Passive Filter Training - Rev 1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 75

Passive filter training

Mar 2021
ในการศึกษาฮาร์ โมนิคจะเกี่ยวข้ องกับกระแสแรงดันและกาลังไฟฟ้าที่ความถี่ต่างๆ จึงจาเป็ นต้ องรู้จกั รูปคลื่นของกระแสและแรงดัน การ
คานวณโดยใช้ คอมเพล็กซ์นมั เบอร์ และทฤษฎีไฟฟ้าเบื ้องต้ นโดยเฉพาะวงจรอาร์ แอลซี ซึง่ เป็ นพื ้นฐานในการออกแบบ passive filter และกา
รวิเคราะฮาร์ โมนิค ตลอดจนการใช้ โปรแกรมเพื่อช่วยในการออกแบบ passive filter

Part 1
Back to basic

Ohm’s law
V = IR → I = V/R → R = V/I : VLine to Line = √3 VLine to neutral : ILine = Iphase : Ineutral = 0 ; ในระบบ balanced 3 phase
VL−L
P = VI → P = V2/R → P = I2R : PTotal = 3 ∙ PPhase : PTotal = 3 ∙ ∙ I : PTotal = √3 ∙ VL-L∙I
√3

Voltage - แรงดันไฟฟ้า
voltage source หรื อแหล่งจ่ายแรงดัน จะจ่ายแรงดันคงที่เสมอไม่ว่าจะมีโหลด
เท่าไหร่

จากรูปทางซ้ ายใช้ multi-meter วัดแรงดันจะได้ ค่าแรงดัน 220 Vrms

ใช้ oscilloscope วัดแรงดันจะได้ รูปคลื่นแรงดันชัว่ ขณะ instantaneous


voltage curve ทีม่ ีสมการแรงดันที่เวลาต่างๆดังนี ้
v = V sin ωt ; ωt = 2πft

WHAT IS RMS ?

ในกรณีจา่ ยแรงดัน 220 Vrms จะมีสมการแรงดันชัว่ ขณะดังนี ้


v = 220 ∙ √2 ∙ sin ωt ; ω = 2 ∙ π ∙ 50 = 314.2 rad/sec

โดยมีคา่ แรงดันสูงสุด vmax = 220 ∙ √2 = 311 V → vmax = vpeak

ค่าแรงดันเฉลี่ย vaverage = 0 Vrms เพราะเป็ นสมการ sine ที่มีคา่ เฉลี่ยเท่ากับศูนย์


เสมอ จึงไม่มีที่ใช้ vaverage ในการศึกษาของเรา แต่จะใช้ คา่ vrms = 220 Vrmsที่ให้
กาลังไฟฟ้าเทียบเท่าเเรงดันไฟฟ้ากระแสตรง = 220 Vdc

Page 1 of 74
Workshop:

1) จากรูปข้ างบนเวลาผ่านไป 1 วินาที กราฟ v มีค่าแรงดันเท่าไหร่ ?


2) ทีเ่ วลา 17 ms กราฟ v มีคา่ แรงดันเท่าไหร่ ?
3) ถ้ าความถี่เพิม่ ขึ ้นเป็ น 250 Hz ที่เวลา 17 ms กราฟ v มีค่าแรงดันเท่าไหร่ ?

Resistive load

Current - กระแสไฟฟ้า

ใช้ multi-meter วัดกระแสได้ 44 Arms

V V
Ohm’s law: V = I∙R , I = R , R = I

ใช้ oscilloscope วัดกระแส (instantaneous current curve)


v 220 ∙√2
i= = sin ωt = 62 sin ωt = I sin ωt
R 5

imax = 62 A

iaverage = 0 V → ไม่มีทใี่ ช้ iaverage

irms = 44 A → เทียบเท่า idc = 44 A

ข้อแตกต่างระหว่าง AVERAGE POWER กับ RMS POWER คื อ ?

V2
Power → P = V∙I = R
= I2∙R

ไม่สามารถแสดง curve ของ P ได้ โดยตรง ค่า P มาจากการคานวณเท่านัน้


p = Vm sin ωt ∙ Im sin ωt = VmIm sin2 ωt
Vm ∙ Im Vm ∙ Im
p= 2
− 2
∙ cos 2ωt

โดยจะมีค่า p สูงสุดเมื่อค่า cos 2ωt = -1 แทนค่าในสมการจะได้


Vm ∙ Im Vm ∙ Im
pmax = 2
+ 2
; @ cos 2ωt = −1

Page 2 of 74
Vm ∙ Im Vm Im
paverage = 2
= √2 ∙ √2 = V ∙ I = 220 ∙ 44 = 9680 W ; โดยค่า
average ของ cos 2ωt = 0

ค่า Prms จะไม่มีที่ใช้

Workshop: จากรูปด้ านซ้ าย

1) ถ้ า vm = 300 V , R = 8 Ω → P = ?
2) ถ้ า vrms = 200 V , R = 5 Ω , f = 250 Hz → P=?

Inductive load

Current - กระแสไฟฟ้า
ใช้ multi-meter วัดกระแสได้ 44 Arms

Impedance ZL = +jXL , XL = 2πfL = ωL → ZL = +j5 Ω = 5∠90° Ω

ใช้ oscilloscope วัดกระแส (instantaneous current curve)


v Vm 220 ∙ √2 π
i= = sin (ωt-θ) = sin (ωt - )
+j∙XL XL 5 2

π
i = 62 sin (ωt - ) = − 62 cos ωt
2

กระแสตามหลังแรงดัน 90° หรือ 𝛑𝟐 radian

คานวนแบบ complex number


V V V j V
I = Z = +jX = +jX ∙ j = -j ∙ X = -j44 A → normal form
L L L

V V V
I=Z=X = X ∠-90° = 44 ∠-90°A → polar form
L ∠90° L

Power → P = V∙I

p = Vm sin ωt ∙ Im sin (ωt-θ)


Vm ∙ Im Vm ∙ Im
p= 2
cos θ - 2
cos (2ωt-θ)

cos θ (cos theta) เรื อกได้ อก


ี อย่ างว่ า cos φ (cos phi) หรือ power factor
Vm ∙ Im
paverage = 2
cos θ = V∙I cost θ = 0 W เพราะ θ = -90° ; cos θ = 0

Page 3 of 74
ในหนึ่ง cycle พบว่า inductor กิน power ชัว่ ขณะเพื่อสร้ างสนามแม่เหล็กและ
จ่าย power ชัว่ ขณะเพื่อลดสนามแม่เหล็กสลับกันไปโดยกินเพาเวอร์ รวมเท่ากับ
ศูนย์

อาจเกิดความเข้ าใจผิดได้ ว่า inductor ไม่ต้องการ power เลย จริงๆแล้ ว


inductor ยังคงต้ องการกาลังไฟฟ้าและกระแสจากเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าเสมอเพื่อ
สร้ างสร้ างสนามแม่เหล็ก เครื่ องกาเนิดไฟฟ้าต้ องมี capacity เพียงพอที่จะจ่าย
กาลังไฟฟ้าและกระแสให้ inductor เช่นเดียวกับที่จา่ ยให้ resistor เพียงแต่ความ
ต้ องการนี ้จะเกิดขึ ้นชัว่ ขณะไม่ต่อเนื่องเหมือนที่ resistor ต้ องการ หลังจากนัน้
inductor ก็จะลดสนามแม่เหล็กตามจังหวะการเปลี่ยนแปลงของแรงดันและจ่าย
กาลังไฟฟ้าและกระแสคืนเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าเท่าๆกับตอนทีก่ ินกาลังไฟฟ้า การกิน
สลับกับการจ่ายกาลังไฟฟ้าและกระแสจะเกิดขึ ้นเป็ น cycle ที่มี่ความถี่เป็ น 2 เท่า
ของความถี่ของแรงดัน

WHAT IS REACTIVE POWER ?

ดังนันจึ
้ งมีการนิยาม Power ใหม่แยกเป็ นสามประเภท

Active power = V∙I cost θ = P มีหน่วยเป็ น Watts ; คือผลคูณของกระแสและแรงดันที่มเี ฟสตรงกัน (power for resistor) เป็ น
กาลังไฟฟ้าที่ทาให้ เกิดความร้ อนแสงสว่างหรื อการเคลื่อนที่เคลื่อนไหวที่เป็ นประโยชน์กบั เราโดยตรง

Reactive Power = VI sin θ = Q มีหน่วยเป็ น var ; คือผลคูณของกระแสและแรงดันที่มีเฟสตรงข้ ามกัน (power for inductor and
capacitor) เป็ นกาลังไฟฟ้าทีใ่ ช้ ในการสร้ างสนามแม่เหล็กหรื อสนามไฟฟ้าที่ไม่ได้ เป็ นประโยชน์กบ
ั เราโดยตรง

Apparent power = 𝐒 = √𝐏 𝟐 + 𝐐𝟐 มีหน่วยเป็ น VA ; เป็ นการคานวนผลรวมของพาวเวอร์ ทงสองชนิ


ั้ ด

โดย Power Factor = cos θ = cos φ = PS ไม่มีหน่วย → θ = cos −1 PF

Q Q
→ sin θ = S
→ tan θ = P
→ Q = P tan θ → P = S cos θ → Q = S sin θ

โดย θ (theta) คือมุมเฟสของ I เทียบกับ V ; โดยใช้ V เป็ น reference เสมอ

ในกรณีของ inductor จะได้

P = V∙I cost θ = 0 Watts ; cos -90° = 0 ; มีการกิน Active Power เฉลี่ยเท่ากับศูนย์

Q = VI sin θ = VI sin θ = 220 ∙ 44 ∙ -1 = -9680 var ; sin -90° = -1 ; มีการกิน Reactive Power เฉลี่ยเท่ากับ -9.7 kvar

Page 4 of 74
S = √P2 + Q2 = -9680 VA

PF = cos -90° = -1

ในหัวข้ อต่อไปเราจะพบว่า capacitor มีการทางานในทิศทางตรงกันข้ ามกับ inductor ถ้ ามีเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าต่อกับ inductor และ
capacitor ในขณะที่ inductor กินกาลังไฟฟ้าและกระแส capacitor จะจ่ายกาลังไฟฟ้าและกระแสในเวลาเดียวกัน ผลรวมที่ได้ จงึ เสมือน
กับว่าเครื่ องกาเนิดไฟฟ้าไม่ต้องจ่ายกาลังไฟฟ้าและกระแส ให้ กบั inductor และ capacitor

โดยทัว่ ไประบบไฟฟ้าจะมีโหลดทีเ่ ป็ น inductor เป็ นส่วนใหญ่และมีค่า PF ต่า จึงจาเป็ นต้ องเผื่อกาลังไฟฟ้าของแหล่งจ่ายให้ เพียงพอที่จะ
จ่ายกาลังไฟฟ้าชัว่ ขณะให้ กบั inductor ด้ วย capacitor ทีต่ ิดตั ้งในระบบไฟฟ้าเพื่อปรับปรุงค่า PF จะทาหน้ าที่จา่ ยกาลังไฟฟ้าชัว่ ขณะให้ กบั
inductor แทนแหล่งจ่าย จึงไม่จาเป็ นต้ องเผื่อกาลังไฟฟ้าของแหล่งจ่ายให้ กบ ั โหลด inductor ในระบบไฟฟ้า

Workshop: จากรูปข้ างล่าง


@R → P=? , Q=?

@L → P=? , Q=?

