หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา ภูมิศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3
เวลา 18 ชั่วโมง

1. ผังมโนทัศน์

ลักษณะทาง ทวีปอเมริกาเหนือ
กายภาพ
ภัยพิบัติและการจัดการ

ลักษณะทาง
ลักษณะทางประชากร สังคม การจัดการทรัพยากรและ
เศรษฐกิจ
และวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม

2. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด
ส 5.1 เข้าใจลั กษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ งซึ่งมีผ ลต่อกัน ใช้แผนที่และ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิ
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.3/1 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้โดยเลือกใช้แผนที่
เฉพาะเรื่องและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์สืบค้นข้อมูล
ม.3/2 วิเคราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัติและผลกระทบในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้
ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วิถีการดาเนิน
ชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ม.3/1 สารวจและระบุทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและ
ทวีปอเมริกาใต้
ม.3/2 วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจและสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้
ม.3/3 สืบค้น อภิปรายประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์
ที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้
ม.3/4 วิเคราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีป
อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่ยั่งยืน
ม.3/5 ระบุความร่วมมือระหว่างประเทศที่มีผลต่อการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สาระการเรียนรู้จากสื่อ
1. ที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขตของ (พิจารณาตามหลักสูตร 1.ลักษณะภูมิประเทศ
ทวีปอเมริกาเหนือ สถานศึกษา) 2. ลักษณะภูมิอากาศและ
2. การเลือกใช้แผนที่เฉพาะเรื่อง พืชพรรณธรรมชาติ
และเครื่ อ งมื อ ทางภู มิ ศ าสตร์ 3. ลักษณะ
สืบค้นข้อมูลลักษณะทางกายภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ
ของทวีปอเมริกาเหนือ 4. ลักษณะประชากร
3.ท าเลที่ ตั้ ง ของกิ จ กรรมทาง ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม
เศรษฐกิ จ และสั ง คม เช่ น พื้ น ที่ 5. ลักษณะเศรษฐกิจ
เพาะปลู ก และเลี้ ย งสั ต ว์ แหล่ ง 6.ภัยพิบัติและการจัดการ
ประมง การกระจายของภาษา 7.การจัดการทรัพยากรและ
และศาสนาในทวีปอเมริกาเหนือ สิ่งแวดล้อม
4.ปั จ จั ย ทางกายภาพและปั จ จั ย
ท า ง สั ง ค ม ที่ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร
เปลี่ ย นแปลงโ ครงสร้ า งทาง
ประชากร สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ
สั ง คมและวั ฒ นธรรม ในทวี ป
อเมริกาเหนือ
4.สาเหตุการเกิดภัยพิบัติและ
ผลกระทบในทวีปอเมริกาเหนือ
5. ประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
กับมนุษย์ที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกา
เหนือ
6.แนวทางการจัดการภัยพิบัติและ
การจัดการทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ
7.เปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของ
โลก
8.ความร่วมมือระหว่างประเทศที่
มีผลต่อการจัดการทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม
4. มโนทัศน์สาคัญ (Key Concept)
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์สามารถนาไปใช้ในการสืบค้นข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
และทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปอเมริกาเหนือ
มีความสัมพันธ์กับลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ . ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทาง
สังคมมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในทวีปอเมริกาเหนือ
5. คาถามหลัก (Big Question)
- ทวีปอเมริกาเหนือมีทาเลที่ตั้งที่เอื้ออานวยต่อการติดต่อกับประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างไร
- สภาพภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือมีผลต่อการประกอบอาชีพอย่างไรบ้าง
- ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ
- เพราะเหตุใดทวีปอเมริกาเหนือแต่ละพื้นที่จึงมีทรัพยากรไม่เหมือนกัน
- ทาไมสหรัฐอเมริกาจึงก้าวเข้ามาเป็นมหาอานาจด้านเศรษฐกิจของโลก
- ในอนาคตสังคมไทยจะได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมในทวีปอเมริกาเหนือเพิ่มมากขึ้นในด้านใด เพราะเหตุ
ใด
- ลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือส่งผลต่อการเกิดภัยพิบัติอย่างไร
- นักเรียนคิดว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาเหนือ ปัญหาใดร้ายแรงและสาคัญที่สุด เพราะเหตุใด
6.การรู้เรื่องภูมิศาสตร์ (Geo–Literacy)
ความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทางภูมิศาสตร์
- การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ 1. การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. การสังเกต
2. การรวบรวมข้อมูล 2. การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์
3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
5. การสรุปเพื่อตอบคาถาม 5. การใช้เทคโนโลยี

7. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. ใฝุเรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด 2. มุ่งมั่นในการทางาน
1) ทักษะการสารวจค้นหา
2) ทักษะการรวบรวมข้อมูล
3) ทักษะการวิเคราะห์
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- การจัดทาหนังสือเล่มเล็กเกี่ยวกับทวีปอเมริกาเหนือ
9. การวัดและการประเมินผล

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน


9.1 การประเมินชิ้นงาน/ -ประเมินรายงานการ - แบบประเมิ น การจั ด ท า - ระดับคุณภาพ 2
ภาระงาน (รวบยอด) การจัด ทาหนังสือเล่มเล็ก หนั ง สื อ เล่ ม เล็ ก เกี่ ย วกั บ ผ่านเกณฑ์
เกี่ยวกับทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือ

9.2 การวัดและประเมินผล - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ประเมินตามสภาพจริง


ก่อนเรียน ก่อนเรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียน
- แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ
9.3 การวัดและประเมินผล
ระหว่างการจัดกิจกรรม
1) ลักษณะทั่วไปของทวีป - ตรวจใบงานที่ 2.1 - ใบงานที่ 2.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
อเมริกาเหนือ
2) ลักษณะภูมิประเทศของ - ตรวจใบงานที่ 2.2 - ใบงานที่ 2.2
ทวีปอเมริกาเหนือ
3) ลักษณะภูมิอากาศและ - ตรวจใบงานที่ 2.3 - ใบงานที่ 2.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
พืชพรรณธรรมชาติ
4) ลักษณะทรัพยากร - ตรวจใบงานที่ 2.4 - ใบงานที่ 2.4 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ธรรมชาติ
5) ลักษณะเศรษฐกิจ - ตรวจใบงานที่ 2.5 - ใบงานที่ 2.5 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
6) ลักษณะประชากร สังคม - ตรวจใบงานที่ 2.6 - ใบงานที่ 2.6 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
และวัฒนธรรม
7) ภัยพิบัติและแนวทางการ - ตรวจใบงานที่ 2.7 -ใบงานที่ 2.7 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
จัดการในทวีปอเมริกาเหนือ
8) การจัดการทรัพยากรและ - ตรวจใบงานที่ 2.8 -ใบงานที่ 2.8 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกา
เหนือ
9) พฤติกรรมการทางานกลุ่ม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
การทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
10) คุณลักษณะอันพึง - ประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมินคุณลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2
ประสงค์ อันพึงประสงค์ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
9.4 การวัดและประเมินผล - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
หลังเรียน หลังเรียน
- แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ
9.5 การรู้เรื่องทางภูมิศาสตร์ - ประเมินรายงานการ - แบบประเมิ น การจั ด ท า - ระดับคุณภาพ 2
การจัดทาหนังสือ หนั ง สื อ เล่ ม เล็ ก เกี่ ย วกั บ ผ่านเกณฑ์
เล่มเล็กเกี่ยวกับทวีป ทวีปอเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
10. กิจกรรมการเรียนรู้
เรื่องที่ 1 : ลักษณะทั่วไปของทวีปอเมริกาเหนือ
วิธีสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม เวลา 1 ชั่วโมง

นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
ขั้นนา
.ครูจัดกิจกรรมเกม “รอบรู้ทั่วทุกที่” โดยมีบัตรภาพมาให้นักเรียน แต่ละภาพจะเป็นปริศนา นักเรียนจะต้อง
ใบ้คาจากบัตรภาพ โดยแต่ละภาพจะเกี่ยวข้องกับ ชื่อประเทศ สถานที่ต่างๆที่อยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ พร้อมทั้งระบุ
ตาแหน่งของสถานที่ดังกล่าวบนแผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ
ขั้นสอน
1.ครูใช้แผนที่เขตการปกครองของทวีปอเมริกาเหนือวิเคราะห์ทาเลที่ตั้ง ขนาด อาณาเขต วิเคราะห์ข้อดี
ข้อจากัด และข้อได้เปรียบจากทาเลที่ตั้ง
2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจลักษณะทั่วไปของทวีปอเมริกาเหนื อ พร้อมชี้แผนที่ประกอบคาอธิบายใน
หัวข้อ อาณาเขตติดต่อ ขนาดและเนื้อที่ ประเทศและเมืองหลวง ภูมิภาค จานวนประชากร
3. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อ นข้างเก่ง
ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน ร่วมมือกันทากิจกรรมในใบงานที่ 2.1 เรื่อง ลักษณะทั่วไปของทวีปอเมริกาเหนือ
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ลักษณะทั่วไปของทวีปอเมริกาเหนือเกี่ยวกับอาณาเขตติดต่อ ขนาด
และเนื้อที่ ประเทศและเมืองหลวง ภูมิภาค และจานวนประชากร
เรื่องที่ 2 : ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ
วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ เวลา 2 ชั่วโมง

ขั้นนา
ครูยกตัวอย่างลักษณะภูมิประเทศที่มีความสวยงาม พร้อมภาพประกอบที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ
ของทวีป เช่น น้าตกไนแอการา เป็นน้าตกขนาดใหญ่หลายแห่งประกอบกัน ตั้งอยู่บนแม่น้าไนแอการาทาง
ตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ บนพรมแดนระหว่างประเทศแคนาดากับสหรัฐอเมริกา และให้นักเรียน
ยกตัวอย่างเพิ่มเติม
ขั้นสอน
ขั้นที่ 1 การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์
1. ครูให้นักเรียนดูแผนที่ทวีปอเมริกา ชี้ตาแหน่งทาเลที่ตั้งของทวีปอเมริกาหนือและให้นักเรียนเชื่อมโยง
ความสาคัญของการศึกษาทาเลที่ตั้ง ขนาด อาณาเขต และลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ จาก
กิจกรรม “ที่นี่ที่ไหน” แล้วตั้งประเด็นคาถามต่อยอดเพิ่มเติม
2. ครูแบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ให้นักเรียนร่วมกันตั้งประเด็นคาถามทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับทาเล
ที่ตั้ง ขนาด อาณาเขต และลักษณะภูมิประเทศ ตามลักษณะ ภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ
3. ครูนาแผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ มาให้แต่ละกลุ่มนาไปศึกษาและ
ร่ ว มกัน ตั้งประเด็น คาถามจากแผนที่ที่แต่ล ะกลุ่ มได้รับ กลุ่ มละ 1 คาถาม โดยคาถามจะต้องแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างที่ตั้งและลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือกับกิจกรรมของประชากรในทวีป
ขั้นที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลโดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนที่แสดง
ลักษณะภูมปิ ระเทศของทวีปอเมริกาเหนือ เว็บไซต์เกี่ยวกับ ทวีปอเมริกาเหนือ และจาก Aksorn World
Geography Atlas เกี่ยวกับที่ตั้ง ขนาด อาณาเขต และลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ ตาม
เขตภูมิประเทศที่กลุ่มรับผิดชอบ
2. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมทาเลที่ตั้ง ขนาด อาณาเขต และลักษณะภูมิประเทศ เป็นความรู้พื้นฐาน และ
แนะนาแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่น่าเชื่อถือประกอบการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม
ขั้นที่ 3 การจัดการข้อมูล
1. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนาข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน
2. สมาชิกในกลุ่มช่วยกันคัดเลือกข้อมูลที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และจัดการคัดแยกข้อมูลที่ไม่จาเป็นออก
ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูล
2. ครูให้แต่ละกลุ่มตั้งคาถามจากข้อมูลลักษณะภูมิประเทศตามประเด็นหัวข้อที่กลุ่มของตนเองรับผิดชอบ
กลุ่มละ 10 คาถาม
3. ครูนาจิ๊กซอว์แผนที่แสดงที่ตั้งและอาณาเขตของทวีปอเมริกาเหนือที่มีรูปภาพสถานที่สาคัญของทวีป
อเมริกาเหนือซ่อนอยู่ด้านหลัง มาประกอบการวิเคราะห์พร้อมทั้ง นาเสนอข้อมูลของนักเรียน แล้วให้ทา กิจกรรม
“บอกใบ้ทายภาพ”
4. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียนทีละกลุ่ม แล้วให้ถามคาถามกลุ่มอื่น หากตอบถูกจะ
สามารถเปิดปูายตามจิ๊กซอว์แผนที่ที่ครูเตรียมมาได้ และได้ตอบคาถามข้อต่อไปเรื่อยๆ มีคะแนน
คาถามละ 1 คะแนน
5. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติมโดยการทาใบงานที่ 2.2 เรื่อง ลักษณะภูมิประเทศ
ทวีปอเมริกาเหนือ

ขั้นที่ 5 การสรุปเพื่อตอบคาถาม
1. นักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นสาคัญเกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ
2. ครูให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปสาระสาคัญเพื่อตอบคาถามเชิงภูมิศาสตร์
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ ตลอดจนความสาคัญที่มี
อิทธิพลต่อการศึกษาและการดาเนินชีวิต และให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะฯที่ 2.1 เรื่อง ลักษณะภูมิประเทศของทวีป
อเมริกาเหนือ

