะมูลฝอย (คําถามขอ 40.1.1) ในบริเวณหมูบ าน/ชุมชน ไมมีปญ หา 3 
สภาพ  มีปญหาขยะมูลฝอย  ไมมีปญหา ขยะมูลฝอย ของเสียอันตราย และน้ํา
เสีย

105
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
สิ่งแวดลอม หากมีปญหามีการจัดการหรือไม (คําถามขอ หรื อ มี ป ญ หาแต มี ก ารจั ด การและ
อยางยั่งยืน 40.1.2) บําบัดไดถูกสุขลักษณะ
 ไมมีการจัดการขยะมูลฝอย ในบริเวณหมูบาน/ชุมชน ไมมีป ญ หา 2
 มีการจัดการฯ ขยะมูลฝอย ของเสียอันตราย และน้ํา
หากมีการจัดการ สามารถจัดการไดถูก เสีย และมีการจัดการและบําบัดแตไม
สุขลักษณะ หรือไม (คําถามขอ 40.1.4) ถูกสุขลักษณะ
 ไมถูกสุขลักษณะ  ถูกสุขลักษณะ ในบริเวณหมูบาน/ชุมชน มีปญหาขยะ 1
(2) การจัดการขยะของเสียอันตราย (คําถามขอ มูลฝอย ของเสียอัน ตราย และน้ํ าเสี ย
40.2.1) และไมมีการจัดการและบําบัด
 มีปญหาขยะของเสียอันตราย
 ไมมีปญหา
หากมีปญหามีการจัดการหรือไม (คําถามขอ
40.2.2)
 ไมมีการจัดการขยะของเสียอันตราย
 มีการจัดการฯ
หากมีการจัดการ สามารถจัดการไดถูก
สุขลักษณะ หรือไม (คําถามขอ 40.2.3)
 ไมถูกสุขลักษณะ  ถูกสุขลักษณะ
(3) การบําบัดน้ําเสีย (คําถามขอ 40.3.1)
 มีปญหาน้ําเสีย  ไมมีปญหา

106
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
หากมีปญหามีการบําบัดหรือไม (คําถามขอ
40.3.4)
 ไมมีการบําบัดน้ําเสีย  มีการบําบัด
หากมีการบําบัด สามารถบําบัดไดถูก
สุขลักษณะหรือไม (คําถามขอ 40.3.5)
 ไมถูกสุขลักษณะ  ถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัดที่ 41 การจัดการ กรณีที่หมูบาน / ชุมชนมีปญหามลพิษทางอากาศ มี กรณีที่หมูบาน / ชุมชนมีปญหามลพิษ 3 
มลพิษ หนวยงานที่รวมจัดการแกไขปญหา (คําถามขอ 41.1.3) ทางอากาศ และ/หรื อ ป ญ หามลพิ ษ
 มี  ไมมี ทางเสี ย ง มี ห น ว ยงานมากกว า หนึ่ ง
กรณีที่หมูบาน / ชุมชนมีปญหามลพิษทางเสียง มี หนวยงานที่รวมจัดการแกไขปญหา
หนวยงานที่รวมจัดการแกไขปญหา (คําถามขอ 41.2.3) กรณีที่หมูบาน / ชุมชนมีปญหามลพิษ 2
 มี  ไมมี ทางอากาศ และ/หรื อ ป ญ หามลพิ ษ
หมายเหตุ : กรณีที่หมูบาน / ชุมชนไมมีมีปญหามลพิษ ทางเสียง มีหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง
ทางอากาศและปญหามลพิษทางเสียง จะไมมีการคํานวณ ที่รวมจัดการแกไขปญหา
เกณฑการชี้วัดขอนี้ กรณีที่หมูบาน / ชุมชนมีปญหามลพิษ 1
ทางอากาศ และ/หรื อ ป ญ หามลพิ ษ
ทางเสียง ไมมีหนวยงานที่รวมจัดการ
แกไขปญหา

107
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

หมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ (3 ตัวชี้วัด)


เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
ตัวชี้วัดที่ 42 ความปลอดภัย (1) การใชยาเสพติดของหมูบาน (คําถามขอ 42.1) หมูบาน/ชุมชนไมมีการใชยาเสพติด 3 
จากยาเสพติด  มีการใชยาเสพติด  ไมมี และมีการดําเนินกิจกรรมการปองกัน
(2) การดําเนินกิจกรรมการปองกันและแกไขปญหายา และแกไขปญหายาเสพติด
เสพติดในรอบปที่ผานมาของหมูบาน (คําถามขอ 42.6) หมูบาน/ชุมชนไมมีการใชยาเสพติด 2
และไมมีการดําเนินกิจกรรมการ
 ไมมีการดําเนินกิจกรรมการปองกัน  มี ปองกันและแกไขปญหายาเสพติด
หรือ หมูบาน/ชุมชนมีการใชยาเสพติด
แตมกี ารดําเนินกิจกรรมการปองกัน
และแกไขปญหายาเสพติด
หมูบาน/ชุมชนมีการใชยาเสพติด และ 1
ไมมีการดําเนินกิจกรรมการปองกัน
และแกไขปญหายาเสพติด
ตัวชี้วัดที่ 43 ความปลอดภัย (1) หมูบาน/ชุมชนนี้ มีระบบการเตือนภัย หรือไม มีเตรียมความพรอมรับมือภัยพิบัติทุก 3 
จากภัยพิบัติ (คําถามขอ 43.4) ขอ
 ไมมี  มี มีเตรียมความพรอมรับมือภัยพิบัต2ิ ขอ 2
(2) ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการดําเนิน ไมมีเตรียมความพรอมรับมือภัยพิบัติ 1
กิจกรรมดานการเตรียมพรอมรับมือกับภัยพิบัติหรือไม เลย
(คําถามขอ 43.6)
 ไมมี  มี

108
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
(3) หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการฝกซอมอพยพประชาชน (หนี
ภัย) หรือไม (คําถามขอ 43.8)
 ไมมี  มี
(4) หมูบาน/ชุมชนนี้ มีศูนยอพยพ/ศูนยพักพิงชั่วคราว
หรือไม
(คําถามขอ 43.9)
 ไมมี  มี
ตัวชี้วัดที่ 44 ความปลอดภัย (1) มีการเลนการพนันในหมูบาน (คําถามขอ 44.1.1) ในหมูบาน/ชุมชน ไมมีการเลนการ 3 
จากความเสี่ยง  มี  ไมมี พนัน ไมมีปญหาเด็กวัยรุนตีกัน ไมมี
ในชุมชน (2) มีปญหาเด็กวัยรุนตีกันในหมูบาน (คําถามขอ ปญหาเด็กติดเกม ไมมีปญหาเด็กแวน
44.2.1) ไมมีการบาดเจ็บ/ทํารายรางกาย/
 มี  ไมมี ทะเลาะวิวาทอันเนื่องมาจากการดื่ม
(3) มีปญหาเด็กติดเกมจนทําใหเกิดปญหาในครอบครัว สุรา และไมมีอาชญากรรมทาง
หรือ ชุมชน (คําถามขอ 44.3.2) อิเล็กทรอนิกส
 มี  ไมมี ในหมูบาน/ชุมชน มีการเลนการพนัน 2
(4) มีปญหาเด็กแวนจนทําใหเกิดปญหาในครอบครัว หรือ ปญหาเด็กวัยรุนตีกัน ปญหาเด็กติดเกม
ชุมชน (คําถามขอ 44.3.3) ปญหาเด็กแวน มีการบาดเจ็บ/ทําราย
 มี  ไมมี รางกาย/ทะเลาะวิวาทอันเนื่องมาจาก
การดื่มสุรา และมีอาชญากรรมทาง

109
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

เกณฑการวิเคราะห ผลการ
ลําดับ ตัวชี้วัด ขอคําถาม เกณฑชี้วัด คา วิเคราะห
คะแนน (คะแนนที่ได)
(5) ในหมูบาน/ชุมชน มีการบาดเจ็บ/ทํารายรางกาย/ อิเล็กทรอนิกสเพียงอยางใดอยางหนึ่ง
ทะเลาะวิวาทอันเนื่องมาจากการดื่มสุรา (คําถามขอ เทานั้น
44.3.4) ในหมูบาน/ชุมชน มีการเลนการพนัน 1
 มี  ไมมี ปญหาเด็กวัยรุนตีกัน ปญหาเด็กติดเกม
(6) หมูบาน/ชุมชนนี้ มีอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส ปญหาเด็กแวน มีการบาดเจ็บ/ทําราย
(คําถามขอ 44.4.1) รางกาย/ทะเลาะวิวาทอันเนื่องมาจาก
 มี  ไมมี การดื่มสุรา และมีอาชญากรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส
มากกวาหนึ่งอยาง

110
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ภาคผนวก

111
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

112
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ภาคผนวก ก

แบบสอบถาม
ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566

หมูบาน/ชุมชน
หมูที่
ตําบล
อําเภอ
จังหวัด
เขตการปกครองทองถิ่น  องคการบริหารสวนตําบล
..............................
 เทศบาลตําบล
.................................................
 เทศบาลเมือง
..................................................
 เทศบาลนคร
....................................................

ดําเนินการจัดเก็บ วันที่...................เดือน.........................พ.ศ. 2566


บันทึกขอมูลเสร็จ วันที่...................เดือน.........................พ.ศ. 2566
รับรองขอมูลระดับหมูบ า น วันที.่ ..................เดือน.........................พ.ศ. 2566

113
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

สารบัญ

หนา
1. แนวทางและขั้นตอนการจัดเก็บขอมูลและแผนปฏิบัติการการจัดเก็บขอมูล กชช. 2ค
2. วิธีการกรอกขอมูล กชช. 2ค
3. แผนที่ของหมูบาน/ชุมชนนี้ โดยสังเขป
แบบสอบถามขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)
สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานหมูบาน / ชุมชน
ขอที่ 1 ขอมูลดานประชากร
สวนที่ 2 ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด
หมวดที่ 1 โครงสรางพื้นฐาน (10 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 1 ถนน
ตัวชี้วัดที่ 2 น้ําดื่ม
ตัวชี้วัดที่ 3 น้ําใช
ตัวชี้วัดที่ 4 น้ําเพื่อการเกษตร
ตัวชี้วัดที่ 5 ไฟฟาและเชื้อเพลิงในการหุงตม
ตัวชี้วัดที่ 6 การมีที่ดินทํากิน
ตัวชี้วัดที่ 7 การติดตอสื่อสาร
ตัวชี้วัดที่ 8 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดที่ 9 สิ่งอํานวยความสะดวกคนพิการและผูสูงอายุ
ตัวชี้วัดที่ 10 พื้นที่สาธารณะสีเขียวและพื้นที่สาธารณะประโยชน
หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (10 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 11 การมีงานทํา
ตัวชี้วัดที่ 12 การทํางานในสถานประกอบการ
ตัวชี้วัดที่ 13 รานอาหารและรานคา
ตัวชี้วัดที่ 14 ผลผลิตจากการทํานา
ตัวชี้วัดที่ 15 ผลผลิตจากการทําไร
ตัวชี้วัดที่ 16 ผลผลิตจากการทําสวน
ตัวชี้วัดที่ 17 ปศุสัตวและการประมง
ตัวชี้วัดที่ 18 ผลผลิตจากการทําเกษตรอื่น ๆ
ตัวชี้วัดที่ 19 การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ตัวชี้วัดที่ 20 การทองเที่ยว
หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย (7 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 21 การปองกันโรคติดตอ
ตัวชี้วัดที่ 22 การไดรับบริการและดูแลสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 23 อนามัยแมและเด็ก
ตัวชี้วัดที่ 24 สุขภาวะคนพิการและผูสูงอายุ

114
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 25 อนามัยสิ่งแวดลอม
ตัวชี้วัดที่ 26 ความปลอดภัยในการทํางาน
ตัวชี้วัดที่ 27 การกีฬาและการออกกําลังกาย
หมวดที่ 4 ความรูและการศึกษา (4 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 28 การใหบริการดานการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 29 ความรอบรู
ตัวชี้วัดที่ 30 การไดรับการฝกอบรมดานตางๆ
ตัวชี้วัดที่ 31 โอกาสเขาถึงระบบการศึกษาของคนพิการ
หมวดที่ 5 การมีสวนรวมและความเขมแข็งของชุมชน (5 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 32 การรวมกลุมของประชาชน
ตัวชี้วัดที่ 33 การมีสวนรวมของชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 34 ความปลอดภัยของหมูบาน / ชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 35 ศาสนสถาน ศูนยเรียนรูชุมชน และภูมิปญญาชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 36 การไดรับความคุมครองทางสังคม
หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (5 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 37 การใชทรัพยากรธรรมชาติและดูแลสิ่งแวดลอม
ตัวชี้วัดที่ 38 คุณภาพดิน
ตัวชี้วัดที่ 39 คุณภาพน้ํา
ตัวชี้วัดที่ 40 การจัดการสภาพสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
ตัวชี้วัดที่ 41 การจัดการมลพิษ
หมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ (3 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 42 ความปลอดภัยจากยาเสพติด
ตัวชี้วัดที่ 43 ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ
ตัวชี้วัดที่ 44 ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน
แบบสรุปผลการวิเคราะหขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)
คณะกรรมการหมูบา น/ชุมชน ผูนําชุมชน หรือผูใหขอมูล
คณะทํางานบริหารการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ระดับตําบล
แบบติดตามผลการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)

115
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ภาคผนวก ข.
แนวทางและขั้นตอนการจัดเก็บขอมูลและแผนปฏิบตั กิ าร
การจัดเก็บขอมูล กชช. 2ค

ขั้นตอน กลไก
กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ ระยะเวลา1
ที่ สนับสนุน
1 คณะกรรมการ 1. ประชุมชี้แจงทําความเขาใจ กรมการ กันยายน
อํานวยการงานพัฒนา เครื่องชี้วดั ขอมูลพื้นฐาน พัฒนา 2564
คุณภาพชีวิตของ ระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ชุมชน
ประชาชน (พชช.) ในแตละหมวด
โดยมี ปลัดกระทรวง 2. ระดมความคิดความคาดหวัง
มหาดไทย เปนประธาน และตัวชี้วัดของแตละ
และมีผูแทนกระทรวง/ กระทรวง / หนวยงานที่
หนวยงานตาง ๆ เปน เกี่ยวของ
กรรมการ และมี 3. ออกแบบวิธีการควบคุมและ
กรมการพัฒนาชุมชน บูรณาการการจัดเก็บขอมูล
เปนฝายเลขานุการ และการใชประโยชนขอมูล
พื้นฐานระดับหมูบาน
(กชช. 2ค) รวมกันระหวาง
หนวยงาน
4. กําหนดการประชาสัมพันธให
เกิดการตระหนักและรับรูถึง
ความสําคัญของขอมูลและ
การนําขอมูลไปใชประโยชน
ในการพัฒนาประเทศรวมกัน
5. แตงตั้งคณะทํางานบริหาร
การจัดเก็บขอมูลฯ ระดับ
จังหวัด
2 คณะทํางานบริหารการ 1. ประชุมชี้แจงทําความเขาใจ สํานักงาน ตุลาคม
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับ เครื่องชี้วดั ขอมูลพื้นฐาน พัฒนา 2564
จังหวัด ระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ใน ชุมชน
โดยมีผูวาราชการ หรือ แตละหมวดกับหนวยงานที่ จังหวัด
รองผูวาราชการทีผ่ ูวา เกี่ยวของระดับจังหวัด
ราชการมอบหมายเปน 2. ออกแบบวิธีการควบคุมและ
ประธาน และมีผูแทน บูรณาการการจัดเก็บขอมูล
จากหนวยงานตาง ๆ ใน และการใชประโยชนขอมูล
จังหวัดเปนกรรมการ พื้นฐานระดับหมูบาน
และให สํานักงาน (กชช. 2ค) รวมกันระหวาง
หนวยงานในจังหวัด
1
เปนขอมูลที่ตองดําเนินการจัดเก็บทุก 2 ป

116
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอน กลไก
กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ ระยะเวลา1
ที่ สนับสนุน
พัฒนาชุมชนจังหวัด 3. กําหนดการประชาสัมพันธให
เปนเลขานุการ เกิดการตระหนักและรับรูถึง
ความสําคัญของขอมูลและ
การนําขอมูลไปใชประโยชน
4. แตงตั้งคณะคณะทํางาน
บริหารการจัดเก็บขอมูลฯ
ระดับอําเภอ
3 คณะทํางานบริหารการ 1. ประชุมชี้แจงทําความเขาใจ สํานักงาน พฤศจิกายน
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับ เครื่องชี้วดั ในแตละหมวดกับ พัฒนา 2564
อําเภอ หนวยงานที่เกี่ยวของระดับ ชุมชน
โดยมีนายอําเภอ เปน อําเภอและองคกรปกครอง อําเภอ
ประธาน และมีผูแทน สวนทองถิ่นในอําเภอ
จากหนวยงานตาง ๆ 2. ออกแบบวิธีการควบคุมและ
ระดับอําเภอเปน บูรณาการการจัดเก็บขอมูล
กรรมการ ทั้งนี้อาจจะ และการใชประโยชนขอมูล
ใหผูบริหารองคกร พื้นฐานระดับหมูบาน
ปกครองสวนทองถิ่นทุก (กชช. 2ค) รวมกันระหวาง
แหงรวมเปนกรรมการ หนวยงานในอําเภอ
ดวย และใหสํานักงาน 3. กําหนดการประชาสัมพันธให
พัฒนาชุมชน เปน เกิดการตระหนักและรับรูถึง
เลขานุการ ความสําคัญของขอมูลและ
การนําขอมูลไปใชประโยชน
4. คณะทํางานบริหารการ
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับตําบล
4 คณะทํางานบริหารการ 1. ประชุมชี้แจงทําความเขาใจ พัฒนากร พฤศจิกายน
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับ เครื่องชี้วดั ขอมูลพื้นฐาน ประจํา 2564 –
ตําบล ระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ใน ตําบลและ กุมภาพันธ
โดยมี นายกเทศมนตรี แตละหมวดกับหนวยงานที่ องคกร 2565
/นายกองคองคการ เกี่ยวของระดับตําบล ปกครอง
บริหารสวนตําบล หรือ 2. แตงตั้งคณะผูจัดเก็บขอมูล สวน
ปลัดองคกรปกครอง ระดับครัวเรือน ทองถิ่น
สวนทองถิ่นเปน 3. ออกแบบวิธีการควบคุมและ
ประธาน และมีผูแทน การบูรณาการการจัดเก็บ
จากหนวยงานตางๆ ใน ขอมูลและการใชประโยชน
ตําบลเปนกรรมการ ขอมูล กชช. 2ค รวมกัน
ทั้งนี้อาจจะแตงตั้ง ระหวางหนวยงานในตําบล
ผูแทนจากคณะผูจ ัดเก็บ 4. กําหนดการประชาสัมพันธให
ขอมูลระดับครัวเรือน เกิดการตระหนักและรับรูถึง
รวมเปนกรรมการดวย ความสําคัญของขอมูลและ
และใหพัฒนากรประจํา การนําขอมูลไปใชประโยชน

117
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอน กลไก
กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ ระยะเวลา1
ที่ สนับสนุน
ตําบลและนักพัฒนา
ชุมชนของ อปท. เปน
เลขานุการและ
ผูชวยเลขานุการของ
คณะทํางาน
5 คณะผูจัดเก็บขอมูล การไดรับความรูความเขาใจ พัฒนากร
ระดับหมูบาน 1. ทําความเขาใจแบบสอบถาม ประจํา
โดย พิจารณาความ ทุกขออยางละเอียด ตําบลและ
เหมาะสมในแตละพื้นที่ 2. อบรมเสริมสรางความรูความ องคกร
ทั้งนี้อาจจะ เขาใจแบบสอบถาม เทคนิค ปกครอง
ประกอบดวย กํานัน และทักษะที่สําคัญในการ สวน
ผูใหญบาน สมาชิกสภา จัดเก็บขอมูล โดยวิทยากรที่ ทองถิ่น
องคการบริหารสวน มีความรูและความเชี่ยวชาญ
ตําบล (ส.อบต.) สมาชิก 3. เสริมสรางทัศนคติที่ดีและ
สภาเทศบาล (สท.) อส ถูกตองเกี่ยวกับเกณฑและ
ม. อพม. กรรมการ ตัวชี้วัดของ ขอมูลพื้นฐาน
หมูบาน หัวหนาคุม/ ระดับหมูบาน (กชช. 2ค)
โซน เปนตน โดยให เพื่อใหไดขอมูลทีเ่ ปน
ประธานคณะทํางาน ประโยชนในการพัฒนาและ
บริหารการจัดเก็บ กําหนดแนวทางการพัฒนา
ขอมูลฯ ระดับตําบล คุณภาพชีวติ ไดอยางถูกตอง
เปนผูแตงตั้ง 4. ควรใหคนในชุมชนมีสวนรวม
ในการจัดเก็บ เนื่องจากการ
จัดเก็บขอมูลขอมูลพื้นฐาน
ระดับหมูบาน (กชช. 2ค)
เปนเรื่องของกระบวนการ
เรียนรูของคนในพื้นที่ เพื่อ
เรียนรูวิถีชีวิตของตนเอง
และในขณะเดียวกันก็เปน
การสํารวจตนเองวาไดรับ
สิทธิสวัสดิการดานตาง ๆ
ของรัฐหรือไม ซึ่งผูจ ัดเก็บ
ควรเปนผูที่มีความใกลชิดกับ
ชุมชน หรือผูนําหมูบาน ซึ่ง
จะไดขอมูลที่มีความเปนจริง
มากที่สุด และเขาใจในบริบท
ของชุมชนตนเองมากที่สุด
6 คณะผูจัดเก็บขอมูล การออกแบบวิธกี ารจัดเก็บ พัฒนากร
ระดับหมูบาน ขอมูล ประจํา
ตําบลและ

118
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอน กลไก
กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ ระยะเวลา1
ที่ สนับสนุน
1. การจัดเก็บขอมูลพื้นฐาน องคกร
ระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ปกครอง
ตามความเหมาะสมของ สวน
บริบทพื้นที่ ทองถิ่น
7 คณะผูจัดเก็บขอมูล การจัดเก็บขอมูล พัฒนากร
ระดับหมูบาน 1. ลงพื้นที่เก็บขอมูลโดยการ ประจํา
สัมภาษณ หรือสนทนากลุม ตําบลและ
กับผูนําชุมชน และอาจจะ องคกร
เชิญชวนสมาชิกในชุมชนรวม ปกครอง
รับฟงและใหขอมูล สวน
ประกอบดวย เพื่อความ ทองถิ่น
สมบูรณและถูกตองของ
ขอมูลเพิ่มมากขึ้น
2. หลังจากการจัดเก็บขอมูลฯ
ทุกขอครบเปนที่เรียบรอย
แลวผูนําชุมชนลงรายชื่อ
รับรองความถูกตองของ
ขอมูล
8 คณะผูจัดเก็บขอมูล บันทึกและประมวลขอมูล พัฒนากร
ระดับหมูบาน 1. การบันทึกขอมูล ผูจ ัดเก็บ ประจํา
ขอมูลและผูใหขอมูล วาผาน ตําบลและ
เกณฑและไมผา นเกณฑใน องคกร
เรื่องใดบาง ปกครอง
2. มอบหมายใหผูนําชุมชนเพื่อ สวน
รับทราบและผลการจัดเก็บ ทองถิ่น
ขอมูลของครัวเรือนตนเอง
และใชประโยชนจากขอมูล
รวมกันในการแกไขปญหา
ของสมาชิกในครัวเรือน
ตอไป
9 คณะผูจัดเก็บขอมูล ตรวจทานขอมูล พัฒนากร
ระดับหมูบาน 1. สอบทานขอมูลที่ถูกตองและ ประจํา
เขมงวด ทั้งนี้อาจจะผูกพันธ ตําบลและ
กับคาตอบแทนที่เหมาะสม องคกร
ปกครอง
สวน
ทองถิ่น
10 คณะผูจัดเก็บขอมูล นําเสนอขอมูลระดับตําบล พัฒนากร
ระดับหมูบาน 1. ประชุมคณะผูจัดเก็บขอมูล ประจํา
ระดับครัวเรือนเพื่อนําเสนอ ตําบลและ

119
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอน กลไก
กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ ระยะเวลา1
ที่ สนับสนุน
ขอมูลและเตรียมนําเสนอให องคกร
คณะทํางานบริหารการ ปกครอง
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับตําบล สวน
รับรอง ทองถิ่น
2. รวมกันสรุปและถอด
บทเรียนการจัดเก็บขอมูลที่
ผานมา
11 คณะทํางานบริหารการ 1. จัดเวทีนําเสนอขอมูลพื้นฐาน พัฒนากร
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับ ระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ประจํา
ตําบล ประจําป ตําบลและ
2. จัดกระบวนการรับรองขอมูล องคกร
ระดับตําบล ปกครอง
3. จัดทํารายงานการพัฒนา สวน
หมูบานชนบทไทยระดับ ทองถิ่น
ตําบล
4. สื่อสารและประชาสัมพันธ
ผานชองทางตางๆ ในระดับ
ตําบล
5. วางแผนการพัฒนาหมูบาน
ชนบทในตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ
ระดับตําบล
12 คณะทํางานบริหารการ 1. จัดเวทีนําเสนอขอมูล สํานักงาน
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับ พื้นฐานระดับหมูบาน พัฒนา
อําเภอ (กชช. 2ค) ประจําป ระดับ ชุมชน
อําเภอ อําเภอ
2. จัดกระบวนการรับรองขอมูล
ระดับอําเภอ
3. จัดทํารายงานการพัฒนา
หมูบานชนบทไทยระดับ
อําเภอ
4. สื่อสารและประชาสัมพันธ
ผานชองทางตางๆ
5. วางแผนการพัฒนาหมูบาน
ชนบทไทยในตัวชี้วัดที่ตก
เกณฑระดับอําเภอ
13 คณะทํางานบริหารการ 1. จัดเวทีนําเสนอขอมูลพื้นฐาน สํานักงาน มีนาคม
จัดเก็บขอมูลฯ ระดับ ระดับหมูบาน (กชช. 2ค) พัฒนา 2565
จังหวัด ประจําป ระดับจังหวัด ชุมชน
2. จัดกระบวนการรับรองขอมูล จังหวัด
ระดับจังหวัด

120
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ขั้นตอน กลไก
กลไกขับเคลื่อน ขอเสนอกระบวนการ ระยะเวลา1
ที่ สนับสนุน
3. จัดทํารายงานการพัฒนา
หมูบานชนบทไทยระดับ
จังหวัด
4. สื่อสารและประชาสัมพันธ
ผานชองทางตาง ๆ
5. วางแผนการพัฒนาหมูบาน
ชนบทไทยในตัวชี้วัดที่ตก
เกณฑระดับจังหวัด
14 คณะกรรมการ 1. ใหความคิดเห็นและรับรอง กรมการ เมษายน
อํานวยการงานพัฒนา ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น พัฒนา 2565
คุณภาพชีวิตของ (กชช. 2ค) ชุมชน
ประชาชน (พชช.) 2. จัดทํารายงานการพัฒนา
หมูบานชนบทไทยประจําป
3. สื่อสารและประชาสัมพันธ
ผานชองทางตาง ๆ
4. วางแผนการพัฒนาหมูบาน
ชนบทไทยในตัวชี้วัดที่ตก
เกณฑ

121
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ภาคผนวก ค.
วิธีการกรอกขอมูล กชช. 2ค
แบบสอบถามขอมูล กชช. 2ค แบงรายละเอียดของแบบสอบถาม ออกเปน 3 สวน ดังนี้
1. คําถาม เปนสวนที่สอบถามขอมูล ที่เปนขอความ และเปนตัวเลข มี 3 แบบ
1.1 แบบเติมคําในชองวางลงบนเสนประ
ตัวอยางที่ 1 ขอ 16.3.7
ขอ คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
16.3.7 ไมดอกไมประดับหรือเพาะพันธุไมเพื่อขายที่ครัวเรือน ระบุ........ดอกเบญมาศ.........
ปลูกกันมาก

1.2 แบบเลือกหมายเลขคําตอบมาใสในชอง  ของคําถามแตละขอ เชน


ตัวอยางที่ 2 ขอ 6.1.4
ขอ คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
6.1.4 ครัวเรือนที่ตองเชาที่ดินทํากิน สวนมากเชาที่ดินจาก คลิกเลือก
ใคร
 พอแม พี่นอง ญาติ
 คนในหมูบาน/ชุมชน
 คนนอกหมูบาน/ชุมชน

จากตัวอยางนี้ แสดงวา ครัวเรือนที่ตองเชาที่ดินทํากิน สวนมากเชาที่ดินจากคนในหมูบาน/ชุมชน


ตัวอยางที่ 3 ขอ 41.1.3
ขอ คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
41.1.3 ในกรณีที่มีปญหามลพิษทางอากาศ มีหนวยงานใดบาง คลิกเลือก
ที่รวมจัดการแกไขปญหา  1) หมูบาน/ชุมชน
 2) อบต./เทศบาล
 3) เอกชน
 4) หนวยงานภาครัฐจาก
สวนกลาง
 5) หนวยงานภาครัฐในพื้นที่
 6) อื่น ๆ

จากตัวอยางนี้ แสดงวา ในกรณีที่มีปญหามลพิษทางอากาศ มีหนวยงานที่รวมจัดการ


แกไขปญหา คือ หมูบาน/ชุมชน อบต./เทศบาล หนวยงานภาครัฐจากสวนกลาง และหนวยงานภาครัฐใน
พื้นที่

122
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

1.3 แบบเติมจํานวนตัวเลข
ตัวอยางที่ 4 ขอ 10.2 ในหมูบาน/ชุมชนนี้มีบริการพื้นที่สาธารณะตอไปนี้หรือไม
(ไมมีใหใส 0)
ขอ คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
10.2 ในหมูบาน/ชุมชนนี้มีบริการพื้นที่สาธารณะตอไปนี้หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 11.1 )
 มี
 1) กิจกรรมธนาคารขาว (ไมจําเปนตองมียุงฉางก็ได) จํานวน...............................แหง
 2) ศาลาประชาคม/ศาลากลางบาน จํานวน...............................แหง
 3) รานคาที่ประชาชนรวมกันลงทุน (เชน ศูนยสาธิต จํานวน...............................แหง
การตลาด สหกรณ รานคา เปนตน)
 4) สถานที่พักผอน/สวนสาธารณะของหมูบาน/ชุมชน จํานวน...............................แหง
หรือ หมูบาน/ชุมชน อยูในรัศมีไมเกิน 3 กิโลเมตร จาก
สถานที่พักผอน/สวนสาธารณะ
 5) หองน้ําสาธารณะในหมูบาน / ชุมชน (ไมนับหองน้ํา จํานวน...............................แหง
ในวัด โรงเรียน หนวยงานราชการ)

จากตัวนี้แสดงวา ในหมูบาน/ชุมชนนี้มีบริการพื้นที่สาธารณะ ศาลาประชาคม/ศาลา


กลางบาน 1 แหง รานคาที่ประชาชนรวมกันลงทุน 1 แหง สถานที่พักผอน/สวนสาธารณะของหมูบาน/
ชุมชน 1 แหง แตไมมีกิจกรรมธนาคารขาว และหองน้ําสาธารณะในหมูบาน /ชุมชน

2. กรอบสี่เหลี่ยม

เปนสวนของคําอธิบายหรือคําแนะนํา เพื่อชวยใหผูกรอกทราบถึงขอความบางขอความ หรือ


วิธีการกรอกแบบสอบถาม หรือเปนสวนแยกยอยของคําถามหลัก สวนของคําอธิบาย หรือคําแนะนํานี้มี
ใหเฉพาะคําถามบางขอ
ตัวอยางที่ 5 ขอ 2 น้ําดื่ม
คําอธิบาย
1. น้ําสะอาด หมายถึง น้ําฝน น้ําประปา และน้ําบาดาล ที่ผานเกณฑมาตรฐานน้ําสะอาดขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) หรือกรมอนามัยที่สาธารณสุขตําบล ตรวจสอบแลววาใชดื่มได ถาเปนน้ํา
จากแหลงธรรมชาติตองผานการตมหรือ แกวงสารสมแลวเติมคลอรีนจึงจะจัดวาเปนน้ําสะอาด หรือน้ํา
ที่ผานเครื่องกรองน้ําที่ไดมาตรฐาน หรือน้ําบรรจุขวด ที่มีเครื่องหมาย อย.
2. เกณฑวัดความเพียงพอของน้ําดื่มและบริโ ภคตลอดป หมายถึง ปริมาณน้ํา 5 ลิตรตอคนตอวัน
(ใชดื่ม 2 ลิตร และอื่น ๆ อีกจํานวน 3 ลิตร ไดแก ใชประกอบอาหาร ลางหนา บวนปากและแปรงฟน
เปนตน)

123
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

3. วงเล็บ

เปนสวนของคําอธิบ ายหรือคํา แนะนํา ขอความที่อยูในวงเล็บ จะชวยใหผูกรอกทราบถึง


ขอความบางขอความ หรือวิธีการกรอกขอมูลเพิ่มเติมบางประการ โดยสวนมากจะใสไวในคําถามหรือ
คําตอบที่มีใหเลือก
ตัวอยางที่ 6 ขอ 3.2
ขอ คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
3.2 บอน้ําตื้น (ใสปลอกซีเมนต, ไม, คอนกรีต, บอดิน)
คลิกเลือก
 1) บอขุดสวนตัว จํานวน  บอ
มีน้ําใชตลอดป  บอ
 2) บอขุดสาธารณะ จํานวน  บอ
มีน้ําใชตลอดป  บอ

124
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

แผนที่ของหมูบา น/ชุมชนนี้ โดยสังเขป


ทิศเหนือ
ระบุพิกัด X : ………………………………Y : ………………………………
ทิศ
ตะวันออก

ถนนลาดยาง/ถนนคอนกรีต วัด หนอง/บึง

ถนนลูกรัง โรงเรียน หอกระจายขาว/เสียงตามสาย

สะพาน ศูนยการเรียนรูชุมชน ที่ทําการ อบต./เทศบาลตําบล

ทางรถไฟ สถานีอนามัย, รพ.สต. ที่ทําการผูใหญบา น/กํานัน

คลอง สถานีตํารวจ ศาลาประชาคม

แมน้ํา รานสะดวกซื้อ บานเรือน

125
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ภาคผนวก ง.
แบบสอบถามขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566 - 2570
ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ประกอบดวย 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด
สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานหมูบาน / ชุมชน