Note: Oscilloscope บางรุ่นสามารถคานวณและ plot curve ของ power ได้

ในการวัดค่าเพาเวอร์ เฟคเตอร์ และฮาร์ โมนิ คของระบบไฟฟ้าจะมีโอกาสต่อสายของแรงดันและกระแสเข้าเครื ่องวัดผิ ดได้ง่าย โดยมีสายวัด


แรงดันหกเส้นและสายวัดกระแสแปดเส้นทีต่ อ้ งต่อให้ถูกขัว้ บวกลบและเรี ยงลาดับให้ถูกต้องทุกเส้น จาเป็ นต้องมีความเข้าใจเรื ่องรูปคลื่นของ
กระแสและแรงดันเพือ่ ช่วยยืนยันว่าต่อสายได้ถกู ต้อง

Page 5 of 74
Capacitive load

Current - กระแสไฟฟ้า
ใช้ multi-meter วัดกระแสได้ 44 Arms

1 1
Impedance ZC = -jXC , XC = 2πfC = ωC → ZC = -j5 Ω = 5∠-90° Ω

𝑉 Vm 220 ∙ √2 π π
I = −jX = XC
sin (ωt+θ) = 5
sin (ωt + 2 ) = 62 sin (ωt + 2 )
C

กระแสนาหน้ าแรงดัน 90° หรือ 𝛑𝟐 rad

คานวนแบบ complex number


V V V j V
I= = = ∙ = +j ∙ = +j44 A
Z −jXC −jXC j XC

V V V
I=Z=X = X ∠+90° = 44 ∠+90°A
C ∠−90° C

Power → P = V∙I

p = Vm sin ωt ∙ Im sin (ωt+θ)

Vm ∙ Im Vm ∙ Im
p= 2
cos θ - 2
cos (2ωt+θ)

Vm ∙ Im
Paverage = 2
cos θ = 0 W เพราะ θ = +90° → cos θ = 0

ในหนึ่ง cycle พบว่า capacitor กิน power ชัว่ ขณะและจ่าย power ชัว่ ขณะ
สลับกันไปโดยกินเพาเวอร์ รวมเท่ากับศูนย์ มีลกั ษณะเหมือน inductor แต่มี
ทิศทางตรงกันข้ ามกัน
Q = VI sin θ = 220 ∙ 44 ∙ 1 = +9680 var

θ = +90° → sin +90° = 1

รูปภาพเปรี ยบเทียบการไหลของกระแสและการกินพาวเวอร์ ของ inductor เทียบกับ capacitor ว่ามีทิศทางตรงข้ ามกัน จึงสามารถติดตั ้ง


capacitor ในระบบไฟฟ้าเพื่อปรับปรุงค่าเพาเวอร์ เฟคเตอร์ ได้

Page 6 of 74
Workshop:

1) จากรูปทางซ้ ายมือ
At R → P = ? , Q = ?

At L → P = ? , Q = ?

At C → P = ? , Q = ?

2) ประโยชน์ของการติดตั ้ง capacitor เพื่อปรับปรุงค่าเพาเวอร์เฟคเตอร์ ในระบบไฟฟ้าคือ ?


3) ทดลองวาด curve ของกระแสแรงดันและกาลังไฟฟ้าของวงจร R L C จาก website นี ้
https://www.desmos.com/calculator/w9jrdpvsmk

Capacitor ช่วยปรับปรุงค่าเพาเวอร์ เฟคเตอร์ ได้อย่างไร ?

Complex number calculation


ในการออกแบบ passive filter จาเป็ นต้ องใช้ การคานวณในรูปแบบคอมเพล็กซ์นมั เบอร์ แล้ วใส่สตู รในโปรแกรมเอ็กเซล โดยโปรแกรมเอ็กเซล
สามารถทาการคานวณ บวกลบคูณหารคอมเพล็กซ์นมั เบอร์ ได้ โดยตรง

ในกรณีของเรา เราจะใช้ รูปแบบของคอมเพล็กซ์นมั เบอร์ ดงั นี ้ → Z = R ± jX , j ∙ j = -1 , j = √−1 , j = ∠+90° , -j = ∠-90°

คอมเพล็กซ์นมั เบอร์มีสองรูปแบบ และมีวิธีการบวกลบคูณหารทีแ่ ตกต่างกัน สามารถใช้ รูปแบบใดในการคานวณก็ได้

X
1) General form → |Z| = √R2 + X 2 , tan θ = , Z = |Z| cos θ ± j |Z| sin θ
R

การบวกและลบ → (a±jb) ± (c±jd) = (a+c) ± j(b+d)

Page 7 of 74
การคูณ → (a±jb) ∙ (c±jd) = ac + jad + jbc + j2bd = (ac-bd) + j(ad+bc)

(a+jb) (a+jb) (c−jd) (a+jb) ∙ (c−jd)


การหาร →
(c+jd)
= ∙
(c+jd) (c−jd)
=
(c2 +d2 )
; ต้ องกาจัด j จากตัวหาร โดยการคูณทังตั
้ วตั ้งและตัวหารด้ วย
conjugate ของตัวหาร โดย (c-jd) คือคอนจูเกตของ (c+jd)

สังเกตได้ ว่าการบวกและลบจะทาได้ งา่ ยกับ General form

2) Polar form → Z = A∠θ = Acosθ + jAsinθ

การบวกและลบ → A∠θ1± B∠θ2 = (Acosθ1+jAsinθ1) ± (Bcosθ2+jBsinθ2)

การคูณ → A∠θ1 ∙ B∠θ2 = AB∠(θ1+θ2)

A∠θ1 A
การหาร → B∠θ2
= B ∠(θ1-θ2)

สังเกตได้ ว่าการคูณและหารจะทาได้ งา่ ยกับ Polar form

Workshop:

1) 3+j4 มี polar form A∠θ = ?


2) วงจรนี ้มี Z รวม = ?

3) วงจรนี ้มี Z รวม = ?

Note:

เครื่ องคิดเลขบางรุ่นคานวณคอมเพล็กซ์นมั เบอร์ ได้ โดยตรงเช่น Casio fx-991 ES Plus

โปรแกรมเอ็กเซลก็สามารถคานวณคอมเพล็กซ์นมั เบอร์ ได้ โดยตรง แต่ต้อง Add-ins Analysis Toolpak ก่อน สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ จาก
ลิงค์นี ้ https://engineerexcel.com/complex-numbers-in-excel/
https://www.real-statistics.com/other-mathematical-topics/complex-numbers/

Page 8 of 74
ตัวอย่างการคานวณ P และ Q จาก Workshop ข้ อ 3
Resistor → I = 1 A

Inductor → I = 1 A หรื อ I = -j1 A

Capacitor → I = -1 A หรื อ I = j1 A

Page 9 of 74
ที่ Resistor , θ = 0 → cos θ = 1

Vm ∙ Im Vm ∙ Im
จาก p=
2
cos θ -
2
cos (2ωt+θ)

ได้ p = 5 - 5 cos (2ωt+0)

Vm ∙ Im
จาก paverage = 2
cos θ = V∙I cost θ

ได้ paverage = 5 W ก็คือ P = 5 W

ที่ Inductor , θ = -π/2 → cos (-π/2) = 0 , sin (-π/2) = -1

Vm ∙ Im Vm ∙ Im
จาก p= 2
cos θ - 2
cos (2ωt+θ)

ได้ p = 0 - 5 cos (2ωt-π/2) = -5 cos (2ωt-π/2) = -5 sin (2ωt)

Vm ∙ Im
จาก paverage = 2
cos θ = V∙I cost θ

ได้ paverage = 0 W ก็คือ P = 0 W

จาก Q = VI sin θ ได้ Q = -5 var

ที่ Capacitor , θ = π/2 → cos (π/2) = 0 , sin (π/2) = 1

Vm ∙ Im Vm ∙ Im
จาก p= 2
cos θ - 2
cos (2ωt+θ)

ได้ p = 0 - 5 cos (2ωt+π/2) = -5 cos (2ωt+π/2) = 5 sin (2ωt)

Vm ∙ Im
จาก paverage =
2
cos θ = V∙I cost θ

ได้ paverage = 0 W ก็คือ P = 0 W

จาก Q = VI sin θ ได้ Q = 5 var

ในรูปแบบ vector → P = V x I = V cross I = VI cos θ สาหรับ Resistor ; Q = VI sin θ สาหรับ Inductor และ Capacitor

Page 10 of 74
Part 2
Refresh old knowledges

Capacitor bank sizing


จริงๆแล้ ว passive filter ก็คือ capacitor bank ที่ติดตั ้งรี แอคเตอร์ เพิ่ม แล้ วมีหน้ าที่เสริมในการกรองฮาร์ โมนิค แต่หน้ าที่หลักและการ
ทางานยังคงเป็ น capacitor bank ที่จะทางานก็ต่อเมื่อค่าพาวเวอร์ เฟคเตอร์ต่าเกินไปไม่ได้ ขึ ้นกับปริมาณของฮาร์ โมนิคในระบบไฟฟ้า
โดยตรง

การออกแบบ passive filter จึงจาเป็ นต้ องมีความรู้ในการออกแบบ capacitor bank เป็ นอย่างดี

ขันตอนการออกแบบ
้ capacitor bank อย่างง่าย

1) Q = P (tanφ1 – tanφ2)
Target PF = 0.95 ; φ1 = 45.6° , φ2 = 18.2°
→ Q = 487 kvar ปั ดขึ ้นเป็ น 500 kvar

2) กาหนดจานวน steps → 50x10 หรื อ 100x5 หรื อ 300x2

3) ตรวจสอบแรงดันเพิ่มจากการต่อ capacitor สเต็ปใหญ่สดุ


Qstep kvar
ΔV = Ssc
= kVAsc
1000
kVAsc = 0.07 = 14286 kVA
50
50 kvar → 14286 = 0.3% within 2% limit
100
100 kvar → = 0.7% within 2% limit
14286
300
300 kvar → 14286 = 2.1% above 2% limit

4) กาหนด maximum current ในแต่ละสเต็ป จากข้ อแนะนาใน IEC60831


- maximum capacitor current = 1.3 x rated current of capacitor
(due to overvoltage and harmonic)
- tolerance of capacitance = 1.1 of rated capacitance
- maximum capacitor current = 1.3 x 1.1 = 1.43 x rated current

กระแสที่ไหลในคาปาซิเตอร์ แต่ละสเต็ปอาจมีคา่ ได้ สงู ถึง 1.43 เท่าของกระแส rated ของ capacitor โดยรวมผลของกระแสฮาร์ โมนิคที่อาจมี
ขึ ้นในระบบไฟฟ้า แรงดันเกินที่อาจเกิดขึ ้นในระบบไฟฟ้า และค่า capacitance tolerance สูงสุดของ capacitor แล้ ว

5) กาหนด minimum current rating ของอุปกรณ์ให้ ไม่น้อยกว่าค่ากระแสสูงสุดของ capacitor ทีค่ านวนได้


- Cable → 1.43 of capacitor current rating
- Contactor → 1.43 of capacitor current rating และตรวจสอบ inrush current capability

Page 11 of 74
- Reactor → 1.43 of capacitor current rating และตรวจสอบ current linearity limit
- Fuse → 1.6 to 1.8 → normally 1.65 for LV และตรวจสอบ TOV ในกรณีของ MV
- MCCB of bank → 1.43 of capacitor bank rating
- MV contactor or CB → check back-to-back capacitor switching type test (C2 class)

ข้ อควรพิจารณาเพิ่มเติม

- โดยทัว่ ไปเครื่ องควบคุมเพาเวอร์ เฟคเตอร์ จะสัง่ ให้ capacitor สเต็ปที่เล็กที่สดุ ทางานก็ต่อเมื่อมีความต้ องการค่ารี แอคทีฟพาวเวอร์
ประมาณหกสิบถึงเจ็ดสิบเปอร์ เซ็นต์ของขนาด capacitor สเต็ปนัน้ ในการปฏิบตั ิงานจริงค่าพาวเวอร์ เฟคเตอร์ ที่ได้ จึงมีค่าต่ากว่าและสูง
กว่าค่าเพาเวอร์ แฟกเตอร์ ทตี่ ้ องการบ้ างเล็กน้ อยอยู่ตลอด
- การตั ้งค่าพาวเวอร์ แฟกเตอร์ ที่ต้องการควรมีค่าสูงกว่าค่าตา่ สุด (0.85) เพื่อหลีกเลี่ยงค่าปรับ ควรมีค่าไม่เกิน 1.0 เพื่อหลีกเลี่ยงการโอ
เวอร์ คอมเพนเซชัน่ โดยทัว่ ไปเราจะตั ้งค่าเพาเวอร์ แฟกเตอร์ ทตี่ ้ องการระหว่าง 0.9 ถึง 0.95
- ในขณะที่มีโหลดน้ อยมากความต้ องการค่า reactive power จะต่ามาก เครื่ องควบคุมเพาเวอร์ เฟคเตอร์ จะไม่สงั่ ให้ capacitor ทางาน
เพราะจะเกิดการโอเวอร์ คอมเพนเซชัน่
- ควรมีการพิจารณาเผื่อขนาดของ capacitor bank สาหรับการเพิม่ โหลดในอนาคตด้ วย
- ถ้ า capacitor มีสเต็ปใหญ่เกินไปจะตามการเปลี่ยนแปลงของโหลดได้ ช้าอาจทาให้ คา่ พาวเวอร์ เฟคเตอร์ ตา่ กว่าค่าที่ต้องการชัว่ ขณะ ถ้ า
เล็กเกินไปจะมีการตัดต่อ capacitor บ่อยมากเกินความจาเป็ นจนอาจทาให้ อปุ กรณ์บางตัวมีอายุใช้ งานสั ้นลง