เรื่องที่ 3 : ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ
วิธีสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม เวลา 2 ชั่วโมง

ขั้นนา

ครูนาภาพพืชพรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือมาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า
ภาพดังกล่าวเป็นต้นไม้หรือพืชพรรณธรรมชาติที่อยู่ในภูมิภาคใดของทวีปอเมริกาเหนือ พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล

ขั้นสอน
1. ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์หรือสารคดีท่องเที่ยวอเมริกาเหนือที่แสดงถึงลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และ
พืชพรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ จากนั้นครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ พร้อมชี้แผนที่เกี่ยวกับภูมิอากาศและ
พืชพรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือประกอบ
2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน โดยให้จับฉลากเลือกเขตภูมิอากาศฯ ให้ได้จานวน 5 กลุ่ม ตามเขตภูมิอากาศและ
พืชพรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ ให้ แ ต่ ล ะกลุ่ ม ร่ ว มกั น สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ประกอบ การใช้ เ ครื่ อ งมื อ ทาง
ภูมิศาสตร์ และให้สอดคล้องกับ 3 ประเด็น คือ ปัจจัยควบคุมภูมิอากาศ เขตภูมิอากาศ พืชพรรณธรรมชาติที่พบแล้ว
ร่วมกันทาใบงานที่ 2.3
3. ครูแบ่งกลุ่มจัดกิจกรรมแข่งขันตอบคาถามเกี่ยวกับลักษณะพืชพรรณธรรมชาติที่สาคัญของทวีปอเมริกา
เหนือ โดยครูแจกซองคาถามให้ทุกโต๊ะ ซึ่งมีคาถามเท่ากับจานวนนักเรียน ครูควรชี้แจงให้นักเรียนทราบว่า ทุกคน
ผลัดกันเป็นผู้อ่านคาถาม ขอให้อ่านช้าๆ ชัดๆ ผู้อ่านคาถามมีหน้าที่อ่านเฉลยและให้คะแนนผู้ที่ตอบถูกตามลาดับ ครู
จะต้องมีคาเฉลยที่ชัดเจนใส่ซองให้นักเรียนควบคู่ไปกับ คาถาม โดยคาถามแต่ละข้อนั้นครูควรเป็นผู้กาหนดเวลาต่อ
ข้อ
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ ของทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่ง
ได้แก่ ภูมิอากาศเขตร้อน ภูมิอากาศเขตแห้งแล้ง ภูมิอากาศเขตอบอุ่น ภูมิอากาศเขตหนาว และภูมิอากาศเขตขั้ว
โลก และสรุปความสัมพันธ์ระหว่างภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือและความสัมพันธ์ต่อ
คนในภูมิภาค
2. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะฯที่ 2.1 เรื่อง ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณธรรมชาติ

เรื่องที่ 4 : ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ
วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ เวลา 2 ชั่วโมง

ขั้นนา
ครูจัดกิจกรรม “เสาะหาความรู้สู่โลกกว้าง” โดยนาภาพสินค้าที่มาจากทวีปอเมริกาเหนือ (เช่น ช็อกโกแลต
ชี ส เนยถั่ ว กาแฟ ต้ น เมเปิ ล ) แล้ ว ให้ นั ก เรี ย นจั บ คู่ ร่ ว มกั น อภิ ป รายว่ า สิ น ค้ า ดั ง กล่ า วมี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ
ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือใดบ้าง โดยคู่ทเี่ ชื่อมโยงทรัพยากรธรรมชาติได้มากที่สุดจะเป็นผู้ชนะ
ขั้นสอน
ขั้นที่ 1 การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์
1. ครูให้นักเรียนทากิจกรรม “นักสารวจ”แบ่งนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่มตามหัวข้อทรัพยากรธรรมชาติ
สมมติสถานการณ์ให้แต่ละกลุ่มเป็นบริษัทสารวจในทวีปอเมริกาเหนือ ทาการสารวจข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ 1
ประเภท ไม่ซ้ากัน เพื่อรวบรวมแล้วขายข้อมูลให้กับบริษัทลงทุนข้ามชาติรายใหญ่สัญชาติไทย ที่จะไปลงทุนสร้าง
โรงงานผลิตสินค้ายังทวีปอเมริกาเหนือ
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตั้งประเด็นคาถามทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของ
ทวีปอเมริกาเหนือ เพื่อค้นหาคาตอบ
ขั้นที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลประกอบ การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะ
ทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ โดยให้รับผิดชอบกลุ่มละ 1 ประเภท โดยข้อมูลของ แต่ละ
กลุ่มจะต้องสามารถตอบคาถามทางภูมิศาสตร์และเชื่อมโยงได้ว่าเกี่ยวข้องกับภาพทีต่ นเลือกอย่างไร
ขั้นที่ 3 การจัดการข้อมูล
1. สมาชิ ก ในกลุ่ ม ที่ ท าหน้ า ที่ เ ป็ น บริ ษั ท ส ารวจข้ อ มู ล น าข้ อ มู ล ที่ ต นได้ จ ากการรวบรวม มาอธิ บ าย
แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน
2. สมาชิกในกลุ่มช่วยกันคัดเลือกข้อมูลที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และจัดการคัดแยกข้อมูลที่ไม่จาเป็นออก
ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
1. นั ก เรี ย นแต่ล ะกลุ่ มวิ เคราะห์ แ ละแปลผลข้อ มูล ร่ ว มกัน จากนั้ น ครูเ ตรีย มแผนที่ โ ครงร่า งของทวี ป
อเมริกาเหนือ เพื่อให้แต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูล ทรัพยากรธรรมชาติที่กลุ่มตนเองรับผิดชอบประกอบการใช้แผนที่
2. แต่ละกลุ่มนาแผนที่ของตนเองมาจัดแสดงในรูปแบบ art gallary ทั่วทั้งห้องเรียน และส่งตัวแทนหรือ
หมุนเวียนกันเพื่อนาเสนอข้อมูล
3. สมาชิ ก กลุ่ ม อื่ น ท าหน้ า ที่ เ ป็ น บริ ษั ท ลงทุ น ข้ า มชาติ สั ญ ชาติ ไ ทย ร่ ว มกั น แสดงความคิ ด เห็ น หรื อ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ตลอดจนอภิปรายความรู้ร่วมกัน และตัดสินใจร่วมกันว่าจ่ะรับซื้อข้อมูลจากบริบริษัทสารวจ
ข้อมูลหรือไม่ พร้อมบอกเหตุผลประกอบ
4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 2.4 เรื่อง ลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ ของทวีปอเมริกา
เหนือ
ขั้นที่ 5 การสรุปเพื่อตอบคาถาม
นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ

ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับลักษณะทรัพยากรธรรมชาติของทวีปอเมริกาเหนือ ตลอดจน
ความสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน

เรื่องที่ 5 : ลักษณะทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ เวลา 4 ชั่วโมง

ขั้นนา
ครูจัดกิจกรรมเกม “บิงโก” เพื่อกระตุ้นความสนใจ/กระตุ้นความคิดเกี่ยวกับลักษณะเศรษฐกิจของทวีป
อเมริกาเหนือ เพื่อนาเข้าสู่การเรี ยน โดยครูเตรียมแผ่นบิงโกที่แสดงภาพสินค้าที่มาจากทวีปอเมริกาเหนือ
ประมาณ 10-12 รูปแบบ (เช่น ภาพกล้วยหอม รองเท้ายี่ห้อไนกี้ โทรศัพท์ไอโฟน ไอแพด ถั่วเหลือง ) รูปแบบ
ละ 9 ภาพ แล้วสุ่มภาพเพื่อให้นักเรียนกาภาพบิงโก จากนั้นครูสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม

ขั้นสอน
ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ
ครูนาข่าวเศรษฐกิจการค้าของทวีปอเมริกาเหนือกับประเทศต่างๆมาสนทนาถึงสินค้าส่งออกนาเข้ามูลค่าการค้า
ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างสินค้าจากทวีปอเมริกาเหนือที่เป็นที่นิยมของคนไทย
ขั้นที่ 2 สารวจค้นหา
1. ครูนาสนทนาเกี่ยวกับ GDP ในภาคเศรษฐกิจในทวีปอเมริกาเหนือ ร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะทาง
เศรษฐกิจ
2. ครูจัดกิจกรรมกลุ่มสารวจค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ ผ่านการทากิจกรรม
บทบาทสมมติ จานวน 5 กลุ่ม เพื่อสวมบทบาทเป็น
ผู้นากิจกรรมทางเศรษฐกิจ 5 กิจกรรม ได้แก่
 เกษตรกรรม
 อุตสาหกรรม
 พาณิชยกรรม
 การบริการและการท่องเที่ยว
 การคมนาคมขนส่ง
ในพื้นที่บริเวณ 3 ภูมิภาค คือ อเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน จากนั้นจับสลากเพื่อสวม
บทบาทเป็นผู้นากิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้ง โดยสารวจค้นหากลุ่มละ 1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
2. ครูกาหนดภารกิจหลักให้แต่ละกลุ่ม
 สารวจค้นหากิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สาคัญในแต่ละภูมิภาคที่ตนเองรับผิดชอบ
 วิเคราะห์ถึงปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจของตนเอง

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้
1. ครู ใ ห้ ตั ว แทนนั ก เรี ย นจากกลุ่ ม ต่ า ง ๆ ออกมาน าเสนอข้ อ มู ล จากการท ากิ จ กรรมการส ารวจค้ น หา
ประกอบการใช้ภาพจากกิจกรรม “บิงโก” แผนที่แสดงที่ตั้งทางเศรษฐกิจ หรือเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ประเภทอื่น
2. ครูนาอภิปรายถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ โดยใช้ ข่าวหรือบทความทาง
เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือมาเป็นแนวทางหรือประเด็นในการ
อภิปราย
ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ
1. ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างเมืองใหญ่ที่เป็นทาเลที่ตั้งทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆในทวีป
อเมริกาเหนือ ( เช่น ลอสแนเจลิส นิวยอร์ก โทรอนโต )โดยครูอาจให้นักเรียนดูคลิปประกอบ ครูถามคาถาม เช่น
2.ครูตั้งประเด็นเพื่อให้นักเรียนกลุ่มเดิม ร่วมกันทากิจกรรม GO TO NOTH AMERICA สร้างโมเดลจาลองการ
ไปสร้างที่อยู่อาศัยในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นชิ้นงาน/ภาระงาน โดยแต่ละกลุ่มต้องเลือกประเทศหรือพื้นที่ไม่
เหมือนกัน ให้แต่ละกลุ่มระบายสีและปักหมุดบริเวณที่กลุ่มตนเองจะไปอยู่ แล้วนาเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้น
ประกอบการใช้แผนที่
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล
ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลจากการตอบคาถาม การทาใบงาน การทาชิ้นงาน และการทาแบบฝึก
ทักษะฯ ตลอดจนการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และเครื่องมือด้านเทคโนโลยีใน การสื บค้น เกี่ยวกับ ลั กษณะ
เศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ
ขั้นสรุป
ร่วมกัน สรุปลักษณะเด่ นทางด้านเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ และทาใบงานที่ 2.5 เรื่อง ลักษณะ
เศรษฐกิจของทวีปอเมริกาเหนือ เพื่อเป็นการขยายความเข้าใจ เพิ่มเติม และทาแบบฝึกทักษะฯ เกี่ยวกับเรื่อง
ลักษณะเศรษฐกิจของ ทวีปอเมริกาเหนือ
เรื่องที่ 6 : ลักษณะทางด้านประชากร สังคม ของทวีปอเมริกาเหนือ
วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ เวลา 3 ชั่วโมง