คําอธิบาย
1. จํานวนครัวเรือนที่มีคนอาศัยอยูจริง ไมนอยกวา 6 เดือนติดตอกัน โดยใหนับที่พักอาศัย ดังตอไปนี้ใหเปน 1
ครัวเรือน
- บานที่มีเลขที่บาน
- บานที่ไมมเี ลขที่บาน แตมีการกอสรางที่มีลักษณะถาวร
- หองแถว
- เรือนแพถาวร
- ที่พักอาศัยอื่น ๆ ที่มีคนอาศัยอยูจริง ไมนอยกวา 6 เดือน
2. ขอมูลดานประชากร ดังนี้
- จํานวน / เพศ / อายุแยก 0 – 1 ป / 2 – 5 ป / 6 – 14 ป / 15 – 17 ป / 18 – 59 ป / 60 ปขึ้นไป

1. ขอมูลดานประชากร
1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนทั้งหมด จํานวน ครัวเรือน
1.2 จํานวนประชากรไทยที่อาศัยอยูจริงมีทั้งหมด รวม  คน

1) เพศชาย จํานวน  คน


2) เพศหญิง จํานวน  คน
3) เพศ LGBTI จํานวน  คน

1.2.1 จํานวนประชากรไทยที่อายุ 0 – 1 ป รวม  คน

1) เพศชาย จํานวน  คน


2) เพศหญิง จํานวน  คน
3) เพศ LGBTI จํานวน  คน

1.2.2 จํานวนประชากรไทยที่อายุ 2 – 5 ป รวม  คน

1) เพศชาย จํานวน  คน


2) เพศหญิง จํานวน  คน
3) เพศ LGBTI จํานวน  คน

126
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

1.2.3 จํานวนประชากรไทยที่อายุ 6 – 14 ป รวม  คน

1) เพศชาย จํานวน  คน


2) เพศหญิง จํานวน  คน
3) เพศ LGBTI จํานวน  คน

1.2.4 จํานวนประชากรไทยที่อายุ 15 – 17 ป รวม  คน

1) เพศชาย จํานวน  คน


2) เพศหญิง จํานวน  คน
3) เพศ LGBTI จํานวน  คน

1.2.5 จํานวนประชากรไทยที่อายุ 18 – 59 ป รวม  คน

1) เพศชาย จํานวน  คน


2) เพศหญิง จํานวน  คน
3) เพศ LGBTI จํานวน  คน

1.2.6 จํานวนประชากรไทยที่อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป รวม  คน

1) เพศชาย จํานวน  คน


2) เพศหญิง จํานวน  คน
3) เพศ LGBTI จํานวน  คน

สวนที่ 2 ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค)

หมวดที่ 1 โครงสรางพื้นฐาน
ตัวชี้วัดที่ 1 ถนน

คําอธิบาย
1.ถนนเสนทางหลักของหมูบาน หมายถึง ถนนสายที่อยูเฉพาะภายในเขตพื้นที่ของหมูบาน ที่ประชาชนสวนใหญ
ของหมูบาน ใชเปนเสนทางคมนาคมเปนประจํามากที่สุด (เสนทางหลักเสนเดียวเทานั้น)
2. ใชการไดดี หมายถึง ไมเปนหลุมเปนบอ สัญจรไปมาไดอยางสะดวก
3.อําเภอหรือชุมชนที่ใกลที่สุด หมายถึง อําเภอหรือชุมชนที่คนในหมูบาน/ชุมชนนี้ สวนมากไป ซื้อ-ขายของกินของ
ใช และติดตอราชการ ซึ่งรวมทั้งอําเภอหรือชุมชนที่หมูบาน/ชุมชนนี้ไมไดอยูในเขตการปกครองดวย

127
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
1.1 ถนนเสนทางหลักและสะพานในเขตหมูบาน/ชุมชน
1.1.1 ถนนเสนทางหลักในเขตหมูบาน/ชุมชนนี้แยก
เปนถนนชนิด
คลิกเลือก
 1) ลาดยางหรือคอนกรีต
ยาว  ก.ม  ม.
กวาง  ม.  ซม.
คลิกเลือก
 2) ลูกรังหรือหินคลุก
ยาว  ก.ม  ม.
กวาง  ม.  ซม.
คลิกเลือก
 3) ทางดิน
ยาว  ก.ม  ม.
กวาง  ม.  ซม.
1.1.2 สะพานในเขตหมูบาน/ชุมชนนี้ แยกเปนสะพาน
ชนิด
คลิกเลือก
 1) สะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.)
จํานวน  แหง
คลิกเลือก
 2) สะพานไม
จํานวน  แหง
คลิกเลือก
 3) สะพานเหล็ก
จํานวน  แหง
1.2 ถนนเสนทางหลักในหมูบาน/ชุมชนใชการไดดี คลิกเลือก
หรือไม  ไมดตี ลอดทั้งป
 พอใชได
 ดีเฉพาะในฤดูแลง
 พอใชไดตลอดทั้งป
 ใชการไดดตี ลอดทั้งป
1.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีถนนตลอดเสนทางไปยังอําเภอ คลิกเลือก
หรือชุมชนที่ใกลที่สุดที่คนในหมูบาน/ชุมชนนี้สวนมาก  ไมมี (ไปตอบขอ 1.3.1)
ไปซื้อ-ขายของกินของใชได  มี (ไปตอบขอ 1.3.2)
1.3.1 กรณีทไี่ มมีถนนคนในหมูบา น/ชุมชนนี้สวนมาก
ใชวิธีการใด
คลิกเลือก
 1) รถจักรยานยนต ใชเวลานาน  นาที

128
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
คลิกเลือก
 2) รถจักรยาน ใชเวลานาน  นาที
คลิกเลือก
 3) ทางเดินเทา ใชเวลานาน  นาที
คลิกเลือก
 4) เรือ ใชเวลานาน  นาที
คลิกเลือก
 5) รถไฟ ใชเวลานาน  นาที
คลิกเลือก
 6) อืน่ ๆ ระบุ........ใชเวลานาน  นาที
1.3.2 กรณีที่ มีถนน ถนนมีระยะทางยาวเทาไหรแยก
เปนชนิดถนน ไดดังนี้
คลิกเลือก
 1) ลาดยางหรือคอนกรีต ยาว ก.ม.ม.
คลิกเลือก
 2) ลูกรังหรือหินคลุก ยาว ก.ม.ม.
คลิกเลือก
 3) ทางดิน ยาว ก.ม.ม.
1.3.3 ใชเวลาเดินทางไปยังอําเภอหรือชุมชนดังกลาว ใชเวลา  นาที
เพียงเที่ยวเดียว (ไมนับเที่ยวกลับ) ดวยพาหนะที่นิยมกัน
1.4 พาหนะในหมูบาน/ชุมชน
1.4.1 มีรถรับจาง เชน รถยนต รถสองแถว รถเมล คลิกเลือก
รถมอเตอรไซครับจาง เปนตน วิ่งจากหมูบาน/ชุมชน ถึง  ไมมี (ขามไปตอบขอ 1.4.3)
อําเภอหรือชุมชนที่ใกลที่สดุ หรือไม  มี
1.4.2 ในฤดูฝน มีรถรับจางวิ่งบริการใหลักษณะใด คลิกเลือก
 ไมมีบริการในฤดูฝน
 มีบริการแตไมสม่าํ เสมอ
 มีบริการอยางสม่ําเสมอ
1.4.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีพาหนะอะไรบาง ตอไปนี้ คลิกเลือก
 1) รถปคอัพ, รถเกงสวนบุคคล
จํานวนครัวเรือนที่มรี ถชนิดนี้  ครัวเรือน
จํานวนรถ  คัน
คลิกเลือก
 2) รถจักรยานยนต (มอเตอรไซค)
จํานวนครัวเรือนที่มรี ถชนิดนี้  ครัวเรือน
จํานวนรถ  คัน
คลิกเลือก
 3) รถจักรยาน
จํานวนครัวเรือนที่มรี ถชนิดนี้  ครัวเรือน
จํานวนรถ คัน

129
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
คลิกเลือก
 4) รถอีแตน/รถดัดแปลงอื่น ๆ ที่ใชใน
การเกษตร
จํานวนครัวเรือนที่มรี ถชนิดนี้  ครัวเรือน
จํานวนรถ  คัน
คลิกเลือก
 5) รถไถนาเดินตามที่ใชในการเกษตร
จํานวนครัวเรือนที่มรี ถชนิดนี้  ครัวเรือน
จํานวนรถ  คัน
คลิกเลือก
 6) รถไถนาขนาดใหญที่ใชในการเกษตร
จํานวนครัวเรือนที่มรี ถชนิดนี้  ครัวเรือน
จํานวนรถ คัน
คลิกเลือก
 7) รถบรรทุก (6 ลอ, 10 ลอ)
จํานวนครัวเรือนที่มรี ถชนิดนี้  ครัวเรือน
จํานวนรถ  คัน
คลิกเลือก
 8) รถรับจาง (สองแถว, สามลอเครื่อง, สามลอ
ถีบ, รถโดยสาร, วินมอเตอรไซค)
จํานวนครัวเรือนที่มรี ถชนิดนี้  ครัวเรือน
จํานวนรถ  คัน
คลิกเลือก
 9) เรือ (เรือยนต, เรือพาย ฯลฯ)
จํานวนครัวเรือนที่มรี ถชนิดนี้  ครัวเรือน
จํานวนรถ  คัน

ตัวชี้วัดที่ 2 น้ําดื่ม

คําอธิบาย
1. น้ําสะอาด หมายถึง น้ําฝน น้ําประปา และน้ําบาดาล ที่ผานเกณฑมาตรฐานน้ําสะอาดขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น (อปท.) หรือกรมอนามัยทีส่ าธารณสุขตําบล ตรวจสอบแลววาใชดื่มได ถาเปนน้าํ จากแหลงธรรมชาติตอง
ผานการตมหรือแกวงสารสมแลวเติมคลอรีนจึงจะจัดวาเปนน้ําสะอาด หรือน้ําที่ผานเครื่องกรองน้ําที่ไดมาตรฐาน
หรือน้ําบรรจุขวด ที่มีเครื่องหมาย อย.
2. เกณฑวัดความเพียงพอของน้ําดืม่ และบริโภคตลอดป หมายถึง ปริมาณน้าํ 5 ลิตรตอคนตอวัน (ใชดื่ม 2 ลิตร
และอื่น ๆ อีกจํานวน 3 ลิตร ไดแก ใชประกอบอาหาร ลางหนา บวนปากและแปรงฟน เปนตน)

130
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
2.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนที่มีน้ําสะอาดสําหรับดื่ม จํานวน  ครัวเรือน
และบริโภคเพียงพอตลอดป
2.2 ในกรณีที่ครัวเรือนขาดแคลนน้ําสะอาดสําหรับดื่มและ คลิกเลือก
บริโภค ครัวเรือนสวนมากใชนํา้ จากแหลงใด  บอน้ําตื้น
 บอน้ําบาดาล / น้ําใตดิน
 แหลงน้ําผิวดิน
 ซื้อ โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
เฉลี่ยวันละ  บาท/
ครัวเรือน
 อื่น ๆ ระบุ............................................

ตัวชี้วัดที่ 3 น้ําใช

คําอธิบาย
1. น้ําใช หมายถึง น้ําที่ใชในครัวเรือน สําหรับซักลางและอาบ
2. เกณฑวัดความเพียงพอของน้ําใชตลอดป หมายถึง ปริมาณน้ําที่ใช 45 ลิตรตอคนตอวัน (หรือประมาณ 2 ปบ
ตอคนตอวัน)
3. บอบาดาล/น้ําใตดิน ใหรวมถึง บอตอก และบอเจาะ ดวย
4. บอน้ําตื้น หมายถึง บอที่ใสปลอกซีเมนต ไม คอนกรีต หรือบอดินถาวรที่ใชประจํา
5. น้ําประปา หมายถึง น้ําที่สงไปตามทอใหบริการแจกจายไปถึงครัวเรือนในหมูบาน เชน ประปาภูมิภาค ประปา
ชนบท ประปาหมูบาน หรือประปาภูเขา เปนตน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
3.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนที่มีน้ําใชเพียงพอ จํานวน  ครัวเรือน
ตลอดป
3.2 บอน้ําตื้น (ใสปลอกซีเมนต, ไม, คอนกรีต, บอดิน)
คลิกเลือก
 1) บอขุดสวนตัว
จํานวน  บอ
มีน้ําใชตลอดป  บอ
คลิกเลือก
 2) บอขุดสาธารณะ
จํานวน  บอ
มีน้ําใชตลอดป  บอ
3.3 บอบาดาล/ น้ําใตดิน (บอตอก, บอเจาะ)
คลิกเลือก
 1) บอขุดสวนตัว
จํานวน  บอ
มีน้ําใชตลอดป  บอ

131
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
คลิกเลือก
 2) บอขุดสาธารณะ
จํานวน  บอ
มีน้ําใชตลอดป  บอ
3.4 น้ําผิวดิน
คลิกเลือก
 1) แมน้ํา
จํานวน  สาย
มีน้ําใชตลอดป  สาย
คลิกเลือก
 2) ลําคลอง
จํานวน  สาย
มีน้ําใชตลอดป  สาย
คลิกเลือก
 3) หนอง/ บึง
จํานวน  แหง
มีน้ําใชตลอดป  แหง
คลิกเลือก
 4) แหลงน้ําอื่น ๆ
โปรดระบุ……………………………………………
จํานวน  แหง
มีน้ําใชตลอดป  แหง
3.5 น้ําประปา
1) น้ําประปา
(1) หมูบานนี้มีน้ําประปาใช หรือไม คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
จํานวน  แหง
ใชการได  แหง
(2) ในกรณีทไี่ มมีระบบน้ําประปาใชของ คลิกเลือก
หมูบาน มีการใชน้ําจากแหลงใด  จากหมูบานอื่น
ชื่อหมูบาน..............................................
 จากแหลงน้ําตามธรรมชาติ
โปรดระบุ...............................................
 อื่น ๆ
โปรดระบุ................................................
(3) ในกรณีทมี่ ีระบบน้ําประปาใช มีการผลิต คลิกเลือก
มาจากแหลงใด  แหลงน้ําผิวดิน
 บอบาดาล
 โปรดระบุ................................................

132
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
2) หนวยงานที่ใหบริการน้ําประปา
(1) การประปานครหลวง  คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
(2) การประปาสวนภูมิภาค  คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
(3) ประปาหมูบาน/ ชุมชน/ อปท. คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุแหลงผลิตพลังงาน
 พลังงานไฟฟา
 พลังงานแสงอาทิตย
 พลังงานไฟฟารวม
(ไฟฟา+แสงอาทิตย)
(4) แหลงอื่น ๆ อาทิ โรงเรียน วัด หมูบาน/ คลิกเลือก
ชุมชน  ไมมี
 มี
3) หนวยงานที่ใหบริการน้ําประปา ตามขอ 2) คลิกเลือก
มีการบํารุงรักษาระบบน้ําประปาหรือไม  ไมมี
 มี
4) หนวยงานที่ใหบริการน้ําประปา ตามขอ 2) คลิกเลือก
มีมาตรการปรับปรุงคุณภาพน้ํา ดังนี้หรือไม  ไมมี
 มี
คลิกเลือก
 (1) กระบวนการบําบัดน้ําเสียเพื่อนํากลับมาใชใหม
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
คลิกเลือก
 (2) ปลอยใหมีการทิ้งสารเคมี
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
คลิกเลือก
 (3) กําจัดขยะ / ของเสีย
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
คลิกเลือก
 (4) อื่น ๆ ระบุ............................
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
5) ครัวเรือนที่มีนา้ํ ประปาใชไมเพียงพอตลอดป  เพียงพอตลอดป
 ไมเพียงพอ จํานวน  ครัวเรือน
6) หมูบาน / ชุมชนนี้ มีกิจกรรมปกปองและฟนฟู คลิกเลือก
ระบบนิเวศที่เกีย่ วของกับแหลงน้ําอุปโภคบริโภคหรือไม  ไมมี
 มี โปรดระบุแหลงน้ํา

133
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
คลิกเลือก
 ภูเขา
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
 ปาไม
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
 พื้นที่ชุมน้ํา
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
 แมน้ํา
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
 ชั้นหินอุมน้ํา
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
 ทะเลสาบ
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
 แหลงน้ําที่มนุษยสรางขึ้น
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป
 อื่น ๆ ระบุ...............................
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอป

ตัวชี้วัดที่ 4 น้ําเพื่อการเกษตร

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
4.1 น้ําจากแหลงน้ําในหมูบานและชุมชนนี้ใชสําหรับการ คลิกเลือก
เพาะปลูกเพียงพอหรือไม  ไมเพียงพอ โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
จํานวน  ไร
 เพียงพอเฉพาะฤดูฝน
 เพียงพอตลอดป
 ไมมีแหลงน้ําสําหรับเพาะปลูก
 ไมไดใชแหลงน้ําสําหรับการเพาะปลูก

ตัวชี้วัดที่ 5 ไฟฟาและเชื้อเพลิงในการหุงตม

คําอธิบาย
1. ระยะทางที่มีเศษของกิโลเมตร ใหปดทิ้ง แตถาระยะทางไมถึง 1 กิโลเมตร ใหตอบ 1 กิโลเมตร
2.พลังงานแสงอาทิตย /โซลารโฮม หมายถึง พลังงานที่ไดจากการแผรังสีของดวงอาทิตย
3.พลังงานชีวมวล หมายถึง พลังงานที่ไดจากพืชและสัตวชนิดตาง ๆ เชน เศษไม ขยะ วัสดุเหลือใชทางการเกษตร
โดยกระบวนการแปรรูปชีวมวลไปเปนพลังงานรูปแบบตาง ๆ
4. ไมโครกริด หมายถึง การใชระบบสารสนเทศ ประมวลผล วิเคราะห และสั่งการใหเกิดการผลิตและสงจายไฟฟา
แบบอัตโนมัตภิ ายใตชื่อโครงขายไฟฟาอัจฉริยะหรือสมารทกริด

134
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

5. จํานวนครัวเรือนที่มีไฟฟาใช และ ครัวเรือนที่ไมมีไฟฟาใชทั้งหมด ในขอ 5.1.1.2 เมื่อรวมจํานวนครัวเรือน


จาก ในวงเล็บที่ 1) และ 2) จะตองเทากับจํานวนครัวเรือนทั้งหมดของหมูบาน/ชุมชน ในขอ 1.1 หนา 1
6. มีไฟฟาใช ในขอ 5.1 หมายถึง การมีไฟฟาของรัฐ และ/หรือ ไฟฟาที่ไมใชของรัฐ

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
5.1 ไฟฟา
5.1.1 หมูบา น/ชุมชนนี้ มีไฟฟาใช หรือไม คลิกเลือก
(กรณีที่อนุมัติแลวแตยงั ไมไดติดตั้งใหถือวา มี)  ไมมี (ขามไปตอบขอ 5.1.1.1)
 มี (ขามไปตอบขอ 5.1.1.2)
5.1.1.1 กรณีที่ ไมมีไฟฟา หมูบาน/ชุมชนนี้ เปนระยะทาง  ก.ม.  ม.
อยูหางจากหมูบาน/ชุมชนที่มีไฟฟาใชใกลที่สุด (ขามไปตอบขอ 5.1.2)
5.1.1.2 กรณีที่ มีไฟฟา หมูบาน/ชุมชนนี้มี คลิกเลือก
ไฟฟาใชครบทุกครัวเรือนหรือไม  ไมครบทุกครัวเรือน
 ครบทุกครัวเรือน
1) ครัวเรือนที่มีไฟฟาใชทั้งหมด จํานวน  ครัวเรือน
คลิกเลือก
 (1) ใชไฟฟาของรัฐ จํานวน  ครัวเรือน
คลิกเลือก
 (2) ใชไฟฟาที่ไมใชของรัฐ (เชน เครื่องปนไฟ
พลังงานเชื้อเพลิงดีเซล/พลังงานทดแทนจากชีวมวล/
พลังงานแสงอาทิตย/โซลารโฮม/ไมโครกริด ฯลฯ)
จํานวน  ครัวเรือน
2) ครัวเรือนที่ไมมีไฟฟาใชทั้งหมด จํานวน  ครัวเรือน
5.1.2 กรณีที่ ไมมีไฟฟาของรัฐใช หมูบาน/ชุมชนนี้ คลิกเลือก
ใชไฟฟาจากพลังงานทดแทนหรือไม  ไมใช
 ใช โปรดระบุ
 ใชไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย/
โซลารโฮม/ไมโครกริด
จํานวน  ครัวเรือน
 ใชไฟฟาพลังงานชีวมวล
จํานวน  ครัวเรือน
 ใชพลังงานอื่น ๆ เชน ลม น้ํา
จํานวน  ครัวเรือน
5.2 เชื้อเพลิงในการหุงตม
5.2.1 ครัวเรือนสวนมาก ใชเชื้อเพลิงใดในการหุงตม คลิกเลือก
 กาซบรรจุถังหรือไฟฟา
 ถาน,ฟน,แกลบ
 กาซชีวภาพ

135
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
5.2.2 กรณีที่ใชถานคนสวนมากในหมูบาน/ชุมชน คลิกเลือก
ซื้อหรือทําใชเอง  ซื้อ
 ทําใชเอง
5.2.3 กรณีที่ใชฟน คนสวนมากในหมูบาน/ชุมชน คลิกเลือก
ซื้อหรือทําใชเอง  ซื้อ
 ทําใชเอง
5.2.4 กรณีที่ใชแกลบ คนสวนมากในหมูบาน/ชุมชน คลิกเลือก
ซื้อหรือทําใชเอง  ซื้อ
 ทําใชเอง
5.2.5 กรณีที่ใช กาซชีวภาพ คนสวนมากใน คลิกเลือก
หมูบาน/ชุมชนทําใชในระดับใด  ระดับครัวเรือน
 ระดับหมูบาน/ ชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 6 การมีที่ดินทํากิน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
6.1 การมีที่ดินทํากิน
 6.1.1 ครัวเรือนมีที่ดินทํากินเปนของตนเองและไมตอง
เชา จํานวน  ครัวเรือน
 6.1.2 ครัวเรือนมีที่ดินทํากินเปนของตนเองแตตองเชา จํานวน  ครัวเรือน
เพิ่มบางสวน
6.1.3 ครัวเรือนไมมีที่ดินทํากินเปนของตนเองตองเชา จํานวน  ครัวเรือน
ที่ดินทั้งหมด
6.1.4 ครัวเรือนที่ตองเชาที่ดินทํากิน สวนมากเชาที่ดิน คลิกเลือก
จากใคร  พอแม พี่นอง ญาติ
 คนในหมูบาน/ชุมชน
 คนนอกหมูบาน/ชุมชน

คําอธิบาย 6.2
ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน (Sustainable Agriculture)
องคการสหประชาชาติไดใหความหมายของเกษตรกรรมยั่งยืนวา เปนระบบเกษตรกรรมที่เกี่ยวขอกับการ
ผสมผสานและเชื่อมโยงระหวางดิน การเพาะปลูก และการเลี้ยงสัตว การเลิกหรือลดการใชทรัพยากรจากภายนอก
ระบบที่อาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอมและ/หรือสุขภาพของเกษตรกรและผูบริโภค ตลอดจนเนนการใชเทคนิคที่เปน
หรือปรับใหเปนสวนหนึ่งของกระบวนการธรรมชาติของทองถิ่นนั้น ๆ ซึ่งมีหลักการพื้นฐาน 3 ประการคือ
1) ความยั่งยืนดานเศรษฐกิจ ดวยการพัฒนาการจัดการดินและการหมุนเวียนการปลูกพืชที่ชวยเพิ่มผลผลิต
ลดการพึ่งพาเครื่องจักรและสารเคมีเพื่อการเกษตรทั้งปุยและสารปองกันกําจัดวัชพืชและศัตรูพืช
2) ความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม ดวยการปกปองและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และหาสิ่งทดแทนตบอดจน
นําทรัพยากรธรรมชาติกลับมาเวียนใชใหม เชน ที่ดิน (ดิน) น้ํา และสิ่งมีชีวิตในปา หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีสังเคราะหที่
เปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม โครงสรางของดิน และความหลากหลายทางชีวภาพ

136
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

3) ความยั่ ง ยื น ด า นสั ง คม ด ว ยการใช แ รงงานที่ มี อ ยูใ ห ม ากขึ้ น อย า งน อ ยสํ า หรั บ เทคนิ ค การเกษตร
บางประเภท เพื่อใหเกิดความยุติธรรมและความเปนปกแผนในสังคม
ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน 5 รูปแบบ
1) เกษตรผสมผสาน (Integrated farming) เนน กิจ กรรมการผลิตมากกวาสองกิ จ กรรมขึ้ น ไปในเวลา
เดียวกัน และกิจกรรมเหลานี้เกื้อกูลซึ่งกันและกัน เปนการสรางมูลคาเพิ่มใหมากขึ้นจากการใชประโยชนทรัพยากร
ที่ดินที่มี จํากัด ในไรนาใหเกิดประโยชนสูงสุด
2) เกษตรอินทรี ย (Organic farming) เนน หนัก การผลิต ที่ไ มใชส ารอนิ น ทรี ยเ คมี หรื อ เคมี สั ง เคราะห
แตสามารถ ใชอินทรียเคมีได เชน การสกัดจากสะเดา ตะไครหอมหรือสารสกัดชีวภาพเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ
แกทรัพยากรดิน
3) เกษตรธรรมชาติ (Natural farming) เนนหนักการทําเกษตรที่ไมรบกวนธรรมชาติ หรือรบกวนใหนอย
ที่สุด ที่จะทําได โดยการไมไถพรวน ไมใชสารเคมี ไมใชปุยเคมี และไมก าจัดวัชพืช แตสามารถมีการคลุมดินและใชปุย
พืชสดได
4) เกษตรทฤษฎีใหม (New theory agriculture) เนนหนักการจัดการทรัพยากรน้ําในไรนาใหเพียงพอ เพื่อ
ผลิตพืชอาหาร โดยเฉพาะขาวเอาไวบริโภคในครัวเรือน รวมทั้งมีการผลิตอื่น ๆ เพื่อบริโภคและจําหนาย สวนที่เหลือ
แกตลาด เพื่อสรางรายไดอยางพอเพียง
5) วนเกษตรหรือไรนาปาผสม (Agroforestry) เนนหนักการมีตนไมใหญและพืชเศรษฐกิจหลายระดับที่
เหมาะสม กับแตละพื้นที่ เพื่อการใชประโยชนปาไมของพืชหรือสัตวชนิดตาง ๆ ที่เกื้อกูลกัน ทั้งยังเปนการเพิ่มพื้นที่
ของทรัพยากร

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
6.2 การดําเนินการทางการเกษตร
 6.2.1 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพการเกษตรทั้งหมด จํานวน  ครัวเรือน
(เพาะปลูกหรือเลีย้ งสัตว หรือทั้งเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว)
 6.2.2 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพเพาะปลูก จํานวน  ครัวเรือน
(เฉพาะการเพาะปลูก เชน ทํานา ทําไร ทําสวน และอื่น ๆ)
 6.2.3 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพการเกษตรในบริเวณ จํานวน  ครัวเรือน
บานหรือหัวไรปลายนา เพื่อบริโภคและมีบางสวนเหลือขาย เชน
การปลูกผัก ปลูกพืช ปลูกไมผล เลี้ยงเปด ไก ปลา และอื่น ๆ
 6.2.4 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพการเกษตรแบบยั่งยืน จํานวน  ครัวเรือน
เกษตรผสมผสาน (Integrated farming) พื้นที่  ไร  งาน
 6.2.5 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพการเกษตรแบบยั่งยืน จํานวน  ครัวเรือน
เกษตรอินทรีย (Organic farming) พื้นที่  ไร  งาน
 6.2.6 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพการเกษตรแบบยั่งยืน จํานวน  ครัวเรือน
เกษตรธรรมชาติ (Natural farming) พื้นที่  ไร  งาน
 6.2.7 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพการเกษตรแบบยั่งยืน จํานวน  ครัวเรือน
เกษตรทฤษฎีใหม (New theory agriculture) พื้นที่  ไร  งาน
 6.2.8 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพการเกษตรแบบยั่งยืน จํานวน  ครัวเรือน
วนเกษตรหรือไรนาปาผสม (Agroforestry) พื้นที่  ไร  งาน
 6.2.9 ครัวเรือนที่ประกอบอาชีพการเกษตรที่ใช จํานวน  ครัวเรือน
สารเคมีอยางปลอดภัย (ใชสารเคมีถูกตองตามคําแนะนําในฉลาก พื้นที่  ไร  งาน
หรือเจาหนาทีเ่ กษตร)

137
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 7 การติดตอสื่อสาร

คําอธิบาย
วิทยุสื่อสารสมัครเลน หมายถึง วิทยุคมนาคมที่ไดรับอนุญาตจากทางราชการ โดยนํามาใชเพื่อประโยชนสวนรวม
โดยไมเกี่ยวของกับผลประโยชนทางดานธุรกิจ หรือการเงิน หรือการเมือง

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
7.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีอุปกรณเพื่อการติดตอสื่อสาร คลิกเลือก
ตอไปนี้ หรือไม ใหนับเฉพาะเครื่องมือสื่อสารที่ใชการได  ไมมี (ขามไปตอบขอ 7.2)
เทานั้น  มี
 7.1.1 ครัวเรือนที่มีโทรศัพทเคลื่อนที่ จํานวน  ครัวเรือน
(โทรศัพทมือถือ)
 7.1.2 ครัวเรือนที่มีโทรศัพทประจําบาน จํานวน  ครัวเรือน
 7.1.3 ครัวเรือนที่มีอินเทอรเน็ตประจําบาน จํานวน  ครัวเรือน
 7.1.4 เคเบิ้ลทีวี จํานวน  ครัวเรือน
 7.1.5 จานดาวเทียม จํานวน  ครัวเรือน
 7.1.6 วิทยุสื่อสารสมัครเลน จํานวน  ครัวเรือน
 7.1.7 โทรศัพทสาธารณะ จํานวน  เครือ่ ง
7.2 ในหมูบาน / ชุมชนนี้ สามารถติดตอสื่อสารดวย คลิกเลือก
ชองทางตอไปนี้ หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 7.3)
 มี
 7.2.1 หอกระจายขาวหรือเสียงตามสาย จํานวน  แหง
 7.2.2 สถานที่บริการไปรษณีย (โดยไดรับการ จํานวน  แหง
อนุญาตจาก บริษัท ไปรษณียไ ทย จํากัด และมีสถานที่
ใหบริการ)
 7.2.3 สถานที่บริการไปรษณียเอกชน จํานวน  แหง
 7.2.4 วิทยุชุมชน จํานวน  แหง
7.3 ในหมูบาน / ชุมชนนี้ สามารถเขาถึงสื่อสัญญาณ คลิกเลือก
อินเทอรเน็ต หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 8.1)
 มี
 7.3.1 จํานวนครัวเรือนที่เขาถึงอินเทอรเน็ตประชา จํานวน  ครัวเรือน
รัฐ/อินเทอรเน็ตสาธารณะ
 7.3.2 จํานวนครัวเรือนที่มีอปุ กรณกระจายสัญญาณ จํานวน  ครัวเรือน
อินเทอรเน็ตไรสาย (WIFI)

138
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 8 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

คําอธิบาย
1. สถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัย หมายถึง สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง สถานศึกษาที่ให การอบรมเลี้ย งดู จั ด
ประสบการณ และสงเสริมพัฒนาการการเรียนรูใหเด็กเล็กอายุระหวาง 2-5 ป ใหมีความพรอม ดา นรางกาย
อารมณ-จิตใจ สังคมและสติปญญา
2. มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง แนวทางการดําเนินงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ใหมีมาตรฐานและมี
คุณภาพเปนไปในแนวทางเดียวกัน มี 6 ดาน ประกอบดวย
1) มาตรฐานดานการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
2) มาตรฐานดานบุคลากร
3) มาตรฐานดานอาคาร สถานที่ สิ่งแวดลอมและความปลอดภัย
4) มาตรฐานดานวิชาการ และกิจกรรมตามหลักสูตร
5) มาตรฐานดานการมีสวนรวม และสงเสริมสนับสนุน
6) มาตรฐานดานสงเสริมเครือขายการพัฒนาเด็กปฐมวัย

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
8.1 หมูบาน / ชุมชนนี้ สามารถเขาถึงการบริการสถาน คลิกเลือก
พัฒนาเด็กปฐมวัยหรือไม  เขาไมถึง
 เขาถึง โปรดระบุ
 ภายในหมูบาน/ชุมชน
 ภายในตําบล
 ภายนอกตําบล
8.2 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่หมูบาน / ชุมชนนี้ สามารถ คลิกเลือก
เขาถึงผานมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย  ไมใช
 ใช โปรดระบุ
 สังกัดองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น จํานวน  แหง
 สังกัดเอกชน
จํานวน  แหง
 สังกัดอื่น ๆ ระบุ.................
จํานวน  แหง
8.2.1 ดานการบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
1) รับเด็กปฐมวัยที่มีอายุระหวาง 2-5 ปบริบูรณ คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช
2) มีบริการอาหารกลางวัน/อาหารเสริม(นม) คลิกเลือก
สําหรับเด็กทุกคน  ไมมี
 มี
3) สนับสนุนการเปดบริการตลอดปการศึกษา คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช

139
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
4) มีสื่อ/อุปกรณการเรียนการสอนที่ชวยสงเสริม คลิกเลือก
พัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก  ไมมี
 มี
8.2.2 ดานบุคลากร
1) มีอัตราสวนครูผูดูแลเด็ก/ผูดูแลเด็ก ที่เหมาะสม คลิกเลือก
ตอจํานวนเด็ก (ครู 1: เด็กนักเรียน 10 คน หากมีเด็กนักเรียน  ไมใช
เศษตั้งแต 5 คนขึ้นไปตองเพิ่มครูผูดูแลอีก 1 คน) โดยจัด  ใช
การศึกษาหองละไมเกิน 20 คน
2) มีการพัฒนาทักษะ ความรูความสามารถของ คลิกเลือก
บุคลากรในศูนยฯ อยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ  ไมใช
 ใช
8.2.3 ดานอาคาร สถานที่ สิ่งแวดลอมและความ
ปลอดภัย
1) มีอาคารเรียนที่มั่นคง แข็งแรง ปลอดภัยตาม คลิกเลือก
มาตรฐานทางวิศวกรรม  ไมใช
 ใช
2) มีมาตรการปองกันและเตรียมพรอมรับ คลิกเลือก
สถานการณฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก  ไมใช
 ใช
3) มีสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรูของเด็ก คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช
8.2.4 ดานวิชาการ และกิจกรรมตามหลักสูตร
1) จัดประสบการณการเรียนรูโ ดยยึดหลักตามสูตร คลิกเลือก
การศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560  ไมใช
 ใช
2) มีการประกันคุณภาพภายในของสถานพัฒนาเด็ก คลิกเลือก
ปฐมวัย  ไมใช
 ใช
3) มีการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคลองกับ คลิกเลือก
บริบททองถิ่น  ไมใช
 ใช
8.2.5 ดานการมีสวนรวม และสงเสริมสนับสนุน
1) สนับสนุนใหครอบครัว ชุมชน และหนวยงานที่ คลิกเลือก
เกี่ยวของในพื้นที่เขามามีสวนรวมในการดําเนินงานของศูนยฯ  ไมใช
 ใช
8.2.6 ดานสงเสริมเครือขายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
1) มีการจัดกิจกรรม/เขารวมเครือขายการพัฒนา คลิกเลือก
เด็กปฐมวัย  ไมใช
 ใช

140
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
2) มีการกําหนดแผนงาน/แนวทางขับเคลื่อนอยาง คลิกเลือก
เปนรูปธรรม  ไมใช
 ใช
ตัวชี้วัดที่ 9 สิ่งอํานวยความสะดวกคนพิการและผูสูงอายุ
คําอธิบาย
กฎกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2555 กําหนดใหอาคารหรือสถานที่ของหนวยงานของรัฐ องคกรเอกชน
หรือองคกรอื่นใดใหมีอุปกรณ สิ่งอํานวยความสะดวก หรือบริการเพื่อใหคนพิการสามารถเขาถึงและใชประโยชน
ไดอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (1) ที่นั่งสําหรับคนพิการหรือพื้นที่สําหรับจอดรถเข็นคนพิการ (2) ทางลาด (3)
พื้นผิวตางสัมผัสสําหรับคนพิการทางการเห็น (4) บันไดเลื่อนสําหรับคนพิการ (5) ทางลาดเลื่อนหรือทางเลื่อน
ในแนวราบ (6) ราวกันตกหรือผนังกันตก (7) ถังขยะแบบยกเคลื่อนที่ได (8) สถานที่ติดตอหรือประชาสัมพันธ
สําหรับคนพิการ (9) โทรศัพทสาธารณะสําหรับคนพิการ (10) จุดบริการน้ําดื่มสําหรับคนพิการ (11) ตูบริการ
เงินดวนสําหรับคนพิการ (12) ประตูสําหรับคนพิการ (13) หองน้ําสําหรับคนพิการ (14) ลิฟตสําหรับคนพิการ
(15) ที่จ อดรถสําหรับ คนพิการ (16) สัญ ญาณเสียงและสัญญาณแสงขอความชวยเหลือสํา หรั บคนพิ ก าร
(17) ป า ยแสดงอุ ป กรณ ห รื อ สิ่ง อํ า นวยความสะดวกสํา หรั บ คนพิ ก าร (18) ทางสั ญ จรสํ า หรับ คนพิ ก าร
(19) ตูไปรษณียสําหรับคนพิการ (20) พื้นที่สําหรับหนีภัยของคนพิการ (21) การประกาศเตือนภัยสําหรับ
คนพิ ก ารทางการเห็น และตั วอัก ษรไฟวิ่งหรือ สัญญาณไฟเตือ นภัย สํา หรั บ คนพิก ารทางการไดยิ น หรื อสื่อ
ความหมาย (22) การประกาศขอมูลที่เปนประโยชนสําหรับ คนพิการทางการเห็น และตัวอั กษรไฟวิ่งหรือ
ป า ยแสดงความหมายสํ า หรั บ คนพิ ก ารทางการได ยิ น หรื อ สื่ อ ความหมาย และ (23) เจ า หน า ที่ ซึ่ ง ผ า น
การฝกอบรมและมีคุณสมบัติตรงกับความตองการของคนพิการแตละประเภท อยางนอยหนึ่งคนเพื่อใหบริการ
คนพิการ
คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
9.1 อาคารหรือสถานทีข่ องหนวยงานของรัฐ องคกร
เอกชน หรือองคกรอื่น ๆ ในหมูบาน/ชุมชนนี้ มีสิ่งอํานวย
ความสะดวกแกคนพิการและผูสูงอายุ ดังตอไปนี้หรือไม
1) ที่นั่งสําหรับคนพิการหรือพื้นที่สําหรับจอดรถเข็น คลิกเลือก
คนพิการและผูส ูงอายุ  ไมมี
 มี โปรดระบุ 
ตอบ 0 ไมเพียงพอ
ตอบ 1 เพียงพอ
2) ทางลาด คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
ตอบ 0 ไมเพียงพอ
ตอบ 1 เพียงพอ
3) พื้นผิวตางสัมผัสสําหรับคนพิการทางการเห็น คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
ตอบ 0 ไมเพียงพอ
ตอบ 1 เพียงพอ

141
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
4) บันไดเลื่อนสําหรับคนพิการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
5) ทางลาดเลื่อนหรือทางเลื่อนในแนวราบ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
6) ราวกันตกหรือผนังกันตก คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
7) ถังขยะแบบยกเคลื่อนทีไ่ ด คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
8) สถานที่ติดตอหรือประชาสัมพันธสาํ หรับคนพิการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
9) โทรศัพทสาธารณะสําหรับคนพิการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
10) จุดบริการน้ําดื่มสําหรับคนพิการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
11) ตูบริการเงินดวนสําหรับคนพิการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ 
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ

142
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
12) ประตูสําหรับคนพิการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
13) หองน้ําสําหรับคนพิการและผูส ูงอายุ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
14) ลิฟตสําหรับคนพิการและผูส ูงอายุ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
15) ที่จอดรถสําหรับคนพิการและผูสูงอายุ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
16) สัญญาณเสียงและสัญญาณแสงขอความ คลิกเลือก
ชวยเหลือสําหรับคนพิการและผูส ูงอายุ  ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
17) ปายแสดงอุปกรณหรือสิ่งอํานวยความสะดวก คลิกเลือก
สําหรับคนพิการและผูส ูงอายุ  ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
18) ทางสัญจรสําหรับคนพิการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
19) ตูไปรษณียส ําหรับคนพิการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ

143
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
20) พื้นที่สําหรับหนีภัยของคนพิการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
21) การประกาศเตือนภัยสําหรับคนพิการทาง คลิกเลือก
การเห็นฯ  ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
22) การประกาศขอมูลที่เปนประโยชนสําหรับ คลิกเลือก
คนพิการทางการเห็นฯ  ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ
23) เจาหนาที่ซึ่งผานการฝกอบรมคอยใหบริการ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
 ไมเพียงพอ
 เพียงพอ

ตัวชี้วัดที่ 10 พื้นที่สาธารณะสีเขียวและพื้นที่สาธารณะประโยชน

คําอธิบาย
1. พื้นที่สีเขียว คือ อาณาบริเวณที่มีพืชขึ้นปกคลุม ไมวาจะเปนทั้งในเมือง และนอกเมืองโดยที่ประชาชนสามารถ
เขาไปใชประโยชนได ซึ่งประโยชนนี้อาจจะเปนทางตรงหรือทางออมก็ได ไมวาจะเปนพักผอนหยอนใจ ออกกําลัง
กาย เชน สวนสาธารณะ สวนหยอม พื้นที่สีเขียวบริการของหมูบาน เกาะกลางถนน ตนไมสองขางทาง เปนตน
2. พื้นที่สาธารณะ คือ พื้นที่ที่ประชาชนทุกคนสามารถเขาถึงและเขาใชได สามารถแสดงออกไดทางความคิดของ
ตนเองไดโดยไมขัดตอกฎกติกาของสวนรวม เชน ลานชุมชน ลานเมือง ศาลาประชาคม หองน้ําสาธารณะ เปนตน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
10.1 ในหมูบาน / ชุมชนนี้ มีพื้นที่สาธารณะสีเขียว คลิกเลือก
หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 10.2)
 มี
10.1.1 จํานวนพื้นที่สาธารณะสีเขียว จํานวน  แหง
ของภาครัฐ  แหง
ของภาคเอกชน  แหง
ขนาดพื้นที่โดยเฉลี่ย  ตารางเมตร

144
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
10.1.2 ประชาชนในหมูบาน / ชุมชน ใชบริการ จํานวนผูใชบริการคิดเปนรอยละ 
พื้นที่สาธารณะสีเขียว ของประชาชนในหมูบาน /ชุมชน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
10.1.3 มีระบบรักษาความปลอดภัยหรือไม คลิกเลือก
(เชน ศูนยรักษาความปลอดภัย เจาหนาที่รักษาความ  ไมมี
ปลอดภัย กลองวงจรปด เปนตน)  มี
มีระบบรักษาความปลอดภัย  แหง
10.1.4 ในรอบปที่ผานมา ไดมีการบํารุงรักษา คลิกเลือก
พื้นที่สาธารณะสีเขียว หรือไม  ไมมี
 มี
เฉลี่ยตอเดือน  ครั้ง
10.1.5 เปดโอกาสใหคนในหมูบา น / ชุมชน มี คลิกเลือก
สวนรวมบํารุงรักษาพื้นที่สาธารณะสีเขียวหรือไม  ไมมี
 มี
จํานวนครัวเรือนที่เขารวมครัวเรือน
10.2 ในหมูบาน/ชุมชนนี้มีบริการพื้นที่สาธารณะ คลิกเลือก
ตอไปนี้หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 11.1)
 มี
 1) กิจกรรมธนาคารขาว (ไมจําเปนตองมียุง จํานวน  แหง
ฉางก็ได)
 2) ศาลาประชาคม/ศาลากลางบาน จํานวน  แหง
 3) รานคาที่ประชาชนรวมกันลงทุน (เชน จํานวน  แหง
ศูนยสาธิต การตลาด สหกรณ รานคา เปนตน)
 4) สถานที่พักผอน/สวนสาธารณะของ จํานวน  แหง
หมูบาน/ชุมชน หรือ หมูบา น/ชุมชน อยูในรัศมีไมเกิน 3
กิโลเมตร จากสถานที่พักผอน/สวนสาธารณะ
 5) หองน้ําสาธารณะในหมูบา น / ชุมชน (ไม จํานวน  หอง
นับหองน้ําในวัด โรงเรียน หนวยงานราชการ)

145
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ตัวชี้วัดที่ 11 การมีงานทํา

คําอธิบาย
1. การมีงานทํา ใหนับคนอายุ 15-59 ป มีการประกอบอาชีพและที่มีรายได (ยกเวนผูที่กําลังศึกษาอยางเดียว โดย
ไมไดประกอบอาชีพ หรือคนพิการที่ไมสามารถชวยตนเองได)
2. การประกอบอาชีพและมีรายได คือ การทํางานที่เปนงานประจําทุกอาชีพ ทั้งที่อยูภายในครัวเรือนหรือนอก
ครัวเรือน โดยมีรายไดที่เกิดจากการทํางานดังกลาว ทั้งในลักษณะรายวัน รายสัปดาห รายเดือน รายชิ้นงาน หรือ
งานเหมา
3. แรงงานนอกระบบ คือ ผูมีงานทําที่ไมไดรับความคุมครอง หรือไมมีหลักประกันทางสังคมจากการทํางาน” หรือ
กล าวอีกนัยหนึ่งวา เป น “ผูที่ทํางานสวนตัวโดยจะมีลูกจ า งหรือไมก็ได หรือลูก จ างที่ไม มี ประกันสังคมหรื อ
สวัสดิการพนักงานของรัฐ”
4. สถานภาพการทํางานแรงงานนอกระบบสวนใหญ คือ ประกอบธุรกิจสวนตัวโดยไมมีลูกจาง ธุรกิจครัวเรือน
ลูกจางเอกชน (ไมประกันตนและทํางานไมถึง 3 เดือน) นายจาง (ไมประกันตน) ลูกจางรัฐบาล (ผูรับจางเหมาไม
ประกันตน) และการรวมกลุมของแรงงานนอกระบบ
5. งานที่รับไปทําที่บาน หมายถึง งานที่ลูกจางรับจากนายจางไปผลิต ประกอบ บรรจุ ซอมหรือแปรรูปสิ่งของใน
บานของลูกจาง หรือสถานที่อื่น ที่มิใชสถานประกอบกิจการของนายจางตามที่ไดตกลงกันเพื่อรับคาจาง โดยใช
วัตถุดิบหรืออุปกรณในการผลิตของนายจางทั้งหมดหรือบางสวน และโดยปกติ การทํางานนั้นเปนสวนหนึ่งสวน
ใด หรือทั้งหมดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของนายจาง
6. แรงงานขามชาติ/แรงงานตางดาว คือ บุคคลที่ไมไดมีสัญชาติไทย ไมมีบัตรประจําตัวประชาชน เปนบุคคลที่มี
สัญชาติอื่นที่ไดมีการอพยพ ยายถิ่นฐานเขามาทํางานในประเทศไทย

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
11.1 คนอายุ 15 - 59 ป มีการประกอบอาชีพและมี รวม  คน
รายได เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
11.2 คนอายุ 15 - 59 ป ไมมีการประกอบอาชีพและ รวม  คน
ไมมรี ายได เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
11.3 คนอายุ 60 ปขึ้นไป มีการประกอบอาชีพและมี รวม  คน
รายได เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
11.4 คนในหมูบาน/ชุมชน มีคนที่เรียนจบการศึกษา รวม  คน
ตั้งแตมัธยมศึกษาปที่ 3 ขึ้นไปหรือเทียบเทา ที่ไมได เพศชาย  คน
ทํางาน (ไมนับคนที่กําลังศึกษาตอ และคนพิการที่ เพศหญิง  คน
ไมสามารถชวยเหลือตนเองได) เพศ LGBTI  คน

146
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
11.5 จํานวนครัวเรือนที่มีคนประกอบอาชีพรับจาง จํานวน  ครัวเรือน
11.6 คนสวนมากในหมูบาน/ชุมชนรับจางทํางาน คลิกเลือก
ประเภทใด  งานอุตสาหกรรมในโรงงาน
 รับเหมาชวงงานผลิตสินคาขนาดยอม
(เชน เย็บเสื้อโหล ไฟกระพริบ ทําหมวก)
 งานเกษตรกรรม (กสิกรรม ปศุสัตว)
 งานประมง
 งานบริการ (เชน รับใชในบาน สถาน
เริงรมย ขับรถรับจาง ฯลฯ)
 งานชางฝมือ (เชน ชางไม ชางปูน ชาง
ซอมเครื่องยนตฯลฯ)
 งานเหมืองแร
 งานปลูก และบํารุงรักษาปาไม
 งานปลูกสราง/รื้อถอน/ซอมแซมอาคาร
สิ่งกอสราง
 รับจางกรีดยางพารา
 อื่น ๆ ระบุ...............................................
11.7 ครัวเรือนมีรายไดจากการรับจาง โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
11.8 คาจางทั่วไป สําหรับงานที่คนสวนมากไปรับจางทํา
ประมาณวันละ  บาท
 11.9 ครัวเรือนในหมูบาน/ชุมชนนี้ มีการจาง จํานวน  ครัวเรือน
แรงงานขามชาติทํางาน
11.10 แรงงานขามชาติสวนมากรับจางทํางานประเภท คลิกเลือก
ใด  งานอุตสาหกรรมในโรงงาน
 รับเหมาชวงงานผลิตสินคาขนาดยอม
(เชน เย็บเสื้อโหล ไฟกระพริบ ทําหมวก)
 งานเกษตรกรรม (กสิกรรม ปศุสัตว)
 งานประมง
 งานบริการ (เชน รับใชในบาน สถาน
เริงรมย ขับรถรับจาง ฯลฯ)
 งานชางฝมือ (เชน ชางไม ชางปูน ชาง
ซอมเครื่องยนตฯลฯ)
 งานเหมืองแร
 งานปลูก และบํารุงรักษาปาไม
 งานปลูกสราง/รื้อถอน/ซอมแซมอาคาร
สิ่งกอสราง
 รับจางกรีดยางพารา
 อื่น ๆ ระบุ...............................................
11.11 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีกลุมแรงงานนอกระบบ คลิกเลือก
หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 12)
 มี

147
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
11.12 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีกลุมแรงงานนอกระบบและ
สมาชิกรวม แยกตามประเภทได ดังนี้
 1) กลุมผูร ับงานไปทําที่บาน จํานวน  กลุม
มีสมาชิกรวม  คน
จํานวน  ครัวเรือน
 2) กลุมวิสาหกิจชุมชน จํานวน  กลุม
มีสมาชิกรวม  คน
จํานวน  ครัวเรือน
 3) อื่น ๆ ระบุ......................................... จํานวน  กลุม
มีสมาชิกรวม  คน
จํานวน  ครัวเรือน
11.13 กลุมแรงงานนอกระบบทีม่ ีจํานวนสมาชิกมาก คลิกเลือก
เปนอันดับทีห่ นึ่ง  กลุมผูร ับงานไปทําที่บาน
 กลุมวิสาหกิจชุมชน
 อื่น ๆ ระบุ.........................................
1) จํานวนครัวเรือนที่มคี นที่อยูในกลุม แรงงาน จํานวน  ครัวเรือน
นอกระบบประเภทนี้
2) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
11.14 กลุมแรงงานนอกระบบทีม่ ีจํานวนสมาชิกมาก คลิกเลือก
เปนอันดับทีส่ อง  กลุมผูร ับงานไปทําที่บาน
 กลุมวิสาหกิจชุมชน
 อื่น ๆ ระบุ.........................................
1) จํานวนครัวเรือนที่มคี นที่อยูในกลุม แรงงาน จํานวน  ครัวเรือน
นอกระบบประเภทนี้
2) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
11.15 กลุมแรงงานนอกระบบทีม่ ีจํานวนสมาชิกมาก คลิกเลือก
เปนอันดับทีส่ าม  กลุมผูร ับงานไปทําที่บาน
 กลุมวิสาหกิจชุมชน
 อื่น ๆ ระบุ.........................................
1) จํานวนครัวเรือนที่มคี นที่อยูในกลุม แรงงาน จํานวน  ครัวเรือน
นอกระบบประเภทนี้
2) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป

ตัวชี้วัดที่ 12 การทํางานในสถานประกอบการ

คําอธิบาย
1. สถานประกอบการ หมายถึง สถานที่ที่ใชในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจและอยูในที่ตั้งที่แนนอน ไมวา
กิจกรรมนั้นจะดําเนินงานโดยบุคคลที่เปนเจาของหรือควบคุมกิจกรรมโดยนิติบุคคลก็ตาม
2. โรงงานอุตสาหกรรม หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแตหาแรงมาหรือ
กําลังเทียบเทาตั้งแตหาแรงมาขึ้นไป หรือใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนขึ้นไปโดยใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม สําหรับทํา
ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใด ๆ ไมนับ

148
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

งานที่รับชวงมาทํา เชน เย็บเสื้อโหล ทําไฟกระพริบ ทําหมวก และไมนับอุตสาหกรรมในครัวเรือน ตามขอ 13


รานคา บริษัท หางราน โรงแรม รีสอรท เปนตน
3. โรงงาน หมายถึ ง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลั งรวมตั้งแตห าสิบ แรงมา หรื อกํ าลัง
เทีย บเทา ตั้ง แตหา สิ บแรงมา ขึ้นไป หรือ ใช คนงานตั้ง แต หาสิบ คนขึ้ นไป โดยใชเ ครื่องจั กรหรือ ไม ก็ต ามเพื่อ
ประกอบกิจการโรงงาน ทั้งนี้ ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง
4. การทํางานนอกตําบล หมายถึง คนงานที่อพยพไปทํางานในที่ตาง ๆ ทั้งในหรือตางประเทศ เปนการชั่วคราว
หรือถาวร ตามความตองการของตลาดแรงงาน และโอกาสการมีงานทํา ดังนั้นไมนับคนงานที่ทํางานแบบไป-กลับ
ในวันเดียว

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
12.1 การทํางานในสถานประกอบการ (ไมรวม
โรงงานอุตสาหกรรม)
12.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีสถานประกอบการ คลิกเลือก
ภายในตําบล หรือไม  ไมมี
 มี
12.1.2 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนที่มี คลิกเลือก
คนทํางานในสถานประกอบการ แยกเปน  ไมมี
 มี
 1) ทํางานในสถานประกอบการ จํานวน  ครัวเรือน
ภายในตําบลนี้
 2) ทํางานในสถานประกอบการ จํานวน  ครัวเรือน
ภายนอกตําบลนี้
12.1.3 ครัวเรือนมีรายไดจากการทํางานใน ครัวเรือนละ  บาทตอป
สถานประกอบการ โดยเฉลีย่
12.1.4 ชั่วโมงการทํางานในสถานประกอบการ จํานวน  ชั่วโมง ตอคนตอวัน
โดยเฉลี่ย
12.2 อุตสาหกรรมภายในทองถิ่น
12.2.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีโรงงานอุตสาหกรรม คลิกเลือก
หรือไม  ไมมี
 มี
12.2.2 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนที่มี คลิกเลือก
คนทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมที่อยูภายในตําบล  ไมมี (ขามไปตอบขอ 13)
หรือไม  มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
1) จากขอ 12.2.2 ครัวเรือนมีรายได ครัวเรือนละ  บาทตอป
โดยเฉลี่ย
2) จากขอ 12.2.2 โรงงาน ระบุ.....................................................................
อุตสาหกรรมมีสินคาและผลิตภัณฑที่
ผลิตมากที่สดุ

149
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 13 รานอาหารและรานคา

คําอธิบาย
1. รานอาหาร หมายถึง อาคารที่จัดไวเพื่อประกอบอาหารหรือปรุงอาหารจนสําเร็จและจําหนาย ใหผูซื้อสามารถ
บริโภคไดทันทีซึ่งครอบคลุมถึงภัตตาคาร สวนอาหาร หองอาหารในโรงแรมและศูนยอาหาร
2. แผงลอยจําหนายอาหาร หมายถึง แคร แทน โตะ แผง รถเข็น หรือพาหนะอื่นใด ที่ขายอาหาร เครื่องดื่ม น้ําแข็ง
โดยตั้งประจําที่
3. รานอาหารและแผงลอยจําหนายอาหารไดมาตรฐานทองถิ่น หมายถึง รานอาหาร และแผงลอยจําหนายอาหาร
ผาน เกณฑมาตรฐานตามเทศบัญญัติหรือขอกําหนดของทองถิ่น (เทศบาล/อบต.) หรือกรณีที่เทศบาล/อบต.
ยังไมมีการออกเทศบัญญัติหรือขอกําหนด ก็จะถือตามขอกําหนดดานสุขาภิบาลอาหารของรานอาหาร และแผง
ลอยจําหนายอาหาร ที่ออกโดยกรมอนามัย
4. รานคา ใหนับเฉพาะรานคาที่มีอาคารสถานที่ถาวร ไมนับหาบเร/แผงลอย ในกรณีที่รานคาที่ขายของหลายอยาง
ในรานเดียวกัน ใหนับเปน 1 ราน โดยไมนับซ้ํา (เชน เปนรานที่ซอมรถยนต และเชื่อมโลหะดวย แตมีรายไดจาก
การซอมรถยนตเปนหลักก็ใหนับเปนรานซอมรถยนต เปนตน)

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
13.1 รานอาหาร
13.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีรานอาหารที่ไดรับ คลิกเลือก
มาตรฐานทองถิ่นหรือกรมอนามัย  ไมมี
 มี โปรดระบุ จํานวน  แหง
13.1.2 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีแผงลอยที่ไดรับ คลิกเลือก
มาตรฐานทองถิ่นหรือกรมอนามัย  ไมมี
 มี โปรดระบุ จํานวน  แหง
13.1.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีรานอาหารที่ไดรับ คลิกเลือก
มาตรฐานทองถิ่นหรือกรมอนามัยที่มีการรองเรียนจาก  ไมมี
ลูกคาเรื่องความไมสะอาดของสถานที่และอาหารกี่แหง  มี โปรดระบุ จํานวน  แหง

13.1.4 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีแผงลอยที่ไดรับ คลิกเลือก


มาตรฐานทองถิ่นหรือกรมอนามัยที่มีการรองเรียนจาก  ไมมี
ลูกคาเรื่องความไมสะอาดของสถานที่และอาหารกี่แหง  มี โปรดระบุ จํานวน  แหง
13.2 รานคา
13.2.1 หมูบาน/ ชุมชนนี้ มีบริการรานคาตาง ๆ คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 14)
 มี โปรดระบุ จํานวน  แหง
 13.2.2 รานคาขายของชํา หรือขายของ จํานวน  แหง
เบ็ดเตล็ดและ/หรือผลิตภัณฑของหมูบาน
 13.2.3 รานสะดวกซื้อ จํานวน  แหง
 13.2.4 รานขายของปจจัยการผลิต (ทาง จํานวน  แหง
การเกษตร ประมง ปาไม เชน เมล็ดพันธุพืช ปุย
สารเคมีทางการเกษตร เครื่องจักรกลการเกษตร ฯลฯ)

150
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 13.2.5 รานจําหนายหรือซอมรถยนต จํานวน  แหง
รถจักรยานยนต รถจักรยาน
 13.2.6 รานจําหนายหรือซอม จํานวน  แหง
เครื่องใชไฟฟา วิทยุ โทรทัศน คอมพิวเตอร ฯลฯ
 13.2.7 รานคาที่ประชาชนลงทุนรวมกันใน จํานวน  แหง
ชุมชน (เชน ศูนยสาธิตการตลาด, รานคาหมูบาน/ชุมชน
เปนตน)
 13.2.8 รานซอมเครื่องมือและอุปกรณ จํานวน  แหง
ทางการเกษตร
 13.2.9 รานจําหนายกาซหุงตม จํานวน  แหง
 13.2.10 มีสถานบริการน้ํามันเชื้อเพลิง จํานวน  แหง
(ปมน้ํามัน, ปมหลอด, ปมหยอดเหรียญ)
 13.2.11 หมูบาน/ชุมชนนี้มจี ํานวนโรงสี จํานวน  แหง
ทั้งหมด
1) ขนาดเล็กไมเกิน 20 แรงมา จํานวน  เครื่อง
2) ขนาดกลาง 20-50 แรงมา จํานวน  เครื่อง
3) ขนาดใหญ มากกวา 50 แรงมา จํานวน  เครื่อง
 13.2.12 อื่น ๆ (ระบุ................................) จํานวน  แหง

ตัวชี้วัดที่ 14 ผลผลิตจากการทํานา
(ไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือหัวไรปลายนา)

คําอธิบาย
1. ครัวเรือนมีรายไดเฉลี่ยครัวเรือนละกี่บาทตอป เปนรายไดที่ไมหักคาใชจายจะไดทราบมูลคาของผลผลิตทั้งหมด
ของครัวเรือน
2. ชีวภัณฑ หมายถึง ชีวินทรีย ไดแก รา แบคทีเรีย ไวรัส ไสเดือนฝอย และแมลงศัตรูพืชธรรมชาติ ใชเปนสาร
ควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช เพื่อลดหรือทดแทนสารปองกันกําจัดศัตรูพืช โดยจะตองเปนชีวภัณฑที่มีความ
ปลอดภัยตอมนุษย และสัตวรวมทั้งสภาพแวดลอม และสามารถผลิตขยายปริมาณไดมากพอเพียงตอการนําไปใช
ประโยชน เชน แบคทีเรียบีทีกําจัดแมลง ไวรัสเอ็นพีวี ไสเดือนฝอยกําจัดแมลง แบคทีเรียบาซิลัสควบคุมโรคพืช
แมลงหางหนีบ ไร ตัวห้ํา มวนพิฆาต ดวงเตา แมลงวันซีโนเซีย แตนเบียน แมลงดําหนาม เชื้อราเขียว เชื้อโปรโต
ซัว เชื้อรา เชื้อราไตรโคเดอรมา เปนตน
3. พันธุขาวสงเสริมหรือพันธุขาวราชการ หมายถึง ขาวพันธุดีที่ทางราชการรับรอง หรือสงเสริมใหเกษตรกรทํา
การเพาะปลูก ซึ่งไดแก พันธุ กข. พันธุดีอื่น ๆ ที่เปนที่นิยมของเกษตรกร เชน กข.7 กข.10 สุพรรณบุรี 60 ขาว
ขาวดอกมะลิ 5 ขาวดอกมะลิ 105 เปนตน
4. การแปลงมาตราชั่ง ตวง วัด
1 เกวียน (ขาว) = 1,000 กก. 1 ถัง (ขาวเปลือก) = 10 กก.
1 หาบ (เล็ก) = 60 กก. 1 ถัง (ขาวสาร) = 15 กก.
1 หาบ (ใหญ) = 100 กก. 1 ถัง (ถั่วตาง ๆ) = 15 กก.
1 หมื่น (ขาว) = 12 กก. 1 ตัน = 1,000 กก.
1 ลิตร (ขาวสาร) = 3/4 กก.