กราฟแสดงการตัดต่ อ capacitor bank เมื่อ set ค่ า c/k = 65% ของ capacitor step เล็กที่สุด

ตัวอย่างการตัดต่อ Bank 50x10 : สเต็ปแรกจะเริ่มทางานที่โหลด 47 kw สเต็ปที่ 10 จะเริ่มทางานที่โหลด 698 kW

Page 12 of 74
ตัวอย่างการตัดต่อ Bank 100x50 : สเต็ปแรกจะเริ่มทางานที่โหลด 94 kw สเต็ปที่ 5 จะเริ่มทางานที่โหลด 672 kW

ตัวอย่างการตัดต่อ Bank 300x2 : สเต็ปแรกจะเริ่มทางานที่โหลด 282 kw สเต็ปที่ 2 จะไม่ทางานเพราะต้ องการโหลดสูงถึง 716 kW แต่
โหลดสูงสุดในระบบมีแค่ 700 kW

Page 13 of 74
ตัวอย่างการกาหนดขนาด capacitor bank จากผลการวัด
ลูกค้ าต้ องการติดตั ้ง capacitor bank ใหม่แทนที่ของเก่าที่หมดอายุการใช้ งาน โดยได้ ทาการวัดค่า PF ที่ H106 ของ SLD ตามรูปด้ านล่าง
ขณะที่ทาการวัดได้ ปลด capacitor bank ออกจากระบบแล้ ว ใช้ เวลาในการวัด 9 วันต่อเนื่องบันทึกค่าทุก 10 นาทีมีข้อมูลทังหมด้ 1269 ชุด

ผลสรุปจากการวัดตามตารางข้ างล่างพบว่า สภาวะ worst case ของ ค่าPF ค่าreactive power และค่าโหลดสูงสุด เกิดขึ ้นในเวลาต่างกัน
เราจะพิจารณากรณี worst case ของค่า reactive power ในการกาหนดขนาดของ capacitor bank

ถ้ า target PF = 0.95 เราจะต้ องการ Q = 2,291 kvar


H106 PP1 Required var to reach target
Condition: Date: Time: PT (W) QT (var) PFT 0.85 0.9 0.95 1
Lowest PFT 2/14/2020 1:30:00 PM 5373699 4016525 0.8 699,955 1,427,673 2,264,025 4,030,274
Highest PFT 2/15/2020 9:20:00 PM 6427806 4161981 0.839 185,142 1,055,609 2,056,020 4,168,738
Highest QT 2/14/2020 10:10:00 AM 6383101 4368205 0.824 433,187 1,297,601 2,291,054 4,389,078
Highest PT 2/15/2020 6:10:00 PM 6497689 4293712 0.834 271,887 1,151,819 2,163,106 4,298,793

จากตารางการเปลี่ยนแปลงของโหลดและค่า PF ในรูปข้ างล่าง พบว่าโหลดและค่า PF ค่อนข้ างนิ่งตลอดระยะเวลาที่ทาการวัด อาจ


จาเป็ นต้ องมีการวัดต่อเนื่องในระยะยาวเพิม่ เติมในภายหลัง(หากทาได้ )เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของโหลดเพื่อใช้ ประกอบการตัดสินใจกาหนด
จานวนสเต็ปของ capacitor bank ที่เหมาะสม

Page 14 of 74
กราฟ scatter diagram ตามรูปด้ านล่างแสดงให้ เห็นโหลดโปรไฟล์ได้ ชดั เจนขึ ้น ว่าโหลดมีการเปลี่ยนแปลงในช่วงแคบแคบ และค่า PF มี
ความสัมพันธ์ค่อนข้ างเป็ น linear กับโหลด

กราฟ histogram ตามรูปข้ างล่างช่วยในการหาค่า CP95 ของ P Q และ PF อย่างไรก็ตามในการกาหนดขนาด capacitor bank อาจไม่
จาเป็ นต้ องใช้ คา่ CP95 โดยทัว่ ไปเรามักเผื่อการขยายโหลดในอนาคตอยู่แล้ ว การทางานของ capacitor จะเป็ นแบบสเต็ปซึง่ ไม่ต้องการ
ความละเอียดขนาดนัน้

Page 15 of 74
Page 16 of 74
Page 17 of 74
รูปด้ านล่างเป็ นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโหลดและ harmonic พบว่าระบบของลูกค้ ามีปริมาณ harmonic น้ อยทังในรู
้ ปของแรงดัน
และกระแส เนื่องจากโหลดมีการเปลี่ยนแปลงในช่วงแคบแคบจึงยากทีจ่ ะบอกได้ ว่าค่าแรงดันฮาร์โมนิคมาจากโหลดหรื อจากระบบ

ค่า THDI% ของกระแสนิวทรอลมักมีคา่ สูงกว่ากระแสเฟสเนื่องจากเป็ นระบบ balance three phase ที่มีกระแสนิวทรัลน้ อยทาให้ ตวั หาร
ของสูตร THDI% มีค่าน้ อยตามจึงทาให้ ค่า THDI% มีคา่ มากทังๆที
้ ่กระแสนิวทรอลมีค่าไม่มาก

กราฟ scatter diagram ตามรูปด้ านล่างยังไม่สามารถบอกความสัมพันธ์ระหว่างโหลดและค่า THU% & THDI% เนื่องจากโหลดมีการ


เปลี่ยนแปลงในช่วงแคบเท่านัน้

Page 18 of 74
รูปข้ างล่างแสดงค่ากระแสฮาร์ โมนิคที่ไหลในระบบ พบว่ามีฮาร์ โมนิคที่ 2nd 3rd 5th 7th 11th และ 13th ควรทาการคานวณจุดเรโซแนนซ์แบบ
ขนานระหว่าง capacitor และระบบว่าตรงกับ harmonic ที่มใี นระบบหรื อไม่ ถ้ าพบว่าตรงกับ harmonic ควรปรับขนาดของ capacitor
เพื่อย้ ายจุดเรโซแนนซ์เลี่ยง harmonic ที่มใี นระบบ

Page 19 of 74
Note: โปรแกรมเอ็กเซลสามารถสร้ างกราฟเหล่านี ้ได้ อย่างรวดเร็ว ช่วยในการวิเคราะห์และรออกแบบได้ อย่างดี

เนือ่ งจาก capacitor bank ทางานเป็ นสเต็ปจึงไม่จาเป็ นต้องคานวณขนาดสเต็ปให้ละเอียดมาก

ถ้ามีจานวนสเต็ปมากเกิ นไป capacitor bank ก็จะทางานบ่อยเกิ นความจาเป็ น ถ้ามีจานวนสเต็ปน้อยเกิ นไป


capacitor bank ก็ะตามโหลดไม่ทน
ั จนมีคา่ PF ต่าเกิ นไป

ทีค่ ่าโหลดน้อยๆ capacitor สเต็ปยังไม่ทางาน จึงอาจมีคา่ PF ต่ากว่าทีต่ อ้ งการได้

Detuned bank rating


Detuned bank ก็คือ capacitor bank ที่มีการติดตั ้งรี แอคเตอร์ อนุกรมกับ capacitor แต่ละสเต็ป แรงดันที่ตกคร่อม capacitor จึงมีค่าสูงขึ ้น
จากแรงดันระบบเนื่องจากแรงดันตกคร่อม reactor ที่มีทิศทางตรงกันข้ ามกับ capacitor

Detuned bank ยังทาหน้ าทีใ่ นการกรองฮาร์ โมนิคได้ บางส่วน จึงจาเป็ นต้ องมีการเพื่อ rating ของ capacitor ให้ สามารถรับกระแสฮาร์ โมนิค
ได้ ด้วย

การคานวณหาแรงดันตกคร่อม capacitor แต่ละสเต็ปทีเ่ พิ่มขึ ้นเนื่องจาก reactor


V V
Z = jXL – jXC จะได้ I= =
Z jXL −jXC

Detuning reactor 7% ดังนัน้ reactor จะมีคา่ XL = 0.07 XC

Z = jXL – jXC = jXC (0.07-1) = –jXC ∙ 0.93


V V
I = Z = −jX
C ∙0.93

V 0.07
VL = I ∙ Z = ∙ j0.07XC = - V
−jXC ∙0.93 0.93

V 1
VC = I ∙ Z = −jX ∙ -jXC = +0.93 V
C ∙0.93

0.07
ถ้ า V = 400 V แรงดันตกคร่อม reactor VL = -0.93 ∙ 400 = -30 V

1
แรงดันตกคร่อม capacitor VC = +0.93 400 = +430 V แรงดันตกคร่ อม
capacitor เพิ่มขึ ้นเนื่องจากมี reactor ต่ออนุกรม

VL + VC = -30 + 430 = 400 V

Page 20 of 74
การคานวณหา kvar ทีเ่ พิ่มขึ ้นของ capacitor เนื่องจากแรงดันตกคร่อม capacitor ทีเ่ พิ่มขึ ้น

ถ้ า QN = 50 kvar คือค่ารี แอกทีฟพาวเวอร์ ที่ต้องการจ่ายให้ กบั ระบบไฟฟ้า

QN = √3 I∙V = √3 I ∙ VL + √3 I ∙ VC = √3 (-0.07VC + VC) = √3 I ∙ VC ∙ (0.93) = QC ∙ (0.93)


QN 50
QC = 0.93
= 0.93
= 53.8 kvar คือค่ารี แอคทีฟพาวเวอร์ ที่เพิ่มขึ ้นเนื่องจากแรงดันตกคร่อม capacitor ที่เพิ่มขึ ้น
QN 50
I= = = 72.2 A
√3∙V √3∙400

QL = √3 I ∙ VL → √3 (-0.07VC ) → √3 I ∙ VC ∙ (-0.07) → QC = 53.8 ∙ (-0.07) = -3.8 kvar

Capacitor rating ที่ยงั ไม่รวมผลของ harmonic คือ VC = 430 V , QC = 53.8 kvar , IC = 72.2 A

ค่ากระแส rating ของอุปกรณ์อนื่ ๆ → minimum 1.43 x IC = 1.43 x 72.2 = 103.3 A

ยกเว้ น Reactor ที่ต้องระบุกระแสฮาร์ โมนิคเพิม่ ขึ ้นด้ วย ซึง่ ได้ มาจากการประมาณค่ากระแสฮาร์ โมนิคที่จะเกิดขึ ้นจริงในระบบ หรื อระบุ
ปริมาณกระแสฮาร์ โมนิคหรื อโหลดฮาร์ โมนิคสูงสุดที่มีได้ ในระบบ หรื อระบุแรงดันฮาร์ โมนิคสูงสุดทีม่ ีได้ ในระบบทีจ่ ะติดตั ้งฟิ ลเตอร์ ให้ กบั
ผู้ผลิตทีจ่ ะออกแบบ โดยค่ากระแส rating นี ้ไม่ควรน้ อยกว่า 1.43 x IC = 1.43 x 72.2 = 103.3 A (1.1 คือการเผื่อ tolerance ของ
Capacitor และ 1.3 คือการเผื่อแรงดันเกินและฮาร์ โมนิค)

เนื่องจาก detuning bank สามารถกรอง harmonic ได้ บางส่วนจึงต้ องเผื่อ capacitor current rating ให้ รองรับกระแส harmonic ด้ วย
การเพิม่ current rating ของ capacitor ทาได้ โดยเพิ่ม capacitor voltage rating ก็จะทาให้ capacitor current rating เพิม่ ขึ ้นด้ วย

ในกรณีนี ้ ที่แรงดัน 400 V เราจะใช้ แรงดันของ capacitor ที่ 525 V


525
VC = 525 V → harmonic safety factory = 430 = 122% → 122% of 430 V
525
จะได้ capacitor rating @ 525 V → QC = 53.8 x (430)2 = 80 kvar

Q 80
→ Ic = = = 88 A → 122% of 72.2 A
√3V √3∙525

Capacitor rating ที่ใช้ งานคือ 80 kvar 525 V ที่สามารถรับกระแสใช้ งานปกติได้ ถึง 88 A (ยังไม่รวม over current อีก 1.3 เท่า)

Note:

ผู้ออกแบบบางคนเลือกที่จะอ้ างอิงถึงขีดจากัดทางฮาร์ โมนิคจากมาตราฐานบางตัว เช่นขีดจากัดของแรงดันฮาร์ โมนิคที่ระดับแรงดันต่า โดย


สมมุติให้ มีแหล่งจ่ายแรงดันฮาร์ โมนิคเท่ากับขีดจากัดดังกล่าวแล้ วคาณวนค่ากระแสที่ไหลในดีจนู ฟิ ลเตอร์ ดังตัวอย่างข้ างล่างที่ได้ กระแสรวม
ที่ไหลในดีจนู ฟิ ลเตอร์ 82.4 A แล้ วจึงเลือก Capacitor rating ทีส่ ามารถรับกระแสนี ้ได้

Page 21 of 74
การคาณวนตามวิธีนี ้จะได้ ค่ากระแสฮาร์ โมนิคสูงกว่าที่ควรไหลในฟิ ลเตอร์ เพราะการสมมุติให้ โหลดฮาร์ โมนิคเป็ นแหล่งจ่ายแรงดันจะสามารถ
จ่ายกระแสฮาร์ โมนิคได้ ไม่จากัดแม้ ในสภาวะที่ระบบมีคา่ อิมพีเดนซ์ต่ามากๆหรื อลัดวงจร แต่โหลดฮาร์ โมนิคจะทางานเหมือนแหล่งจ่าย
กระแสมากกว่าที่สามารถจ่ายกระแสฮาร์ โมนิคได้ จากัด

Detuned filter: Limits @ LV side


Qnet 50 kvar U 100% 5.0% 6.0% 5.0% 1.5% 3.5% 3.0%
System 400 V
Frequency 50 Hz
Reactor 7.0%
QC 53.8 kvar Fund. Harmonic
VC 430 V 1 3 5 7 9 11 13 THD (V/A) THD (%) Total vs Fund.
C 0.000925088 F / phase U 230.9 11.5 13.9 11.5 3.5 8.1 6.9 24.2 10.5% 232.2 0.5%
XC -3.44086021505376j Ohms / phase Zfilter -3.2j -0.424372759856631j
0.516129032258068j
1.19447004608295j
1.78542413381123j
2.33665689149559j
2.86650124069478j
XL 0.240860215053763j Ohms / phase Ifilter 72.1687836487032j
27.2095819432273j
-26.8467875173174j
-9.66705311837567j
-1.94021215997745j
-3.45917442910553j
-2.41695455488317j
L 0.013215544 H / phase ABS I 72.2 27.2 26.8 9.7 1.9 3.5 2.4 39.7 55.0% 82.4 14.1%

ผู้ออกแบบบางคนอาจเผื่อค่าแรงดันเกินแบบถาวรอีก 10% ในการคาณวนกระแสตามตารางข้ างบน แต่ Capacitor ทนแรงดันเกินแบบ


ชัว่ ขณะได้ 10% อยู่แล้ วตาม IEC60831 จึงไม่จาเป็ นสาหรับ Capacitors ส่วนอุปกรณ์อื่นก็ต้องทนค่ากระแสให้ ทรอดคล้ องกัน

Workshop:

1) Detuned bank 7% 50 kvar 415 V 50 Hz 3φ → หา rating ของ capacitor และ reactor


QC = ?
VC = ? , safety factory = ?
VL = ?
IL = ?
2) Detuned bank 7% 50 kvar 440 V 50 Hz 3φ
QC = ?
VC = ? , safety factory = ?
VL = ?
IL = ?
3) Detuned bank 6% 50 kvar 400 V 50 Hz 3φ
QC = ?
VC = ? , safety factory = ?
VL = ?
IL = ?
4) Detuned bank 14% 50 kvar 400 V 50 Hz 3φ
QC = ?
VC = ? , safety factory = ?
VL = ?
IL = ?
5) ทาไมไม่จาเป็ นต้ องเผื่อ voltage rating ของรี แอคเตอร์ ?

Page 22 of 74
Part 3
Important circuit calculation

Parallel resonance
1 1 1 R1 +R2 R ∙R
Basic formula → RT
= R1
+R = R1 ∙ R2
→ R T = R 1+R2
2 1 2

jXL ∙(−jXC ) −jXL ∙XC


→ Z= jXL +jXC
= XL −XC

ถ้ า jXL − jXC = 0
→ Z = ∞ → V = I ∙ Z = ∞ → IL = ∞ , IC = ∞
1 1
→ jX L = jX C → 2πfL = 2πfC → f = 2π√LC
1
Resonance frequency → fr = 2π√LC = 50 Hz

กระแส 50 Hz เพียงเล็กน้ องไหลในวงจร LC แบบขนานทีม่ คี วามถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 50 Hz ตรงกันจะถูกขยายเป็ นกระแสปริมาณมากไหลวน


ในวงจร LC และเกิดแรงดันเกินอย่างมากตกคร่อม L และ C

Series resonance
Basic formula → R T = R1 + R2

→ Z = jX L − jX C

ถ้ า jXL − jXC = 0
𝑉
→ Z = 0 → I = 𝑅 = ∞ → VL = ∞ , VC = ∞
1 1
→ jX L = jX C → 2πfL = 2πfC → f = 2π√LC
1
Resonance frequency → fr = 2π√LC = 50 Hz

แรงดัน 50 Hz เพียงเล็กน้ องจ่ายให้ กบั วงจร LC แบบอนุกรมทีม่ ีความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 50 Hz ตรงกันจะถูกขยายเป็ นแรงดันเกินอย่างมาก


ตกคร่อม L และ C และเกิดกระแสปริมาณมากไหลผ่าน L และ C

Page 23 of 74
กราฟทางซ้ ายคือค่าอิมพิแดนซ์ของ L C และ L+C (parallel) ที่ความถี่ตา่ งๆกัน

วงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน จะมีคา่ อิมพิแดนซ์เป็ นบวกอินฟิ นิตี ้ และลบอินฟิ นิตี ้


รอบความถี่เรโซแนนซ์ คือ 50 Hz ในกรณีนี ้

วงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมจะมีค่าอิมพิแดนซ์เป็ นศูนย์ที่ความถี่เรโซแนนซ์ คือ 50


Hz ในกรณีนี ้

กราฟข้ างล่างคือค่าอิมพิแดนซ์ของ L C และ L+C (parallel/series) ที่ความถี่ตา่ งๆกัน โดยไม่สนใจเครื่ องหมายบวกลบของค่าอิมพิแดนซ์

1
กราฟข้ างล่างคือค่า impedance และ susceptance ของ L C และ L+C ทีค่ วามถี่ต่างๆกัน โดย impedance = susceptance

Page 24 of 74
Parallel resonance ขยายกระแสฮาร์ โมนิ คที ค
่ วามมถีเ่ รโซแนนซ์

Series resonance ดูดฮาร์ โมนิ คที ค


่ วามถีเ่ รโซแนนซ์

Workshop:

1) คานวณอิมพิแดนซ์ของวงจร parallel LC
f (Hz) Z (Ohms)
0
25
50
100

48
52

2) คานวณอิมพิแดนซ์ของวงจร series LC
f (Hz) Z (Ohms)
0
25
50
100

48
52

3) ทดลองวาด curve impedance scan ของวงจร R L C จาก website นี ้ https://www.desmos.com/calculator/w9jrdpvsmk

Note: ควรทาสูตรในโปรแกรมเอ็กเซลแล้ วใช้ ความถี่เป็ นตัวแปรเพื่อคานวณค่าอิมพีแดนซ์ที่ความถี่ต่างๆดังตัวอย่างข้ างล่าง


ZL = +j(2πf)L = +j(2π50 ∙ h)L = +j(2π50 ∙ L) ∙ h : โดย h คืออันดับฮาร์ โมนิค เช่น h = 1 คือ ความถ่ 50 Hz
j j j
ZC = − [(2πf)C] = − [(2π50∙h)C] = − (2π50C)∙h
สามารถวาดกราฟ frequency response ได้ จากสมการนี ้ ZL → y = 0.04 ∙ x ; กรณีที่ p = 4% และ ZC → y = -1/x
Ztotal
frequency (Hz) h ZL (Ohms) ZC (Ohms) Parallel Series
25 =B8/50 =COMPLEX(0,5*C8,"j") =COMPLEX(0,-5/C8,"j") =IMDIV(IMPRODUCT(D8,E8),IMSUM(D8,E8)) =IMSUM(D8,E8)
50 =B9/50 =COMPLEX(0,5*C9,"j") =COMPLEX(0,-5/C9,"j") =IMDIV(IMPRODUCT(D9,E9),IMSUM(D9,E9)) =IMSUM(D9,E9)
100 =B10/50 =COMPLEX(0,5*C10,"j") =COMPLEX(0,-5/C10,"j") =IMDIV(IMPRODUCT(D10,E10),IMSUM(D10,E10)) =IMSUM(D10,E10)
∞ ∞ ∞ 0 =IMDIV(IMPRODUCT(D11,E11),IMSUM(D11,E11)) =IMSUM(D11,E11)
48 =B12/50 =COMPLEX(0,5*C12,"j") =COMPLEX(0,-5/C12,"j") =IMDIV(IMPRODUCT(D12,E12),IMSUM(D12,E12)) =IMSUM(D12,E12)
52 =B13/50 =COMPLEX(0,5*C13,"j") =COMPLEX(0,-5/C13,"j") =IMDIV(IMPRODUCT(D13,E13),IMSUM(D13,E13)) =IMSUM(D13,E13)
=B14/50 =COMPLEX(0,5*C14,"j") =COMPLEX(0,-5/C14,"j") =IMDIV(IMPRODUCT(D14,E14),IMSUM(D14,E14)) =IMSUM(D14,E14)
=B15/50 =COMPLEX(0,5*C15,"j") =COMPLEX(0,-5/C15,"j") =IMDIV(IMPRODUCT(D15,E15),IMSUM(D15,E15)) =IMSUM(D15,E15)

Page 25 of 74
Homework:

1) Resistor มีค่า resistance 2 Ohms จะมีคา่ impedance = ____ + j____ Ohms


2) Inductor/Reactor มีคา่ inductance 10 mH จะมีค่า impedance = ____ + j____ Ohms
3) Capacitor มีคา่ capacitance 500 uF จะมีคา่ impedance = ____ - j____ Ohms
4) Capacitor 50 kvar 400 V 50 Hz 3 φ
a. จะมีคา่ capacitance ต่อเฟส = ____ uF per phase
b. จะมีคา่ impedance ต่อเฟส = ____ - j____ Ohms per phase
5) Detuned bank 7% for net capacitor output 50 kvar 400 V 50 Hz 3 φ
a. จะมีคา่ QC = ____ kvar และ VC = ____ V (ยังไม่รวม safety factor ของฮาร์ โมนิค)
b. จะมีคา่ capacitance ต่อเฟส = ____ uF per phase และ impedance ต่อเฟส = ____ - j____ Ohms per phase
c. Reactor 7% จะมีค่า impedance ต่อเฟส = ____ + j____ Ohms per phase และ inductance ต่อเฟส = ____ mH
d. ถ้ า Capacitor มีค่า QC rating = 80 kvar และ VC rating = 525 V จะมีคา่ capacitance ต่อเฟส = ____ uF per phase
6) Resistor 3 ตัว มีคา่ resistance ดังนี ้ R1 = 2 Ohms R2 = 5 Ohms และ R3 = 7 Ohms
a. ต่ออนุกรมกัน
i. มีค่า resistance รวม = ____ Ohms มีคา่ impedance รวม = ____ + j____ Ohms
ii. ถ้ าจ่ายแรงดัน 230 V จะมีแรงดันที่ R1 = ____ V R2 = ____ V และ R3 = ____ V
iii. ถ้ าจ่ายกระแส 50 A จะมีแรงดันที่ R1 = ____ V R2 = ____ V และ R3 = ____ V
b. ต่อขนานกัน
i. มีค่า resistance รวม = ____ Ohms มีคา่ impedance รวม = ____ + j____ Ohms
ii. ถ้ าจ่ายแรงดัน 230 V จะมีกระแสไหลที่ R1 = ____ A R2 = ____ A และ R3 = ____ A
iii. ถ้ าจ่ายกระแส 50 A จะมีกระแสไหลที่ R1 = ____ A R2 = ____ A และ R3 = ____ A
7) Reactor 3 ตัว มีคา่ inductance ดังนี ้ L1 = 10 mH L2 = 15 mH และ L3 = 17 mH
a. ต่ออนุกรมกัน
i. มีค่า inductance รวม = ____ Ohms มีคา่ impedance รวม = ____ + j____ Ohms
ii. ถ้ าจ่ายแรงดัน 230 V จะมีแรงดันที่ L1 = ____ V L2 = ____ V และ L3 = ____ V
iii. ถ้ าจ่ายกระแส 50 A จะมีแรงดันที่ L1 = ____ V L2 = ____ V และ L3 = ____ V
b. ต่อขนานกัน
i. มีค่า inductance รวม = ____ Ohms มีคา่ impedance รวม = ____ + j____ Ohms
ii. ถ้ าจ่ายแรงดัน 230 V จะมีกระแสไหลที่ L1 = ____ A L2 = ____ A และ L3 = ____ A
iii. ถ้ าจ่ายกระแส 50 A จะมีกระแสไหลที่ L1 = ____ A L2 = ____ A และ L3 = ____ A
8) Capacitor 3 ตัว มีค่า capacitance ดังนี ้ C1 = 500 uF C2 = 700 uF และ C3 = 900 uF
a. ต่ออนุกรมกัน
i. มีค่า capacitance รวม = ____ Ohms มีค่า impedance รวม = ____ - j____ Ohms
ii. ถ้ าจ่ายแรงดัน 230 V จะมีแรงดันที่ C1 = ____ V C2 = ____ V และ C3 = ____ V