ขั้นนา
ครูให้นักเรียนดูแผนที่แสดงความหนาแน่นของประชากรในทวีปอเมริกาเหนือ อภิปรายเกี่ยวกับการตั้งถิ่น
ฐานและการกระจายของประชากรในทวีป
ขั้นสอน
ขั้นที่ 1 การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์
ให้นักเรียนร่วมกันตั้งประเด็นคาถามทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับลักษณะประชากร สังคมและวัฒนธรรมของทวีป
อเมริกาเหนือ
ขั้นที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
1. ครูนาภาพยนตร์เรื่อง “the lone ranger” หรือครูเล่าให้ฟัง เรื่องราวเกี่ยวกับการผจญภัยของหนุ่ม
นักรบที่ฟื้นคืนชีพชาวอินเดียนกับชายผู้ผดุงกฎหมาย ในการต่อสู้กับชนผิวขาวที่เข้ามาสู่ทวีปอเมริกาเหนือ และทา
กิจกรรมเรียนรู้จากแผ่นฟิล์ม ให้นักเรียนช่วยกันสรุปสาระสาคัญจากภาพยนตร์
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ศึกษาลักษณะทางประชากร สังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาเหนือ แล้ว
ตัง้ คาถามในการสืบค้น ประเด็นที่จะสืบค้น ได้แก่
 ลักษณะและบริเวณการตั้งถิ่นฐานและการกระจายของประชากร
 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
 ลักษณะสังคมและวัฒนธรรม (เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา)
 ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อลักษณะประชากร สังคมและวัฒนธรรม
ขั้นที่ 3 การจัดการข้อมูล
สมาชิ ก แต่ ล ะคนในกลุ่ ม น าข้ อ มู ล ที่ ต นได้ จ ากการรวบรวม มาอธิ บ ายแลกเปลี่ ย นความรู้ ร ะหว่ า งกั น
ประกอบการใช้เทคนิคแบบเล่าเรื่องรอบวง โดยเรียงลาดับตามจานวนสมาชิกภายในกลุ่ม
ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
1. นั กเรี ย นแต่ล ะกลุ่ ม วิเคราะห์ ข้อมูลร่ว มกัน โดยใช้ แผนที่ทวีปอเมริกาเหนือ จากนั้นให้ แต่ล ะกลุ่ ม
นาเสนอข้อมูลประกอบการระบุตาแหน่งบนแผนที่
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 2.6 เรื่อง ลักษณะประชากร สังคมและวัฒนธรรมของทวีป
อเมริกาเหนือ เฉลย และอภิปรายความรู้ร่วมกัน
3. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะฯ ที่ 2.3 และ 2.4 เรื่อง ลักษณะประชากร สังคมและ วัฒนธรรมของทวีป
อเมริกาเหนือ
ขั้นที่ 5 การสรุปเพื่อตอบคาถาม
ร่วมกันสรุปปัจจัยทางกายภาพส่งผลต่อลักษณะประชากร สังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาเหนือ
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับลักษณะประชากร สังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาเหนือ และ
การผสมผสานของวัฒนธรรม เทคโนโลยีนวัตกรรมที่มาจากทวีปอเมริกาเหนือในสังคมไทย เพื่อการนามาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ และการอยู่ร่วมกัน
เรื่องที่ 7 : ภัยพิบัติและการจัดการในทวีปอเมริกาเหนือ
วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ เวลา 2 ชั่วโมง

ขั้นนา
ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์เกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ แล้วถามนักเรียนว่า ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ในทวีป
อเมริกาเหนือที่ได้ดูเกิดจากสาเหตุใด ส่งผลกระทบอย่างไร ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ขั้นสอน
ขั้นที่ 1 การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์
1. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเชื่อมโยงความสาคัญของการศึกษาภัยพิบัติในทวีปอเมริกาเหนือจากการดูวิดีทัศน์ม
ให้นักเรียนตั้งประเด็นคาถามทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับภัยพิบัติในทวีปอเมริกาเหนือ เช่น
 ลักษณะทางกายภาพใดบ้างที่เป็นปัจจัยทาให้เกิดภัยพิบัติในทวีปอเมริกาเหนือ
 ภัยพิบัติในทวีปอเมริกาเหนือส่งผลกระทบต่อประเทศไทย หรือประเทศในเอเชียหรือไม่
2. ครูให้นักเรียนร่วมกันตั้งประเด็นคาถามทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับภัยพิบัติในทวีปอเมริกาเหนือ เพื่อค้นหา
คาตอบ
ขั้นที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม รวบรวมข้อมูล ภัยพิบัติในทวีปอเมริกาเหนือ ตลอดจน
แนวทางการจัดการภัยพิบัติที่ยั่งยืน กลุ่มละ 1 ภัยพิบัติ ดังนี้ วาตภัย ภัยแล้ง ไฟปุา
โดยจากประเด็นคาถามขั้นที่ 1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลประกอบการใช้เครื่องมือทาง
ภูมิศาสตร์ รวมทั้งแต่ละกลุ่มจะต้องการศึกษาและตอบประเด็นคาถามทางภูมิศาสตร์จากขั้นที่ 1 ด้วย
2.ครูนาเสนอภาพการเกิดพายุเฮอร์ริเคนแคทรีนา ที่เคยเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2548 จากนั้นวิเคราะห์
ถึงสาเหตุการเกิด ผลกระทบ และการจัดการสถานการณ์ของสหรัฐอเมริกาให้นักเรียนฟัง
ขั้นที่ 3 การจัดการข้อมูล
1. นาข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน โดยใช้เทคนิคเล่าเรื่องรอบวง
ให้สมาชิกเล่าข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวมทีละคน จนครบทั้งกลุ่ม
2. สมาชิกในกลุ่มช่วยกันคัดเลือกข้อมูลที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และจัดการคัดแยกข้อมูลที่ไม่จาเป็นออก
ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
2. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียนทีละกลุ่ม
3. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติมผ่านการทาใบงานที่ 2.7 เรื่อง ภัยพิบัติและแนว
ทางการจัดการในทวีปอเมริกาเหนือ และร่วมกันเฉลยคาตอบ โดยครูแนะนาเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 การสรุปเพื่อตอบคาถาม
1. นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภัยพิบัติและแนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาเหนือแล้วให้
นักเรียนทาแบบฝึกทักษะฯ ที่ 2.5 เรื่อง ภัยพิบัติและแนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาเหนือ

ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติและแนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาเหนือ ตลอดจน
ความสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาและการดาเนินชีวิต
เรื่องที่ 8 : การจัดการทรัพยากรทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ
วิธีสอนโดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ เวลา 2 ชั่วโมง