151
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
14.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นที่ทํานาหรือไม คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปขอ 15)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ไร
14.2 ครัวเรือนที่ทํานา มีทั้งหมด (ไมนับการปลูกขาวไร คลิกเลือก
เพราะถือเปนการปลูกพืชไรอายุยาว)  ไมมีครัวเรือนที่ทํานา
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
14.3 ครัวเรือนที่ทํานา ใชที่นาแยกตามขนาดพื้นที่
ดังนี้ (รวมที่นาของตนเองและ/หรือผูเชาอื่น ทั้งที่อยูใน
และนอกเขตหมูบาน/ชุมชน)
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 1) ไมเกิน 5 ไร
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 2) มากกวา 5-10 ไร
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 3) มากกวา 10-20 ไร
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 4) มากกวา 20-50 ไร
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 5) มากกวา 50 ไร
14.4 ครัวเรือนมีรายไดจากการทํานา โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
14.5 ครัวเรือนทํานาปละ
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 1) หนึ่งครั้ง
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 2) สองครั้ง
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 3) มากกวาสองครั้ง
14.6 ครัวเรือนทํานาแยกตามประเภท ดังนี้
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 1) นาดํา
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 2) นาหวาน
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 3) นาหวานน้ําตม
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 4) นาโยน
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 5) นาขั้นบันได

152
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน


 6) ทํามากกวา 1 รูปแบบ/วิธีการ
14.7 ในปที่ผานมา ครัวเรือนไดผลผลิตขาวเปลือก ไรละ  กิโลกรัม
โดยเฉลี่ย
14.8 ในชวงระยะเวลาที่คนสวนมากขายขาวเปลือกจะ ราคากิโลกรัมละ  บาท  สตางค
ขายไดโดยเฉลี่ย
14.9 ครัวเรือนสวนมากขายขาวในลักษณะใด คลิกเลือก
 ตลาดกลางขาว
 ขายใหกลุมสหกรณการเกษตรหรือกลุม
เกษตรกร
 ขายใหวิสาหกิจชุมชน
 ขายใหโรงสีในตําบล
 ขายใหโรงสีในอําเภอ
 ขายใหโรงสีในจังหวัด
 ขายลวงหนาหรือตกเขียว
 มีพอคามารับซื้อ
 นําไปขายเองนอกจังหวัด
 อื่น ๆ ระบุ..................................................
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 14.10 ครัวเรือนที่คดั พันธุขาวไวใชเอง
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 14.11 ครัวเรือนที่ใชพันธุขาวสงเสริมโดยรัฐบาล
คลิกเลือก จํานวน  ครัวเรือน
 14.12 ครัวเรือนที่ใชปุยในการทํานา
คลิกเลือก ครัวเรือนละ  บาทตอไร
 14.13 คาใชจายในการซื้อปุย โดยเฉลี่ย
14.14 ครัวเรือนสวนมากใชปุยประเภทใด คลิกเลือก
 ปุยอินทรีย
 ปุยเคมี
 ปุยอินทรียและปุยเคมี
 อื่น ๆ ระบุ...........................................
14.15 ครัวเรือนมีวิธีการปองกันและกําจัดแมลง
วัชพืช โรคพืช และสัตวที่เปนศัตรูพืชหรือไม แบบใด
1) ใชสารเคมี คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร

153
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

2) ใชสารชีวภัณฑ คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
3) ใชวิธีแบบผสมผสาน (ใชทั้งสารเคมีและสารชีว คลิกเลือก
ภัณฑ)  ไมใช
 ใช
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร

ตัวชี้วัดที่ 15 ผลผลิตจากการทําไร
(ไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือหัวไรปลายนา)

คําอธิบาย
1. การแปลงมาตราชั่ง ตวง วัด
ถาผลผลิตของพืชไรใดในขอ 15 นี้ ไมใชหนวยวัดเปนกิโลกรัม ใหประเมินเปนกิโลกรัม
ผลผลิตใดที่ไมมีในตารางการแปลงมาตราชั่ง ตวง วัด นี้ ใหประมาณคาเปนกิโลกรัม
ขาวโพดเลี้ยงสัตว 1 ถัง = 15 กิโลกรัม
ขาวโพดเลี้ยงสัตว 13 ฝก = เมล็ดขาวโพด 1 กิโลกรัม (สีออกจากฝกแลว)
มันเสนตากแหง 1 กิโลกรัม = หัวมันสด 2.2 กิโลกรัม
มันอัดเม็ด 1 กิโลกรัม = หัวมันสด 2.4 กิโลกรัม
แปงมัน 1 กิโลกรัม = หัวมันสด 4.5 กิโลกรัม
2. พืชไรอายุสั้น คือ พืชไรที่มีอายุนับตั้งแตปลูกถึงเก็บเกี่ยว นอยกวา 4 เดือน เชน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ถั่วเขียว
ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วน้ํานางแดง ถั่วมะแฮะ ขาวฟาง เปนตน ทั้งนี้ไมรวมถึง พืชผัก เชน พริก กระเทียม แตงกวา
ขาวโพดออน ขาวโพดฝกสด (ขาวโพดขาวเหนียว ขาวโพดสวีท) แตงโมออน หอมแบง หอมแดง หอมหัวใหญ
มันเทศ มันฝรั่ง เผือก หนอไมฝรั่ง มะเขือเทศ เปนตน
3. พืชไรอายุยาว คือ พืชไรที่มีอายุนับตั้งแตปลูกจนถึงเก็บเกี่ยวมากกวา 4 เดือน เชน ขาวไร ออย มันสําปะหลัง ปอ
ฝาย สัปปะรด ยาสูบ ปานศรนารายณ กก แตงโมเมล็ด พริกไทย เปนตน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
15.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นที่ปลูกพืชไรอายุสั้นทั้งหมด คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 15.6)
 ตอบ 1 มี โปรดระบุ
จํานวน  ไร
15.2 จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชไรอายุสั้นทุกชนิดมี จํานวน  ไร
ทั้งหมด
15.3 ในรอบปทผี่ านมา พืชไรอายุสนั้ ที่ครัวเรือนสวนมาก ระบุ..................................................................................
ปลูกมากเปนอันดับหนึ่ง (รวมที่ทาํ ไรของตนเองและเชาจาก
ผูอื่นทั้งที่อยูใน และนอกหมูบาน/ชุมชน)

154
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
1) จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชไรชนิดนี้ จํานวน  ครัวเรือน
2) พื้นที่เพาะปลูกในหมูบา น/ชุมชนทั้งหมด จํานวน  ไร
3) ครัวเรือนมีรายไดโดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
4) ปที่ผานมาครัวเรือนไดผลผลิต โดยเฉลี่ย ไรละ  กิโลกรัม
5) ครัวเรือนขายผลผลิตไดเฉลี่ย กิโลกรัมละ  บาท  สตางค
6) ครัวเรือนสวนมากใชปุยประเภทใด คลิกเลือก
 ปุยอินทรีย
 ปุยเคมี
 ปุยอินทรียและปุยเคมี
 อื่น ๆ ระบุ.................................................
7) ครัวเรือนสวนมากทําการปลูกฤดูใด คลิกเลือก
 ฤดูแลง
 ฤดูฝน
 ปลูกทั้งฤดูแลงและฤดูฝน
 อื่น ๆ ระบุ.............................................
8) ครัวเรือนมีวิธีการปองกันและกําจัดแมลง
วัชพืช โรคพืช และสัตวที่เปนศัตรูพืชแบบใด
(1) ใชสารเคมี คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
(2) ใชสารชีวภัณฑ คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
(3) ใชวิธแี บบผสมผสาน คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
15.4 พืชไรอายุสั้นที่ครัวเรือนสวนมากปลูกมากเปน คลิกเลือก
อันดับที่สอง  ไมมี (ขามไปตอบขอ 15.6)
 มี โปรดระบุ.................................................
1) จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชไรชนิดนี้ จํานวน  ครัวเรือน
2) พื้นที่เพาะปลูกในหมูบา น/ชุมชนทั้งหมด จํานวน  ไร
3) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป

155
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
15.5 พืชไรอายุสั้นที่ครัวเรือนสวนมากปลูกมากเปน คลิกเลือก
อันดับที่สาม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 15.6)
 มี โปรดระบุ...............................................
1) จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชไรชนิดนี้ จํานวน  ครัวเรือน
2) พื้นที่เพาะปลูกในหมูบา น/ชุมชนทั้งหมด จํานวน  ไร
3) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
15.6 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นที่ปลูกพืชไรอายุยาว คลิกเลือก
ทั้งหมด  ไมมี (ขามไปตอบขอ 16)
 ตอบ 1 มี โปรดระบุ
จํานวน  ไร
15.7 จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชไรอายุยาวทุกชนิดมี จํานวน  ครัวเรือน
ทั้งหมด
15.8 ในรอบปทผี่ านมา พืชไรอายุยาวที่ครัวเรือนสวนมาก ระบุ.............................................................................
ปลูกมากเปนอันดับหนึ่ง (รวมที่ทาํ ไรของตนเองและเชาจาก
ผูอื่นทั้งที่อยูใน และนอกหมูบาน/ชุมชน)
1) จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชไรชนิดนี้ จํานวน  ครัวเรือน
2) พื้นที่เพาะปลูกในหมูบา น/ชุมชนทั้งหมด จํานวน  ไร
3) ครัวเรือนมีรายไดโดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
4) ปที่ผานมาครัวเรือนไดผลผลิต โดยเฉลี่ย ไรละ  กิโลกรัม
5) ครัวเรือนขายผลผลิตไดเฉลี่ย กิโลกรัมละ  บาท  สตางค
6) ครัวเรือนสวนมากใชปุยประเภทใด คลิกเลือก
 ปุยอินทรีย
 ปุยเคมี
 ปุยอินทรียและปุยเคมี
 อื่น ๆ ระบุ...................................................
7) ครัวเรือนสวนมากทําการปลูกฤดูใด คลิกเลือก
 ฤดูแลง
 ฤดูฝน
 ปลูกทั้งฤดูแลงและฤดูฝน
 อื่น ๆ ระบุ.................................................
8) ครัวเรือนมีวิธีการปองกันและกําจัดแมลง
วัชพืช โรคพืช และสัตวที่เปนศัตรูพืชแบบใด
(1) ใชสารเคมี คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร

156
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
(2) ใชสารชีวภัณฑ คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
(3) ใชวิธแี บบผสมผสาน คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
15.9 พืชไรอายุยาวที่ครัวเรือนสวนมากปลูกมากเปน คลิกเลือก
อันดับที่สอง  ไมมี (ขามไปตอบขอ 16)
 ตอบ 1 มี โปรดระบุ
..................................................................
1) จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชไรชนิดนี้ จํานวน  ครัวเรือน
2) พื้นที่เพาะปลูกในหมูบา น/ชุมชนทั้งหมด จํานวน  ไร
3) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
15.10 พืชไรอายุยาวที่ครัวเรือนสวนมากปลูกมากเปน คลิกเลือก
อันดับที่สาม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 16)
 ตอบ 1 มี โปรดระบุ
....................................................................
1) จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชไรชนิดนี้ จํานวน  ครัวเรือน
2) พื้นที่เพาะปลูกในหมูบา น/ชุมชนทั้งหมด จํานวน  ไร
3) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป

ตัวชี้วัดที่ 16 ผลผลิตจากการทําสวน
(ไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือหัวไรปลายนา)
คําอธิบาย
1. การทําสวนผลไม นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเองและที่เชาจากผูอื่นทั้งที่อยูในและนอกหมูบานชุมชน และไมรวม
กิจการเกษตร ในบริเวณบานหรือหัวไรปลายนา
2. การทําสวนผัก ไดแก พริก กระเทียม แตงกวา ขาวโพดออน ขาวโพดฝกสด (ขาวโพดขาวเหนียว ขาวโพดสวีท)
แตงโมออน หอมแบง หอมแดง หอมหัวใหญ มันเทศ มันฝรั่ง เผือก หนอไมฝรั่ง มะเขือเทศ เปนตน (นับพื้นที่
เพาะปลูกของตนเองและที่เชาจากผูอื่นทั้งที่อยูในและนอกหมูบานชุมชน และไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบาน
หรือหัวไรปลายนา)
3. การทําสวนไมดอกไมประดับหรือเพาะพันธุไมเพื่อขาย นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเองและที่เชาจากผูอื่นทั้งที่อยู
ในและนอกหมูบานชุมชน และไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือหัวไรปลายนา
4. การทําสวนยางพารา นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเองและที่เชาจากผูอื่น ทั้งที่อยูในและนอกหมูบาน/ชุ มชน
การตอบขอนี้ ไมนับการรับจางทําสวนยางและรับจางกรีดยาง

157
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
16.1 การทําสวนผลไม
16.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นที่ทําสวนผลไม คลิกเลือก
ทั้งหมด  ไมมี (ขามไปตอบขอ 16.2)
 ตอบ 1 มี โปรดระบุ
จํานวน  ไร
16.1.2 จํานวนครัวเรือนที่ทําสวนผลไมมีทั้งหมด จํานวน  ครัวเรือน
16.1.3 ครัวเรือนใชพื้นที่เพาะปลูก โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  ไร
16.1.4 ครัวเรือนมีรายไดจากการทําสวนผลไม ครัวเรือนละ  บาทตอป
โดยเฉลี่ย
16.1.5 คาใชจายในการซื้อปุย โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอไร
16.1.6 ครัวเรือนมีวิธีการปองกันและกําจัด
แมลง วัชพืช โรคพืช และสัตวที่เปนศัตรูพืชแบบใด
1) ใชสารเคมี คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
2) ใชสารชีวภัณฑ คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
3) ใชวิธแี บบผสมผสาน คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
16.1.7 ผลไมที่ครัวเรือนปลูกกันมาก ระบุ.............................................................................
16.2 การทําสวนผัก
16.2.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นทีท่ ําสวนผัก คลิกเลือก
ทั้งหมด  ไมมี (ขามไปตอบขอ 16.3)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ไร
16.2.2 จํานวนครัวเรือนที่ทําสวนผักมีทั้งหมด จํานวน  ครัวเรือน
16.2.3 ครัวเรือนใชพื้นที่เพาะปลูก โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  ไร
16.2.4 ครัวเรือนมีรายไดจากการทําสวนผัก ครัวเรือนละ  บาทตอป
โดยเฉลี่ย

158
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

16.2.5 คาใชจายในการซื้อปุย โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอไร


16.2.6 ครัวเรือนมีวิธีการปองกันและกําจัด
แมลง วัชพืช โรคพืช และสัตวที่เปนศัตรูพืชแบบใด
1) ใชสารเคมี คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
2) ใชสารชีวภัณฑ คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
3) ใชวิธแี บบผสมผสาน คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
16.2.7 ผักที่ครัวเรือนปลูกกันมาก ระบุ.............................................................................
16.3 การทําสวนไมดอกไมประดับหรือเพาะพันธุไม
เพื่อขาย
16.3.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นทีท่ ําสวนไม คลิกเลือก
ดอกไมประดับ  ไมมี (ขามไปตอบขอ 16.4)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ไร
16.3.2 จํานวนครัวเรือนที่ทําสวนไมดอกไม จํานวน  ครัวเรือน
ประดับหรือเพาะพันธุไ ม เพื่อขายมีทั้งหมด
16.3.3 ครัวเรือนใชพื้นที่เพาะปลูก โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  ไร
16.3.4 ครัวเรือนมีรายไดจากการทําสวนไม ครัวเรือนละ  บาทตอป
ดอกไมประดับหรือ เพาะพันธุไมเพื่อขาย โดยเฉลี่ย
16.3.5 คาใชจายในการซื้อปุย โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอไร

159
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

16.3.6 ครัวเรือนมีวิธีการปองกันและกําจัด
แมลง วัชพืช โรคพืช และสัตวที่เปนศัตรูพืชแบบใด
1) ใชสารเคมี คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
2) ใชสารชีวภัณฑ คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
3) ใชวิธแี บบผสมผสาน คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
16.3.7 ไมดอกไมประดับหรือเพาะพันธุไมเพื่อ ระบุ.............................................................................
ขายที่ครัวเรือนปลูกกันมาก
16.4 การทําสวนยางพารา
16.4.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นที่ทําสวน คลิกเลือก
ยางพาราทั้งหมด  ไมมี (ขามไปตอบขอ 17)
 ตอบ 1 มี โปรดระบุ
จํานวน  ไร
1) คนในหมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นทีท่ ําสวน จํานวน  ไร
ยางพาราในเขตหมูบ าน/ชุมชนนี้ ทั้งหมด
2) คนในหมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นทีท่ ําสวน จํานวน  ไร
ยางพารานอกเขตหมูบาน/ชุมชนนี้ ทั้งหมด
16.4.2 จํานวนครัวเรือนที่ทําสวนยางพารามี จํานวน  ครัวเรือน
ทั้งหมด
16.4.3 ครัวเรือนใชพื้นที่เพาะปลูก โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  ไร
16.4.4 ครัวเรือนมีรายไดจากการทําสวน ครัวเรือนละ  บาทตอป
ยางพารา โดยเฉลีย่
16.4.5 คาใชจายในการซื้อปุย โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอไร

160
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

16.4.6 ครัวเรือนมีวิธีการปองกันและกําจัด
แมลง วัชพืช โรคพืช และสัตวที่เปนศัตรูพืชแบบใด
1) ใชสารเคมี คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
2) ใชสารชีวภัณฑ คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
3) ใชวิธแี บบผสมผสาน คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร

ตัวชี้วัดที่ 17 ปศุสัตวและการประมง

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
17.1 การเลี้ยงสัตว
คําอธิบาย 17.1
1. การเลี้ยงสัตวเพื่อขาย หมายถึง การเลี้ยงสัตวเปนอาชีพหลัก หรืออาชีพรอง หรืออาชีพเสริม
2. ทุงหญาสาธารณะ หมายถึง ที่ดินที่มีหญาหรือพืชอื่นขึ้นเองตามธรรมชาติ และใชเปนที่เลีย้ งสัตว โดยประชาชน
สามารถนําสัตวเขาไปกินหญาหรือพืชในดินผืนนั้นได
17.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีทุงหญาสาธารณะที่ใชใน คลิกเลือก
การเลีย้ งสัตว หรือไม  ไมมี (ขามไปขอ 17.1.3)
 มี
17.1.2 มีทุงหญาสาธารณะที่ใชในการเลีย้ งสัตว จํานวน  ไร
ทั้งหมด
17.1.3 มีครัวเรือนที่เลี้ยงสัตวเพือ่ ขาย หรือไม คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปขอ 17.2)
 มี
17.1.3.1 ครัวเรือนที่เลี้ยงโคเนื้อ เพื่อขาย จํานวน  ครัวเรือน
1) ครัวเรือนมีรายไดจากการขายโค ครัวเรือนละ บาทตอป
เนื้อ โดยเฉลี่ย
2) โคเนื้อที่เลี้ยงเพื่อขายทั้งหมดใน จํานวน  ตัว
หมูบาน/ชุมชน

161
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
3) ครัวเรือนที่เลี้ยงโคเนื้อเพื่อขาย จํานวน  ครัวเรือน
และผสมพันธุ โดยใชพันธุที่ไดรับการสงเสริม (รวมการ
ผสมเทียมดวย)
17.1.3.2 ครัวเรือนที่เลี้ยงโคนม เพื่อขาย จํานวน  ครัวเรือน
น้ํานม
1) ครัวเรือนมีรายไดจากการขาย ครัวเรือนละ บาทตอป
น้ํานม โดยเฉลี่ย
2) โคนมที่เลี้ยงเพื่อขายทั้งหมดใน จํานวน  ตัว
หมูบาน/ชุมชน
3) ครัวเรือนที่เลี้ยงโคนมเพื่อขาย จํานวน  ครัวเรือน
น้ํานมและผสมพันธุ โดยใชพันธุที่ไดรับการสงเสริม
(รวมการผสมเทียมดวย)
17.1.3.3 ครัวเรือนที่เลี้ยงกระบือ เพื่อขาย จํานวน  ครัวเรือน
1) ครัวเรือนมีรายไดจากการขาย ครัวเรือนละ บาทตอป
กระบือ โดยเฉลีย่
2) กระบือที่เลี้ยงเพื่อขายทั้งหมดใน จํานวน  ตัว
หมูบาน/ชุมชน
3) ครัวเรือนที่เลี้ยงกระบือเพื่อขาย จํานวน  ครัวเรือน
และผสมพันธุ โดยใชพันธุที่ไดรับการสงเสริม (รวมการ
ผสมเทียมดวย)
17.1.3.4 ครัวเรือนที่เลี้ยงหมู เพื่อขาย จํานวน  ครัวเรือน
1) ครัวเรือนมีรายไดจากการขาย ครัวเรือนละ บาทตอป
หมู โดยเฉลี่ย
2) หมูที่เลีย้ งเพื่อขายทั้งหมดใน จํานวน  ตัว
หมูบาน/ชุมชน
3) ครัวเรือนที่เลี้ยงหมูเพื่อขายและ จํานวน  ครัวเรือน
ผสมพันธุ โดยใชพันธุที่ไดรับการสงเสริม (รวมการผสม
เทียมดวย)
17.1.3.5 จํานวนครัวเรือนที่เลี้ยงเปด-ไก จํานวน  ครัวเรือน
เพื่อขาย
1) ครัวเรือนสวนมีรายไดจากการ ครัวเรือนละ บาทตอป
ขายเปด-ไก โดยเฉลี่ย
2) เปด-ไก ที่เลี้ยงเพื่อขายทั้งหมด จํานวน  ตัว
ในหมูบาน/ชุมชน
17.1.3.6 จํานวนครัวเรือนทีเ่ ลี้ยงสัตวอื่นๆ จํานวน  ครัวเรือน
เพื่อขาย
1) สัตวอื่นๆทีเ่ ลี้ยงเพื่อขายมากเปน โปรดระบุ......................................................................
อันดับแรก
2) ครัวเรือนมีรายไดจากการขาย ครัวเรือนละ บาทตอป
สัตวชนิดนี้โดยเฉลี่ย

162
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
3) สัตวชนิดนี้ที่เลีย้ งเพื่อขาย จํานวน  ตัว
ทั้งหมดในหมูบาน/ชุมชน
17.2 สัตวใชงานและเครื่องจักรในการเกษตร
คําอธิบาย 17.2
1. คาเชาวัว ควาย หรือรถไถ ถาจายเปนผลผลิตใหประเมินราคาเปนบาท
2. เครื่องจักรในการเกษตร เชน ควายเหล็ก รถไถ รถแทรกเตอร เปนตน
3. เครื่องจักรในการเกษตรขนาดเล็ก คือ ความแรงของเครื่องยนตที่มขี นาด ไมเกิน 16 แรงมา
4. เครื่องจักรในการเกษตรขนาดกลาง คือ ความแรงของเครื่องยนตที่มีขนาด ตั้งแต 16 - 40 แรงมา
5. เครื่องจักรในการเกษตรขนาดใหญ คือ ความแรงของเครื่องยนตทมี่ ีขนาดตั้งแต 40 แรงมาขึ้นไป
17.2.1 จํานวนครัวเรือนที่มีโค-กระบือของตนเอง จํานวน  ครัวเรือน
ไวใชงาน
17.2.2 จํานวนครัวเรือนที่มีเครื่องจักรใน จํานวน  ครัวเรือน
การเกษตรขนาดเล็กเปนของตนเอง
1) จํานวนครัวเรือนที่ตองจางเครือ่ งจักรใน จํานวน  ครัวเรือน
การเกษตรขนาดเล็ก
2) ครัวเรือนเสียคาจางเครื่องจักรใน ครัวเรือนละ บาทตอป
การเกษตรขนาดเล็ก โดยเฉลีย่
17.2.3 จํานวนครัวเรือนที่มีเครื่องจักรใน จํานวน  ครัวเรือน
การเกษตรขนาดกลาง เปนของตนเอง
1) จํานวนครัวเรือนที่ตองจางเครือ่ งจักรใน จํานวน  ครัวเรือน
การเกษตร ขนาดกลาง
2) ครัวเรือนเสียคาจางเครื่องจักรใน ครัวเรือนละ บาทตอป
การเกษตรขนาดกลาง โดยเฉลี่ย
17.2.4 จํานวนครัวเรือนที่มีเครื่องจักรใน จํานวน  ครัวเรือน
การเกษตรขนาดใหญเปนของตนเอง
1) จํานวนครัวเรือนที่ตองจางเครือ่ งจักรใน จํานวน  ครัวเรือน
การเกษตร ขนาดใหญ
2) ครัวเรือนเสียคาจางเครื่องจักรใน ครัวเรือนละ บาทตอป
การเกษตรขนาดใหญ โดยเฉลี่ย
17.3 การทําประมง (ไมรวมผูที่มีอาชีพรับจางทําการ
ประมง ซึ่งไมมีเรือหรือเครื่องมือในการหาปลาของ
ตนเอง)
คําอธิบาย 17.3
1. ประมงขนาดเล็ก หมายถึง ผูประกอบการอาชีพประมงที่ใชแรงงานในครอบครัวเปนหลัก ใชเรือขนาดยาวไมเกิน
10 เมตร ขนาดเครื่องยนตไมเกิน 30 แรงมา ทําการประมงไมไกลจากหมูบานมากนัก และเฉลี่ยหางจากฝง
ประมาณ 5 กิโลเมตร
2. ประมงน้ําจืด หมายถึง การจับปลาน้ําจืดในแหลงน้ําธรรมชาติ หรือแหลงน้ําที่สรางขึ้น รวมทั้งการขุดบอลอปลา
17.3.1 มีการทําประมงทะเล หรือไม คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 17.3.2)
 มี

163
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
17.3.1.1 ประมงทะเลขนาดเล็ก
1) จํานวนครัวเรือนที่เปน จํานวน  ครัวเรือน
ชาวประมงทะเลขนาดเล็ก
2) ครัวเรือนมีรายไดจากการทํา จํานวน  บาทตอป
ประมงทะเลขนาดเล็กโดยเฉลี่ย
17.3.1.2 ประมงทะเลขนาดกลาง-ใหญ
1) จํานวนครัวเรือนที่เปน จํานวน  ครัวเรือน
ชาวประมงทะเลขนาดกลาง-ใหญ
2) ครัวเรือนมีรายไดจากการทํา จํานวน  บาทตอป
ประมงทะเลขนาดกลาง-ใหญ โดยเฉลี่ย
17.3.2 มีการทําประมงน้ําจืด หรือไม คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 17.4)
 มี
1) จํานวนครัวเรือนที่เปนประมงน้ําจืด จํานวน  ครัวเรือน
2) ครัวเรือนมีรายไดจากการทําประมง จํานวน  บาทตอป
น้ําจืด โดยเฉลีย่
17.4 การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (ไมรวมผูที่มีอาชีพ
รับจางทําการประมง ซึ่งไมมีเรือหรือเครื่องมือใน
การหาปลาของตนเอง)
17.4.1 จํานวนครัวเรือนทําการเพาะเลี้ยงสัตว คลิกเลือก
น้ํากรอย น้ําทะเล  ไมมี (ขามไปตอบขอ 17.4.4)
 มี
จํานวน  ครัวเรือน
1) ครัวเรือนใชพื้นที่ในการเพาะเลีย้ ง ครัวเรือนละ ไร  งาน
โดยเฉลี่ย (ถาพื้นที่ต่ํากวา 1 งาน ใหตอบ 1 งาน)
2) ครัวเรือนมีรายไดจากการเพาะเลี้ยง ครัวเรือนละ  บาทตอป
สัตวน้ํากรอย น้ําทะเลโดยเฉลีย่
17.4.2 สัตวน้ํากรอย น้ําทะเล ที่เพาะเลีย้ งมาก คือ.........................................................................
เปนอันดับหนึ่ง
1) จํานวนครัวเรือนที่ทําการเพาะเลี้ยง จํานวน  ครัวเรือน
สัตวน้ําชนิดนี้
2) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
3) มีตนทุนคาใชจาย โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
17.4.3 สัตวน้ํากรอย น้ําทะเล ทีเ่ พาะเลี้ยงมาก คือ.........................................................................
เปนอันดับสอง
1) จํานวนครัวเรือนที่ทําการเพาะเลี้ยง จํานวน  ครัวเรือน
สัตวน้ําชนิดนี้
2) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
3) มีตนทุนคาใชจาย โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป

164
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
17.4.4 จํานวนครัวเรือนทําการเพาะเลี้ยงสัตว คลิกเลือก
น้ําจืด  ไมมี (ขามไปตอบขอ 18)
 มี
จํานวน  ครัวเรือน
1) ครัวเรือนใชพื้นที่ในการเพาะเลีย้ งโดย ครัวเรือนละ ไร  งาน
เฉลี่ย (ถาพื้นที่ต่ํากวา 1 งาน ใหตอบ 1 งาน)
2) ครัวเรือนมีรายไดจากการเพาะเลี้ยง ครัวเรือนละ  บาทตอป
สัตวน้ําจืดโดยเฉลีย่
17.4.5 สัตวน้ําจืด ที่เพาะเลีย้ งมากเปนอันดับหนึ่ง คือ.........................................................................
1) จํานวนครัวเรือนที่ทําการเพาะเลี้ยง จํานวน  ครัวเรือน
สัตวน้ําชนิดนี้
2) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
3) มีตนทุนคาใชจาย โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
17.4.6 สัตวน้ําจืด ที่เพาะเลี้ยงมากเปนอันดับสอง คือ.........................................................................
1) จํานวนครัวเรือนที่ทําการเพาะเลี้ยง จํานวน  ครัวเรือน
สัตวน้ําชนิดนี้
2) ครัวเรือนมีรายได โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป
3) มีตนทุนคาใชจาย โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอป

ตัวชี้วัดที่ 18 ผลผลิตจากการทําเกษตรอื่น ๆ

คําอธิบาย
1. การปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ ไดแก สวนมะพราว สน ปาลมน้ํามัน กาแฟ โกโก มะมวงหิมพานต ใบชา หมาก
สะตอ ตาลโตนด หวาย มะนาว ไมสัก กระถินเทพา สะเดาเทียม ยูคาลิป ตัส ตี นเป ด ไมยางนา ไผ เปนตน
(นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเองและที่เชาจากผูอื่นทั้งที่อยูในและนอกหมูบานชุมชน และไมรวมกิจการเกษตรใน
บริเวณบานหรือหัวไรปลายนา)
2. การทํากิจการเกษตรอื่น ๆ ไดแก ปลูกตนกระจูด เพาะเห็ด ปลูกตนจาก ปลูกหมอน เปนตน ซึ่งไมใชการปลูกพืช
ไร พืชสวนและทํานา (นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเองและที่เชาจากผูอื่นทั้งที่อยูในและนอกหมูบานชุมชน และ
ไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือหัวไรปลายนา)
3. การทําเกษตรฤดูแลง หมายถึง การปลูกพืชไรอายุสั้น หรือพืชผัก ในฤดูแลง (นับพื้นที่เพาะปลูกของตนเองและ
ที่เชาจากผูอื่นทั้งที่อยูในและนอกหมูบานชุมชน และไมรวมกิจการเกษตรในบริเวณบานหรือหัวไรปลายนา)

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
18.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีบริการสาธารณะดาน คลิกเลือก
การเกษตร ตอไปนี้หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 18.2)
 มี
1) สถานที่เก็บผลผลิตทางการเกษตรสวนรวม คลิกเลือก
(หากกําลังกอสรางหรือจัดตั้งใหถอื วา มี)  ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง

165
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
2) ธนาคารโค-กระบือ (หากกําลังกอสรางหรือ คลิกเลือก
จัดตั้งใหถือวามี)  ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
3) คลังยาสัตว หรือสัตวแพทยอาสาหรืออาสา คลิกเลือก
พัฒนาปศุสัตว  ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
4) ลานตากผลิตผลทางการเกษตร คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
5) ศูนยรวมทํายางแผนหรือศูนยพัฒนาชาวสวน คลิกเลือก
ยางพารา (ศูนยพัฒนาอาชีพเกี่ยวกับการทําสวน  ไมมี
ยางพาราครบวงจร ซึ่งศูนยพัฒนาชาวสวนยางพารานี้  มี
เกิดจากชาวสวนยางพารากลุม ตาง ๆ รวมตัวกัน เชน มีจํานวน  แหง
กลุมปรับปรุงคุณภาพยางแผน กลุม ขายยาง ฯลฯ)
6) ศูนยฝกอาชีพ (มีสถานที่และมีเครื่องมือที่ คลิกเลือก
ประชาชนสามารถเขามาฝกอาชีพได)  ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
18.2 ภายในตําบล ที่หมูบาน/ชุมชนนี้ตั้งอยู มีตลาด/
รานคาทางการเกษตรตอไปนี้หรือไม
คําอธิบาย 18.2
1. ตลาดกลางสินคาเกษตร หมายถึง แหลงรวบรวมและซื้อขายสินคาเกษตรเปนประจําตลอดปที่มีผูซื้อขายจํานวน
มากเขามา ทําการแขงขันการซื้อขายสินคากันโดยตรงในรูปการขายสงดวยวิธีการ ตกลงราคาอยางเปดเผยหรือ
ประมูลราคา เชน ตลาดกลางขาว ธกส. เปนตน
2. ตลาดนัดสินคาเกษตร หมายถึง จุดรวมการซื้อขายหรือจุดนัดพบของผูซื้อขายที่จะมาซื้อสินคาโดยตรง อาจมีการ
ซื้อขายกันทุกวัน ในชวงที่มีสินคาออกสูตลาดมาก หรือกําหนดเอาวันหนึ่งวันใด หรือชวงหนึ่งชวงใด ทําการซื้อขาย
กันตามแตจะนัดหมายสถานที่ตามแตความเหมาะสม ควรอยูในแหลงผลิตนั้น ๆ สวนใหญมักจัดเปนตลาดนัด
ที่มีการซื้อขายสินคาชนิดใดชนิดหนึ่ง เชน ตลาดนัดขาวเปลือก ตลาดนัดขาวโพด ตลาดนัดถั่วเหลือง ตลาดนัด
โค-กระบือ เปนตน
1) แหลงรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
2) ตลาดกลางสินคาเกษตร คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง

166
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
3) ตลาดนัดสินคาเกษตร คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
4) รานคาสหกรณ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
5) รานคากลุม เกษตรกร คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
6) รานรับซื้อพืชไร คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
7) รานจําหนายผลิตภัณฑเกษตรของกลุมอาชีพใน คลิกเลือก
ชุมชน  ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
8) อื่น ๆ (ระบุ.........................................................) คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
มีจํานวน  แหง
18.3 การปลูกกัญชา
18.3.1 จํานวนครัวเรือนที่ปลูกกัญชาเพื่อขาย จํานวน  ครัวเรือน
18.3.2 ครัวเรือนปลูกกัญชา ครัวเรือนละ  ตน
18.3.3 ครัวเรือนมีรายไดจากการปลูกกัญชา ครัวเรือนละ  บาทตอป
โดยเฉลี่ย
18.4 การปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ

18.4.1 พืชเศรษฐกิจที่ครัวเรือนสวนมากปลูก คลิกเลือก


 ไมมี (ขามไปตอบขอ 18.5)
 มีโปรดระบุ................................................
18.4.2 พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจทัง้ หมด จํานวน  ไร
18.4.3 จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ จํานวน  ครัวเรือน
ชนิดนี้เพื่อขาย
18.4.4 ครัวเรือนใชพื้นที่เพาะปลูก โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  ไร
18.4.5 ครัวเรือนมีรายไดจากการปลูกพืช ครัวเรือนละ  บาทตอป
เศรษฐกิจอื่น ๆ โดยเฉลี่ย

167
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
18.4.6 คาใชจายในการซื้อปุย โดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ  บาทตอไร
18.4.7 ครัวเรือนมีวิธีการปองกันและกําจัด
แมลง วัชพืช โรคพืช และสัตวที่เปนศัตรูพืชแบบใด
1) ใชสารเคมี จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
2) ใชสารชีวภัณฑ จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
3) ใชวิธแี บบผสมผสาน จํานวน  ครัวเรือน
คาใชจายเฉลี่ยครัวเรือนละ
 บาทตอไร
18.5 การทํากิจการเกษตรอื่น ๆ
18.5.1 จํานวนครัวเรือนที่ทํากิจการเกษตรอื่น คลิกเลือก
ๆ มีทั้งหมด  ไมมี (ขามไปตอบขอ 18.6)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ไร
18.5.2 กิจการเกษตรอื่น ๆ ที่ทํากันมากเปน ระบุ.............................................................................
อันดับหนึ่ง
1) พื้นที่ ที่ทํากิจการเกษตรชนิดนี้ จํานวน  ไร
ทั้งหมด
2) ครัวเรือนที่ทํากิจการเกษตรชนิดนี้ จํานวน  ครัวเรือน
3) ครัวเรือนมีรายไดจากการทํากิจการ ครัวเรือนละ  บาทตอป
เกษตรชนิดนี้ โดยเฉลี่ย
18.6 การทําเกษตรฤดูแลง
18.6.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีพื้นที่ทําการเกษตร คลิกเลือก
ฤดูแลง ไมมี (ขามไปตอบขอ 19)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ไร
18.6.2 ครัวเรือนสวนมากใชน้ําทําการเกษตรฤดู คลิกเลือก
แลงจากแหลงใด  แหลงน้ําผิวดิน
 แหลงน้ําใตดิน
 น้ําที่เหลือคางอยูในไรนาหรือน้ําฝน
 อื่น ๆ ระบุ...............................................
18.6.3 จํานวนครัวเรือนที่ทําการเกษตรฤดูแลง จํานวน  ครัวเรือน
18.6.4 จํานวนครัวเรือนที่ปลูกพืชไรอายุสั้นใน จํานวน  ครัวเรือน
ฤดูแลง
18.6.5 ครัวเรือนมีรายไดจากการขายผลผลิตที่ ครัวเรือนละ  บาทตอป
เกิดจากการทําการเกษตรฤดูแลง โดยเฉลี่ย
18.6.6 พืชฤดูแลงสวนมากที่ปลูก ระบุ...............................................................................