Page 26 of 74
iii. ถ้ าจ่ายกระแส 50 A จะมีแรงดันที่ C1 = ____ V C2 = ____ V และ C3 = ____ V
b. ต่อขนานกัน
i. มีค่า capacitance รวม = ____ Ohms มีค่า impedance รวม = ____ - j____ Ohms
ii. ถ้ าจ่ายแรงดัน 230 V จะมีกระแสไหลที่ C1 = ____ A C2 = ____ A และ C3 = ____ A
iii. ถ้ าจ่ายกระแส 50 A จะมีกระแสไหลที่ C1 = ____ A C2 = ____ A และ C3 = ____ A
9) วงจร RLC ตัว มีคา่ Resistor = 2 Ohms Reactor 10 mH และ Capacitor = 500 uF
a. ต่ออนุกรมกัน
i. มีค่า impedance รวม = ____ + j____ Ohms
ii. ถ้ าจ่ายแรงดัน 230 V จะมีแรงดันที่ R = ____ V L = ____ V และ C = ____ V
iii. ถ้ าจ่ายกระแส 50 A จะมีแรงดันที่ R = ____ V L = ____ V และ C = ____ V
b. ต่อขนานกัน
i. มีค่า impedance รวม = ____ + j____ Ohms
ii. ถ้ าจ่ายแรงดัน 230 V จะมีกระแสไหลที่ R = ____ A L = ____ A และ C = ____ A
iii. ถ้ าจ่ายกระแส 50 A จะมีกระแสไหลที่ R = ____ A L = ____ A และ C = ____ A
10) จากข้ อมูลฮาร์ โมนิคในตารางทางขวาของ drive ตัวหนึ่ง คานวณค่า THDI และกระแสในหัวข้ อข้ างล่าง (ควรใช้ สต
ู รในโปรแกรมเอ็กเซล
Square root of sum sqare)
a. THDI = ____ Arms Harmonic order 1 3 5 7 11 13 17 19
b. THDI = ____ % Harmonic current (A) 100 10 25 14 9 7 6 5
c. กระแสรวมทังหมด
้ = ____ Arms
11) ตารางข้ างล่างมี 8 สถานการณ์ โดยมีโหลด A และ B ที่สร้ างฮาร์ โมนิคในระบบ โหลดตัวไหนที่สร้ างปั ญหาให้ กบ
ั ระบบมากกว่ากันในแต่
ละสถานการณ์ (แยกแต่ละสถานการณ์)

Case # Load A Load B A or B ?


1 THDU 5% THDI 10%
2 THDU 5% THDU 7%
3 THDI 5% THDI 10%
4 THDU 5% U5 5%
5 THDI 5% I5 5%
6 I5 5% I5 10%
7 I5 5A I5 10A
8 I5 5A I7 5A

12) ในกรณีที่ลกู ค้ ามีปัญหา Capacitors พังบ่อยเนื่องจากเกิดเรโซแนนซ์ในระบบไฟฟ้า อะไรคือเหตุผลที่เราไม่แนะนาให้ ลกู ค้ าใช้


Capacitor ที่มีเรตติ ้งของแรงดันสูงขึ ้นในการแก้ ปัญหา ?
13) ใน detuned bank อะไรคือเหตุผลที่เราไม่เรี ยกรี แอคเตอร์ ว่าเป็ น blocking reactor ?
14) Characteristic harmonic ของ six pulse convertor เช่น rectifier 6-pulse หรื อ UPS คือฮาร์ โมนิคที่เท่าไหร่ บ้าง ? และมีกระแส
ฮาร์ โมนิคประมาณเท่าไหร่ในแต่ละอันดับ ? (สูตร characteristic harmonic → h = n*p+/-1 และ Ih = 1/h * I1 )

Page 27 of 74
n= 1 2 3 4 5
h=

h= 5
Ih = %

MVASC
15) สูตรในการหาจุดเรโซแนนซ์ระหว่าง Capacitor ที่ใช้ ในการปรับปรุงค่าเพาเวอร์ เฟคเตอร์ กบั ระบบไฟฟ้าคือ hp = √ Q
และสูตรใน
kVATr
การหาค่ากาลังไฟฟ้าช็อตเซอร์ กติ (MVAsc) ทีด่ ้ าน secondary Transformer คือ MVASC−Tr = kVATr
%z+
MVASC−system

จงคานวณหา hp ถ้ าระบบของการไฟฟ้ามีคา่ กาลังไฟฟ้าช็อตเซอร์ กิต 100 MVA หม้ อแปลงมีคา่ rated power 1000 kVA และมีค่า
short circuit impedance 8% และติดตั ้ง Capacitor ขนาด 444 kvar
16) จากกราฟฮาร์ โมนิคสเปกตรัมด้ านล่าง เกิดปรากฏการณ์เรโซแนนซ์แบบขนานขึ ้นที่ฮาโมนิคอันดับใด ?

Page 28 of 74
Equivalent circuit of system & equipment

ระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้ามีขนาดใหญ่และมีความซับซ้ อนมาก แต่สามารถยุบรวม


ให้ เป็ นวงจรสมมูลอย่างง่ายโดยใช้ ทฤษฎีเทวินิน

Thévenin's theorem วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้ วยแหล่งจ่ายแรงดันหลายแหล่ง


และแหล่งจ่ายกระแสหลายแหล่ง และมีแต่อปุ กรณ์ที่เป็ น linear loads สามารถ
ยุบรวมให้ เป็ นวงจรสมมูลอย่างง่าย ที่มีเพียงแหล่งจ่ายแรงดันหนึ่งแหล่งและ
linear load หนึง่ ตัวเท่านัน้ ตามรูปทางซ้ าย

จากรูประบบไฟฟ้าของการไฟฟ้าด้ านบน ถ้ า end user มองขึ ้นไปที่ระบบไฟฟ้า


(upstream) จาก pcc จะสามารถหาวงจรสมมูลของระบบไฟฟ้าทังระบบได้
้ ตาม
รูปทางซ้ าย

หม้ อแปลงไฟฟ้าก็สามารถมีวงจรสมบูรณ์แบบง่ายตาม Thévenin's theorem


โดยจะมีเฉพาะค่าอิมพีแดนเท่านันเพราะหม้
้ อแปลงไม่มีเจเนอเรเตอร์

Linear loads ทัว่ ไปรวมถึง Capacitors ก็สามารถมีวงจรสมบูรณ์อย่างง่ายตาม


Thévenin's theorem โดยจะมีเฉพาะค่าอิมพีแดนเท่านัน้

ระบบไฟฟ้าที่ซบั ซ้ อนของ end user ทังระบบก็


้ สามารถมีวงจรสมบูรณ์อย่างง่าย
ตาม Thévenin's theorem โดยจะมีเฉพาะค่าอิมพีแดนเท่านัน้ ถ้ ามีเจนเนอร์เร
เตอร์ ในระบบของ end user หลายๆตัว ก็จะมีแหล่งจ่ายแรงดันเพิ่มขึ ้นในวงจร
สมมูลอีกเพียงหนึ่งแหล่งเท่านัน้

ในกรณีของ non-linear load เช่น drive UPS rectifier welder ก็สามารถมี


วงจรสมมูลอย่างง่ายตาม Norton theorem โดยจะมีแหล่งจ่ายกระแสฮาร์ โม
นิคหนึ่งแหล่งและค่าอิมพีแดนซ์หนึ่งค่า สาหรับ non-linear load แต่ละตัว

Page 29 of 74
Norton theorem วงจรไฟฟ้าทีป
่ ระกอบด้ วยแหล่งจ่ายแรงดันหลายแหล่ง และ
แหล่งจ่ายกระแสหลายแหล่ง และมีแต่อปุ กรณ์ทเี่ ป็ น linear loads สามารถยุบ
รวมให้ เป็ นวงจรสมมูลอย่างง่าย ที่มีเพียงแหล่งจ่ายกระแสหนึ่งแหล่งและ linear
load หนึ่งตัวเท่านัน้ ตามรูปทางซ้ าย

วงจรสมมูลเทวินินและนอร์ตนั สามารถแปลงกลับไปกลับมาได้ ตามสมการ


conversion ทางซ้ าย

แนวทางในการหาวงจรสมมูลอย่างง่าย simple equivalent circuit


ระบบไฟฟ้า หม้ อแปลง และโหลด มีวงจรสมมูลอย่างง่ายของแต่ละอุปกรณ์ดงั รูปด้ านซ้ ายซึง่ เป็ นวงจรสมมูลแบบอนุกรมที่มคี วามแม่นยา
พอประมาณและง่ายในการวิเคราะห์

ในกรณีของโหลดทั่วไป :
P = load power in kW ; ค่า PF = cos θ
P
S= kVA
cos θ
S
I = 3V Amps

P
R L = I2 Ohms per phase
Q
X L = I2 Ohms per phase
ZL = R L + jX L Ohms per phase

ในกรณีของ system :
SSC = short circuit power of system in MVA
V2
ZS = S Ohms per phase
SC
X
X/R ratio = tan θ → θ = tan−1 R
X S = ZS sin θ Ohms per phase
R S = ZS cos θ Ohms per phase
ZS = R S + jX S Ohms per phase
ถ้ าไม่มคี ่า X/R ให้ ถือว่ามีคา่ X อย่างเดียว

Page 30 of 74
ในกรณีของ transformer :
ST = Transformer rating in kVA
%z = % short circuit impedance of transformer
SSCT = short circuit power of transformer in MVA
STR
SSCT = %z
MVA
V2
ZT = SSCT
Ohms per phase
X
X/R ratio = tan θ → θ = tan−1 R
X T = ZT sin θ Ohms per phase
R T = ZT cos θ Ohms per phase
ZT = R T + jX T Ohms per phase
ถ้ าไม่มคี ่า X/R ให้ ถือว่ามีคา่ X อย่างเดียว
ถ้ ากาหนดค่า losses (kW) สามารถคาณวนค่า R ได้ ดงั นี ้
kVAT
ITR = Amps
√3∙V
PT
RT =
IT 2

ในกรณีของ capacitor :
Q = Total reactive power in kvar
P = Losses in kW คาณวนจาก losses Watts per kvar
S = √Q2 + P2 kVA
S
I= Amps
√3V
P
RL = 2 Ohms per phase
I
Q
XC = − I2 Ohms per phase
ZC = R C − jX C Ohms per phase
ถ้ าไม่มคี ่า loses ให้ ถือว่ามีคา่ X อย่างเดียว

ในกรณีของ detuned capacitor bank :


สามารถคานวนค่าอิมพิแดนซ์ของ capacitor ได้ จากค่าในเนมเพลท (rated Q,
rated V, losses) ตามวิธีข้างต้ น
สามารถคานวนค่าอิมพิแดนซ์ของ reactor ได้ จากค่าในเนมเพลท (p%, X/R
ratio)
X L = p% ∙ −XC Ohms per phase
X/R ratio = tan θ
X
R L = tanLθ Ohms per phase
ZL = R L + jX L Ohms per phase