ขั้นนา
1.ครูนาภาพเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาเหนือมาให้นักเรียนดู เช่น ภาพปัญหาทรัพยากรดิน
ภาพปั ญ หาทรั พยากรปุ าไม้ ภาพมลพิษ ขยะ ภาพปั ญหาทรั พยากรน้า แล้ ว ให้ นักเรี ยนแสดง ความคิด เห็ นถึ ง
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาพ
2.ครูยกตัวอย่างสถานการณ์ A Plastic Ocean (เรื่องราวมีที่มาจากข่าวร้ายเกี่ยวกับสถานการณ์พลาสติก
ในมหาสมุทร ทาให้ Craig Leeson นักข่าวและโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ ชาวออสเตรเลีย ผู้โต้คลื่นเป็นงานอดิเรกมา
ทั้งชีวิตตัดสินใจเดินทางไปทั่วโลกกับ Tanya Streeter นักดาน้าชื่อดังระดับโลก เพื่อค้นหาสาเหตุที่ทาให้ขยะ
พลาสติกจานวนมหาศาลไหลลงสู่มหาสมุทร โดยพวกเขาพบว่า หากพวกเราไม่เปลี่ยนพฤติกรรมสุดท้ายแล้วในปี
2050 มหาสมุทรจะมีพลาสติกมากกว่าปลา) นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากสถานการณ์ดังกล่าวถึง
ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
ขั้นที่ 1 การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์
1. ครูยกตัวอย่างปัญหาสิ่งแวดล้อมผ่านภาพยนต์ River blue (เรื่องราวมีที่มาจากเบื้องหลังแฟชั่นเทรนด์
ล่าสุด คือ โรงงานผลิตเครื่องแต่งกายที่ก่อปัญหาสิ่งแวดล้อมใหญ่หลวง เพราะการกาจัดของเสียลง
แม่น้าลาคลองอย่างขาดจิตสานึก กลายเป็นมลพิษที่กระทบวิถีชีวิตผู้คนที่ต้องพึ่งพาอาศัยแหล่งน้า
เหล่านี้ แล้วตั้งประเด็นคาถาม เกี่ยวกับสาเหตุ ผลกระทบ
3 ครูให้นักเรียนร่วมกันตั้งประเด็นคาถามทางภูมิศาสตร์เกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และแนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาเหนือ เพื่อค้นหาคาตอบ
ขั้นที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
1. ครูแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม เพื่อสืบค้นปัญหาสิ่งแวดล้อม และแนวทางการจัดการที่ยั่งยืน ดังนี้
 ปัญหามลพิษทางอากาศ
 ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์
 ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ขั้นที่ 3 การจัดการข้อมูล
1. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนาข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวมมาอธิบายแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน
2. สมาชิกในกลุ่มช่วยกันคัดเลือกข้อมูลที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และจัดการคัดแยกข้อมูลที่ไม่จาเป็นออก
ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน จากนั้นสมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของ
ข้อมูล
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเชื่อมโยงและนาเสนอข้อมูลเป็นแผนผังประกอบบัตรภาพที่ครูเตรียมมา พร้อม
ทั้งเสนอแนวทางการจัดการที่ยั่งยืนเพิ่มเติมและอภิปรายร่วมกัน โดยครูแนะนาเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็น
ความสาคัญของสถานการณ์ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
3. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติมผ่านการทาใบงานที่ 2.8 เรื่อง ปัญหา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและแนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาเหนือ และร่วมกันเฉลย
คาตอบ โดยครูแนะนาเพิ่มเติม
ขั้นที่ 5 การสรุปเพื่อตอบคาถาม
1. นักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ และ
แนวทางการจัดการในทวีปอเมริกาเหนือ เปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกและความร่วมมือระหว่าง
ประเทศที่มีผลต่อการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
2. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะฯ ที่ 2.6 เรื่อง ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและ แนวทางการ
จัดการในทวีปอเมริกาเหนือ
ขั้นสรุป
1.ร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและแนวทางการจัดการในทวีป
อเมริกาเหนือ ตลอดจนความสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาและการดาเนินชีวิต
2.ให้นักเรียนรวมกลุ่มทาชิ้นงานรวบยอด กิจกรรม การจัดทาหนังสือเล่มเล็กเกี่ยวกับทวีปอเมริกาเหนือ
3. นักเรียนทาทากิจกรรม Geo-Literacy Activity และแบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
11 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
11.1 สื่อการเรียนรู้
1. ชุดสื่อสัมฤทธิ์มาตรฐาน ภูมิศาสตร์ ม.3
2. แบบฝึกทักษะฯ
2. หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
คินเดอร์สลีย์, ดอร์ลิงก์. 2553. แผนที่โลก ฉบับสมบูรณ์และทันสมัยที่สุด. ( นุชนาฏ
เนตรประเสริฐศรี ผู้แปล). กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มูลนิธิ สอวน. 2557. ภูมิศาสตร์กายภาพ.
กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. 2549. พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 4
(แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน.
สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน). 2552. ตาราเทคโนโลยี
อวกาศและภูมิสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สิริพร เกรียงไกรเพชร และคณะ. 2559. ภูมิศาสตร์เทคนิค. กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธา
การพิมพ์.
3. เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ได้แก่ แผนที่เฉพาะเรื่อง
4. ใบงานที่ 2.1-2.8
11.2 แหล่งการเรียนรู้
1. ห้องสมุด
2. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- https://www.gistda.or.th
- https://www.rtsd.mi.th/main/language/th/
- http://www.eht.sc.mahidol.ac.th/article/507
- http://statgis.nso.go.th/d/index/en
- http://www.gisthai.org/about-gis/gis.html
- http://tpso8.m-society.go.th/images/Pictpso8/book/full-Gis.pdf
- http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?
book=37&chap=6&page=t37-6-infodetail03.html
- https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/geographic-
information-system- gis/
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้อเดียว