168
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 19 การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน

คําอธิบาย
1. อุตสาหกรรมในครัวเรือนและหัตถกรรม หมายถึง การลงทุนจัดหาวัตถุดิบมาทําการผลิตแลวจําหนายดวยตนเอง
และการรับจางทําผลิตภัณฑโดยมีผูจัดหาวัตถุดิบมาให ประเภทของอุตสาหกรรม ไดแก 1) ทอผา 2) จักสาน (จาก
วัสดุทุกชนิด) 3) ถักทอ (จากเสนใยพืช) 4) การแปรรูปผลิตภัณฑจากผลผลิตการเกษตร หรือการแปรรูป
สินคาเกษตร เชน ถนอมอาหาร (จากพืชและสัตว) 5) เครื่องมือเครื่องใชจากโลหะ (ตีมีด, หลอหลอมโลหะ, บัดกรี
สังกะสี) 6) เครื่องปนดินเผา(รวมการทําอิฐมอญ) 7) เจียระไนเพชรพลอยและหินสี 8) แกะสลัก (จากวัสดุทุกชนิด)
9) เย็บปกถักรอย 10) เครื่องเรือน (จากไม, ไมไผ, หวาย) 11) ผลิตภัณฑจากซีเมนต 12) อื่น ๆ

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
19.1 จํานวนครัวเรือนที่มีคนประกอบอาชีพ คลิกเลือก
อุตสาหกรรมในครัวเรือน  ไมมี (ขามไปตอบขอ 20)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
19.2 ในกรณีที่มีการทําอุตสาหกรรมในครัวเรือนและ คลิกเลือก
หัตถกรรมที่ทํากันมาก อันดับหนึ่ง  ทอผา
 จักสาน (จากวัสดุทุกชนิด)
 ถักทอ (จากเสนใยพืช)
 การแปรรูปผลิตภัณฑจากผลผลิต
การเกษตร หรือการแปรรูปสินคา
เกษตร เชน ถนอม อาหาร (จากพืช
และสัตว)
 เครื่องมือเครื่องใชจากโลหะ (ตีมีด,
หลอหลอมโลหะ, บัดกรีสังกะสี)
 เครื่องปนดินเผา(รวมการทําอิฐมอญ)
 เจียระไน
เพชรพลอยและหินสี
 แกะสลัก (จากวัสดุทุกชนิด)
 เย็บปกถักรอย
 เครื่องเรือน (จากไม, ไมไผ, หวาย)
 ผลิตภัณฑจากซีเมนต
 อื่น ๆ ระบุ.......................................
1) จํานวนครัวเรือนที่ทําอุตสาหกรรมประเภทนี้ จํานวน  ครัวเรือน
2) ครัวเรือนมีรายไดจากการทําอุตสาหกรรม ครัวเรือนละ  บาทตอป
ประเภทนี้ โดยเฉลี่ย
3) วัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิต ไดจากแหลงใด คลิกเลือก
 ภายในหมูบาน/ชุมชน
 หมูบาน/ชุมชนใกลเคียง
 ทองถิ่นอื่นที่หางไกลออกไป
 อื่น ๆ ระบุ..............................................

169
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
4) สินคาที่ผลิตสวนใหญสงไปขายที่ใด คลิกเลือก
 ภายในอําเภอ
 ภายในจังหวัด
 ภายในประเทศ
 ตางประเทศ
อื่น ๆ ระบุ...............................................
19.3 ในกรณีที่มีการทําอุตสาหกรรมในครัวเรือนและ คลิกเลือก
หัตถกรรมที่ทํากันมาก อันดับสอง  ไมมี (ขามไปตอบขอ 20)
 ทอผา
 จักสาน (จากวัสดุทุกชนิด)
 ถักทอ (จากเสนใยพืช)
 การแปรรูปผลิตภัณฑจากผลผลิต
การเกษตร หรือการแปรรูปสินคา
เกษตร เชน ถนอม อาหาร (จากพืช
และสัตว)
 เครื่องมือเครื่องใชจากโลหะ (ตีมีด,
หลอหลอมโลหะ, บัดกรีสังกะสี)
 เครื่องปนดินเผา(รวมการทําอิฐมอญ)
 เจียระไนเพชรพลอยและหินสี
 แกะสลัก (จากวัสดุทุกชนิด)
 เย็บปกถักรอย
 เครื่องเรือน (จากไม, ไมไผ, หวาย)
 ผลิตภัณฑจากซีเมนต
 อื่น ๆ ระบุ.......................................
1) จํานวนครัวเรือนที่ทําอุตสาหกรรมประเภทนี้ จํานวน  ครัวเรือน
2) ครัวเรือนมีรายไดจากการทําอุตสาหกรรม ครัวเรือนละ  บาทตอป
ประเภทนี้ โดยเฉลี่ย
19.4 ในกรณีที่มีการทําอุตสาหกรรมในครัวเรือนและ คลิกเลือก
หัตถกรรมที่ทํากันมาก อันดับสาม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 20)
 ทอผา
 จักสาน (จากวัสดุทุกชนิด)
 ถักทอ (จากเสนใยพืช)
 การแปรรูปผลิตภัณฑจากผลผลิต
การเกษตร หรือการแปรรูปสินคา
เกษตร เชน ถนอม อาหาร (จากพืช
และสัตว)
 เครื่องมือเครื่องใชจากโลหะ (ตีมีด,
หลอหลอมโลหะ, บัดกรีสังกะสี)
 เครื่องปนดินเผา(รวมการทําอิฐมอญ)
 เจียระไนเพชรพลอยและหินสี
 แกะสลัก (จากวัสดุทุกชนิด)

170
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 เย็บปกถักรอย
 เครื่องเรือน (จากไม, ไมไผ, หวาย)
 ผลิตภัณฑจากซีเมนต
 อื่น ๆ ระบุ.......................................
1) จํานวนครัวเรือนที่ทําอุตสาหกรรมประเภทนี้ จํานวน  ครัวเรือน
2) ครัวเรือนมีรายไดจากการทําอุตสาหกรรม ครัวเรือนละ  บาทตอป
ประเภทนี้ โดยเฉลี่ย

ตัวชี้วัดที่ 20 การทองเที่ยว

คําอธิบาย
1. สถานที่ทองเที่ยว คือ สถานที่ทองเที่ยวที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ เชน ทะเล ภูเขา ปา น้ําตก เกาะ แกง ฯลฯ
และเกิดโดยการกระทําของมนุษย อาทิ เพื่อพักผอน เพื่อสุขภาพ เพื่อความสนุกสนานผจญภัย เพื่อการกีฬาและ
นันทนาการ เพื่อศาสนา เชน รีสอรท ที่อาบน้ําพุรอน สวนสนุก อางเก็บน้ํา วัด พิพิธภัณ ฑ โบราณสถาน/
โบราณวัตถุ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต เปนตน
2. สถานที่ทองเที่ยวภายนอกตําบล คือ สถานที่ทองเที่ยวที่อยูภายนอกตําบลของอําเภอเดียวกัน หรือตําบลของ
จังหวัดที่มีแนวเขตติดตอกัน
3. ประเภทการท อ งเที่ ย ว ตามแผนแม บ ทภายใต ยุ ท ธศาสตรช าติ ป 2565 - 2580 กํ า หนดให ส ง เสริ ม
การทองเที่ยว ดังนี้
1) การท องเที่ ยวเชิ งสรางสรรคและวัฒนธรรม หมายถึง สรางสรรคคุณคา สินคาและบริการการท องเที่ยว
มุงเนน การใชองคความรูและนวัตกรรม ผนวกกับจุดแข็งในดานความหลากหลายทางทรัพยากรธรรมชาติ
วัฒนธรรม และวิถีชีวิต
2) การทองเที่ยวเชิงธุรกิจ หมายถึง สงเสริมใหไทยเปนจุดหมายปลายทางการทองเที่ยวเชิงธุรกิจ ครอบคลุม
การจัดประชุมและนิทรรศการ การจัดงานแสดงสินคา การจัดกิจกรรมการทองเที่ยวเปนรางวัล การจัดการ
แขงขันกีฬาระดับนานาชาติ การทองเที่ยวเชิงกีฬา รวมถึงการพักผอนระหวางหรือหลังการประกอบธุรกิจ
หรือการทํากิจกรรมตาง ๆ
3) การท อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ ความงามและแพทย แ ผนไทย หมายถึ ง พั ฒ นาและยกระดั บ มาตรฐาน
การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแผนไทย ทั้งสินคา บริการ บุคลากร ผูประกอบการ และแหลง
ทองเที่ยวที่เกี่ยวของตลอดหวงโซคุณคาการทองเที่ยว
4) การทองเที่ยวสําราญทางน้ํา หมายถึง สงเสริมการทองเที่ยวทางน้ําใหเปนอีกทางเลือกหนึ่งของการทองเที่ยว
ไทย เปนแหลงสรางรายไดใหมใหกับประเทศ โดยคานึงถึงความยั่งยืนของแหลงทองเที่ยวและการมีสวนรวม
ของชุมชน ครอบคลุมการทองเที่ยวทางทะเลและชายฝง และการทองเที่ยวในลุมน้ําสําคัญ
5) การทอ งเที่ ย วเชื่อ มโยงภูมิภ าค หมายถึ ง ยกระดับให ประเทศไทยเปน ศู น ยก ลางการเชื่ อ มโยงเสน ทาง
การทองเที่ยวภายในภูมิภาคอาเซียน โดยใชประโยชนจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร แผนการลงทุนพัฒนาโครงขาย
คมนาคมทั้งทางถนน ราง น้ํา และอากาศ และกรอบความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน ประเทศไทยเปน
จุดเชื่อมตอการเดินทางของนักทองเที่ยวในภูมิภาคอาเซียน

171
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
20.1 การไดรับผลประโยชนจากสถานที่ทองเที่ยว
20.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีสถานที่ทองเที่ยว คลิกเลือก
หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 20.1.3)
 มี
20.1.2 กรณีทมี่ ีแหลงทองเที่ยว ระบุประเภท
การทองเที่ยว
1) ทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและ คลิกเลือก
วัฒนธรรม  ไมมี
 มี
2) ทองเที่ยวเชิงธุรกิจ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
3) ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและ คลิกเลือก
แพทยแผนไทย  ไมมี
 มี
4) ทองเที่ยวสําราญทางน้ํา คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
5) ทองเที่ยวเชื่อมโยงภูมภิ าค คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
20.1.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีสถานที่ทองเที่ยวที่  ไมมี (ขามไปขอ 20.1.4)
อยูภายในตําบลที่ทําใหเกิดรายไดกับคนในชุมชน  มี จํานวน  แหง
ทั้งหมดกี่แหง ในกรณีที่มี 3 แหงขึน้ ไป ใหระบุชื่อ 3 1) ชื่อสถานที่ทองเที่ยว
ลําดับแรก ที่ทําใหเกิดรายไดสูงสุด  ไมมี
 มี
โปรดระบุชื่อสถานที่ .................................
คลิกเลือกประเภทของการทองเที่ยว
 ทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและวัฒนธรรม
 ทองเที่ยวเชิงธุรกิจ
 ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและ
แพทยแผนไทย
 ทองเที่ยวสําราญทางน้ํา
 ทองเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
 อื่น ๆ ระบุ........................................
2) ชื่อสถานที่ทองเที่ยว
 ไมมี
 มี
โปรดระบุชื่อสถานที่ .................................

172
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
คลิกเลือกประเภทของการทองเที่ยว
 ทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและ
วัฒนธรรม
 ทองเที่ยวเชิงธุรกิจ
 ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและ
แพทยแผนไทย
 ทองเที่ยวสําราญทางน้ํา
 ทองเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
 อื่น ๆ ระบุ........................................
3) ชื่อสถานที่ทองเที่ยว
 ไมมี
 มี
โปรดระบุชื่อสถานที่ .................................
คลิกเลือกประเภทของการทองเที่ยว
 ทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและ
วัฒนธรรม
 ทองเที่ยวเชิงธุรกิจ
 ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและ
แพทยแผนไทย
 ทองเที่ยวสําราญทางน้ํา
 ทองเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
 อื่น ๆ ระบุ........................................
20.1.4 มีสถานที่ทองเที่ยวที่อยูภายนอกตําบลที่ คลิกเลือก
ทําใหเกิดรายได กับคนในชุมชน หรือไม  ไมมี (ขามไปขอ 20.2)
 มี
 20.1.5 ครัวเรือนในหมูบาน/ชุมชนนี้ ที่มี จํานวน  ครัวเรือน
รายไดจากสถานที่ทองเที่ยวที่อยูภายในตําบลเปน
รายไดหลัก
 20.1.6 ครัวเรือนในหมูบาน/ชุมชนนี้ ที่มี จํานวน  ครัวเรือน
รายไดจากสถานที่ทองเที่ยวที่อยูภายในตําบลเปน
รายไดเสริม
 20.1.7 ครัวเรือนในหมูบาน/ชุมชนนี้ ที่มี จํานวน  ครัวเรือน
รายไดจากสถานที่ทองเที่ยวที่อยูภายนอกตําบล
 20.1.8 ครัวเรือนมีรายไดจากสถานที่ ครัวเรือนละ  บาทตอป
ทองเที่ยวทั้งภายในและภายนอกตําบล โดยเฉลีย่
20.2 การไดรับผลกระทบจากการเปนแหลง
ทองเที่ยว
20.2.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีผลกระทบจากการ คลิกเลือก
เปนแหลงทองเที่ยว หรือไม  ไมมี
 มี
20.2.2 จํานวนครัวเรือนที่ไดรับผลกระทบ จํานวน  ครัวเรือน

173
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
20.2.3 ลักษณะของผลกระทบ คลิกเลือก
 ขยะ
 แหลงน้ํา
 เสียง
 การจราจร
 อื่น ๆ ระบุ...............................................
20.2.4 ในรอบปที่ผานมา ปญหาจากแหลง คลิกเลือก
ทองเที่ยว ไดรับการแกไขหรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 21.1)
 มี
1) ดําเนินการโดยหมูบาน/ชุมชน คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช
2) ดําเนินการโดยอบต./เทศบาล คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช
3) ดําเนินการโดยเอกชน คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช
4) ดําเนินการโดยหนวยงานภาครัฐจาก คลิกเลือก
สวนกลาง  ไมใช
 ใช
5) ดําเนินการโดยหนวยงานภาครัฐใน คลิกเลือก
พื้นที่  ไมใช
 ใช
6) อื่น ๆ ระบุ.................................. คลิกเลือก
 ไมใช
 ใช

หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย

ตัวชี้วัดที่ 21 การปองกันโรคติดตอ

คําอธิบาย
1. โรค (Disease) คือ ความไมสบาย ความเจ็บปวย เปนภาวะที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือขัดขวางการทํางาน
ตามปกติของสวนใดสวนหนึ่งของรางกายจนปรากฏอาการ ซึ่งโรคสามารถแบงตาม สาเหตุที่ทําใหเกิดโรคเปน 3
ประเภท ไดแก
ประเภทที่ 1 โรคไม ติดตอ เปนโรคกลุม NCDs (Non-communicable diseases) คื อ โรคที่ไ มติดตอ
ไมวาจะเปนการสัมผัส คลุกคลี หรือมีการสัมผัสกับสารคัดหลั่งตาง ๆ โรคกลุมนี้ไมไดเกิดจากเชื้อโรค แตเปนโรคที่มี
ความสั มพั นธกับนิสัยหรือ พฤติกรรมการดํ าเนิน ชีวิต โรคไมติดตอที่เกิดขึ้นในคนไทยจํ า นวนมาก 7 โรค ไดแก

174
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

(1) เบาหวาน (2) หลอดเลือดสมอง (3) หลอดเลือดหัวใจตีบตัน (4) มะเร็งปอด (5) อวนลงพุง (6) ความตันโลหิตสูง
และ (7) มะเร็ง
ประเภทที่ 2 โรคติด ตอ อันตราย (จากประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ป 2559 และ ป 2563 ดังนี้
(1) กาฬโรค (2) ไขทรพิษ (3) ไขเลือดออกไครเมียนคองโก (4) ไขเวสตไนล (5) ไขเหลือง (6) โรคไขลาสซา (7)
โรคติดเชื้อไวรัสนิป าห (8)โรคติดเชื้อไวรัสมารบวรก (9) โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (10) โรคติดเชื้อไวรัสเฮนดรา
(11) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือโรคซารส (12) โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือโรคเมอรส
(13) โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ประเภทที่ 3 โรคติดตอตามฤดูกาล (ประกาศกรมควบคุมโรค ป 2563) โรคและภัยสุขภาพที่เกิดในชวง
ฤดูฝน ดังนี้ กลุมที่ 1 โรคติดตอระบบทางเดินหายใจ แบงเปน (1) ไขหวัดใหญ (2) ปอดอักเสบ กลุมที่ 2 โรคติดตอ
ทางเดิ น อาหารและน้ํา (1) อุจ จาระร วง อาหารเป นพิ ษ (2) อหิ วาตกโรค กลุม ที่ 3 โรคติด ตอ นํ า โดยยุ ง ลาย
(1) ไขเลือดออก (2) ไขปวดขอยุงลายหรือชิคุนกุนยา (3) เลปโตสไปโรซิสหรือฉี่หนู และมือ เทา ปาก
2. ภัยสุขภาพ ไดแก 1) การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการจมน้ํา 2) การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการถูกฟ าผา
3) อันตรายจากการถูกสัตวมีพิษกัด และ 4) อันตรายจากการกินเห็ดพิษ
3. อวนลงพุง คือ น้ําหนักตัวอยูในเกณฑมาตรฐานมีรูปรางสมสวน แตมีเสนรอบเอวที่มากเกินไป มีความเปนไปไดวา
มีไขมันสะสมที่ชองทองหรืออวัยวะภายในชองทองมากเกินไป หรืออาจเรียกอีกอยางวา ภาวะอวนลงพุง (คา BMI
ซึ่งมีวิธีคํานวณดังนี้ นําน้ําหนักเปนกิโลกรัม หารดวยสวนสูงเปนเมตรยกกําลังสอง หรือ BMI = น้ําหนัก (kg) ÷
สวนสูง (m)2 (โดยผูชายควรมีรอบเอวไมเกิน 90 ซม. หรือ 35.4 นิ้ว สวนผูหญิงควรมีรอบเอวไมเกิน 80 ซม.
หรือ 31.5 นิ้ว คา BMI จะอยูที่ 22 –23 ในขณะที่หญิงที่รูปรางสมสวน คา BMI จะอยูที่ 19 –20)
4. อาการเรื้อรัง หมายถึง อาการเจ็บปวยเรื้อรังไมติดตอ และโรคแหงความเสื่อม โดยมีลักษณะของกลุมโรคคือ มี
สาเหตุที่ไมชัดเจนแนนอน มาจากหลายปจจัยเสี่ยง ระยะแฝงตัวนาน มีการดําเนินการของโรคความเจ็บปวยนาน
ไมใชโรคติดตอ กลุมโรคนี้มีผลกระทบทําใหรางกายไมสามารถทําหนาที่ไดสมบูรณ มีความพิการและสวนใหญ
รักษาไมหายขาด เชน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เปนตน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
21.1 ผูปวยหรือตายดวยโรคภัย
21.1.1 ในรอบปที่ผานมา มีผปู วยหรือตายดวยโรค คลิกเลือก
ตอไปนี้  ไมมี (ขามไปตอบขอ 21.2)
 มี โปรดระบุ
21.1.1.1 โรคไมตดิ ตอ คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 21.1.1.2)
 มี โปรดระบุ
1) เบาหวาน ปวย  คน ตาย  คน
2) หลอดเลือดสมอง ปวย  คน ตาย  คน
3) หลอดเลือดหัวใจตีบตัน ปวย  คน ตาย  คน
4) มะเร็งปอด ปวย  คน ตาย  คน
5) อวนลงพุง ปวย  คน ตาย  คน
6) ความตันโลหิตสูง ปวย  คน ตาย  คน
7) มะเร็ง ปวย  คน ตาย  คน

175
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
21.1.1.2 โรคติดตออันตราย คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 21.1.1.3)
 มี โปรดระบุ
1) กาฬโรค ปวย  คน ตาย  คน
2) ไขทรพิษ ปวย  คน ตาย  คน
3) ไขเลือดออกไครเมียนคองโก ปวย  คน ตาย  คน
4) ไขเวสตไนล ปวย  คน ตาย  คน
5) ไขเหลือง ปวย  คน ตาย  คน
6) โรคไขลาสซา ปวย  คน ตาย  คน
7) โรคติดเชื้อไวรัสนิปาห ปวย  คน ตาย  คน
8) โรคติดเชื้อไวรัสมารบวรก ปวย  คน ตาย  คน
9) โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา ปวย  คน ตาย  คน
10) โรคติดเชื้อไวรัสเฮนดรา ปวย  คน ตาย  คน
11) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือ ปวย  คน ตาย  คน
โรคซารส
12) โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือ ปวย  คน ตาย  คน
โรคเมอรส
13) โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปวย  คน ตาย  คน
21.1.1.3 โรคติดตอตามฤดูกาล คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 21.1.1.4)
 มี โปรดระบุ
1) ไขหวัดใหญ ปวย  คน ตาย  คน
2) ปอดอักเสบ ปวย  คน ตาย  คน
3) อุจจาระรวง อาหารเปนพิษ ปวย  คน ตาย  คน
4) อหิวาตกโรค ปวย  คน ตาย  คน
5) ไขเลือดออก ปวย  คน ตาย  คน
6) ไขปวดขอยุงลายหรือชิคุนกุนยา ปวย  คน ตาย  คน
7) เลปโตสไปโรซิสหรือฉี่หนู และมือ เทา ปาก ปวย  คน ตาย  คน
21.1.1.4 การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการ คลิกเลือก
ถูกฟาผา สัตวมีพิษกัด เห็ดพิษ  ไมมี (ขามไปตอบขอ 21.1.1.5)
 มี โปรดระบุ
1) การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการถูกฟาผา ปวย  คน ตาย  คน
2) อันตรายจากการถูกสัตวมีพิษกัด ปวย  คน ตาย  คน
3) อันตรายจากการกินเห็ดพิษ ปวย  คน ตาย  คน
21.1.1.5 โรคจากการทํางาน คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 21.1.1.6)
 มี โปรดระบุ
1) โรคฝุนหิน ปวย  คน ตาย  คน
2) โรคใยหิน ปวย  คน ตาย  คน
3) โรคฝุนฝาย ปวย  คน ตาย  คน

176
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
4) โรคหืดเหตุอาชีพ ปวย  คน ตาย  คน
5) โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง ปวย  คน ตาย  คน
6) โรคการไดยินเสื่อมเหตุเสียงดัง ปวย  คน ตาย  คน
7) โรคเหตุลดความกดอากาศ ปวย  คน ตาย  คน
8) การเจ็บปวยเหตุความรอน ปวย  คน ตาย  คน
9) โรคผิวหนังอักเสบเหตุสารระคาย ปวย  คน ตาย  คน
10) โรคผิวหนังอักเสบเหตุภูมิแพ ปวย  คน ตาย  คน
11) โรคปวดหลังเหตุอาชีพ ปวย  คน ตาย  คน
12) โรคพิษออรกาโนฟอสเฟต ปวย  คน ตาย  คน
13) โรคพิษคารบาเมต ปวย  คน ตาย  คน
14) โรคพิษไพรีทรอยด ปวย  คน ตาย  คน
15) โรคพิษสังกะสีฟอสไฟด ปวย  คน ตาย  คน
16) โรคพิษพาราควอท ปวย  คน ตาย  คน
17) โรคพิษกลัยโฟเสต ปวย  คน ตาย  คน
18) โรคพิษโลหะหนัก ปวย  คน ตาย  คน
(ระบุ....................................)
19) โรคเหตุสารระเหยและสารทําละลาย ปวย  คน ตาย  คน
(ระบุ..........................................)
20) โรคพิษจากกาซ ปวย  คน ตาย  คน
(ระบุ.......................................)
21) โรคอื่นๆ ที่มีอาการเรื้อรัง ปวย  คน ตาย  คน
(ระบุ...........................................)
21.1.1.6 ผูบาดเจ็บหรือตายดวยอุบตั เิ หตุ คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 21.1.1.7)
 มี โปรดระบุ
1) ผูบาดเจ็บหรือตายดวยอุบัติเหตุทางบก บาดเจ็บ  คน ตาย  คน
2) ผูบาดเจ็บหรือตายดวยอุบัติเหตุทางบกใน บาดเจ็บ  คน ตาย  คน
ตอนกลางคืน
3) ผูบาดเจ็บหรือตายดวยอุบัติเหตุทางน้ํา บาดเจ็บ  คน ตาย  คน
21.1.1.7 ในรอบปทผี่ านมา มีหนวยงานราชการ คลิกเลือก
/ องคกรตางๆ / ผูนําชุมชน / อาสาสมัคร เผยแพรความรู  ไมมี
เกี่ยวกับการปองกันโรคภัยตางๆ ดวยสื่อ หรือไม  มี โปรดระบุ
จํานวน  ครั้ง
ผูแทนครัวเรือนที่เขารวม  คน
21.2 สถานที่ที่มีความเสี่ยงตอการแพรระบาดของโรค
21.2.1 จํานวนสถานบริการ/สถานบันเทิงในหมูบาน/ คลิกเลือก
ชุมชน จําแนกตามประเภท  ไมมี (ขามไปตอบขอ 22.1)
 มี

177
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
1) คาราโอเกะ บารเบียร คาเฟ ผับ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
จํานวนพนักงานบริการ คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
2) รานอาหาร/สวนอาหาร คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
จํานวนพนักงานบริการ คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
3) รานตัดผมและเสริมสวย รานตัดผมชาย คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
จํานวนพนักงานบริการ คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
4) นวดแผนโบราณ/สปา คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
จํานวนพนักงานบริการ คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
5) โรงแรม บังกะโล คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
จํานวนพนักงานบริการ คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

178
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
6) แคมปคนงานกอสราง คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
จํานวนพนักงานบริการ คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
7) ชุมชนแรงงานขามชาติ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
จํานวนพนักงานบริการ คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
8) บอนการพนัน คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
จํานวนพนักงานบริการ คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
21.2.2 ในรอบ 2 ปที่ผานมาสถานที่ตามขอ 21.2.1 คลิกเลือก
ไดรับการตรวจสอบมาตรฐานการใหบริการหรือไม  ไมไดรับ
 ไดรับ โปรดระบุ
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอ 1 เดือน

ตัวชี้วัดที่ 22 การไดรับบริการและดูแลสุขภาพอนามัย

คําอธิบาย
การเขาถึงบริการและดูแลสุขภาพ หมายถึง การที่ประชาชนจะสามารถใชบริการเพื่อสุขภาพไมวาจะดวยตนเองหรือ
โดยผูอื่น ในสถานบริการดานสุขภาพทั้งภายในหรือภายนอกตําบลได โดยไมมีอุปสรรคในดานระยะทาง การเดินทาง
คาใชจาย รวมถึงการรูสิทธิในการรักษาสุขภาพของตนเอง

179
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
22.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ สามารถเขาถึงบริการและ คลิกเลือก
ดูแลสุขภาพอนามัยภายในตําบลหรือไม  เขาไมถึง โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
 เขาถึงทุกครัวเรือน โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
22.2 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีบริการ ตอไปนี้ หรือไม
22.2.1 ศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชนที่ คลิกเลือก
ใหบริการ  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
22.2.2 โรงพยาบาล/โรงพยาบาลสงเสริม คลิกเลือก
สุขภาพตําบล  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
22.2.3 โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลมีการ คลิกเลือก
ใหบริการตรวจสุขภาพเกษตรกร (คลินิกเกษตรกร)  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
22.2.4 ศูนยบริการสาธารณสุข (สถานีอนามัย คลิกเลือก
ในเขตเมือง และพื้นที่พิเศษ)  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
22.2.5 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีรานขายของชําที่ขาย คลิกเลือก
ยาชุดหรือยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษหรือวัตถุออก  ไมมี
ฤทธิ์ตอจิตและประสาท  มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
22.3 การไดรับบริการดานสุขภาพ

คําอธิบาย
1. สิทธิการรักษาพยาบาล 3 ระบบของคนไทย ประกอบดวย
1) สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของขาราชการ คุมครองการรักษาพยาบาลใหกับขาราชการและบุคคลใน
ครอบครัว
2) สิทธิประกันสังคม สําหรับผูประกันตนตามสิทธิ สามารถเขารับการรักษาพยาบาลไดทโี่ รงพยาบาลที่เลือก
ลงทะเบียน มีสํานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ดูแลระบบการเบิกจายคารักษาพยาบาล
3) สิทธิหลักประกันสุขภาพ 30 บาท คุมครองคนไทยที่มีเลขบัตรประจําตัวประชาชน 13 หลัก ที่ไมไดรบั สิทธิ
ตามขอ 1 หรือขอ 2
2. แพทยทางเลือก หมายถึง วิธีการรักษาโรคที่บําบัดดวยวิธีทางธรรมชาติ ทีไ่ มใชแผนปจจุบัน ซึ่งไมอาศัยเคมี
บําบัดอยางเดียว เชน การฝงเข็ม การนวดกดจุด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคดวยวิธธี รรมชาติบําบัด
(ชีวจิตแมคโครไบโอติค) เปนตน

180
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
22.3.1 เมื่อมีอาการเจ็บปวยเล็กนอย คนสวนมาก ลําดับที่ 1 คลิกเลือก
 รับสิทธิการรักษาพยาบาล 3 ระบบของ
เริ่มตนรักษา (ตามอาการ) 3 ลําดับแรก
คนไทย
 ไปซื้อยาซอง ยาชุด จากรานคากินเอง
 ไปรับบริการรักษาพยาบาลจากสถาน
บริการสาธารณสุขหรือคลินิก
 ไปรับบริการรักษาพยาบาลจาก อสม.
หรือศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
 ไปรับบริการจากหมอแผนโบราณ/
แพทยทางเลือก
 อื่นๆ (เชน ใชยาสามัญประจําบานรักษา
ไมกินยาชุด/ยาสมุนไพร/ยาแผนโบราณ
ที่ไมไดปรุงขึ้นเฉพาะสําหรับตนเอง)

ลําดับที่ 2 คลิกเลือก

 รับสิทธิการรักษาพยาบาล 3 ระบบของ
คนไทย
 ไปซื้อยาซอง ยาชุด จากรานคากินเอง
 ไปรับบริการรักษาพยาบาลจากสถาน
บริการสาธารณสุขหรือคลินิก
 ไปรับบริการรักษาพยาบาลจาก อสม.
หรือศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
 ไปรับบริการจากหมอแผนโบราณ/
แพทยทางเลือก
 อื่นๆ (เชน ใชยาสามัญประจําบานรักษา
ไมกินยาชุด/ยาสมุนไพร/ยาแผนโบราณ
ที่ไมไดปรุงขึ้นเฉพาะสําหรับตนเอง)

181
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
ลําดับที่ 3 คลิกเลือก
 รับสิทธิการรักษาพยาบาล 3 ระบบของ
คนไทย
 ไปซื้อยาซอง ยาชุด จากรานคากินเอง
 ไปรับบริการรักษาพยาบาลจากสถาน
บริการสาธารณสุขหรือคลินิก
 ไปรับบริการรักษาพยาบาลจาก อสม.
หรือศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
 ไปรับบริการจากหมอแผนโบราณ/
แพทยทางเลือก
 อื่นๆ (เชน ใชยาสามัญประจําบานรักษา
ไมกินยาชุด/ยาสมุนไพร/ยาแผนโบราณ
ที่ไมไดปรุงขึ้นเฉพาะสําหรับตนเอง)
22.3.2 เมื่อเจ็บปวยรุนแรง คนในหมูบาน/ชุมชน คลิกเลือก
สวนมาก รับการรักษาพยาบาลจากโรงพยาบาลของรัฐ  ภายใน 30 นาที
ดวยพาหนะที่นิยมกัน โดยใชเวลาเดินทาง คาเดินทางเฉลี่ยครั้งละ
 บาท
 ระหวาง 30-60 นาที
คาเดินทางเฉลี่ยครั้งละ
 บาท
 มากกวา 1 ชั่วโมง
คาเดินทางเฉลี่ยครั้งละ
 บาท
22.3.3 ผูท ี่มีอายุ 15 ปขึ้นไป ไดรับการตรวจการ
ติดเชื้อเอชไอวี และทราบผลการตรวจการติดเชื้อเอชไอวี
1) ไดรบั การตรวจการติดเชื้อเอชไอวี คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

182
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
2) ทราบผลการตรวจการติดเชื้อเอชไอวี คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
ตัวชี้วัดที่ 23 อนามัยแมและเด็ก
คําอธิบาย
1. ทารกเกิดมีชีพ หมายถึง การที่ทารกคลอดมาโดยวิธใี ดก็ตามและไมคํานึงถึงระยะเวลาของการตั้งครรภ โดยทารก
ที่คลอดออกมานั้นจะตองมีการหายใจเพื่อแสดงอาการที่บงวามีชีวิต (มีลมหายใจเกินกวา 3 ชั่วโมงขึ้นไป) เชน
การเตนของหัวใจ หรือการเตนของเสนโลหิต สายสะดือ หรือการเคลื่อนไหวของรางกาย
2. ทารกเกิดไรชีพ หมายถึง การ คลอดตัวออนที่อยูในครรภมารดามาแลวอยางนอย 28 สัปดาห ถาคลอดออก
มาแลวมีชีวิตเรียกวา “เกิดมีชีพ” ถาไมมีชีวิตเรียกวา “เกิดไรชีพ” หรือ “ตาย คลอด” ปจจุบัน คําวา การเกิด
(birth) ที่ใชกันทั่วไปหมายถึงบุตรเกิดรอด
3. การแทงบุตร หมายถึง การสิ้นสุดของการตั้งครรภซึ่งตัวออนหรือทารกในครรภถูกขับออกมา อายุครรภนอยกวา
28 สัปดาห ถือเปนภาวะผิดปกติอยางหนึ่งของการตั้งครรภ โดยการแทง แบงได 2 ลักษณะ ไดแก การแทงตาม
ธรรมชาติ และการแทงโดยมารดาตั้งใจ
4. แมวัยรุนหรือแมวัยใส คือ มารดาที่ตั้งครรภและใหกําเนิดทารก ในขณะที่ตนเองยังมีอายุนอยกวา 20 ป

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
23.1 ในรอบปที่ผานมา มีสตรีตั้งครรภ หรือไม คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 23.2)
 มี
23.1.1 จํานวนผูตั้งครรภ จํานวน  คน
23.1.2 จํานวนผูตั้งครรภ ที่ไมไดรับการดูแลจาก คลิกเลือก
โรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลตามขอ 23.1.1  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
อายุต่ํากวา 20 ป  คน
23.1.3 จํานวนมารดาเสียชีวิตตอการเกิดมีชีพ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
23.1.4 จํานวนมารดาเสียชีวิตตอการเกิดไรชีพ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
23.1.5 จํานวนทารกมีชีพที่ไมไดเกิดใน คลิกเลือก
โรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลตามขอ 23.1.1 หรือ  ไมมี
เกิดโดยไมไดรับการดูแลอยางถูกตองตามหลักวิชาการ  มี

183
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
23.2 ในรอบ 2 ปที่ผานมา มีเด็กแรกเกิด - อายุต่ําวา คลิกเลือก
5 ป เสียชีวติ ดวยสาเหตุตางๆ หรือไม  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
23.3 ในรอบ 2 ปที่ผานมา มีการเผยแพรความรู คลิกเลือก
เกี่ยวกับการดูแลสตรีต้งั ครรภ และการดูแลทารก  ไมมี
หรือไม  มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
23.4 ในรอบ 2 ปที่ผานมา มีการเผยแพรความรู คลิกเลือก
เกี่ยวกับการวางแผนครอบครัวหรือไม  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน

ตัวชี้วัดที่ 24 สุขภาวะคนพิการและผูสูงอายุ

คําอธิบาย
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เรื่อง ประเภทและหลักเกณฑความพิการ (ฉบับที่สอง)
ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 ประกอบพระราชบัญญัติ
สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ฉบับที่สอง) พ.ศ. 2556 ไดกําหนดลักษณะความพิการไว 7 ประเภท ดังนี้
1. ความพิการทางการเห็น
(1) ตาบอด หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวัน หรือการเขาไปมี
สวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการเห็น เมื่อตรวจวัดการเห็นของสายตาขางที่
ดี ก วา เมื่ อ ใช แ วนสายตาธรรมดาแลว อยูใ นระดั บ แยก วา 3 ส วน 60 เมตร (3/60) หรือ 20 ส วน 400 ฟุ ต
(20/400) ลงมาจนกระทั่งมองไมเห็นแมแตแสงสวาง หรือมีลานสายตาแคบกวา 10 องศา
(2) ตาเห็นเลือนราง หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขา
ไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการเห็นเมื่อตรวจวัดการเห็นของสายตา
ขางที่ดีกวา เมื่อใชแวนสายตาธรรมดาแลว อยูในระดับตั้งแต 3 สวน 60 เมตร (3/60) หรือ 20 สวน 400 ฟุต
(20/400) ไปจนถึงแยกวา 6 สวน 18 เมตร (6/18) หรือ 20 สวน 70 ฟุต (20/70) หรือมีลานสายตาแคบกวา
30 องศา
2. ความพิการทางการไดยินหรือสื่อความหมาย
(1) หูหนวก หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิต ประจําวันหรือการเขาไปมี
สวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการไดยินจนไมสามารถรับ ขอมูลผา นทาง
การไดยิน เมื่อตรวจการไดยิน โดยใชคลื่นความถี่ที่ 500 เฮิรตซ 1,000 เฮิรตซ และ 2,000 เฮิรตซ ในหูขางที่ได
ยินดีกวาจะสูญเสียการไดยินที่ความดังของเสียง 90 เดซิเบลขึ้นไป
(2) หูตึง หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมใน
กิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการไดยินเมื่อตรวจวัดการไดยนิ โดยใชคลื่นความถี่ที่ 500
เฮิรตซ 1,000 เฮิรตซ และ 2,000 เฮิรตซ ในหูขางที่ไดยินดีกวาจะสูญเสียการไดยินที่ความดังของเสียงนอยกวา 90
เดซิเบลลงมาจนถึง 40 เดซิเบล

184
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

(3) ความพิการทางการสื่ อความหมาย หมายถึ ง การที่บุค คลมี ข อจํา กัด ในการปฏิบั ติกิ จ กรรมใน
ชีวิตประจําวันหรือการเขา ไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมี ความบกพร องทางการสื่ อ
ความหมาย เชน พูดไมได พูดหรือฟงแลวผูอื่นไมเขาใจ เปนตน
3. ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางรางกาย
(1) ความพิการทางการเคลื่อนไหว หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจํา
วันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองหรือการสูญเสียความสามารถ
ของอวัยวะในการเคลื่อนไหว ไดแก มือ เทา แขน ขา อาจมาจากสาเหตุอัมพาต แขน ขา ออนแรง แขน ขาขาด หรือ
ภาวะเจ็บปวยเรื้อรังจนมีผลกระทบตอการทํางานมือ เทา แขน ขา
(2) ความพิการทางรางกาย หมายถึง การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือ
การเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรอง หรือความผิดปกติของศีรษะ ใบหนา
ลําตัว และภาพลักษณภายนอกของรางกายที่เห็นไดอยางชัดเจน
4. ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม
การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทาง
สังคม ซึ่งเป นผลมาจากความบกพรองหรือความผิดปกติทางจิต ใจหรื อสมองในส วนของการรับ รู อารมณ หรือ
ความคิด
5. ความพิการทางสติปญญา
การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทาง
สังคม ซึ่งเปนผลมาจากการมีพัฒนาการชากวาปกติ หรือมีระดับเชาวปญญาต่ํากวาบุคคลทั่วไป โดยความผิดปกตินั้น
แสดงกอนอายุ 18 ป
6. ความพิการทางการเรียนรู
การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทาง
สังคมโดยเฉพาะดานการเรียนรู ซึ่งเปนผลมาจากความบกพรองทางสมอง ทําใหเกิดความบกพรองในดานการอาน
การเขียน การคิดคํานวณ หรือกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอื่นในระดับความสามารถที่ต่ํากวาเกณฑมาตรฐานตามชวง
อายุและระดับสติปญญา
7. ความพิการออทิสติก
การที่บุคคลมีขอจํากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจําวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทาง
สังคม ซึ่งเปนผลมาจากความบกพรองทางพัฒนาการดานสังคม ภาษาและการสื่อความหมาย พฤติกรรมและอารมณ
โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของสมอง และความผิดปกตินั้นแสดงกอนอายุ 2 ปครึ่ง ทั้งนี้ ใหรวมถึงการวินิจฉัย
กลุมออทิสติกสเปกตรัมอื่นๆ เชน แอสเปอเกอร (Asperger)

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
24.1 สุขภาวะคนพิการ
24.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีคนพิการ หรือไม คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 24.2)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

185
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
24.1.2 ประเภทคนพิการ
1) ความพิการทางการเห็น จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
2) ความพิการทางการไดยินหรือสื่อความหมาย จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
3) ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทาง จํานวน  คน
รางกาย เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
4) ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
5) ความพิการทางสติปญญา จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

6) ความพิการทางการเรียนรู จํานวน  คน


เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
7) ความพิการออทิสติก จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
24.1.3 คนพิการซ้ําซอน (คนพิการมากกวา 1 คลิกเลือก
ประเภท)  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

186
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
24.1.4 มีคนพิการที่ยังเขาไมถึงระบบประกัน คลิกเลือก
สุขภาพถวนหนา  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
24.2 สุขภาวะผูสูงอายุ (ผูที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป)
24.2.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีผสู ูงอายุ หรือไม คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
24.2.2 ประเภทผูสูงอายุ
คําอธิบาย
1. กลุมติดสังคม เปนผูสูงวัยที่สามารถชวยเหลือตนเองไดดี สุขภาพดี ไมมีโรคเรื้อรัง หรือมีโรคเรื้อรัง 1–2 โรค แต
ควบคุมได สามารถใชชีวิตในสังคมไดโดยอิสระ มักเขารวมกิจกรรมในสังคม และมีศักยภาพในการชวยเหลือผูอื่น
2. กลุมติดบาน เปนผูสูงวัยที่สามารถชวยเหลือตนเองได หรือตองการความชวยเหลือบางสวน มีโรคเรื้อรังหลายโรค
หรือมีภาวะแทรกซอน มีขอจํากัดในการใชชีวติ ในสังคม เชน มีปญหาสุขภาพ(เคลื่อนไหวลําบาก ซึมเศรา หลงลืม
สมองเสื่อม)ไมชอบออกสังคม ติดภาระทางบาน
3. กลุมติดเตียง เปนผูสูงวัยที่ไมสามารถชวยเหลือตนเองในการทํากิจวัตรประจําวันได ตองการความชวยเหลือจาก
ผูอื่น มีการเจ็บปวยเรื้อรังมายาวนาน และมีภาวะแทรกซอน มีภาวะหงอมและเปราะบาง
1) กลุมติดสังคม คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
2) กลุมติดบาน คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

187
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
3) กลุมติดเตียง คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
24.2.3 ผูสูงอายุที่มีศักยภาพสามารถประกอบ คลิกเลือก
อาชีพและไดรับการจางงานที่เหมาะสม  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
24.2.4 ผูสูงอายุที่อาศัยอยูในบานที่มี คลิกเลือก
สภาพแวดลอมที่เหมาะสม  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
24.2.5 ผูสูงอายุเขาถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยี คลิกเลือก
และสภาพแวดลอมที่เหมาะสม  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
24.2.6 ผูสูงอายุที่ไมสามารถเขาถึงระบบ คลิกเลือก
การดูแลสุขภาพและการคุมครองทางสังคม  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

188
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 25 อนามัยสิ่งแวดลอม

คําอธิบาย
อนามัยสิ่งแวดลอม หมายถึงการจัดการและควบคุมสิ่งแวดลอม ที่อาจเปนอันตรายตอสุขภาพของมนุษย
เพื่อใหเกิดความสมดุลของระบบ นิเวศระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอม อันจะสงผลใหมนุษยมีความเปนอยูที่ดี ทั้งทาง
รางกาย จิตใจ และสังคม
หลักการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมพื้นฐาน
1. การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน ขยะแบงเปน 4 ประเภท 1) ขยะยอยสลาย คือ ขยะเนาเสียและ
ยอยสลายไดเร็ว นํามาหมักทําปุยได เชน เศษผัก เปลือกผลไม เศษอาหาร เปนตน 2) ขยะรีไซเคิล คือ ของเสีย
บรรจุภัณฑหรือวัสดุเหลือใชที่นํากลับมาใชประโยชนใหมได เชน แกว กระดาษ กระปองเครื่องดื่ม เศษพลาสติก
กลองเครื่องดื่ม เปนตน 3) ขยะทั่วไป คือ ขยะประเภทอื่น ๆ ที่ยอยสลายยาก ไมคุมคาถานํากลับมาใชประโยชนใหม
เชน พลาสติกหอลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป เปนตน และ 4) ขยะอันตราย คือ ขยะปนเปอนที่กอใหเกิดอันตราย
ตอคนและสิ่งแวดลอม ไดแก ติดไฟงาย ปนเปอนสารพิษ กัดกรอน มีเชื้อโรคปะปนอยู ระเบิด ทําใหระคายเคือง
เปนตน
2. การจัดการสวมและสิ่งปฏิกูล คือการรักษาสภาพใหสะอาด ไมมีน้ําขังหรือสกปรกมีกลิ่นเหม็น
3. การจัดบานหรือที่อยูอาศัยใหสะอาด ถูกสุขลักษณะ และ สงเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในบานที่พักอาศัย
เพื่อลดความเสี่ยงตอสุขภาพ และลดการเกิดโรคติดตอจากสัตวพาหะและแมลงนําโรคมาสูคน เชน หนูแมลงสาบ ยุง
เปนตน
4. การจัดหาและเฝาระวังคุณภาพอาหารและน้ําดื่ม เพื่อลดปญหาโรคอาหาร มีการกรองน้ํา เปนตน
5. การจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมในพื้นที่พิเศษ หรือพื้นที่เสี่ยง ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีมลภาวะ7 ประเด็น ไดแก
ฝุนควัน น้ําเสียน้ําไมสะอาด ขยะมูลฝอย สวมสิ่งปฏิกูล สัตวและแมลงที่เปนพาหะนําโรค และใชสารเคมี
6. การจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมอื่น ๆ เชน การจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมในชุมชนเพื่อรองรับตอกรณีสา
ธารณภัย หรือภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ การจัดการมลพิษทางอากาศทั้งภายในอาคาร หรือ ภายนอกอาคาร การจัดการ
เหตุรําคาญดานอนามัยสิ่งแวดลอม เปนตน (คูมือการจัดการอนามัยสิ่งแวดลอมในชุมชน สําหรับประชาชน: สํานัก
อนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2560)

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
25.1 การจัดการขยะในครัวเรือน คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 25.2)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
25.1.1 จํานวนครัวเรือนที่รูจักการกําจัด และลด
ขยะที่ถูกวิธี
1) เลือกซื้อสินคาที่บรรจุภณั ฑสามารถ จํานวน  ครัวเรือน
นํามาใชใหมได เชน บรรจุภณั ฑที่เปนกลองหรือถุง
กระดาษ เปนตน
2) นําเศษอาหารมาทําปุยหมัก จํานวน  ครัวเรือน
3) แยกขยะไดอยางถูกตอง ไดแก ขยะ จํานวน  ครัวเรือน
ยอยสลายได ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะอันตราย
4) นําขยะเปยกไปทิ้งทุกวัน จํานวน  ครัวเรือน
5) ใชผลิตภัณฑทไี่ มสามารถนํามาใชใหม จํานวน  ครัวเรือน
เชน แกวกระดาษ เปนตน

189
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
25.2 การจัดการสวมและสิ่งปฏิกูล
1) หมูบาน/ชุมชนนี้ มีสวม จํานวน  ครัวเรือน
2) จํานวนครัวเรือนที่มีการจัดการสวม จํานวน  ครัวเรือน
และสิ่งปฏิกูล
25.3 การจัดบานหรือที่อยูอาศัยถูกสุขลักษณะ คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 25.4)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
1) รักษาความสะอาดในบาน และบริเวณ จํานวน  ครัวเรือน
บานอยางสม่ําเสมอ
2) ลักษณะมีความมั่นคงแข็งแรง จํานวน  ครัวเรือน
ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
3) มีการปองกันอันตรายจากมนุษย สัตว จํานวน  ครัวเรือน
และแมลง แพรเชื้อโรค เชน แมลงวัน ยุง หนู แมลงสาป
เปนตน
25.4 การจัดหาและเฝาระวังคุณภาพอาหารและ คลิกเลือก
น้ําดื่ม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 25.5)
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
1) ในรอบปที่ผานมา หมูบาน / ชุมชนนี้ คลิกเลือก
ไดรับการตรวจสอบมาตรฐานน้ําสําหรับบริโภค จาก  ไมมี
หนวยงานที่เกี่ยวของหรือไม  มี โปรดระบุ
จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอเดือน
2) ในรอบปที่ผานมา หมูบาน / ชุมชนนี้ คลิกเลือก
ไดรับการตรวจสอบคุณภาพของรานขายอาหาร หรือ  ไมมี
ตลาดจําหนายอาหารสด จากหนวยงานที่เกี่ยวของ  มี โปรดระบุ
หรือไม จํานวนเฉลี่ย  ครั้งตอเดือน
25.5 หมูบาน / ชุมชนนี้ อยูในสิ่งแวดลอมที่เปน
พื้นที่พิเศษ หรือพื้นที่เสี่ยง ดังตอไปนี้หรือไม
1) ฝุนควัน / PM2.5 คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
2) น้ําเสีย / น้ําไมสะอาด คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
3) ขยะมูลฝอย /การกําจัดสิ่งปฏิกูล คลิกเลือก
 ไมมี
 มี

190
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
4) สวม คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
5) สัตวและแมลงที่เปนพาหะนําโรค คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
6) ใชสารเคมีในการเกษตร คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
7) มลพิษทางเสียง เชน เขตสนามบิน คลิกเลือก
เขตโรงงาน  ไมมี
 มี
ตัวชี้วัดที่ 26 ความปลอดภัยในการทํางาน
คําอธิบาย
1. การบาดเจ็บหรือเจ็บปวยจากการทํางาน หมายถึง การถูกของมีคมบาด ถูกของหนักตกทับ หรือกระแทกตกจาก
ที่สูง การบาดเจ็บ การบาดเจ็บ สาหัส การพิการ และการเสียชีวิตจากการทํางาน รวมทั้งการเจ็บปวยจาก
การปฏิบัติงานบางอาชีพที่เปนอันตรายตอสายตา เชน ชางเชื่อมโลหะ เปนตน
2. การเจ็บปวยจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช หมายถึง ผูปวยมีอาการดังตอไปนี้ เชน ผื่นคันที่ผิวหนัง แนน
หนาอก ไอ หอบ อาเจียน อุจจาระรวง หมดสติ ในขณะใชหรือหลังจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช
3. ขอมูลการบาดเจ็บหรือเจ็บปวยเก็บรวบรวมไดจากระเบียนรายงาน รบ.1ก.01 หรือ รบ.1ก/1 ของสถานบริการ
สาธารณสุขทั้งนี้ไมรวมกรณีเจ็บปวย หรือตายจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช โดยผิดวัตถุประสงค เชน การฆา
ตัวตาย เปนตน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
26.1 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ มีคนไดรับ
บาดเจ็บหรือเจ็บปวยหรือพิการจากการทํางาน
26.2 มีการบาดเจ็บจากการทํางานในสถาน คลิกเลือก
ประกอบการ  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
26.3 มีการเจ็บปวยจากการทํางานในสถาน คลิกเลือก
ประกอบการ  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

191
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
26.4 มีการเจ็บปวยจากการทํางานในกลุมแรงงานนอก คลิกเลือก
ระบบ/กลุมวิสาหกิจชุมชน/ผูรับงานไปทําที่บาน  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
26.5 มีการเจ็บปวยจากการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
ตัวชี้วัดที่ 27 การกีฬาและการออกกําลังกาย

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
27.1 การแขงขันกีฬา
27.1.1 ในรอบ 2 ปที่ผานมา มีการแขงขันกีฬา คลิกเลือก
ภายในหมูบาน/ชุมชน  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ครั้งตอป
27.1.2 ในรอบ 2 ปที่ผานมา มีการฝกสอนกีฬา คลิกเลือก
ใหกับประชาชนในหมูบาน/ชุมชน  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ครั้งตอป
27.1.3 ในรอบปที่ผานมา มีการแขงขันกีฬา คลิกเลือก
ระหวางหมูบาน/ชุมชน  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัง้ ตอป
27.2 ในหมูบาน/ชุมชนนี้มีบริการ ตอไปนี้หรือไม
27.2.1 สนามเด็กเลนที่มีเครื่องเลนตั้งแต 3 คลิกเลือก
ชนิดขึ้นไป เชน ชิงชา กระดานลื่น มาหมุน เปนตน และ  ไมมี
อยูในสภาพที่ใชการได (นับที่อยูในโรงเรียนดวย)  มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
เขาใชบริการ  ครั้ง/สัปดาห

192
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
27.2.2 สนามกีฬา คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
เขาใชบริการ  ครั้ง/สัปดาห
27.2.3 ลานออกกําลังกาย คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
เขาใชบริการ  ครั้ง/สัปดาห
27.2.4 ฟตเนส คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  แหง
เขาใชบริการ  ครั้ง/สัปดาห
27.3 ในหมูบาน/ชุมชนนี้มีกิจกรรมตอไปนี้หรือไม
27.3.1 เตนแอโรบิค คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
จํานวนครั้งที่จัด  ครั้งตอ
สัปดาห
27.3.2 วิ่งออกกําลังกาย คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
จํานวนครั้งที่จัด  ครั้งตอ
สัปดาห
27.3.3 อื่น ๆ ระบุ............................................... คลิกเลือก
 ไมมี
 มี
จํานวนครั้งที่จัด  ครัง้ ตอ
สัปดาห

193
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

หมวดที่ 4 ความรูและการศึกษา

ตัวชี้วัดที่ 28 การใหบริการดานการศึกษา

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
28.1 บริการสาธารณะเพื่อการศึกษา
28.1.1 หมูบานชุมชนนี้ มีเด็กที่กําลังศึกษาอยู คลิกเลือก
ในระดับปฐมวัย สามารถเขาถึงการใหบริการสถาน  เขาไมถึง
พัฒนาเด็กปฐมวัยหรือสถานรับเลี้ยงเด็กกอนวัยเรียน  เขาถึง
ภายในตําบล หรือไม
28.1.1.1 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยหรือ คลิกเลือก
สถานรับเลี้ยงเด็กกอนวัยเรียนภายในตําบล มีบริการ  ไมมี (ขามไปตอบขอ 28.1.2)
ตอไปนี้หรือไม  มี
คลิกเลือก
 1) ระบบไฟฟา
 2) ระบบอินเทอรเน็ต
 3) คอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอน
 4) โครงสรางสําหรับผูพิการ
 5) บริการน้ําบริโภคที่สะอาด
 6) สุขาแยก ชาย – หญิง
 7) อุปกรณสงเสริมการลางมือ เชน เจลลางมือ
สบู น้ําสะอาด
28.1.2 หมูบานชุมชนนี้ มีเด็กที่กําลังศึกษาอยู คลิกเลือก
ในระดับกอนประถมศึกษา (อนุบาล) สามารถเขาถึง  เขาไมถึง
การใหบริการสถานศึกษาภายในตําบล หรือไม  เขาถึง
28.1.2.1 โรงเรียนที่เปดสอนกอนระดับ คลิกเลือก
ประถมศึกษา มีบริการตอไปนี้หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 28.1.3)
 มี
คลิกเลือก
 1) ระบบไฟฟา
 2) ระบบอินเทอรเน็ต
 3) คอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอน
 4) โครงสรางสําหรับผูพิการ
 5) บริการน้ําบริโภคที่สะอาด
 6) สุขาแยก ชาย – หญิง
 7) อุปกรณสง เสริมการลางมือ เชน เจลลางมือ
สบู น้ําสะอาด
28.1.3 หมูบานชุมชนนี้ มีเด็กที่กําลังศึกษาอยู คลิกเลือก
ในระดับประถมศึกษา สามารถเขาถึงการใหบริการ  เขาไมถึง
สถานศึกษาภายในตําบล หรือไม  เขาถึง

194
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
28.1.3.1 โรงเรียนที่เปดสอนระดับ คลิกเลือก
ประถมศึกษา มีบริการตอไปนี้หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 28.1.4)
 มี
คลิกเลือก
 1) ระบบไฟฟา
 2) ระบบอินเทอรเน็ต
 3) คอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอน
 4) โครงสรางสําหรับผูพิการ
 5) บริการน้ําบริโภคที่สะอาด
 6) สุขาแยก ชาย – หญิง
 7) อุปกรณสงเสริมการลางมือ เชน เจลลางมือ
สบู น้ําสะอาด
28.1.4 หมูบานชุมชนนี้ มีเด็กที่กําลังศึกษาอยู คลิกเลือก
ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน สามารถเขาถึงการ  เขาไมถึง
ใหบริการสถานศึกษาภายในตําบล หรือไม  เขาถึง
28.1.4.1 โรงเรียนที่เปดสอนระดับ คลิกเลือก
มัธยมศึกษาตอนตน มีบริการตอไปนี้หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 28.1.5)
 มี
คลิกเลือก
 1) ระบบไฟฟา
 2) ระบบอินเทอรเน็ต
 3) คอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอน
 4) โครงสรางสําหรับผูพิการ
 5) บริการน้ําบริโภคที่สะอาด
 6) สุขาแยก ชาย – หญิง
 7) อุปกรณสงเสริมการลางมือ เชน เจลลางมือ
สบู น้ําสะอาด
28.1.5 หมูบานชุมชนนี้ มีเด็กที่กําลังศึกษาอยู คลิกเลือก
ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถเขาถึงการ  เขาไมถึง
ใหบริการสถานศึกษาภายในตําบล หรือไม  เขาถึง
28.1.5.1 โรงเรียนที่เปดสอนระดับ คลิกเลือก
มัธยมศึกษาตอนปลาย มีบริการตอไปนี้หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 28.1.6)
 มี
คลิกเลือก
 1) ระบบไฟฟา
 2) ระบบอินเทอรเน็ต
 3) คอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอน
 4) โครงสรางสําหรับผูพิการ
 5) บริการน้ําบริโภคที่สะอาด
 6) สุขาแยก ชาย – หญิง

195
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 7) อุปกรณสงเสริมการลางมือ เชน เจลลางมือ
สบู น้ําสะอาด
28.1.6 หมูบานชุมชนนี้ สามารถเขาถึงการ คลิกเลือก
ใหบริการการศึกษาผูใหญภายในตําบล หรือไม  เขาไมถึง
 เขาถึง
28.1.6.1 การศึกษาผูใหญ (โรงเรียนที่ คลิกเลือก
เปนสถาบัน มีครู นักเรียน และตัวอาคาร ไมนับอาคาร  ไมมี (ขามไปตอบขอ 28.1.7)
ชั่วคราวหรือวัด หรือศาลาที่ กศน. มาใชสอนหนังสือ)  มี
มีบริการตอไปนี้หรือไม
คลิกเลือก
 1) ระบบไฟฟา
 2) ระบบอินเทอรเน็ต
 3) คอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอน
 4) โครงสรางสําหรับผูพิการ
 5) บริการน้ําบริโภคที่สะอาด
 6) สุขาแยก ชาย – หญิง
 7) อุปกรณสงเสริมการลางมือ เชน เจลลางมือ
สบู น้ําสะอาด
28.1.7 ที่อานหนังสือประจําหมูบ า น/ชุมชนที่ คลิกเลือก
ใชบริการได มีบริการตอไปนี้หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 28.1.8)
 มี
คลิกเลือก
 1) ระบบไฟฟา
 2) ระบบอินเทอรเน็ต
 3) คอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอน
 4) โครงสรางสําหรับผูพิการ
 5) บริการน้ําบริโภคที่สะอาด
 6) สุขาแยก ชาย – หญิง
 7) อุปกรณสงเสริมการลางมือ เชน เจลลางมือ
สบู น้ําสะอาด
28.1.8 หองสมุดประชาชน/หองสมุดโรงเรียน/ คลิกเลือก
หองสมุดวัด ที่ใชการได มีบริการตอไปนี้หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 28.2)
 มี
คลิกเลือก
 1) ระบบไฟฟา
 2) ระบบอินเทอรเน็ต
 3) คอมพิวเตอรสําหรับการเรียนการสอน
 4) โครงสรางสําหรับผูพิการ
 5) บริการน้ําบริโภคที่สะอาด
 6) สุขาแยก ชาย – หญิง

196
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 7) อุปกรณสงเสริมการลางมือ เชน เจลลางมือ
สบู น้ําสะอาด
28.2 ภายในตําบล ที่หมูบาน/ชุมชนนี้ตั้งอยู มีบริการ
สาธารณะตอไปนี้ หรือไม

คําอธิบาย
ศูนยการเรียนรูชุมชน หมายถึง แหลงหรือสถานที่ที่มีการจัดการศึกษา เพื่อการเรียนรูตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
ที่เกิ ดโดยชุมชน ซึ่งเกิ ดขึ้นจากการสืบทอดของปญญาทองถิ่น โดยมีปราชญ ชาวบานเปนผูถ ายทอดความรู เชน
การจัดการทรัพยากรในจังหวัดนาน การทําเกษตรผสมผสานของผูใหญวิบูลย การพึ่งตนเองแบบกลุมอโศก ทั้งนี้
ไมจําเปนตองมีสิ่งปลูกสรางรองรับ อาจเปนแปลงนา หรือกระบวนการที่เปนแหลงความรู
28.2.1 ศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยี คลิกเลือก
ทางการเกษตร  ไมมี
 มี โปรดระบุ จํานวน  แหง
28.2.2 ศูนยการเรียนรูชุมชน/ศูนยบริการ คลิกเลือก
อินเทอรเน็ตตําบล  ไมมี
 มี โปรดระบุ จํานวน  แหง
28.2.3 สนามเด็กเลน (นับที่อยูในโรงเรียนดวย) คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ จํานวน  แหง
28.2.4 ลานกีฬา หรือสถานที่สาํ หรับออกกําลัง คลิกเลือก
กายสาธารณะ (นับที่อยูในโรงเรียนดวย)  ไมมี
 มี โปรดระบุ จํานวน  แหง

ตัวชี้วัดที่ 29 ความรอบรู

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
29.1 ความรอบรูดานสุขภาพ

คําอธิบาย
ความรอบรูดานสุขภาพ (Health literacy) หมายถึง ความสามารถหรือทักษะของบุคคลที่จะเขาใจ ขอมูล
สุขภาพ โตตอบซักถาม แลกเปลี่ยนขอมูลสุขภาพ รวมทั้งเลือกรับบริการสุขภาพในชีวิตประจําวัน เชน การเลือกที่จะ
เชื่อหรือไมเชื่อความรูสุขภาพที่ไดรับมา ความสามารถในการตัดสินใจเลือกใชผลิตภัณฑและบริการ เกี่ยวกับสุขภาพ
อยางเหมาะสม ความสามารถที่จะแนะนําและบอกตอขอมูลสุขภาพใหคนอื่นได
29.1.1 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญ คลิกเลือก
มีความรูในการเลือกที่จะเชื่อหรือไมเชื่อความรู  ไมใช
สุขภาพที่ไดรับมา  ใช จํานวน  ครัวเรือน
29.1.2 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญ คลิกเลือก
มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกใชผลิตภัณฑและ  ไมใช
บริการ เกี่ยวกับสุขภาพอยางเหมาะสม  ใช จํานวน  ครัวเรือน

197
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
29.1.3 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญ คลิกเลือก
มีความสามารถที่จะแนะนําและบอกตอขอมูลสุขภาพ  ไมใช
ใหคนอื่นได  ใช จํานวน  ครัวเรือน
29.2 ความรอบรูดานดิจิทัล

คําอธิบาย
ความรอบรูดานดิจิทัล (Digital Literacy) หมายถึง บุคคลมีสมรรถนะในการเขาถึง คนหา คัดกรอง วิเคราะห
สังเคราะห จัดการ ประยุกตใช สื่อสาร สราง แบงปน และติดตามขอมูลสารสนเทศไดอยางเหมาะสม ปลอดภัย
มีความรับผิดชอบ มีมารยาท เคารพสิทธิและกฎหมาย ดวยเครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมและหลากหลาย
29.2.1 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญ คลิกเลือก
มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล เชน การใช  ไมใช
งานคอมพิวเตอร การใชงานอินเทอรเน็ต การใช  ใช จํานวน  ครัวเรือน
โปรแกรมนําเสนองาน การใชสื่อออนไลน เปนตน
เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด ในการสื่อสาร การ
ปฏิบัติงานรวมกัน
29.2.2 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญ คลิกเลือก
มีความสามารถในการติดตามขอมูลสารสนเทศอยาง  ไมใช
เหมาะสม  ใช จํานวน  ครัวเรือน
29.3 ความรอบรูดานสื่อ

คําอธิบาย
ความรอบรู ด า นสื่อ (Media literacy) หมายถึ ง การอา นสื่ อใหอ อกเพื่อ พั ฒ นาทั ก ษะในการเข า ถึ ง สื่ อ
การวิเคราะหสื่อ การตีความเนื้อหาของสื่อ การประเมินคาและเขาใจผลกระทบของสื่อ รวมถึงความสามารถใชสื่อให
เกิดประโยชนได
29.3.1 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญ คลิกเลือก
มีความสามารถในการเขาถึงสื่อสาธารณะที่  ไมใช
หลากหลาย  ใช จํานวน  ครัวเรือน
29.3.2 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญ คลิกเลือก
มีความสามารถในการวิเคราะห แยกแยะสื่อที่ดีและ  ไมใช
ไมดี รวมทั้งมีความเขาใจจุดมุงหมายการนําเสนอ  ใช จํานวน  ครัวเรือน
เนื้อหาของสื่อ
29.3.3 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญ คลิกเลือก
มีความสามารถในการประเมินคาและเขาใจ  ไมใช
ผลกระทบของสื่อ  ใช จํานวน  ครัวเรือน
29.3.4 ครัวเรือนในหมูบาน / ชุมชนสวนใหญ คลิกเลือก
มีความสามารถในการใชสื่อใหเกิดประโยชนได  ไมใช
 ใช จํานวน  ครัวเรือน

198
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
29.4 ความรอบรูเรื่องการเงิน

คําอธิบาย
ความรอบรูทางการเงิน (Financial literacy) หมายถึง การที่ประชาชนมีความรูและความสามารถใน
การจัดการทรัพยากรทางการเงินของตนเอง ตั้งแตการหารายได การวางแผนทางการเงิน การออม การลงทุน และ
การจัดทํางบประมาณรายรับรายจายไดอยางมีประสิทธิภาพ
29.4.1 คนในหมูบาน/ชุมชนสวนใหญมี คลิกเลือก
ความสามารถในการคนหาและเขาถึงแหลงขอมูล  ไมใช
ทางการเงินได  ใช จํานวน  ครัวเรือน
29.4.2 คนในหมูบาน/ชุมชนสวนใหญ มี คลิกเลือก
ความรูและความสามารถในการจัดทําบัญชีรายรับ-  ไมใช
รายจาย วางแผนการใชจายเงินตามความจําเปน และ  ใช จํานวน  ครัวเรือน
รูจักการออมเงิน
29.4.3 คนในหมูบาน/ชุมชนสวนใหญมี คลิกเลือก
ความรูและมีการสรางความมั่นคงทางการเงิน ดวย  ไมใช
การนําเงินไปลงทุนเพื่อสรางรายได  ใช จํานวน  ครัวเรือน

ตัวชี้วัดที่ 30 การไดรับการฝกอบรมดานตาง ๆ

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
30.1. การจัดกิจกรรมของหนวยงานราชการ
รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน
30.1.1 ในรอบปที่ผานมา คนในหมูบาน/ คลิกเลือก
ชุมชนนี้ ไดรับการฝกอบรม ดานอาชีพ ดังนี้ (คนที่รับ  ไมได
การอบรมหลายขอ สามารถนับซ้ําระหวางขอได)  ไดรบั
 1) ดานเกษตรกรรม (กสิกรรม, ปศุสัตว,
ประมง)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 2) ดานอุตสาหกรรม
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 3) ดานการคา การตลาด การบริการ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

199
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 4) อื่น ๆ
ระบุ  คน
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
30.1.2 ในรอบปที่ผานมา คนในหมูบาน/ คลิกเลือก
ชุมชนนี้ ไดรับการฝกอบรมดานการศึกษา ดังนี้ (คนที่  ไมได
รับการอบรมหลายขอ สามารถนับซ้ําระหวางขอได)  ไดรบั
 1) การศึกษาแบบเบ็ดเสร็จ การรณรงค
เพื่อการเรียนรูหนังสือและการจัดกลุมสนใจ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 2) การฝกอบรมดานคุณธรรม จริยธรรม
หนาที่และสิทธิพลเมือง
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 3) การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 4) การปองกันและแกไขปญหายาเสพติด
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 5) การเรียนรูการใชงานดานเทคโนโลยี
สารสนเทศ (เชน อินเทอรเน็ต
คอมพิวเตอร ฯลฯ)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

200
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 6) การเรียนรูต ามแนวทางพระราชดําริ
(เชน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จิตอาสาพระราชทาน ฯลฯ)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 7) การเรียนรูด านกฎหมายใน
ชีวติ ประจําวัน
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 8) การเรียนรูด านสวัสดิการสังคม (เชน
ผูสูงอายุ คนพิการ เด็กและเยาวชน จิต
อาสา ฯลฯ)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 9) อื่น ๆ
ระบุ  คน
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
30.1.3 ในรอบปที่ผานมา คนในหมูบาน/ คลิกเลือก
ชุมชนนี้ ไดรับการฝกอบรมดานสุขภาวะ ดังนี้  ไมได
 ไดรบั
 1) โภชนาการและพฤติกรรมการบริโภค
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 2) อนามัยแมและเด็ก
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

201
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 3) การออกกําลังกายและการดูแลสุขภาพ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 4) เฝาระวังโรคระบาดตามฤดูกาล หรือ
โรคอุบัติใหม
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 5) การคุมกําเนิดและวางแผนครอบครัว
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 6) ความรูเ กี่ยวกับโทษของยาเสพติด เหลา
และบุหรี่
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 7) ความรูแกวัยรุนเกี่ยวกับการปองกันโรค
จากเพศสัมพันธ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
 8) เพศวิถีศึกษา (พัฒนาสัมพันธภาพทาง
สังคมและความสัมพันธทางเพศที่เคารพซึ่ง
กันและกัน)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
9) อื่น ๆ (ระบุ.......................................)  9) อื่น ๆ
ระบุ  คน
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

202
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
30.2 คนในชุมชนสวนใหญตอ งการเรียนรูและ
ฝกอบรม
 30.2.1 การฝกอบรมดานอาชีพ
โปรดระบุ...................................
 30.2.2 การฝกอบรมดานการศึกษา
โปรดระบุ...................................
 30.2.3 การฝกอบรมดานสุขภาวะตอง
โปรดระบุ...................................
 30.2.4 อื่น ๆ
โปรดระบุ...................................