Page 31 of 74
วงจรสมมูลของอุปกรณ์ต่างๆสามารถทาได้ ทงแบบอนุ
ั้ กรมและแบบขนาน ในกรณีที่เราใช้ โปรแกรมเอ็กเซลเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ฮาร์ โมนิ
คและออกแบบ passive filter การใช้ วงจรสมมูลแบบอนุกรมร่วมกับการคานวณคอมเพล็กซ์นมั เบอร์ ในโปรแกรมเอ็กเซลสามารถ
คานวนค่าอิมพิแดนซ์ต่างๆได้ งา่ ย

โปรแกรมเอ็กเซล สามารถทาการคานวณบวกลบคูณหารคอมเพล็กซ์ นมั เบอร์ ได้โดยตรง

ถ้ าเราไม่ใช่การคานวนคอมเพล็กซ์นมั เบอร์ในโปรแกรมเอ็กเซล
ก็จะต้ องใช้ รูปแบบทังอนุ
้ กรมและขนานในการคานวนค่า
อิมพีแดนต่างๆ โดยอาจมีการแปลงกลับไปกลับมาระหว่าง
รูปแบบอนุกรมและขนาน เพื่อให้ ง่ายต่อการคานวณตาม
ลักษณะการต่อวงจรของอุปกรณ์ต่างๆ รูปด้ านขวาแสดง
ตัวอย่างของวงจรสมมูลของอุปกรณ์แบบอนุกรมและแบบ
ขนาน

Y คือค่า admittance , G คือค่า conductance , B คือค่า susceptance → Y = G + jB

Z คือค่า impedance , R คือค่า resistance , X คือค่า reactance → Z = R + jX

ค่า admittance และ impedance ของโหลดต่างๆสามารถแปลงกลับไปกลับมาได้ ตามสูตรข้ างล่าง


1 R X B B
Y=Z → G = R2 +X2 → B = − R2 +X2 → |Y| = √G 2 + B 2 → tan θ = G → θ = tan−1 G

1 G B X X
Z=Y → R = G2 +B2 → X = − G2 +B2 → |Z| = √R2 + X 2 → tan θ = R → θ = tan−1 R

ตารางข้ างล่างแสดงวิธีการคานวณค่า impedance and admittance ของ R L C และการต่อ R L C แบบอนุกรมและแบบ


ขนาน

Page 32 of 74
Workshop :

ลองคานวณหาวงจรสมมูลอย่างง่ายของ ระบบไฟฟ้า หม้ อแปลง และโหลด จาก SLD ในรูปข้ างล่างโดยใช้ วงจรสมมูลแบบขนานและอนุกรม

Page 33 of 74
Part 4
Simplified circuit for harmonic analysis
เนื ้อหาบางส่วนอ้ างอิงจากเอกสารประกอบการบรรยายของอาจารย์ไชยะ แช่มช้ อย เรื่ อง Power System Harmonic - Problems
and Solutions

Standard SLD และ วงจรสมมูล


ระบบไฟฟ้าพื ้นฐานที่ใช้ ในการวิเคราะห์ฮาร์ โมนิคจะประกอบด้ วย ระบบไฟฟ้า
upstream หม้ อแปลง ระบบไฟฟ้าของเรา โหลดทัว่ ไป โหลดฮาร์ โมนิค กับ
capacitor bank ในกรณีทเี่ ราเจอระบบที่ซบ ั ซ้ อน เราจาเป็ นต้ องหยุบรวมให้ เป็ น
ระบบอย่างง่ายตามรูปด้ านซ้ ายให้ ได้
System network model ทีเ่ ราใช้ ในการวิเคราะห์นี ้เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไป
สาหรับระบบที่เป็ นผู้ใช้ ไฟโรงงานอุตสาหกรรมหรื ออาคารทัว่ ไปที่ระดับแรงดัน LV
และ MV แต่ไม่ควรนาไปใช้ ในระบบ transmission และ distribution

ขันตอนแรกคื
้ อการสร้ างเป็ นวงจรสมบูรณ์อย่างง่าย ที่ประกอบด้ วยแหล่งจ่ายไฟฟ้า
อิมพิแดนซ์ของระบบ อิมพีแดนของหม้ อแปลง อิมพีแดนของโหลด และอิมพิแดนซ์
ของ capacitor bank
สามารถสร้ างเป็ นวงจรสมมูล (equivalent circuit) อย่างง่ายได้ สามแบบ
1) วงจรสมมูลอย่างง่ายทีค ่ วามถี่ 50 Hz
ใช้ สาหรับการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้าทัว่ ไปที่ไม่มีฮาร์ โมนิคโดยมีแหล่งจ่าย
แรงดันที่ความถี่ 50 Hz และอิมพิแดนซ์ของโหลดต่างๆ ที่ความถี่ 50 Hz
2) วงจรสมมูลอย่างง่ายสาหรับวิเคราะห์ผลกระทบจากแรงดันฮาร์ โมนิคจาก
ระบบ
Uh แทนแรงดันฮาร์ โมนิคจากระบบไฟฟ้าหลายๆความถี่ ถ้ าไม่มีแรงดันฮาร์ โม
นิคจากระบบก็ไม่จาเป็ นต้ องใช้ วงจรสมมูลนี ้
3) วงจรสมมูลอย่างง่ายสาหรับวิเคราะห์ผลกระทบจากกระแสฮาร์ โมนิคจาก
โหลดฮาร์ โมนิค
Ih แทนกระแสฮาร์ โมนิคจากโหลดหลายๆความถี่

ผลการวิเคราะห์ที่ได้ จากวงจรสมมูลทังสาม
้ นามารวมกันแบบ RMS ทังกระแสและ

แรงดัน (ตามทฤษฎี super position) ก็จะได้ ผลลัพธ์ที่สมบูรณ์

Page 34 of 74
ในตัวอย่างนี ้จะใช้ การหาค่าอิมพิแดนซ์โดยการหากระแสเป็ นหลัก สามารถทดสอบเปรี ยบเทียบผลกับวิธีการใน Part 3 ได้

การหา impedance ของ System – SSC = 500 MVA, X/R = 10


หา ZS = R S + jhXs = Z cos θ + j hZ sin θ → h คือ harmonic ที่ 2, 3,4, … → ความถี่ 2x50, 3x50, 4x50, … Hz
V
จากกฎของโอม R = I
; เราจะหาค่า I จากค่ากาลังไฟฟ้าช็อตเซอร์กิตของระบบ แล้ วจึงหาค่าอิมพิแดนซ์รวมต่อเฟส
MVASC P 500∙106
ISC = → P = √3 IV → I = ISC = = 721687 A
√3∙V √3 V √3∙400
V V 400

Zs = √3
IS
; per phase Zs = √3
IS
= √3
721687
= 3.2 ∙ 10−4 Ω per phase
หาค่า X และ R จาก X/R ratio ของระบบ ในกรณีที่ไม่มคี ่า X/R ให้ ถือว่ามีแต่คา่ X อย่างเดียว
X X
R
= 10 = tan θ → θ = tan−1 R θ = tan−1 10 = 84.3°
R s = Z cos θ R s = 3.2 ∙ 10−4 cos 84.3° = 0.3 ∙ 10−4 Ω per phase
X s = Z sin θ X s = 3.2 ∙ 10−4 sin 84.3° = 3.2 ∙ 10−4 Ω per phase
จะได้ ค่าอิมพิแดนซ์ของระบบ → ZS = 0.00003 + jh ∙ 0.00032 per phase

การหา impedance ของ Transformer – ST = 1000 kVA, 416 V, z = 6%, X/R = 8


หา ZT = R T + jhXT = Z cos θ + j hZ sin θ
V
จากกฎของโอม R = I
; เราจะหาค่า I จากค่ากาลังไฟฟ้าของหม้ อแปลง แล้ วจึงหาค่าอิมพิแดนซ์รวมต่อเฟส
kVAT P 1000∙103
IT = → P = √3 IV → I = IT = = 1388 A
√3∙V √3 V √3∙416
V V 416
√3 √3 √3
ZT = z% ∙ ; per phase ZT = 0.06 ∙ = 0.06 ∙ = 0.01 Ω per phase
IT IT 1388
หาค่า X และ R จาก X/R ratio ของหม้ อแปลง ในกรณีที่ไม่มีคา่ X/R ให้ ถือว่ามีแต่ค่า X อย่างเดียว
X X
R
= 8 = tan θ → θ = tan−1 R θ = tan−1 8 = 82.9°
R T = Z cos θ R T = 0.01 ∙ cos 82.9° = 1.2 ∙ 10−3 Ω per phase
X T = Z sin θ X T = 0.01 ∙ sin 82.9° = 9.9 ∙ 10−3 Ω per phase
จะได้ ค่าอิมพิแดนซ์ของหม้ อแปลง → ZT = 0.0012 + jh ∙ 0.001 per phase

การหา impedance ของ Loads – SL = 800 kVA, 400 V, 0.8 PF


หา ZL = R L + jhXL = Z cos θ + j hZ sin θ
V
จากกฎของโอม R = I
; เราจะหาค่า I จากค่ากาลังไฟฟ้าของโหลด แล้ วจึงหาค่าอิมพิแดนซ์รวมต่อเฟส
kVAL P 800∙103
IL = → P = √3 IV → I = IL = = 1155 A
√3∙V √3 V √3∙400
V V 400
√3 √3 √3
ZL = IL
; per phase ZL = IL
= 1155
= 0.2 Ω per phase
หาค่า X และ R จากค่า PF ของโหลด
PF = 0.8 = cos θ → θ = cos−1 PF θ = cos−1 0.8 = 36.9°
R L = Z cos θ R L = 0.2 ∙ cos 36.9° = 0.16 Ω per phase
X L = Z sin θ X L = 0.2 ∙ sin 36.9° = 0.12 Ω per phase
จะได้ ค่าอิมพิแดนซ์ของโหลด → ZL = 0.16 + jh ∙ 0.12 per phase

การหา impedance ของ Loads harmonic

Page 35 of 74
ทาเช่นเดียวกับโหลด โดยต้ องรู้คา่ S, V, PF ที่ 50 Hz
หา ZL = R L + jhXL = Z cos θ + j hZ sin θ

การหา impedance ของ Capacitor


1
หา ZC = R C − j1/[h ∙ XC ] = −j h∙2πfC Ω per phase

การหา parallel resonance frequency ของระบบบ


S
hr = √ QSC
C

500000
ถ้ า QC = 247 kvar to get 0.95 PF → hr = √ 274
= 43 → จะเกิดเรโซแนนซ์กบั ฮาร์ โมนิคที4่ 3

วงจรสมมูลอย่างง่ายสุด
ถ้ าในกรณีไม่ร้ ูค่า X/R ratio ของระบบและหม้ อแปลง สามารถรวมค่าอิมพิแดนซ์
ของซิสเต็มส์กบั หม้ อแปลงได้ โดยคิดเพียงค่า short circuit power ของหม้ อ
แปลงเท่านัน้
ST 1000∙103
SSC @ Transformer = S = 1000∙103
= 16.1 MVA
z%+ T 0.06+
SSC 500∙106

แล้ วหา IS = MVA


√3∙V
T
=
16.1 MVAT
√3∙416
= 22345 A
V

แล้ วหา Zs = √3
IS
; per phase
→ สามารถประมาณ Z𝑆 = j𝑋 ที่มีเฉพาะส่วน reactance เพื่อให้ งา่ ยแก่การ
คานวณ

การหากระแสฮาร์โมนิคจากโหลดฮาร์โมนิคไหลในวงจร
การหากระแสฮาร์มอนิกไหลในระบบไฟฟ้าหรื อโหลดหรื อคาแพซิเตอร์ ใช้ สตู รวงจรแบ่งกระแสตามรูปข้ างล่าง

Page 36 of 74
ในกรณีการคานวณที่ความถี่ฮาร์โมนิคจากโหลดที่ให้ กาเนิดกระแสฮาร์ โมนิคเท่านัน้ วงจรนี ้คือวงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน ถ้ ามีฮาร์ โมนิคตรง
กับความถี่เรโซแนนซ์ของวงจร จะเกิดการขยายกระแสฮาร์ โมนิคขึ ้น ทาให้ มีกระแสฮาร์ โมนิคปริมาณมากไหลในหม้ อแปลงและระบบ และเกิด
แรงดันฮาร์ โมนิคเพิม่ ขึ ้นมาก