1. นักสารวจคนใดแสดงให้ชาวยุโรปเห็นว่า “โลกใหม่” ไม่ใช่ทวีป 8. มาแชลอาศัยอยู่ในเขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน และมี
เอเชีย แต่เป็น “ทวีปใหม่” ความต้องการจะปลูกพืช เขาควรปลูกพืชชนิดใด จึงจะให้ผลผลิต
ก. จอห์น สมิธ ข. เฮนรี ฮัดสัน ได้ดีที่สุด
ค. มาร์โค โปโล ง. อเมริโก เวสปุชชี ก. สน เฟอร์
2. เพราะเหตุใดเขตเทือกเขาด้านทิศตะวันตกของทวีป ข. โอก ซีดาร์
อเมริกาเหนือบางบริเวณ จึงมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวหรือมี ค. ส้ม มะกอก
ภูเขาไฟปะทุได้เสมอ ง. สปรูซ ไลเคน
ก. เปลือกโลกมีอายุน้อย 9. บ้านของแอนนามีอุณหภูมิสูงอย่างต่อเนื่องเกินกว่า 18 องศา
ข. อิทธิพลจากกระแสน้า เซลเซียส มีช่วงฝนตกชุกจากอิทธิพลลมมรสุม 6 เดือน และมีชว่ ง
ค. ปริมาณน้าใต้ดินมีน้อย แล้งฝนอีก 6 เดือน แสดงว่าแอนนาอาศัยอยู่ในเขตภูมิอากาศใด
ง. แผ่นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรแยกจากกัน ก. ภูมิอากาศเขตมรสุม
3. เขตที่ราบใหญ่หรือเกรตแพลนส์ (Great Plains) มีพื้นที่ ข. ภูมิอากาศแบบสะวันนา
ครอบคลุมบริเวณใดของทวีปอเมริกาเหนือ ค. ภูมิอากาศแถบศูนย์สูตร
ก. บริเวณตอนใต้ของแคนาดา ง. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย
ข. ด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา 10. เพราะเหตุใดสภาพดินในพื้นที่ตอนบนของทวีปอเมริกาเหนือ
ค. บริเวณชายฝั่งตะวันตกของทวีปตลอดแนวยาวเหนือลงใต้ จึงไม่สามารถเพาะปลูกได้
ง. ชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกทางตอนบนของทวีปจนถึง ก. มีกรดสูง
อเมริกากลาง ข. เป็นดินตื้น
4. ข้อใดมีความสัมพันธ์กับที่ราบใหญ่ หรือเกรตแพลนส์ (Great ค. มีความอุดมสมบูรณ์ต่า
Plains) น้อยที่สุด ง. เป็นดินที่อยู่ในสภาพแช่แข็ง
ก. รัฐอะแลสกา ข. ลุ่มน้ามิสซิสซิปปี 11. ข้อใดเป็นชาวพื้นเมืองดั้งเดิมในทวีปอเมริกาเหนือที่อพยพมาจาก
ค. คาบสมุทรฟลอริดา ง. คาบสมุทรยูกาตาน ทวีปเอเชียเมื่อหลายพันปีมาแล้ว
5. ปัจจัยสาคัญทีส่ ุดข้อใดที่ทาให้ทวีปอเมริกาเหนือ มีลักษณะ ก. ชาวซัมโบ
ภูมิอากาศที่หลากหลาย ข. ชาวเมสติโซ
ก. ระยะห่างจากทะเล ข. ที่ตั้งตามละติจูด ค. ชาวมูแลตโต
ค. ความสูงของพื้นที่ ง. ทิศทางของลมประจา ง. ชาวอินเดียน
6. ปัจจัยในข้อใดทาให้ทวีปอเมริกาเหนือบางบริเวณเป็นพื้นที่
อับฝน 12. ข้อใดเป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้ประชากรจากทุกมุมโลก อพยพ
ก. ความสูงของพื้นที่ เข้ามาในสหรัฐอเมริกามากกว่าประเทศอื่นในทวีปอเมริกาเหนือ
ข. ระยะห่างจากทะเล ก. มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์
ค. กระแสน้ามหาสมุทร ข. มีความสะดวกสบายในการคมนาคมขนส่ง
ง. การวางตัวของเทือกเขา ค. มีความเข้มแข็งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
ง. มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตภูเขาสูง เหมาะแก่การทา
7. เพราะเหตุใดทางตอนกลางของทวีปอเมริกาเหนือ จึงมีอากาศ อุตสาหกรรมปุาไม้
แห้งแล้ง 13. ข้อใดเป็นสภาพสังคมและวัฒนธรรมของแองโกลอเมริกาทั้งหมด
ก. มีทะเลทรายอยู่ ก. เป็นสังคมชนบท ประชากรร่ารวย
ข. อยู่ห่างจากทะเลมาก ข. เป็นสังคมเมืองและเป็นสังคมประชาธิปไตย
ค. มีเทือกเขาร็อกกีขวางกั้นทิศทางลม ค. มีวัฒนธรรมแบบสเปน การเมืองขาดเสถียรภาพ
ง. มีเทือกเขาแอปพาเลเชียนขวางกั้นทิศทางลม ง. มีมาตรฐานการครองชีพสูง ประชากรนับถือคริสต์ศาสนา
14. ข้อใดเป็นโครงสร้างทางเศรษฐกิจแบบละตินอเมริกา 18. เพราะเหตุใดระบบการขนส่งทางท่อของททวีปอเมริกาเหนือ
ก. ประชากรมีรายได้เฉลีย่ สูง จึงมีความทันสมัยมากที่สดุ
ข. มีมาตรฐานการครองชีพต่า ก. มีความสะดวกและรวดเร็ว
ค. ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบทุนนิยม ข. มีความปลอดภัยในการขนส่ง
ง. เศรษฐกิจขึ้นอยู่กับอาชีพพาณิชยกรรม ค. มีการนาระบบโลจิสติกส์มาใช้
15. พืชเศรษฐกิจในข้อใดที่สหรัฐอเมริกาเป็นผูผ้ ลิตได้มากที่สดุ ง. มีการติดตั้งระบบควบคุมอุณหภูมิ
ของทวีปและเป็นอันดับ 1 ของโลก 19. บริเวณใดในแองโกลอเมริกาที่มีการคมนาคมขนส่งทางน้า
ก. อ้อย ฝูาย ข. ยาสูบ กล้วย ภายในทวีปหนาแน่นมากที่สุด
ค. ข้าวสาลี ยางพารา ง. ข้าวโพด ถั่วเหลือง ก. คลองปานามา
16. หากริชาร์ตต้องการทาเหมืองแร่ทองคา เขาควรเดินทางไป ข. ทะเลสาบทั้ง 5
ประเทศใดต่อไปนี้ ค. แม่น้าแมกเคนซี
ก. สหรัฐอเมริกา ข. ปานามา ง. แม่น้ารีโอกรันเด
ค. เม็กซิโก ง. คิวบา 20. น่านน้าใดที่แองโกลอเมริกาใช้เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่ง
17. ประเทศในแถบอเมริกากลางและทะเลแคริบเบียนส่วนใหญ่ ระหว่างทวีปมากที่สุด
มีสินค้าส่งออกประเภทใดมากที่สุด ก. แม่น้าพีซ
ก. อัญมณี ทองแดง อาหารทะเล ข. คลองปานามา
ข. เกษตรกรรม อาหารทะเล เฟอร์นิเจอร์ ค. มหาสมุทรแปซิฟิก
ค. อาหารทะเล ภาชนะเซรามิก ชิ้นส่วนรถยนต์ ง. มหาสมุทรแอตแลนติก
ง. เสื้อผ้าสาเร็จรูป คอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์