ตัวชี้วัดที่ 31 โอกาสเขาถึงระบบการศึกษาของคนพิการ

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
31.1 หมูบาน / ชุมชนนี้ มีคนพิการหรือไม คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 32)
 มี โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
31.1.1 คนพิการในหมูบาน/ชุมชนที่ชวยเหลือ คลิกเลือก
ตนเองไดทั้งหมด  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
31.1.2 คนพิการในหมูบาน/ชุมชนที่ชวยเหลือ คลิกเลือก
ตนเองไมไดทั้งหมด  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
31.2 คนพิการในหมูบาน / ชุมชน ไดรับการศึกษา
ภาคบังคับ 9 ป (ป.1 – มัธยมศึกษาปที่ 3)
31.2.1 คนพิการทางรางกายที่ชว ยเหลือตัวเอง คลิกเลือก
ได  ไมมี
 มี โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

203
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
31.2.2 คนพิการทางรางกายที่ชว ยเหลือตัวเอง คลิกเลือก
ไมได  ไมมี
 มี โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
31.2.3 จํานวนคนพิการตามขอ 31.1 คลิกเลือก
ที่สามารถประกอบฝกอาชีพเลี้ยงดูตัวเองได  ไมมี
 มี โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
31.2.4 จํานวนคนพิการตามขอ 31.1 ที่ไดรับ คลิกเลือก
การฝกอาชีพ  ไมมี
 มี โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
31.3 ความตองการของคนพิการในหมูบาน / ชุมชน
ในการฝกอาชีพ
1) ดานการเกษตร คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
2) ดานหัตถกรรม / งานฝมือ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

204
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
3) ดานการทําอาหาร/แปรรูป คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
4) ดานการชาง คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
5) อื่น ๆ โปรดระบุ......................................................................
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

หมวดที่ 5 การมีสวนรวมและความเขมแข็งของชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 32 การรวมกลุมของประชาชน

คําอธิบาย
การรวมกลุม คื อ การที่ประชาชน หรือคนในชุมชนมีการรวมตัวกันตั้งแต 2 คนขึ้นไป มีการทํ ากิจกรรมรวมกัน
เพื่อให บรรลุ เปา หมาย ซึ่งสามารถแบงไดเปนกลุม 2 ประเภทคือ 1) กลุมที่เป นทางการ คือการแตงตั้ งขึ้นตาม
โครงสรางอํานาจหนาที่เพื่อปฏิบัติงานใหสําเร็จ เชน กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต เปนตน 2) กลุมที่ไมเปนทางการ
คื อ สมาชิ ก รวมตั ว ขึ้ น มาเองไม เ ป น ไปตามคํ า สั่ ง ก อ ขึ้ น มาเป น ไปตามความสนใจร ว มกั น และมิ ต รภาพ เช น
กลุมธรรมชาติ กลุมอนุรักษวัฒนธรรม กลุมเกษตร เปนตน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
32.1 การรวมกลุม ของประชาชน ในรอบปที่ผานมา
ครัวเรือนมีสวนรวมในกิจกรรม ดังนี้
32.1.1 ครัวเรือนที่เปนสมาชิกของกลุมเกี่ยวกับ คลิกเลือก
การบริหารจัดการที่ดินสาธารณะ เพื่อประโยชนดา นตาง  ไมมี
ๆ ของหมูบาน / ชุมชน  มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
ไดรับประโยชน  ครัวเรือน

205
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
32.1.2 ครัวเรือนที่เปนสมาชิกของกลุมเกี่ยวกับคลิกเลือก
การบริหารจัดการดานตาง ๆ สําหรับการมีที่อยูอาศัย  ไมมี
เพื่อลดจํานวนผูไรบาน/ไรที่พึ่ง  มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
ไดรับประโยชน  ครัวเรือน
32.1.3 ครัวเรือนที่เปนสมาชิกของกลุมเกี่ยวกับ คลิกเลือก
การปกปองมรดกทางวัฒนธรรมและกิจกรรมทาง  ไมมี
วัฒนธรรม  มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
ไดรับประโยชน  ครัวเรือน
32.1.4 ครัวเรือนที่เปนสมาชิกของกลุมเกี่ยวกับ คลิกเลือก
การปกปองภัยพิบัติจากธรรมชาติ (เชน ตัดไมทําลายปา  ไมมี
ไฟปา ฝุนละอองขนาดเล็ก ฯลฯ)  มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
ไดรับประโยชน  ครัวเรือน
32.1.5 ครัวเรือนที่เปนสมาชิกของกลุมเกี่ยวกับ คลิกเลือก
การกําจัดมลภาวะทางสิ่งแวดลอม (ทางน้ํา ทางอากาศ  ไมมี
ทางเสียง ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล)  มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
ไดรับประโยชน  ครัวเรือน
32.1.6 ครัวเรือนที่เปนสมาชิกของกลุมเกี่ยวกับ คลิกเลือก
การทํากิจกรรมดานพลังงาน เชน การอนุรักษพลังงาน  ไมมี
พลังงานทดแทน เทคโนโลยีพลังงาน เปนตน  มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
ไดรับประโยชน  ครัวเรือน
32.1.7 ครัวเรือนที่เปนสมาชิกของกลุมเกี่ยวกับ คลิกเลือก
การประชุมของหมูบา น / กลุมตางๆ เชน กลุมออม  ไมมี
ทรัพยเพื่อการผลิต กลุมสตรี สหกรณการเกษตร กลุม  มี โปรดระบุ
อาชีพหรือกองทุนหมูบาน/ชุมชน ฯลฯ จํานวน  ครัวเรือน
ไดรับประโยชน  ครัวเรือน
32.1.8 ครัวเรือนที่เปนสมาชิกของกลุมเกี่ยวกับ คลิกเลือก
การทํากิจกรรมชุมชนในพื้นที่ (เชน ปลูกตนไม ทําความ  ไมมี
สะอาดสถานที่สาธารณะ ฯลฯ)  มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
ไดรับประโยชน  ครัวเรือน
32.1.9 อื่นๆ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  ครัวเรือน
ไดรับประโยชน  ครัวเรือน

206
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 33 การมีสวนรวมของชุมชน

คําอธิบาย
1. เวทีประชาคม หมายถึง การจัดใหมีการประชุมคนสวนใหญของชุมชน เพื่อเปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมใน
การแสดงความคิดเห็น การเสนอปญหา และแนวทางการแกไขปญหาของชุมชน ผลลัพธของเวทีประชาคม
ไมจําเปนตองไดแผนชุมชนที่เปนลายลักษณอักษร
2. แผนชุม ชน หมายถึง การกําหนดอนาคตและกิจกรรมการพัฒนาของชุมชน โดยเกิ ดขึ้นจากคนในชุมชนที่มี
การรวมตัวกันจัดทําแผนขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชน ใหเปนไปตามที่ตองการ และสามารถ
แกปญหาที่ชุมชนเผชิญอยูรวมกัน โดยคนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมกําหนดแนวทาง และทํากิจกรรมการพัฒนา
ร วมกัน โดยยึดหลั กการพึ่งตนเอง ลดการพึ่งพิงภายนอก ดวยการคํานึกถึ งศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปญ ญา
วิถีชีวิต วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมในทองถิ่นเปนหลัก จึงกลาวไววา แผนชุมชน เปนของชุมชน ดําเนินการโดย
ชุมชน และเพื่อประโยชนของชุมชนเอง ซึ่งแตกตางจากแผนที่ภาครัฐจัดทําขึ้นมาเพื่อจัดสรรงบประมาณเปนหลัก

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
33.1 ครัวเรือนที่มีสมาชิกเคยมีสวนรวมในการทํา จํานวน  ครัวเรือน
กิจกรรมของหมูบาน/ชุมชน เชน รวมประชุมหมูบาน
ทํากิจกรรมในชุมชน และไดประโยชนจากการรวม
กิจกรรม
33.2 เวทีประชาคมเพื่อจัดทําแผนชุมชน ในรอบปที่
ผานมา ครัวเรือนมีสวนรวมในจัดทําแผนชุมชน
33.2.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการจัดเวทีประชาคม คลิกเลือก
ในการคนหาปญหา แกไขปญหา และจัดทําแผนชุมชน  ไมมี (ขามไปตอบขอ 33.2.3)
หรือไม  มี ระบุจํานวน  ครั้งตอป
33.2.2 จํานวนครัวเรือนที่เขารวมเวทีประชาคม จํานวน  ครัวเรือน
หมูบาน/ชุมชน
33.2.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการนําแผนชุมชนไป คลิกเลือก
ปฏิบัติ หรือไม  ไมมีแผนชุมชน
 มีแตไมปฏิบัติตามแผน
 มีและไดปฏิบัติตามแผน
33.2.4 จํานวนครัวเรือนที่ไดประโยชนจากการ จํานวน  ครัวเรือน
นําแผนชุมชนไปปฏิบัติ
33.2.5 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการตัง้ กฎกติกาของ คลิกเลือก
หมูบานที่ผานการประชาคมแลว หรือไม  ไมมี
 มี
33.2.6 จํานวนครัวเรือนที่ปฏิบตั ติ ามกฎกติกา จํานวน  ครัวเรือน
ของหมูบาน/ชุมชน

207
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 34 ความปลอดภัยของหมูบาน / ชุมชน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
34.1 หมูบาน/ชุมชนนี้มีบริการดานความปลอดภัย
หรือไม
34.1.1 ที่ทําการตํารวจชุมชน คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ จํานวน  แหง
34.1.2 สถานีตํารวจ คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ จํานวน  แหง
34.2 ความปลอดภัยของหมูบา น / ชุมชน
34.2.1 หมูบาน / ชุมชนนี้ ไมมีจดุ ที่เปนซอยลึก คลิกเลือก
ซอกหลืบ เปนที่เปลี่ยว ไฟฟาสองไมถึง  ใช
 ไมใช
34.2.2 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน / ชุมชนนี้ ไม คลิกเลือก
มีคดีอาชญากรรมที่เกิดจากความขัดแยงทางความคิด  ใช
ทรัพยสิน ชูสาว หรือขมขืนกระทําชําเรา  ไมใช โประดระบุ
เกิดเหตุเฉลีย่ ปละ  ครั้ง
34.2.3 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ ไม คลิกเลือก
มีคนถูกประทุษรายตอทรัพย  ใช
 ไมใช โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศหญิง  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศ LGBTI  คน
อายุเฉลี่ย  ป
34.2.4 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ ไมมี คลิกเลือก
คนตกเปนเหยื่อความรุนแรงทางรางกาย จิตใจ หรือทาง  ใช
เพศ  ไมใช โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศหญิง  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศ LGBTI  คน
อายุเฉลี่ย  ป

208
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
34.2.5 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ ไมมี คลิกเลือก
คนตกเปนเหยื่อการคามนุษย  ใช
 ไมใช โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศหญิง  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศ LGBTI  คน
อายุเฉลี่ย  ป
34.2.6 ในรอบที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ ไมมี คลิกเลือก
คนถูกลักพาตัว  ใช
 ไมใช โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศหญิง  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศ LGBTI  คน
อายุเฉลี่ย  ป
34.2.7 ในรอบที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ ไมมี คลิกเลือก
คนถูกฆาตาย  ใช
 ไมใช โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศหญิง  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศ LGBTI  คน
อายุเฉลี่ย  ป
34.2.8 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ ไมมี คลิกเลือก
คนถูกทํารายรางกาย  ใช
 ไมใช โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศหญิง  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศ LGBTI  คน
อายุเฉลี่ย  ป

209
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
34.2.9 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ ไม คลิกเลือก
มีคนถูกกระทําอนาจาร ขมขืนหรือกระทําชําเรา แตไม  ใช
ถึงกับชีวิต  ไมใช โปรดระบุ
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศหญิง  คน
อายุเฉลี่ย  ป
เพศ LGBTI  คน
อายุเฉลี่ย  ป

ตัวชี้วัดที่ 35 ศาสนสถาน ศูนยเรียนรูชุมชน และภูมิปญญาชุมชน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
35.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีศาสนสถานตอไปนี้หรือไม คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 35.2)
 มี
คลิกเลือก
 1) วัด
โปรดระบุ จํานวน  แหง
ชวงในพรรษา พระภิกษุ  รูป
สามเณร  รูป
ชวงนอกพรรษา พระภิกษุ  รูป
สามเณร  รูป
คนในหมูบาน/ชุมชน ใชบริการเฉลี่ย
เดือนละ  ครั้ง / 1 แหง
คลิกเลือก
 2) ที่พักสงฆ/สํานักสงฆ
โปรดระบุ จํานวน  แหง
ชวงในพรรษา พระภิกษุ  รูป
สามเณร  รูป
ชวงนอกพรรษา พระภิกษุ  รูป
สามเณร  รูป
คนในหมูบาน/ชุมชน ใชบริการเฉลี่ย
เดือนละ  ครั้ง / 1 แหง
คลิกเลือก
 3) มัสยิด
โปรดระบุ จํานวน  แหง
คนในหมูบาน/ชุมชน ใชบริการเฉลี่ย
เดือนละ  ครั้ง / 1 แหง

210
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
คลิกเลือก
 4) โบสถคริสต
โปรดระบุ จํานวน  แหง
คนในหมูบาน/ชุมชน ใชบริการเฉลี่ย
เดือนละ  ครั้ง / 1 แหง
35.2 ศูนยเรียนรูชุมชน คลิกเลือก
 ไมมี (ขามไปตอบขอ 35.3)
 มี
คลิกเลือก
 1) อยูในความรับผิดชอบของรัฐบาล
จํานวน  แหง
คนในหมูบาน/ชุมชน ใชบริการเฉลี่ย
เดือนละ  ครั้ง / 1 แหง
คลิกเลือก
 2) อยูในความรับผิดชอบของเอกชน
จํานวน  แหง
คนในหมูบาน/ชุมชน ใชบริการเฉลี่ย
เดือนละ  ครั้ง / 1 แหง
คลิกเลือก
 3) อื่น ๆ
ระบุ.......................................................
จํานวน  แหง
คนในหมูบาน/ชุมชน ใชบริการเฉลี่ย
เดือนละ  ครั้ง / 1 แหง
จํานวนรวม  แหง
35.3 ภูมิปญญาทองถิ่น

คําอธิบาย
1. ภูมิปญญาทองถิ่น /ภูมิปญญาชาวบาน หมายถึง ความรูที่สั่งสมกันมา หรือสืบทอดกันมาและสอดคลองกับ
วัฒนธรรม ทองถิ่นและวิถีชีวิตของชาวบานในการดํารงชีวิต และการผลิต
2. ปราชญชาวบาน หมายถึง ผูรู ผูชํานาญการ ผูนําหรือบุคคลตัวอยาง ในดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและ
หั ต ถกรรม การแพทยแ ผนไทย การจั ดการทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ง แวดล อ ม กองทุ น และธุร กิ จ ชุ ม ชน
ศิลปกรรม ภาษาและวรรณกรรม ปรัชญา ศาสนาและประเพณี และดานโภชนาการ เปนตน
3. แพทยแผนไทย หมายถึง ผูที่ประกอบโรคศิลปะตามความรูหรือตําราแผนไทยที่ถายทอดและพัฒนาสืบตอกันมา
หรือตามการศึกษาจากสถานที่ศึกษาที่มีคณะกรรมการรองรับ
35.3.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีภูมิปญ
 ญาทองถิ่น คลิกเลือก
ภูมิปญญาชาวบาน หรือปราชญชาวบาน ในการพัฒนา  ไมมี (ขามไปตอบขอ 36)
หมูบาน  มี

211
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
35.3.2 จํานวนผูร ู ผูนํา ผูชํานาญการ บุคคล
ตัวอยางในดานตาง ๆ ของหมูบาน/ชุมชน มีดังนี้
คลิกเลือก
 1) ดานเกษตรกรรม (เชน การเพาะปลูก
การขยายพันธุพืช การเลี้ยงสัตว
การเกษตรผสมผสาน การทําไรนาสวน
ผสม การปรับใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ
การเกษตร เปนตน)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
คลิกเลือก
 2) ดานอุตสาหกรรมและหัตถกรรม (เชน
การจักสาน (ทอเสื่อ สานกระดง กระติบ
ขาว แห อวน เปนตน) การชาง (ชางตีมีด/
เหล็ก/ขวาน/ปนโอง ฯลฯ) การทอผา (ผา
ลายขิด ผามัดหมี่ เปนตน) การแกะสลัก
การตัดเย็บเสื้อผา เปนตน)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
คลิกเลือก
 3) ดานการแพทยแผนไทย (เชน หมอ
สมุนไพร หมอยากลางบาน หมอนวดแผน
โบราณ หมอยาหมอ สปา เปนตน)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
คลิกเลือก
 4) ดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม (เชน การบวชปา การสืบ
ชะตาแมน้ํา ทําแนวปะการังเทียม อนุรักษ
ปาชายเลน การจัดการปาตนน้ําและปา
ชุมชน เปนตน)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน

212
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
คลิกเลือก
 5) ดานกองทุนและธุรกิจชุมชน (เชน ผูนํา
ในการจัดการกองทุนของชุมชน ผูนําใน
การจัดตั้งกองทุน สวัสดิการรักษาพยาบาล
ของชุมชน ผูนําในการจัดระบบสวัสดิการ
บริการชุมชน เปนตน)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
คลิกเลือก
 6) ดานศิลปกรรม (เชน การวาดภาพ
(จิตรกรรม) การปน(ประติมากรรม)
นาฎศิลป ดนตรี การแสดง การละเลน
พื้นบาน นันทนาการ เปนตน
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
คลิกเลือก
 7) ดานภาษาและวรรณกรรม (เชน
ความสามารถในการอนุรักษและสราง
ผลงานดานภาษา คือ ภาษาถิ่น ภาษาไทย
ในภูมิภาคตาง ๆ และวรรณกรรมทองถิ่น/
การจัดทําสารานุกรมภาษาถิ่น/การปริวรรต
(การเปลี่ยนแปลง) หนังสือโบราณ/การ
ฟนฟู การเรียนการสอนภาษาถิ่นของ
ทองถิ่นตาง ๆ เปนตน)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
คลิกเลือก
 8) ดานปรัชญา ศาสนา และประเพณี
(เชน ความสามารถประยุกต และปรับใช
หลักธรรมคําสอนทางศาสนา ปรัชญาความ
เชื่อและประเพณี ที่มีคณ ุ คาใหเหมาะสม
ตอบริบททางเศรษฐกิจสังคม การถายทอด
วรรณกรรม คําสอน การประยุกตประเพณี
บุญ เปนตน)
รวมจํานวน  คน

213
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
คลิกเลือก
 9) ดานโภชนาการ (ความสามารถในการ
เลือกสรร ประดิษฐ และปรุงแตงอาหาร
และยาไดเหมาะสมกับความตองการของ
รางกายในสภาวการณตาง ๆ ตลอดจน
ผลิตเปนสินคาและบริการทีไ่ ดรับความนิยม
แพรหลายมากเปนตน)
รวมจํานวน  คน
เพศชาย  คน
เพศหญิง  คน
เพศ LGBTI  คน
35.3.3 คนในครัวเรือนอยางนอย 1 คน ไดรบั คลิกเลือก
การเรียนรูจากปราชญชาวบาน หรือจากศูนยเรียนรู  ไมมี
ชุมชนทั้งในและนอกหมูบาน / ชุมชน  มี จํานวน  ครัวเรือน

ตัวชี้วัดที่ 36 การไดรับความคุมครองทางสังคม

คําอธิบาย
1. กลุ มเปาหมาย ไดแก คนที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป คนพิการและเด็กกําพรา เด็กถูกทอดทิ้ง เด็กเร รอนที่ไมไดรับ
การดูแลจากครอบครัวคนในชุมชน สวัสดิการชุมชน สวัสดิการภาครัฐ/เอกชน และกลุมเสี่ยงที่อาจถูกทอดทิ้ง
2. การไดรับการดูแลเอาใจใส หมายถึง ไดรับการดูแลเอาใจใสในชีวิตความเปนอยู ดานอาหารการกิ น เสื้อผา
เครื่ องนุ งห ม และไดรับการดูแลเมื่อยามเจ็บไข ไดปวย การดูแลเอาใจใสดานสภาพจิตใจจากคนในครอบครัว
หมูบานหรือชุมชน รวมทั้งไดรับสวัสดิการชุมชนหรือเบี้ยยังชีพ จากภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือไม
3. การคามนุษย หมายถึง การกระทําที่เกี่ยวของกับการเปนธุระจัดหาการนําพา การรับตัวไว และการบริหารบุคคล
ที่ไดมา ซึ่งก็คือผูเสียหายจากการคามนุษย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําตัวผูเสียหายไปกอใหเกิดผลกําไร

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
36.1 คนที่ไมมีเลขประจําตัวประชาชน 13 หลัก คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน

214
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
36.2 เด็กกําพรา (กําพราพอหรือแม หรือทั้งพอและแม คลิกเลือก
ทําใหเกิดปญหาตอการดํารงชีวิต) ถูกทอดทิ้ง  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.3 เด็กเรรอ น (ไมมีหลักฐานวาเปนลูกหลานใคร) คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.4 เด็กทีไ่ มไดลงทะเบียนเกิด (เด็กที่พอ-แมไมไดแจง คลิกเลือก
เกิด)  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.5 เด็กทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากโรคเอดส (เชน สังคม คลิกเลือก
รังเกียจ ฯลฯ)  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.6 เด็กตางดาว คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.7 ครัวเรือนที่มสี มาชิกเฉพาะเด็กอายุต่ํากวา 18 ป คลิกเลือก
เทานั้น อยูตามลําพังไมมผี ใู หญเลีย้ งดู  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน

215
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
36.8 ครัวเรือนที่มีหัวหนาครัวเรือนเปนผูหญิงและมี คลิกเลือก
หนาที่รับผิดชอบในการหารายไดเลี้ยงครอบครัว  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.9 ครัวเรือนที่มีคสู มรสอยูในสภาพหมาย (คูส มรส คลิกเลือก
ตาย) หยา หรือ แยกทางกัน  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.10 คนพิการที่ไมมีที่อยูอาศัย หรือ อาศัยอยูใน คลิกเลือก
ครัวเรือนยากจน หรือไมมผี ูเลีย้ งดู และมีรายไดไม  ไมมี
เพียงพอตอการยังชีพ  มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.11 ครัวเรือนที่มีสมาชิกเฉพาะ ปู-ยา หรือ ตา-ยาย คลิกเลือก
อยูกับหลาน  ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.12 ครัวเรือนที่มีผสู ูงอายุ (คนอายุ 60 ปขึ้นไป) คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน
36.13 คนที่ไมมีที่อยูอาศัยถาวร และไมมผี ูเลี้ยงดู คลิกเลือก
 ไมมี
 มี โปรดระบุ
จํานวน  คน
ไดรับการดูแลจากชุมชน  คน
ไมไดรับการดูแลจากชุมชนคน

216
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตัวชี้วัดที่ 37 การใชทรัพยากรธรรมชาติและดูแลสิ่งแวดลอม

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
37.1 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการ
จัดทําแผนอนุรักษ ฟนฟู และแผนการดูแลระบบนิเวศ  ไมมี (ขามไปตอบขอ 37.2)
อยางยั่งยืนหรือไม  มี
37.1.1 จํานวนแผนที่ถูกนํามาปฏิบัติการอยาง จํานวน  แผน
เปนรูปธรรม
37.1.2 จํานวนหนวยงานภาครัฐ ที่มีสวนรวม จํานวน  หนวยงาน
ปฏิบัติการตามแผน
37.1.3 จํานวนหนวยงานภาคเอกชน ที่มีสวนรวม จํานวน  หนวยงาน
ปฏิบัติการตามแผน
37.1.4 จํานวนครัวเรือนที่มีสวนรวมปฏิบตั ิการ จํานวน  ครัวเรือน
ตามแผน
37.2 จํานวนครัวเรือนที่ไดรับผลกระทบจากระบบ  ไมมี (ขามไปตอบขอ 37.3)
นิเวศในปจจุบัน  มี
 1) อากาศ จํานวน  ครัวเรือน
 2) ปาไม จํานวน  ครัวเรือน
 3) ทุงหญาสาธารณะ จํานวน 
ครัวเรือน
 4) น้ําจืด จํานวน  ครัวเรือน
 5) น้ําเค็ม จํานวน  ครัวเรือน
 6) น้ํากรอย จํานวน  ครัวเรือน
 7) น้ําผิวดิน จํานวน  ครัวเรือน
37.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหาดานการจัดสรรเพื่อ  ไมมีปญ  หา
ใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม  มีปญหา
หรือไม
37.3.1 จํานวนหนวยงานที่รับผิดชอบดานการ จํานวน  หนวยงาน
จัดสรรเพื่อใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดลอม
37.3.2 จํานวนครัวเรือนที่ขาดโอกาสในการ จํานวน  ครัวเรือน
เขาถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งที่แวดลอม

217
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 38 คุณภาพดิน

คําอธิบาย
1. ดินตื้น หมายถึง ดินที่มีลูกรัง ศิลาแลง กอนกรวด หรือเศษหิน เปนจํานวนมากอยูในดินตื้นกวา 50 เซนติเมตร
หรือเศษหินเปนจํานวนมาก
2. หนาดินถูกชะลาง หมายถึง การที่ดินชั้นบนซึ่งประกอบดวยธาตุอาหารตาง ๆ และมีความสมบูรณมากกวาสวนอืน่
ถูกน้ําทําใหอนุภาคของดินแตกกระจายออกจากกัน และพัดพาอนุภาคนั้นใหเคลื่อนยายไปจากพื้นที่เพาะปลูก
เปนผลใหดินขาดความอุดมสมบูรณ และเสื่อมคุณภาพ
3. ดินจืด หมายถึงดิน ที่ขาดความอุดมสมบูรณของธาตุอาหารตามธรรมชาติ ที่สําคัญตองพึ่งพาปุยจํานวนมากใน
การเพาะปลูก
4. ดินเค็ม หมายถึง ดินที่มีเกลือคลอไรด หรือซัลเฟตผสมอยูในอัตราสวนสูง ทํา ให เนื้อดินแนน เป นผลทํ าใหพืช
ไมสามารถนําสารอาหารบางชนิดในดินมาใช เพื่อการเจริญเติบโตได ซึ่งจะทําใหผลผลิตทางการเกษตรในบริเวณ
นั้นลดลง อาจสังเกตดินชนิดนี้ไดจากการมีเกลือเปนฝาสีขาวเกาะบนหนาดิน
5. ดินเปรี้ ยว หมายถึง ดินที่มีแ รธาตุประเภทกรด เชน ธาตุไฮโดรเจน เหล็ก และอลู มิเนียม ผสมอยูในปริมาณ
คอนขางสูง เมื่อธาตุเหลานี้ละลายออกมามาก จะทําใหเนื้อดินเหนียวและมีความอุดมสมบูรณลดลง พบไดทั่วไป
โดยเฉพาะดินที่ใชเพาะปลูกหรือมีการใสปุยวิทยาศาสตรเปนเวลานาน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
38.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหาคุณภาพของดินใน
แตละชนิด หรือไม
1) ดินตื้น  มีปญหามาก
 ไมมีปญ  หา/มีปญหาเล็กนอย
2) หนาดินถูกชะลาง  มีปญหามาก
 ไมมีปญ
 หา/มีปญหาเล็กนอย
3) ดินจืด (ดินขาดอินทรียวัตถุ)  มีปญหามาก
 ไมมีปญ หา/มีปญหาเล็กนอย
4) ดินมีกรวด  มีปญหามาก
 ไมมีปญ  หา/มีปญหาเล็กนอย
5) ดินดาน  มีปญหามาก
 ไมมีปญ  หา/มีปญหาเล็กนอย

6) ดินเค็ม  มีปญหามาก
 ไมมีปญ  หา/มีปญหาเล็กนอย
7) ดินเปรีย้ ว  มีปญหามาก
 ไมมีปญ
 หา/มีปญหาเล็กนอย
38.2 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหาที่ทําใหไมสามารถใช
ประโยชนที่ดินไดอยางเต็มที่ หรือไม
1) ดินไมดี  มีปญหามาก
 ไมมีปญ
 หา/มีปญหาเล็กนอย
2) ขาดแคลนแรงงาน  มีปญหามาก
 ไมมีปญ หา/มีปญหาเล็กนอย

218
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
3) ปลูกพืชไมคมุ ทุน  มีปญหามาก
 ไมมีปญ  หา/มีปญหาเล็กนอย
4) ไมมคี วามรูในการเพาะปลูกพืชอื่น  มีปญหามาก
 ไมมีปญ  หา/มีปญหาเล็กนอย
5) ขาดน้ําเพื่อการเกษตร  มีปญหามาก
 ไมมีปญ  หา/มีปญหาเล็กนอย
6) มีน้ําทวมขังในพื้นที่  มีปญหามาก
 ไมมีปญ  หา/มีปญหาเล็กนอย
7) อื่นๆ  ระบุ.......................................................
 มีปญหามาก
 ไมมีปญ
 หา/มีปญหาเล็กนอย
38.3 ครัวเรือนปลูกพืชคลุมดินหรือบํารุงดิน จํานวน  ครัวเรือน

38.4 ครัวเรือนที่ใชปุยอินทรียในการเพาะปลูก โดยไม  ไมมี


ใชปุยเคมีเลย  มี
จํานวน  ครัวเรือน
38.5 ครัวเรือนที่ใชปุยอินทรียและปุยเคมีในการ  ไมมี
เพาะปลูก  มี
จํานวน  ครัวเรือน
38.6 ครัวเรือนที่ใชปุยเคมีในการเพาะปลูก โดยไมใช  ไมมี
ปุยอินทรียเลย  มี
จํานวน  ครัวเรือน

ตัวชี้วัดที่ 39 คุณภาพน้ํา

คําอธิบาย
แหลงน้ําผิวดิน ไดแก แหลงน้ําธรรมชาติที่สามารถนําน้ําขึ้นมาใชได และแหลงน้ําทีส่ รางขึ้น

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
39.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีแหลงน้าํ ผิวดิน หรือไม  ไมมี (ขามไปตอบขอ 40)
 มี
39.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีแหลงน้ําผิวดิน จํานวน  แหง
ทั้งหมด แยกเปน
1) คุณภาพเหมาะสมดี จํานวน  แหง
2) คุณภาพเหมาะสมพอใช จํานวน  แหง
3) คุณภาพไมเหมาะสม จํานวน  แหง
39.1.2 ถามีแหลงน้ําผิวดิน ใหระบุชื่อและเลือก
ประเภทและคุณภาพของแหลงน้ําผิวดิน
 1) ชื่อแหลงน้ําผิวดิน ระบุ...................................