การหากระแสฮาร์โมนิคจากระบบไหลในวงจร
ในกรณีนี ้จะพิจารณาเฉพาะแหล่งจ่ายแรงดันฮาร์ โมนิคที่มาจากระบบไฟฟ้า
(upstream network)โดยไม่พจิ ารณาโหลดตัวที่เป็ นแหล่งจ่ายกระแสฮาร์ โมนิค
โดยมีวงจรสมมูลดังรูปด้ านซ้ าย
วงจรนี ้จะมีวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมอยู่ด้วย ถ้ ามีฮาร์ โมนิคตรงกับความถี่เรโซแน
นซ์ของวงจร จะมีกระแสฮาร์ โมนิคปริมาณมากไหลใน L C หม้ อแปลงและระบบ
และเกิดแรงดันฮาร์ โมนิคเพิม่ ขึ ้นมากจนเป็ นการขยายแรงดัน

ในทางปฏิบตั แิ ล้ วเป็ นเรื่ องค่อนข้ างยากทีจ่ ะสามารถตรวจวัดค่าแรงดันฮาร์ โมนิคของระบบไฟฟ้า(upstream)ที่จะเข้ ามารบกวนระบบของเรา


ได้ เพราะต้ องวัดทีจ่ ดุ PCC ในขณะที่โหลดของเราไม่ทางานเป็ นเวลานาน

ถ้ าเราสามารถรู้แรงดันฮาร์ โมนิคจากระบบไฟฟ้าได้ แล้ ว สามารถคานวณแรงดัน


ฮาร์ โมนิคที่ bus ได้ โดยใช้ สมการวงจรแบ่งแรงดัน จากนันก็
้ สามารถคานวณหา
กระแสฮาร์ โมนิคที่ไหลในโหลดต่างๆได้ ง่ายเพราะโหลดทุกตัวมีแรงดันเท่ากัน

ผลการคานวณจากตัวอย่างข้ างบนจะพบว่ามีกระแสฮาโมนิคปริมาณมากไหลเข้ า
ฟิ ลเตอร์ ที่ตรงกับฮาร์ โมนิคนันถึ
้ งแม้ นแรงดันฮาร์ โมนิคจากระบบจะมีค่าเพียง
เล็กน้ อย

ในทางปฏิบตั แิ ล้ วยังไม่ค่อยเห็นตัวอย่างการคานวณผลกระทบของแรงดันฮาร์ โมนิคจากระบบไฟฟ้าด้ วยโมเดลนี ้ ทังนี


้ ้อาจเป็ นเพราะไม่
สามารถตรวจวัดค่าแรงดันฮาร์ โมนิคของระบบไฟฟ้าได้ หรื อโมเดลที่ใช้ ในการคานวณนี ้อาจไม่แม่นยาพอ อย่างไรก็ตามถ้ าแรงดันฮาร์ โมนิค
จากระบบไฟฟ้ามีคา่ มากจาเป็ นต้ องนามาพิจารณาด้ วย

เมื่อเราได้ ผลการคานวณจากแหล่งกาเหนิดฮาร์ โมนิคทังสองแล้


้ ว(จาก Ih ของ loads และ Uh ของ system) เราสามารถรวมกระแสหรื อ
แรงดันโดยการบวกกันธรรมดาสาหรับฮาร์ โมนิคเดียวกัน แล้ วหาผลรวมของทุกฮาร์ โมนิคโดยวิธีหาค่า rms ตามปกติ

การคานวณกระแสและแรงดันจากฮาร์ โมนิคหลายๆค่า สามารถใช้ โปรแกรมเอ็กเซลเขียนสูตรและใช้ ความถี่(f)หรื อค่าฮาร์ โมนิค(h)เป็ นตัวแปร


เพื่อหากระแสและแรงดันที่ฮาร์ โมนิคต่างๆ แล้ วรวมผลลัพธ์แบบ RMS → VRMS และ IRMS

Page 37 of 74
Note:

ถ้ าไม่ใช้ ฟังชัน่ การคานวณคอมเพล็กซ์นมั เบอร์ในโปรแกรมเอ็กเซล การคานวณจาเป็ นต้ องมีการแปลงอิมพิแดนซ์เป็ นแอดมิตแตนซ์กลับไป


กลับมาอยู่บ้างเพื่อสามารถช่วยให้ การคานวณง่ายขึ ้น การหาค่าแอดมิตแตนซ์และการแปลงเป็ นค่าอิมพิแดนซ์กลับไปกลับมามีวิธีการคานวณ
ดังใน Part 3

Z ทีต
่ ่ออนุกรมกัน หา Z รวมโดยการบวก Z แต่ละตัวเข้ าด้ วยกัน → 𝑍𝑇 = 𝑍1 + 𝑍2 + 𝑍3 +. ..

Y ที่ต่อขนานกัน หา Y รวมโดยการบวก Y แต่ละตัวเข้ าด้ วยกัน → 𝑌𝑇 = 𝑌1 + 𝑌2 + 𝑌3 +. ..

1
𝑍𝑇 = : 𝑉 =𝐼∙𝑍 : 𝐼 =𝑉∙𝑌
𝑌𝑇

วงจรสมมูลของทัง้ ระบบมีได้สองรูปแบบ

Workshop:
จาก SLD ของระบบไฟฟ้าในรูปทางซ้ ายจะได้
ZS = 0.00003 + jh ∙ 0.00032 Ω per phase
ZT = 0.0012 + jh ∙ 0.001 Ω per phase
ZL = 0.16 + jh ∙ 0.12 Ω per phase
1
ZC = −j h ∙ 0.32 Ω per phase
f
โดย h = 50 , ที่ 50 Hz → h = 1

1) คานวณหากระแส 50 Hz (I1) ที่ไหลในหม้ อแปลง C และโหลด


2) ใช้ โปรแกรมเอ็กเซลเขียนสูตรค่าอิมพีแดนซ์เป็ นคอมเพล็กซ์นมั เบอร์ ที่ขึ ้นกับค่า
ฮาร์ โมนิคตั ้งแต่ลาดับที่หนึ่งถึงสิบสาม
3) จากวงจรสมมูลในรูปด้ านซ้ าย คานวณหา
a. ZS + ZT = ?
b. ZS + ZT + ZL + ZC = ? คือ Z รวมของทังวงจร

ในกรณีที่ระบบมีแหล่งจ่ายกระแสฮาร์ มอนิก

Page 38 of 74
4) ถ้ าโหลดจ่ายกระแสฮาร์ มอนิกส์ I5 = 45 A คานวณหากระแส I5 ทีไ่ หลในหม้ อ
แปลง C และโหลด
5) ถ้ าโหลดจ่ายกระแสฮาร์ มอนิกส์ I7 = 32 A คานวณหากระแส I7 ทีไ่ หลในหม้ อ
แปลง C และโหลด
6) ถ้ าโหลดจ่ายกระแสฮาร์ มอนิกส์ I11 = 20 A คานวณหากระแส I11 ที่ไหลใน
หม้ อแปลง C และโหลด
7) คานวณหากระแสฮาร์ มอนิกรวม (total Irms) จากข้ อ 3, 4 และ 5 ไหลใน
หม้ อแปลง C และโหลด
8) คานวณหาค่า THDI ที่หม้ อแปลง
9) คานวณหาแรงดันฮาร์ มอนิก U5 ที่ตกคร่ อม C
10) คานวณหาแรงดันฮาร์ มอนิก U7 ที่ตกคร่ อม C
11) คานวณหาแรงดันฮาร์ มอนิก U11 ที่ตกคร่ อม C
12) คานวณหาแรงดันฮาร์ มอนิกรวม (total Urms) ที่ bus 400 V
13) คานวณหาค่า THDU ที่ bus 400 V

จากระบบไฟฟ้าในรูปทางซ้ าย

ในกรณีที่ระบบมีแหล่งจ่ายแรงดันกระแสฮาร์ มอนิก

14) ถ้ าระบบมีแรงดันฮาร์ โมนิค U5 = 5% (ไม่คิดแหล่งจ่ายกระแสฮาร์โมนิคส์)

- ทาการแปลงแหล่งจ่ายแรงดันให้ เป็ นแหล่งจ่ายกระแส

- คานวณหากระแสฮาร์ มอนิก I5 ที่ไหลในหม้ อแปลง C และโหลด

- คานวณหาแรงดัน U5 ที่ bus 400 V

ในกรณีที่ระบบมีทงแหล่
ั ้ งจ่ายแรงดันและกระแสฮาร์ มอนิกทังหมดข้
้ างต้ น

15) คานวณหากระแสฮาร์ มอนิก I5, I7, I11 ที่ไหลในหม้ อแปลง C และโหลด


16) คานวณหากระแสฮาร์ มอนิกรวม (total Irms) ที่ไหลในหม้ อแปลง C และ
โหลด
17) คานวณหาค่า THDI ที่หม้ อแปลง
4) คานวณหาแรงดันฮาร์ มอนิก U5 ที่ bus 400 V
5) คานวณหาแรงดันฮาร์ มอนิกรวม (total Urms) ที่ bus 400 V
6) คานวณหาค่า THDU ที่ bus 400 V

Page 39 of 74
วงจรสมมูลของทัง้ ระบบ

สูตรวงจรแบ่งกระแส

สูตรวงจรแบ่งแรงดัน

Page 40 of 74
Part 5
Workshop ทดลองออกแบบ passive filter – single tuned filter อย่างง่าย
เนื ้อหาบางส่วนอ้ างอิงจากเอกสารประกอบการบรรยายของอาจารย์ไชยะ แช่มช้ อย เรื่ อง Power System Harmonic - Problems
and Solutions

Passive filter ทีเ่ ราจะทดลองออกแบบจะเป็ นชนิด Tuned filter ซึง่ เป็ น passive filter ที่นิยมติดตั ้งมากที่สด
ุ รองจาก Detuned filter

เขียน SLD และวงจรสมมูลอย่างง่าย


คานวนค่าอิมพิแดนซ์ของ system หม้ อแปลง โหลดโดยรวม
และ capacitor แล้ วเขียนสูตรในโปรแกรมเอ็กเซลเพื่อการ
คานวณแบบคอมเพล็กซ์นมั เบอร์

หาข้อมูลฮาร์โมนิคและทาการคานวณฮาร์โมนิคขั้นต้น
โหลดสร้ างกระแสฮาร์มอนิกดังตารางด้ านขวา ขนาดของ h Ih : % of I1
กระแสกาหนดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ของกระแส fundamental ของ 5 17.8
7 11.3
โหลด
11 8.5
นาค่ากระแสนี ้ไปใส่ในสูตรในโปรแกรมเอ็กเซล แล้ วคานวณหา 13 7

ค่ากระแสฮาร์ โมนิคที่ไหลใน capacitor ในหม้ อแปลงเข้ าระบบ 17 5.1


19 4.2
และในโหลด แล้ วคานวณหาค่าแรงดันฮาร์ โมนิคที่ตกคร่อม
23 3.3
capacitor และที่ bus 380 V และคานวณหาความถี่เรโซแน 25 2.7
นซ์ของระบบ โดยใช้ ขนาดของ capacitor ทีใ่ ห้ taget PF = 29 2.1
0.95 31 1.5

คานวณข้ อแตกต่างระหว่างการ on และ off capacitor

Page 41 of 74
หาขนาดของ capacitor bank ที่ตอ้ งการติดตั้ง
คานวณหาขนาดของ capacitor bank ใหญ่ที่สดุ ที่สามารถติดตั ้งได้ โดยไม่ทาให้ ค่า PF เกิน 1.0 ในกรณีนี ้จะกาหนดค่า target PF = 0.95
จะได้ ขนาด capacitor bank ทีต่ ้ องการติดตั ้ง = 518.5 kvar ทีแ่ รงดัน 380 V

จานวนสเต็ปของ capacitor bank ขึ ้นกับจานวนฟิ ลเตอร์ ที่ต้องการติดตั ้งประกอบกับรูปแบบทางานของโหลด โดยทัว่ ไปเราจะกาหนดให้


หนึ่งสเต็ปคือหนึง่ ฟิ ลเตอร์ เราไม่แนะนาให้ แบ่งฟิ ลเตอร์เป็ นสเต็ปย่อย เราอาจกาหนดจานวนฟิ ลเตอร์ ไว้ ในใจสองถึงสามสเต็ปก็ได้ หรื ออาจจะ
เริ่มต้ นจากฟิ ลเตอร์ เดียวก็ได้ แล้ วค่อยเพิม่ จานวนฟิ ลเตอร์ อกี ภายหลังขึ ้นอยู่กบั ผลลัพธ์ในการกรองฮาร์ โมนิคของฟิ ลเตอร์