เฉลย
1. ง. 2. ก. 3. ง. 4. ก. 5. ข. 6. ง. 7. ค. 8. ค. 9. ข. 10. ง.
11. ง. 12. ค. 13. ข. 14. ข. 15. ง. 16. ก. 17. ข. 18. ง. 19. ข. 20. ง.
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดมีความสัมพันธ์กับที่ราบใหญ่ หรือเกรตแพลนส์ (Great 8. ปัจจัยในข้อใดทาให้ทวีปอเมริกาเหนือบางบริเวณเป็นพื้นที่
Plains) น้อยที่สุด อับฝน
ก. รัฐอะแลสกา ข. ลุ่มน้ามิสซิสซิปปี ก. ความสูงของพื้นที่
ค. คาบสมุทรฟลอริดา ง. คาบสมุทรยูกาตาน ข. ระยะห่างจากทะเล
2. นักสารวจคนใดแสดงให้ชาวยุโรปเห็นว่า “โลกใหม่” ไม่ใช่ทวีป ค. กระแสน้ามหาสมุทร
เอเชีย แต่เป็น “ทวีปใหม่” ง. การวางตัวของเทือกเขา
ก. จอห์น สมิธ ข. เฮนรี ฮัดสัน 9. เพราะเหตุใดทางตอนกลางของทวีปอเมริกาเหนือ จึงมีอากาศ
ค. มาร์โค โปโล ง. อเมริโก เวสปุชชี แห้งแล้ง
3. เพราะเหตุใดเขตเทือกเขาด้านทิศตะวันตกของทวีป ก. มีทะเลทรายอยู่
อเมริกาเหนือบางบริเวณ จึงมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวหรือมี ข. อยู่ห่างจากทะเลมาก
ภูเขาไฟปะทุได้เสมอ ค. มีเทือกเขาร็อกกีขวางกั้นทิศทางลม
ก. เปลือกโลกมีอายุน้อย ง. มีเทือกเขาแอปพาเลเชียนขวางกั้นทิศทางลม
ข. อิทธิพลจากกระแสน้า 10. บ้านของแอนนามีอุณหภูมิสูงอย่างต่อเนื่องเกินกว่า 18 องศา
ค. ปริมาณน้าใต้ดินมีน้อย เซลเซียส มีช่วงฝนตกชุกจากอิทธิพลลมมรสุม 6 เดือน และมีชว่ ง
ง. แผ่นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรแยกจากกัน แล้งฝนอีก 6 เดือน แสดงว่าแอนนาอาศัยอยู่ในเขตภูมิอากาศใด
4. เขตที่ราบใหญ่หรือเกรตแพลนส์ (Great Plains) มีพื้นที่ ก. ภูมิอากาศเขตมรสุม
ครอบคลุมบริเวณใดของทวีปอเมริกาเหนือ ข. ภูมิอากาศแบบสะวันนา
ก. บริเวณตอนใต้ของแคนาดา ค. ภูมิอากาศแถบศูนย์สูตร
ข. ด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา ง. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย
ค. บริเวณชายฝั่งตะวันตกของทวีปตลอดแนวยาวเหนือลงใต้ 11. ข้อใดเป็นสภาพสังคมและวัฒนธรรมของแองโกลอเมริกาทั้งหมด
ง. ชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกทางตอนบนของทวีปจนถึง ก. เป็นสังคมชนบท ประชากรร่ารวย
อเมริกากลาง ข. เป็นสังคมเมืองและเป็นสังคมประชาธิปไตย
5. เพราะเหตุใดสภาพดินในพื้นที่ตอนบนของทวีปอเมริกาเหนือ ค. มีวัฒนธรรมแบบสเปน การเมืองขาดเสถียรภาพ
จึงไม่สามารถเพาะปลูกได้ ง. มีมาตรฐานการครองชีพสูง ประชากรนับถือคริสต์ศาสนา
ก. มีกรดสูง นิกายโรมันคาทอลิก
ข. เป็นดินตื้น
ค. มีความอุดมสมบูรณ์ต่า 12. ข้อใดเป็นชาวพื้นเมืองดั้งเดิมในทวีปอเมริกาเหนือที่อพยพมาจาก
ง. เป็นดินที่อยู่ในสภาพแช่แข็ง ทวีปเอเชียเมื่อหลายพันปีมาแล้ว
6. ปัจจัยสาคัญที่สุดข้อใดที่ทาให้ทวีปอเมริกาเหนือ มีลักษณะ ก. ชาวซัมโบ
ภูมิอากาศที่หลากหลาย ข. ชาวเมสติโซ
ก. ระยะห่างจากทะเล ข. ที่ตั้งตามละติจูด ค. ชาวมูแลตโต
ค. ความสูงของพื้นที่ ง. ทิศทางของลมประจา ง. ชาวอินเดียน
7. มาแชลอาศัยอยู่ในเขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน และมี 13. ข้อใดเป็นเหตุผลสาคัญที่ทาให้ประชากรจากทุกมุมโลก อพยพ
ความต้องการจะปลูกพืช เขาควรปลูกพืชชนิดใด จึงจะให้ผลผลิต เข้ามาในสหรัฐอเมริกามากกว่าประเทศอื่นในทวีปอเมริกาเหนือ
ได้ดีที่สุด ก. มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์
ก. สน เฟอร์ ข. โอก ซีดาร์ ข. มีความสะดวกสบายในการคมนาคมขนส่ง
ค. ส้ม มะกอก ง. สปรูซ ไลเคน ค. มีความเข้มแข็งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
ง. มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตภูเขาสูง เหมาะแก่การทา
อุตสาหกรรมปุาไม้
55
14. พืชเศรษฐกิจในข้อใดที่สหรัฐอเมริกาเป็นผูผ้ ลิตได้มากที่สดุ
ของทวีปและเป็นอันดับ 1 ของโลก
ก. อ้อย ฝูาย ข. ยาสูบ กล้วย
ค. ข้าวสาลี ยางพารา ง. ข้าวโพด ถั่วเหลือง
15. น่านน้าใดที่แองโกลอเมริกาใช้เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่ง
ระหว่างทวีปมากที่สุด
ก. แม่น้าพีซ ข. คลองปานามา
ค. มหาสมุทรแปซิฟิก ง. มหาสมุทรแอตแลนติก
16. เพราะเหตุใดระบบการขนส่งทางท่อของททวีปอเมริกาเหนือ
จึงมีความทันสมัยมากที่สดุ
ก. มีความสะดวกและรวดเร็ว
ข. มีความปลอดภัยในการขนส่ง
ค. มีการนาระบบโลจิสติกส์มาใช้
ง. มีการติดตั้งระบบควบคุมอุณหภูมิ
17. พื้นที่ข้อใดมักประสบพายุทอร์นาโดบ่อยครั้ง
ก. รัฐมอนแทนา-รัฐเมน
ข. รัฐจอร์เจีย-รัฐฟลอริดา
ค. รัฐโคโลราโดข-รัฐแคนซัส
ง. รัฐนิวยอร์ก-รัฐคอนเนตทิคัต
18. ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบจากการรั่วไหลของน้ามันในทะเล
บริเวณรอบอ่าวเม็กซิโก
ก. ราคาน้ามันดิบลดลง
ข. การเพาะเลีย้ งสัตว์น้าชายฝั่งลดลง
ค. การปนเปื้อนของคราบน้ามันบนชายหาด
ง. การตกค้างของสารเคมีในการขจัดคราบน้ามัน
19. ปัญหาการขาดแคลนน้าในทวีปอเมริกาเหนือเกิดขึ้นบริเวณใด
ก. ชายฝั่งตอนใต้ของแคนาดา
ข. หมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน
ค. รัฐแคลิฟอร์เนียของสหรัฐอเมริกา
ง. แถบรัฐทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา
20. อุตสาหกรรมใดเป็นรายได้หลักของประเทศในภูมิภาคแคริบเบียน
ก. ท่าเรือสินค้า
ข. การท่องเที่ยว
ค. อุตสาหกรรมต่อเรือ
ง. การขนส่งและโลจิสติกส์

เฉลย
1. ก. 2. ง. 3. ก. 4. ง. 5. ง. 6. ข. 7. ค. 8. ง. 9. ค. 10. ข.
11. ข. 12. ง. 13. ค. 14. ง. 15. ง. 16. ง. 17. ค. 18. ก. 19. ข. 20. ข.

56
57

You might also like