219
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
ประเภท
 ทะเลสาบ บึง
 แมน้ํา
 คู คลอง ลําหวย
 หนองน้ํา
 น้ําตก น้ําซับ น้ําพุ
 สระน้ํา
 เขื่อน อางเก็บน้ํา
 คลองสงน้ํา ฝาย ทํานบ ประตูน้ํา
 อื่น ๆ
คุณภาพ
 คุณภาพเหมาะสมดี
 คุณภาพเหมาะสมพอใช
 ไมเหมาะสม
 2) ชื่อแหลงน้ําผิวดิน ระบุ.......................................
ประเภท
 ทะเลสาบ บึง
 แมน้ํา
 คู คลอง ลําหวย
 หนองน้ํา
 น้ําตก น้ําซับ น้ําพุ
 สระน้ํา
 เขื่อน อางเก็บน้ํา
 คลองสงน้ํา ฝาย ทํานบ ประตูน้ํา
 อื่น ๆ
คุณภาพ
 คุณภาพเหมาะสมดี
 คุณภาพเหมาะสมพอใช
 ไมเหมาะสม
 3) ชื่อแหลงน้ําผิวดิน ระบุ...............................
ประเภท
 ทะเลสาบ บึง
 แมน้ํา
 คู คลอง ลําหวย
 หนองน้ํา
 น้ําตก น้ําซับ น้ําพุ
 สระน้ํา
 เขื่อน อางเก็บน้ํา
 คลองสงน้ํา ฝาย ทํานบ ประตูน้ํา

220
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 อื่น ๆ
คุณภาพ
 คุณภาพเหมาะสมดี
 คุณภาพเหมาะสมพอใช
 ไมเหมาะสม
คําอธิบาย
ตอบ 1 ทะเลสาบ บึง ตอบ 1 เหมาะสมดี หมายถึง ไมมีกลิ่นและสีผิดปกติจากธรรมชาติ
ตอบ 2 แมน้ํา มีสัตวน้ําอาศัยอยูไดตามธรรมชาติ ไมเปนแหลงรองรับของเสีย เชน
ตอบ 3 คู คลอง ลําหวย ขยะหรือน้ําทิ้งจากบานเรือน หรือสถานประกอบการใด ๆ
ตอบ 4 หนองน้ํา ตอบ 2 เหมาะสมพอใช หมายถึ ง ไม มี กลิ่นและสี ผิดปกติจาก
ตอบ 5 น้ําตก น้ําซับ น้ําพุ ธรรมชาติ มีสัตวน้ําอาศัยอยูไดตามธรรมชาติ เปนแหลงรองรับของ
ตอบ 6 สระน้ํา เสีย เชน ขยะหรือน้ําทิ้งจากบานเรือน หรือสถานประกอบการใด ๆ
ตอบ 3 ไมเหมาะสม หมายถึง มีกลิ่นและสีผิดปกติจากธรรมชาติ
ตอบ 7 เขื่อน อางเก็บน้ํา
ไมมีสัตวน้ําอาศัยอยูไดตามธรรมชาติเปนแหลงรองรับของเสีย เชน
ตอบ 8 คลองสงน้ํา ฝาย ทํานบ ประตูน้ํา
ขยะหรือน้ําทิ้ง จากบานเรือน หรือสถานประกอบการ
ตอบ 9 อื่น ๆ

ตัวชี้วัดที่ 40 การจัดการสภาพสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

คําอธิบาย
1. ขยะมูลฝอย หมายความรวมถึง เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา เศษถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูล
สัตวหรือซากสัตว รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว หรือที่อื่น ๆ
2. การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวม การขนถาย การขนสง และการกําจัดขยะมูลฝอย โดยมี
มาตรการปองกันไมใหขยะมูลฝอยเปนสาเหตุของสภาพรกรุงรังจนกอใหเกิดปญหา เหตุรําคาญ หรืออุบัติภัย หรือเปน
แหลงเพาะพันธุของสัตวและแมลงนําโรค หรือกอใหเกิดมลพิษทางดิน น้ํา และอากาศ
3. การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ หมายถึง การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยลงในภาชนะที่ทําดวยวัสดุแข็งแรง
มีฝาปด และมีความจุพอเพียงกับปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้น
4. การขนถ า ยหรื อ ขนส ง ขยะมู ล ฝอย หมายถึ ง การลํ า เลี ย งขยะมู ล ฝอยจากสถานที่ เ กิ ด ขยะไปยั ง สถานที่ กํ า จั ด
ที่สามารถปองกันการฟุงกระจาย และการตกหลนของขยะมูลฝอยได
5. การกําจัดขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ หมายถึง การกําจัดขยะมูลฝอย โดยวิธฝี งกลบวิธีหมักทําปุย หรือวิธีเผาในเตาเผา
หรือสถานที่ที่จัดไวเฉพาะเพื่อการเผาขยะ
6. ของเสียอันตราย หมายถึง ของเสียที่มีองคป ระกอบของวัตถุอันตราย ไดแก วัตถุระเบิด วั ตถุไวไฟ วัตถุ ออกซิไดซ
วั ต ถุ มี พิ ษ วั ต ถุ ที่ ทํ า ให เ กิด โรค วั ต ถุ กั ด กร อ น วั ต ถุ กั ม มั น ตรัง สี วั ต ถุ ที่ ก อ ให เ กิ ด การระคายเคื อ ง เคมี ภั ณ ฑ หรื อ
สิ่งอื่น
7. น้ําเสีย หมายถึง ของเสียที่อยูในสภาพเปนของเหลว รวมทั้งมวลสารที่ปะปนหรือปนเปอนอยู

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
40.1 การจัดการขยะมูลฝอย
40.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหาขยะมูลฝอย หรือไม  มี
 ไมมี
40.1.2 ในกรณีที่มีปญหา มีการจัดการขยะมูลฝอย  ไมมี
หรือไม  มี

221
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
40.1.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการคัดแยกประเภทของ  ไมมี
ขยะใหถูกตอง หรือไม  มี
40.1.4 ในกรณีที่มีการจัดการขยะมูลฝอย สามารถ  ไมถูกสุขลักษณะ
กําจัดขยะมูลฝอยไดถูกสุขลักษณะ หรือไม  ถูกสุขลักษณะ
40.1.5 การจัดการขยะมูลฝอยดําเนินงานโดย  หมูบาน/ชุมชน
หนวยงานใด  อบต./เทศบาล
 โรงงาน/เอกชน
 อื่นๆ ระบุ.......................................
40.2 การจัดการขยะของเสียอันตราย
40.2.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหาขยะของเสียอันตราย  มี
หรือไม  ไมมี
40.2.2 ในกรณีที่มีปญ
 หา มีการจัดการขยะของเสีย  ไมมี
อันตราย หรือไม  มี
40.2.3 ในกรณีที่มีการจัดการขยะของเสียอันตราย  ไมถูกสุขลักษณะ
สามารถกําจัดขยะของเสียอันตรายไดถูกสุขลักษณะ หรือไม  ถูกสุขลักษณะ

40.2.4 การจัดการขยะของเสียอันตรายดําเนินงานโดย  หมูบาน/ชุมชน


หนวยงานใด  อบต./เทศบาล
 โรงงาน/เอกชน
 อื่นๆ ระบุ.......................................
40.2.5 จํานวนครัวเรือนที่มีการนําขยะมาหมุนเวียนใช จํานวน  ครัวเรือน
ประโยชน
40.3 การบําบัดน้ําเสีย
40.3.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหาน้ําเสีย หรือไม  มี
 ไมมี
40.3.2 ในกรณีที่มีปญหา แหลงของน้ําเสียมาจากที่ใด  ครัวเรือน
 โรงงาน
 อื่นๆ ระบุ.................................
40.3.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีระบบรวบรวมนําเสีย และ  ไมมี
ระบบบําบัดน้ําเสีย หรือไม  มี
40.3.4 มีการบําบัดน้ําเสียในบริเวณหมูบาน / ชุมชน  ไมมี
หรือไม  มี
40.3.5 ในกรณีที่มีการบําบัดน้ําเสีย สามารถจัดการได  ไมถูกสุขลักษณะ
ถูกสุขลักษณะหรือไม  ถูกสุขลักษณะ
40.3.6 การบําบัดน้ําเสียดําเนินงานโดยหนวยงานใด  หมูบาน/ชุมชน
 อบต./เทศบาล
 โรงงาน/เอกชน
 อื่นๆ ระบุ.......................................

222
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ตัวชี้วัดที่ 41 การจัดการมลพิษ

คําอธิบาย
1. มลพิษทางอากาศ หมายถึง ภาวะอากาศที่มีสารเจือปนอยูในปริมาณที่สูง เชน ฝุนละอองจากลมพายุ ไฟไหมปา
กาซ ธรรมชาติ มลพิษจากทอไอเสีย เปนตน
2. มลพิษทางเสียง หมายถึง เสียงที่ดังเกินความจําเปน จนกอใหเกิดผลเสียตอสุขภาพอนามัยของคน มาจากแหลงตาง ๆ
มากมาย ไดแก การคมนาคม โรงงานอุตสาหกรรม เปนเสียงที่เกิดจากการทํางานของเครื่องจักรขนาดตาง ๆ ครัวเรือน
เปนเสียงที่เกิดจากเครื่องมือ เครื่องใชภายในบาน เชน เครื่องตัดหญา เครื่องดูดฝุน เครื่องขัดพื้น วิทยุ โทรทัศน เปนตน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
41.1 การจัดการมลพิษทางอากาศ
41.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหามลพิษทาง  มี
อากาศ หรือไม  ไมมี
41.1.2 ในกรณีที่มีปญหามลพิษทางอากาศ  1) การคมนาคมขนสง
มีสาเหตุเกิดจากมลพิษใด
 2) การประกอบอาชีพของชุมชน เชน เผาถาน
เกษตรกรรม ฯลฯ
 3) การเผาขยะ
 4) การเผาเพื่อทําการเกษตร
 5) ไฟปาหรือภัยธรรมชาติอนื่ ๆ
 6) โรงงานอุตสาหกรรม
 7) อื่น ๆ ระบุ..................................
41.1.3 ในกรณีที่มีปญหามลพิษทางอากาศ มี  1) หมูบาน/ชุมชน
หนวยงานใดบางที่รวมจัดการแกไขปญหา
 2) อบต./เทศบาล
 3) เอกชน
 4) หนวยงานภาครัฐจากสวนกลาง
 5) หนวยงานภาครัฐในพื้นที่
 6) อื่น ๆ ระบุ..................................
41.2 การจัดการมลพิษทางเสียง
41.2.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหาดานมลพิษ  ใช
ทางเสียง จนทําใหเกิดความรําคาญอยางตอเนื่อง  ไมใช
หรือไม
41.2.2 ในกรณีที่มีปญหามลพิษทางเสียง มี
สาเหตุเกิดจากเหตุใด
 1) โรงงานอุตสาหกรรม
 2) การคมนาคมขนสง
 3) รานอาหารและสถานบันเทิง
 4) การเรงเครื่องของยานพาหนะ
 5) การกอสราง
 6) อื่น ๆ ระบุ..........................................

223
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
41.2.3 ในกรณีที่มีปญหามลพิษทางเสียง มี
หนวยงานใดบางที่รวมจัดการแกไขปญหา
 1) หมูบาน/ชุมชน

 2) อบต./เทศบาล
 3) เอกชน
 4) หนวยงานภาครัฐจากสวนกลาง
 5) หนวยงานภาครัฐในพื้นที่
 6) อื่น ๆ ระบุ..........................................
หมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ
ตัวชี้วัดที่ 42 ความปลอดภัยจากยาเสพติด

คําอธิบาย
1. ยาเสพติด หมายถึง ผงขาว เฮโรอีน ฝน กัญชา ยาบา สารระเหย ยาคลายเครียด ยากลอมประสาท ยาอี ยาเลิฟ ยาเค
เคตามีน โคเคน ไอซ เปนตน ทั้งนี้ไมนับรวมเหลา บุหรี่ หรือยาแกปวดตาง ๆ
2. ผู ใ ช ห รื อ ผู เ สพยาเสพติ ด ในหมู บ า น หมายถึ ง ผู ใ ช ห รื อ ผู เ สพยาเสพติ ด ที่ อ าศั ย อยู ใ นหมู บ า นนี้ เ ท า นั้ น โดย
ไม นั บ รวมผู ใ ช ห รื อ ผู เ สพยาเสพติ ด จากที่ อื่ น มามั่ ว สุ ม หรื อ ใช ใ นหมู บ า นนี้ เ ป น สถานที่ เ สพยาเสพติ ด ยอดรวม
ของผูใชยาเสพติดตามชนิดยา ตองเทากับหรือมากกวา ยอดรวมผูใชยาเสพติดทั้งหมด ของหมูบาน
3. ผูใชหรือผูเสพยาเสพติด ตามคําสั่งศูนยอํานวยการตอสูเพื่อเอาชนะยาเสพติดแหงชาติที่ 16/2546 ถือวาเปนผูปวย
ควรไดรับการดูแลไดรับการบําบัดรักษา
4. วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ใช เ ป น ข อ มู ล ในการหาแนวทางการป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด ให กั บ ประชาชนใน
หมู บ า นเพื่ อ ให พ น จากพิ ษ ภั ย ของยาเสพติ ด เท า นั้ น ไม มี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ การปราบปรามหรื อ จั บ กุ ม ผู ติ ด ยาเสพ
ติดแตอยางใด

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
42.1 ในหมูบาน/ชุมชนนี้ เกี่ยวของกับยาเสพติด หรือไม  มี
 ไมมี (ขามไปขอ 42.5)
42.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีผูใชยาเสพติดทั้งหมด มีโปรดระบุ จํานวน  คน
42.1.2 ชนิดของยาเสพติดที่มีการใชในหมูบาน/ชุมชนนี้
 1) เฮโรอีน (ผงขาว)
 2) ฝน
 3) โคเคน
 4) ยาบา
 5) ไอซ
 6) ยาอี (ยาเลิฟ)
 7) คีตามีน (ยาเค)
 8) สารระเหย (กาว, ทินเนอร)
 9) ยาคลายเครียด/กลอมประสาท
 10) อื่น ๆ โปรดระบุ................................................

224
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
42.1.3 อาชีพหรือสถานะของผูใชยาเสพติดในหมูบาน/ชุมชน
42.1.3.1 อาชีพ
 1) นักเรียน/นักศึกษา
 2) เกษตรกรรม (ปลูกพืชปศุสัตว)
 3) ประมง
 4) รับจาง
 5) คาขาย
 6) กรรมกร (กอสรางแบกหาม ใชแรงงาน)
 7) วางงาน
 8) เจาหนาที่ของรัฐ
 9) แรงงานนอกระบบ
 10) แรงงานตางดาว
42.1.3.2 เพศ
 1) เพศหญิง
 2) เพศชาย
 3) เพศ LGBTI
42.1.3.3 อายุ
 1) อายุต่ํากวา 15 ป
 2) อายุระหวาง 15 – 20 ป
 3) อายุระหวาง 21 – 30 ป
 4) อายุระหวาง 31 – 39 ป
 5) อายุระหวาง 40 – 49 ป
 6) อายุระหวาง 50 – 59 ป
 7) อายุ 60 ปขึ้นไป
 8) อื่นๆ โปรดระบุ...........................................................
42.1.4 หมูบาน/ชุมชนนี้ ผูใชยาเสพติดซื้อยาเสพติดมาจาก  ภายในหมูบาน/ชุมชน
ที่ใด  ภายนอกหมูบาน/ชุมชน
 ทั้งสองแหลง
42.1.5 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีผูใชยาเสพติดที่เขารับการบําบัด  ไมมี
ฟนฟู หรือไม  มี
42.1.5.1 ผูใชยาเสพติดที่เขารับการบําบัดฟนฟู มีโปรดระบุ จํานวน  คน
42.1.5.2 ผูใชยาเสพติดที่เขารับการบําบัดฟนฟู และกลับ มีโปรดระบุ จํานวน  คน
สูหมูบาน/ชุมชน
42.2 เมื่อเปรียบเทียบการใชยาเสพติดในหมูบาน/ชุมชน  เพิ่มขึ้น
กับปที่ผานมา สถานการณการใชยาเสพติดเปนอยางไร  คงที่
 ลดลง
42.3 ผูใชยาเสพติดกอความเดือดรอนในเรื่องตอไปนี้
หรือไม
 1) ลักทรัพย/ชิงทรัพย
 2) กรรโชกทรัพย

225
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 3) ทํารายรางกาย/ทะเลาะวิวาท
 4) กอความรําคาญใหกับคนในหมูบาน/ชุมชน
 5) เปนแหลงแพรระบาดยาเสพติดในหมูบานหรือชุมชน
 6) ทําอนาจารขมขืนกระทําชําเรา
 7) อื่น ๆ โปรดระบุ............................................................
42.4 ครัวเรือนที่ไดรับความเดือดรอนตามขอ 42.3 จํานวน  ครัวเรือน
42.5 หมูบาน/ชุมชนนี้ เปนหมูบานกองทุนแมของแผนดิน  ไมเปน
หรือไม  เปน
42.6 ในรอบปที่ผานมา หมูงบาน/ชุมชนนี้ มีการดําเนิน  ไม่มี (ข้ามไปข้อ 43)
กิจกรรมการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด หรือไม  มี
42.6.1 ผูดาํ เนินกิจกรรมการปองกันและแกไขปญหายาเสพ  เจาหนาที่ของรัฐ
ติดในหมูบาน/ชุมชน มีหนวยงานใดบาง  อบต. /เทศบาล
 กลุมองคกรเอกชน /องคกรพัฒนาเอกชน
 กลุมประชาชนในหมูบาน/ชุมชน
 อื่น ๆ ระบุ...............................................
42.6.2 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนมีการดําเนิน
กิจกรรมการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ตอไปนี้ หรือไม
 1) การตั้งกฎ/กติกาของหมูบา น/ชุมชน
 2) การประชุมประชาคมอยางสม่ําเสมออยางนอยเดือน
ละครั้ง
 3) การเดินเวรยาม/เฝาระวัง/ตั้งจุดตรวจในหมูบาน
 4) การแจงขาวสารในการติดตามผูม ีพฤติกรรมเสพติด/
คายาเสพติด
 5) การรณรงคเผยแพรใหความรูแกชาวบาน
 6) การสงเสริมกลุมเสี่ยงเขารับการฝกอบรม
 7) การสงเสริมกิจกรรมทางเลือกใหกับกลุมเยาวชน
 8) การบําบัดรักษาผูต ิดยาเสพติด
 9) การสงผูต ิดยาเสพติดไปบําบัดรักษาตามสถานบําบัด
 10) การดูแลชวยเหลือผูต ิดยาเสพติดที่ผานการ
บําบัดรักษา
 11) การสงเสริมอาชีพใหกับผูที่เลิกยาเสพติดแลว
 12) การดูแลชวยเหลือผูที่คา ยาเสพติดที่กลับใจแลวหรือ
ผานโครงการทําความดีเพื่อแผนดิน
 13) การจัดตั้งกองทุนยาเสพติดในหมูบาน/ชุมชน
 14) การจัดตั้งกองทุนแมของแผนดินในหมูบาน/ชุมชน
 15) กิจกรรม หรือกระบวนการที่สงเสริมใหเกิดการ
แลกเปลีย่ น/เรียนรู
 16) การติดตาม/ทบทวนการดําเนินงานดานยาเสพติดที่
ผานมา

226
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
 17) การเชื่อมโยง/ขยายเครือขายกับหมูบาน/ชุมชนอื่นๆ
 18) การตั้งศูนยเรียนรูเพื่อการปองกันและแกไขปญหายา
เสพติด
 19) กิจกรรมอื่นๆ โปรดระบุ..........................................

ตัวชี้วัดที่ 43 ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ

คําอธิบาย
1. ภัยพิบัติ หมายถึง สาธารณภัย อันไดแก อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแลง ภาวะฝนแลง ฝนทิ้งชวง ภัยจากลูกเห็บ ภัยอันเกิด
จากไฟปา ภัยที่เกิดจากโรคหรือการระบาดของแมลง หรือศัตรูพืชทุกชนิด ภัยอันเกิดจากโรคที่แพรหรือระบาดในมนุษย อากาศ
หนาวจัดผิดปกติ ภัยสงคราม และภัยอันเนื่องมาจากการกระทําของผูกอการราย กองกําลังจากนอกประเทศ ตลอดจนภัยอื่น ๆ ไม
วาเกิดจากธรรมชาติหรือมีบุคคลหรือสัตวทําใหเกิดขึ้น ซึ่งกอใหเกิดอันตรายแกชีวิต รางกายของประชาชน หรือทําใหเกิดความ
เสียหายแกทรัพยสินของประชาชน
2. การเตรียมความพรอมรับมือกับภัยพิบัติ หมายถึง การเตรียมการรับมือกับภัยพิบัติ มุงเนนกิจกรรมตาง ๆ ที่ทําใหครัวเรือนมี
ความสามารถในการคาดการณ เผชิญเหตุ และจัดการกับผลกระทบจากภัยพิบัติอยางเปนระบบ หากเตรียมความพรอมไดดีจะทําให
สามารถดําเนินการตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ทั้งในชวงกอน ระหวาง และหลังการเกิดภัยพิบัติ และเพิ่มโอกาสในการรักษาชีวิตให
ปลอดภัยจากเหตุการณภัยพิบัติไดมากขึ้น
3. ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง โอกาส/เหตุการณที่กอใหเกิดผลกระทบหรือความเสียหาย ซึ่งมีความไมแนนอน เปนไปไดวา จะไม
เกิดเหตุการณใด ๆ ขึ้น ในขณะเดียวกันก็มีความเปนไปไดที่จะเกิดเหตุการณนั้นขึ้นเชนกัน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
43.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีความเสี่ยงที่จะเกิดภัยพิบัติ  ไม่มี
หรือไม  มี
43.2 หมูบาน/ชุมชนนี้ เสี่ยงจากภัยพิบัตใิ ด
 1) อุทกภัย
 2) วาตภัย
 3) อัคคีภัย
 4) ดินโคลนถลม
 5) แผนดินไหว
 6) ไฟปา หมอกควัน/ฝุนละอองขนาดเล็ก PM 2.5
 7) ภัยแลง
 8) ภัยจากสารเคมี
 9) ภัยทางถนน
 10) อื่น ๆ โปรดระบุ.....................................................
43.3 ในรอบปที่ผานมา ครัวเรือน จํานวน  ครัวเรือน
ประสบภัย
43.3.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนที่ จํานวน  ครัวเรือน
ประสบภัย ทําใหมีคนในครัวเรือนไดรับ จํานวน  คน
บาดเจ็บ เสียชีวติ สูญหาย หรือบานเรือน

227
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
เสียหายบางสวน หรือเสียหาย ทั้งหลัง (ไม
นับซ้ําครัวเรือน )
43.3.2 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนที่ จํานวน  ครัวเรือน
ประสบภัย ทําใหมีคนในครัวเรือนไดรับ จํานวน  คน
บาดเจ็บ
43.3.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนที่ จํานวน  ครัวเรือน
ประสบภัย ทําใหมีคนในครัวเรือนเสียชีวิต จํานวน  คน
43.3.4 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนที่ จํานวน  ครัวเรือน
ประสบภัย ทําใหบานเรือนเสียหาย
บางสวน
43.3.5 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีครัวเรือนที่ จํานวน  ครัวเรือน
ประสบภัย ทําใหบานเรือนเสียหายทั้งหลัง
43.3.6 ครัวเรือนที่ประสบภัยฯ แยก
สาเหตุ ไดดังนี้ (ขอนี้ไมตองตอบ โปรแกรม
จะประมวลผลจากฐานขอมูลความจําเปน
พื้นฐาน (จปฐ.)
1) อุทกภัย 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท
2) วาตภัย 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท
3) อัคคีภัย 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท
4) ดินโคลนถลม 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท
5) แผนดินไหว 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท
6) หมอกควัน/ควันพิษ 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท

7) ภัยแลง 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท
8) ภัยจากสารเคมี 
จํานวน  ครัวเรือน

228
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
มูลคาความเสียหาย  บาท
9) ภัยทางถนน 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท

10) ภัยจากการกอความไมสงบ 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท
11) อื่นๆ ระบุ..................................... 
จํานวน  ครัวเรือน
มูลคาความเสียหาย  บาท
43.4 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีระบบการเตือนภัย หรือไม  ไม่มี
 มี
43.5 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการเตือนภัยในรูปแบบใด
 1) หอกระจายขาว
 2) ไซเรนเตือนภัย
 3) มิสเตอรเตือนภัย (เปนเครือขายในการประสานงานในระดับทองถิ่น
 4) ประกาศขอมูลขาวสารทีส่ ําคัญเพื่อเฝาระวังและแจงเตือน
ภัยพิบัติในพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําทวมดินโคลนถลมใหกับประชาชน)
 5) อื่นๆ ระบุ..................................................................
43.6 ในรอบปที่ผานมา หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการ  ไม่มี
ดําเนินกิจกรรมดานการเตรียมพรอมรับมือกับภัย  มี
พิบัตหิ รือไม
43.7 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการดําเนินกิจกรรมดาน
การเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติ ดานใดบาง (ตอบได
มากกวา 1 ขอ)
 1) การรับฟงขอมูลขาวสารจากหนวยงานราชการที่เขามา
ในชุมชน/หมูบาน
 2) แผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัยประจําชุมชน/หมูบาน
 3) การเขารวมกิจกรรมการเตรียมความพรอมรับมือภัยพิบัติแบบ
มีสวนรวม เชน การจัดทําแผนที่เสี่ยงภัย เสนทางอพยพ
การกําหนดพื้นที่อพยพรวมกัน การฝกซอมแผนการอพยพ ฯลฯ

 4) คนในชุมชนสมัครเขารวมเปนอาสาสมัครดานการปองกันและบรรเทา
สาธารณภัย เชน มิสเตอรเตือนภัย อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน
(อปพร.), ทีมกูชีพกูภัยประจําตําบล (OTOS)
 5) อื่นๆ ระบุ.....................................................................

229
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
43.8 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการฝกซอมอพยพ  ไม่มี
ประชาชน (หนีภัย) หรือไม  มีโปรดระบุ ปละ  ครั้ง
43.9 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีศนู ยอพยพ/ศูนยพักพิง  ไม่มี
ชั่วคราว หรือไม  มีโปรดระบุ ตั้งอยูที่ ......................................

ตัวชี้วัดที่ 44 ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน

คําอธิบาย
1. ความเสี่ย ง หมายถึ ง โอกาสที่จ ะเกิ ดความผิดพลาด ความเสีย หาย การรั่ว ไหล ความสู ญ เปลา หรื อเหตุ การณที่
ไมพึงประสงค ซึ่งอาจเกิดขึ้นในอนาคต และมีผลกระทบหรือทําใหดําเนินงานไมประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงค
2. เด็กติดเกม หมายถึง เด็กที่มีกิจกรรมการเลนเกมอยางเดียวไมสนใจอยางอื่น หมกมุนอยูกับเกมทั้งวันทั้งคืน มีผลกระทบ
ตอรางกายและจิตใจ
3. อาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส หมายถึง การกระทําความผิดโดยใชระบบคอมพิวเตอร อิเล็กทรอนิกสเปนเครื่องมือใน
การกระทําความผิด เชน การหลอกโอนเงินทางบัญชีธนาคาร หลอกขายของออนไลน การพนันออนไลน เปนตน

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
44.1 การพนัน
44.1.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการเลนการพนัน หรือไม  มี
 ไมมี
44.1.2 มีการเลนการพนันตอไปนี้ หรือไม
 1) มวยตู
 2) หวยเถื่อน
 3) ฟุตบอล
 4) ไพ
 5) ไฮโล/ถั่ว/น้ําเตา
 6) ชนไก/ชนโค/ปลากัด
 7) สนุกเกอร/บิลเลียต
 8) อื่น ๆ ระบุ...........................................................
44.2 วัยรุน
44.2.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญ
 หาเด็กวัยรุนตีกัน หรือไม  มี
 ไมมี

44.3 รานเกม
44.3.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีรานเกม หรือไม  ไมมี
 มี
มีโปรดระบุ จํานวน  คน

230
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

คําถาม ตัวเลือก/คําตอบ
44.3.2 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหาเด็กติดเกมจนทําให  ไมมี
เกิดปญหาในครอบครัวหรือ ชุมชน หรือไม  มี
มีโปรดระบุ จํานวน  คน
44.3.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีปญหาเด็กแวน หรือไม  ไมมี
 มี
มีโปรดระบุ จํานวน  คน
44.3.4 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการบาดเจ็บ/ทํารายรางกาย/  ไมมี
ทะเลาะวิวาทอันเนื่องมาจากการดืม่ สุรา หรือไม  มี
มีโปรดระบุ จํานวน  คน
44.4 ความเสี่ยงจากเทคโนโลยี ไซเบอร และ
อาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส
44.4.1 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีอาชญากรรมทางอิเล็กทรอนิกส  ไมมี
 มี
44.4.2 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการหลอกโอนเงินทาง 
บัญชีธนาคาร จํานวน  คน
44.4.3 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการหลอกขายของออนไลน 
จํานวน  คน
44.4.4 หมูบาน/ชุมชนนี้ มีการพนันออนไลน 
จํานวน  คน
44.4.5 อื่น ๆ โปรดระบุ.........................................................................
จํานวน  คน

ภาคผนวก จ.
แบบสรุปผลการวิเคราะหขอมูลพื้นฐานระดับหมูบา น (กชช.2ค)

231
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด คะแนนที่ได


หมวดที่ 1 โครงสรางพื้นฐาน (10 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 1 ถนน
ตัวชี้วัดที่ 2 น้ําดื่ม
ตัวชี้วัดที่ 3 น้ําใช
ตัวชี้วัดที่ 4 น้ําเพื่อการเกษตร
ตัวชี้วัดที่ 5 ไฟฟาและเชื้อเพลิงในการหุงตม
ตัวชี้วัดที่ 6 การมีที่ดินทํากิน
ตัวชี้วัดที่ 7 การติดตอสื่อสาร
ตัวชี้วัดที่ 8 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดที่ 9 สิ่งอํานวยความสะดวกคนพิการและผูส ูงอายุ
ตัวชี้วัดที่ 10 พื้นที่สาธารณะสีเขียวและพื้นที่สาธารณะประโยชน
หมวดที่ 2 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (10 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 11 การมีงานทํา
ตัวชี้วัดที่ 12 การทํางานในสถานประกอบการ
ตัวชี้วัดที่ 13 รานอาหารและรานคา
ตัวชี้วัดที่ 14 ผลผลิตจากการทํานา
ตัวชี้วัดที่ 15 ผลผลิตจากการทําไร
ตัวชี้วัดที่ 16 ผลผลิตจากการทําสวน
ตัวชี้วัดที่ 17 ปศุสัตวและการประมง
ตัวชี้วัดที่ 18 ผลผลิตจากการทําเกษตรอื่น ๆ
ตัวชี้วัดที่ 19 การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ตัวชี้วัดที่ 20 การทองเที่ยว
หมวดที่ 3 สุขภาวะและอนามัย (7 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 21 การปองกันโรคติดตอ
ตัวชี้วัดที่ 22 การไดรบั บริการและดูแลสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 23 อนามัยแมและเด็ก
ตัวชี้วัดที่ 24 สุขภาวะคนพิการและผูส ูงอายุ
ตัวชี้วัดที่ 25 อนามัยสิ่งแวดลอม
ตัวชี้วัดที่ 26 ความปลอดภัยในการทํางาน
ตัวชี้วัดที่ 27 การกีฬาและการออกกําลังกาย
หมวดที่ 4 ความรูและการศึกษา (4 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 28 การใหบริการดานการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 29 ความรอบรู
ตัวชี้วัดที่ 30 การไดรบั การฝกอบรมดานตางๆ
ตัวชี้วัดที่ 31 โอกาสเขาถึงระบบการศึกษาของคนพิการ
หมวดที่ 5 การมีสวนรวมและความเขมแข็งของชุมชน (5 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 32 การรวมกลุมของประชาชน
ตัวชี้วัดที่ 33 การมีสวนรวมของชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 34 ความปลอดภัยของหมูบาน / ชุมชน

232
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) 7 หมวด 44 ตัวชี้วัด คะแนนที่ได


ตัวชี้วัดที่ 35 ศาสนสถาน ศูนยเรียนรูชุมชน และภูมิปญ ญาชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 36 การไดรบั ความคุมครองทางสังคม
หมวดที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (5 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 37 การใชทรัพยากรธรรมชาติและดูแลสิ่งแวดลอม
ตัวชี้วัดที่ 38 คุณภาพดิน
ตัวชี้วัดที่ 39 คุณภาพน้ํา
ตัวชี้วัดที่ 40 การจัดการสภาพสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
ตัวชี้วัดที่ 41 การจัดการมลพิษ
หมวดที่ 7 ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ (3 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 42 ความปลอดภัยจากยาเสพติด
ตัวชี้วัดที่ 43 ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ
ตัวชี้วัดที่ 44 ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน
ไดคะแนน 1 จํานวน ตัวชี้วัด
ไดคะแนน 2 จํานวน ตัวชี้วัด
ไดคะแนน 3 จํานวน ตัวชี้วัด

เกณฑการจัดระดับการพัฒนาหมูบาน / ชุมชน

ขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ระดับการพัฒนา ผลการประเมิน


หมูบาน / ชุมชน
หมูบาน / ชุมชนได 1 คะแนน จํานวน 15-44 ตัวชี้วัด อันดับที่ 1 หมูบาน/ชุมชนยังไมพัฒนา
หมูบาน / ชุมชนได 1 คะแนน จํานวน 8-14 ตัวชี้วัด อันดับที่ 2 หมูบาน/ชุมชนกําลังพัฒนา
หมูบาน / ชุมชนได 1 คะแนน จํานวน 0-7 ตัวชี้วดั อันดับที่ 3 หมูบาน/ชุมชนพัฒนา

คณะกรรมการหมูบาน/ชุมชน ผูนําชุมชน หรือผูใหขอมูล


ขอรับรองวาขอมูลในแบบสอบถามนี้ เปนขอมูลที่ถูกตองตามความเปนจริง

233
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน......................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

234
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

คณะทํางานบริหารการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช.2ค) ระดับตําบล


ขอรับรองวาขอมูลในแบบสอบถามนี้ เปนขอมูลที่ถูกตองตามความเปนจริง

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

235
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

ลงชื่อ ลงชื่อ
....................................................................... .......................................................................

(.................................................................) (.................................................................)
ตําแหนง ตําแหนง
................................................................... ...................................................................
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.................... วันที่..........เดือน.....................พ.ศ....................

ภาคผนวก จ.
แบบติดตามผลการจัดเก็บขอมูลพื้นฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค)

236
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบา น (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ระดับ ผลการติดตาม
คณะทํางานบริหารการจัดเก็บขอมูลฯ  ถูกตอง/ครบถวน
ระดับตําบล  ตองแกไข ดังนี้
....................................................................................................
ลงชื่อ ....................................................................................................
.................................................. ....................................................................................................
(...............................................) ....................................................................................................
ตําแหนง ....................................................................................................
................................................
วันที่
....../......................./..................

คณะทํางานบริหารการจัดเก็บขอมูลฯ  ถูกตอง/ครบถวน
ระดับอําเภอ  ตองแกไข ดังนี้
....................................................................................................
ลงชื่อ ....................................................................................................
.................................................. ....................................................................................................
(...............................................) ....................................................................................................
ตําแหนง ....................................................................................................
................................................
วันที่
....../......................../.................

คณะทํางานบริหารการจัดเก็บขอมูลฯ  ถูกตอง/ครบถวน
ระดับจังหวัด  ตองแกไข ดังนี้
.....................................................................................................
ลงชื่อ .....................................................................................................
.................................................. .....................................................................................................
(...............................................) .....................................................................................................
ตําแหนง ........................................................................................................
................................................
วันที่
....../......................./..................

สวนกลาง  ถูกตอง/ครบถวน
 ตองแกไข ดังนี้

237
คูมือการจัดเก็บขอมูลพืน้ ฐานระดับหมูบาน (กชช. 2ค) ป 2566-2570

ลงชื่อ .....................................................................................................
.................................................. .....................................................................................................
(...............................................) .....................................................................................................
ตําแหนง .....................................................................................................
................................................ .....................................................................................................
วันที่
....../......................./.................

238

You might also like