ในตัวอย่างนี ้เราจะกาหนดให้ มีสามสเต็ปคือ ฟิ ลเตอร์ ที่ 5 ที่ 7 และที่ 11 เท่ากับ 207.4, 155.5 และ 155.5 kvar ตามลาดับ

การกาหนด tuning point ของ passive filter


ในตัวอย่างนี ้เราจะกาหนดให้ tuning point ของฟิ ลเตอร์ ที่ 5 ที่ 7 และที่ 11 เท่ากับ 4.8, 6.8 และ 10.8 ตามลาดับ โดยทัว่ ไป tunning
point จะอยู่ตากว่าฮาร์ โมนิค 5 – 10% เช่น 4.5 – 4.75 สาหรับฟิ ลเตอร์ ที่ 5

1
จะได้ ค่า p ของฟิ ลเตอร์ ที่ 5 ที่ 7 และที่ 11 เท่ากับ 4.34%, 2.16% และ 0.86% ตามลาดับ →จากสูตร p = n2

คานวนค่าอิมพิแดนซ์ของ capacitor และ reactor และคานวณผลลัพธ์ในการทางานขั้นต้น


ที่ 5th filter
207.4/3 380/√3
→ Q C = 1−0.0434 = 72.3 kvar → 𝑉C = 1−0.0434 = 229.3 V → C = 4377 uF → ZC = -j0.727 Ohms per phase

→ ZL = -0.0434∙ZC = j0.032 Ohms per phase → L = 0.101 mH

ที่ 7th filter


155.5/3 380/√3
→ QC = = 53.0 kvar → 𝑉C = = 224.2 V → C = 3356 uF → ZC = -j0.948 Ohms per phase
1−0.0216 1−0.0216

→ ZL = -0.0216∙ZC = j0.021 Ohms per phase → L = 0.065 mH

ที่ 11th filter


155.5/3 380/√3
→ Q C = 1−0.0086 = 52.3 kvar → 𝑉C = 1−0.0086 = 221.3 V → C = 3399 uF → ZC = -j0.936 Ohms per phase

→ ZL = -0.0086∙ZC = j0.008 Ohms per phase → L = 0.026 mH

Page 42 of 74
นาค่าที่ได้ ไปใส่ในสูตรในโปรแกรมเอ็กเซลโดยให้ ขึ ้นกับตัวแปร h แล้ วคานวณหาค่ากระแสฮาร์ โมนิคที่ไหลใน filter ในหม้ อแปลงเข้ าระบบ
และในโหลด แล้ วคานวณหาค่าแรงดันฮาร์ โมนิคที่ตกคร่อม capacitor และ bus 380 V

สามารถคานวณผลลัพธ์ในสามรูปแบบคือ1) ไม่มี capacitor และฟิ ลเตอร์ ติดตั ้งได้ ระบบ 2) มีแต่ capacitor และ 3) มีแต่ฟิลเตอร์

ตรวจสอบผลลัพธ์ในการกรองฮาร์ โมนิคเทียบกับข้ อกาหนดหรื อความต้ องการ → สามารถปรับจูนนิ่งพ้ อยท์ และขนาด Q ของฟิ ลเตอร์ แต่ละ
ตัวเพื่อให้ ได้ ผลลัพธ์ตามต้ องการ ในบางกรณีต้องมีการเปลี่ยนจานวนฟิ ลเตอร์ เพิม่ หรื อลดลง → อย่างไรก็ตามผลลัพธ์ที่ได้ นี ้ยังไม่รวม
ผลกระทบจากฮาร์ โมนิคของระบบไฟฟ้า (system’s Uh)

กาหนด rating ของ capacitor และตรวจสอบกับผู้ผลิตว่าสามารถผลิตได้ รึเปล่า โดยค่า rating capacitor นี ้ต้ องสามารถรองรับทังกระแส

และแรงดันฮาร์ โมนิคที่เกิดขึ ้นได้ ทงหมด
ั้ บวกกับค่า safety factor ในการออกแบบซึง่ ขึ ้นกับประสบการณ์ของผู้ออกแบบ

ทังนี
้ ้การเพิ่ม voltage rating ของ capacitor จะเป็ นการเพิ่มค่ากระแส rating ของ capacitor ให้ สามารถรับกระแสฮาร์ โมนิคได้ เพิ่มมาก
ขึ ้น ถ้ าผู้ผลิตไม่สามารถผลิต rating เรตติ ้งทีต่ ้ องการได้ กจ็ าเป็ นต้ องปรับเปลี่ยน design ฟิ ลเตอร์ ใหม่ทงจ
ั ้ านวนฟิ ลเตอร์ จูนนิ่งพ้ อยท์ และ
ขนาด kvar ของฟิ ลเตอร์ แต่ละตัว

ภาพด้ านล่างแสดงตัวอย่างการใช้ โปรแกรมเอ็กเซลในการคานวณ


h Z system Z loads Z system + Z 5th Z 7th Z 11th Z 5th + 7th Z 5th + 11th Z 7th + 11th Z all banks Z loads + all Z total of Ih Ih system Ih loads Ih 5th Ih 7th Ih 11th Ih all banks
Z loads banks system +
loads + all
banks
1 0.00169119 0.07808208 0.00198070 0.00409414 0.00275561 0.0011911080 0.00184319 0.00155595 0.00098668 0.00101044 0.11314999 0.00209410 0 0 0 0 0 0
169913954+ 97959184+0 831902349+ 89789303- 286526238- 0462415- 15619652- 075915921- 2317988327- 183583139- 344806+0.0 215364882+
0.00820482 .060889915 0.00760617 0.69621507 0.92860918 0.9286158355 0.39789722 0.39789967 0.46430658 0.27854571 3716971087 0.00780397
048509702j 6896606j 489638949j 5424541j 6166423j 45123j 0889213j 4757318j 4906596j 7275728j 33947j 36844615j

3 0.00169119169913954+0.0246144614552911j
0.0780820897959184+0.182669747068982j
0.0023164973548889+0.0219460049278396j
0.0040941489789303-0.14783514305748j
0.00275561286526238-0.254799632278496j
0.00119110800462415-0.288124664297466j
0.00201099086733276-0.0935608032772724j
0.00192508284439294-0.0977160009478729j
0.00103840183093101-0.135221199393724j
0.00121747073578968-0.0706306120621084j
0.0232304936893163-0.0995631638788251j
0.00510039366686045+0.0315265027282414j
0 0 0 0 0 0
5 0.00169119169913954+0.0410241024254851j
0.0780820897959184+0.304449578448303j
0.00237599615662139+0.0363190037690941j
0.0040941489789303+0.012382772666353j
0.00275561286526238-0.087195663634725j
0.00119110800462415-0.147178061517391j
0.00560393172385342+0.0140700400499791j
0.00488486542680717+0.0133649424776663j
0.00125138599544258-0.0547627315170847j
0.00684928066202892+0.0152577955209774j
0.00638289947575803+0.0145524690560953j
0.00354716931978869+0.0110630689623533j
169.0268880 46.1060286538596-12.7143027543196j
6.2369218245892-0.369765995464987j
150.562572792497+1.36145697867812j
-21.2070341241987+7.54630838323231
-12.6716011274168+4.17630
116.68393754088
7 0.00169119169913954+0.0574337433956791j
0.0780820897959184+0.426229409827624j
0.00239431814326993+0.0507355195890219j
0.0040941489789303+0.117148971726867j
0.00275561286526238+0.00809322140273899j
0.00119110800462415-0.0775949685183977j
0.00242574842537573+0.00761282161285043j
0.0257610000899951-0.226497778085396j
0.00344247222011004+0.00888738832012951j
0.00299045206395947+0.00832769458705537j
0.00290475319076897+0.00817269650190558j
0.00224659452713351+0.00723711398812068j
107.3035862 13.6328890611027-3.79588387986412j
1.8630368680759-0.224287285909695j
6.69263721313974-1.82389134594348j
95.0729592996559+2.58446163925304j
-9.95793622745444+3.25960
91.807660285341
11 0.00169119169913954+0.0902530253360671j
0.0780820897959184+0.669789072586266j
0.00240614992978712+0.0796145174022801j
0.0040941489789303+0.281311783486999j
0.00275561286526238+0.139504104890687j
0.00119110800462415+0.00318289129506641j
0.00168135980220235+0.0932578466237837j
0.00116503396851889+0.00315178397572651j
0.00113969654498002+0.00312041212291639j
0.0011152442434615+0.00309029583051607j
0.00110657342224608+0.00307693108054182j
0.00103632045146937+0.00298650404327606j
80.7150870 2.68731348856173-0.876446333133739j
0.369436304458355-0.0818173047593518j
0.861044639967286-0.284813701538497j
1.73911396767466-0.565247672196964
75.0581785748615+1.808325
77.658337182503
13 0.00169119169913954+0.106662666306261j
0.0780820897959184+0.791568903965586j
0.00240848077262139+0.0940636393675837j
0.0040941489789303+0.354668268913045j
0.00275561286526238+0.193831299214088j
0.00119110800462415+0.0323432969355441j
0.00166343089783561+0.1253345081092j
0.00102891547480427+0.0296417566203587j
0.000931125488662862+0.0277198944199413j
0.000822524978499004+0.0257112775928585j
0.000848542220261717+0.0249057516758803j
0.000618275205783561+0.0201921489047926j
66.4712481 12.5865169561892-0.18573801204158j
1.68434878017631+0.114228777371398j
3.78520712748466-0.072181034910713j
6.92617897517667-0.113560899577663
41.4889962584629+0.257251
52.200382361124

ตารางด้ านล่างเป็ นตัวอย่างผลลัพธ์ในการคานวณ


Uh @ bus
THDU % 1.0%
THDU Vrms 3.8
Ih Ih system Ih loads Ih 5th Ih 7th Ih 11th Ih all banks
THDI % 25.2% 6.0% 9.3% 1319.7% 1166.3% 1127.1% 653.3%
THDI - Arms 191.3 44.0 5.8 121.7 78.9 75.2 148.0

ในกรณีของ 5th ฟิ ลเตอร์ กระแสรี แอคทีฟของ capacitor (IC fundamental) ที่ไหลในฟิ ลเตอร์ มคี า่ เท่ากับ 207.4√
kvar
3∙380
= 315.1 A ถ้ าสมมติ
ว่าไม่มคี ่า losses ในฟิ ลเตอร์ เพือ่ ให้ งา่ ยต่อการคานวณ กระแสรวมฮาร์ โมนิคแล้ วมีคา่ เท่ากับ √315.12 + 121.72 = 337.8 A แต่กระแส
เรตติ ้งของ capacitor มีค่าเท่ากับ 72.3 kvar
229.3
= 315.3 A จึงจาเป็ นต้ องเพิ่มค่ากระแส rating ของ capacitor โดยการเพิ่มค่าเเรงดัน
rating

นอกจากนี ้ยังจาเป็ นต้ องเผือ่ ค่า safety ในการออกแบบอีกด้ วย

Page 43 of 74
ภาพด้ านล่างเป็ นกราฟแสดง impedance ของวงจรที่ความถี่ตา่ งๆ

ภาพด้ านล่างเป็ นกราฟแสดงผลลัพธ์ของกระแสฮาร์ โมนิคที่ได้

Page 44 of 74
ภาพด้ านล่างเป็ นกราฟแสดงผลลัพธ์ของแรงดันฮาร์ โมนิคที่ได้

ในการออกแบบเพื่อใช้ งานจริงจะมีตวั แปรที่มีผลต่อการทางานของฟิ ลเตอร์ อยูม่ ากเช่น ค่า tolerance ของอุปกรณ์ ค่าฮาร์ โมนิคทีเ่ กิดขึ ้นจริง
ทังจากโหลดและจากระบบ
้ อุณภูมิและสิ่งแวดล้ อม ระบบไฟฟ้าที่เปลี่ยนไป ลักษณะการทางานและรูปแบบการทางานของโหลด การเสื่อมค่า
ของ capacitor ตามการใช้ งาน เป็ นต้ น จึงจาเป็ นต้ องใช้ โปรแกรมเอ็กเซลชื่อ X-Filter ช่วยในการออกแบบโดยคานวนผลกระทบจากตัวแปร
และพารามีเตอร์ ตา่ งๆของระบบไฟฟ้าและสิ่งแวดล้ อมที่ใช้ ในการออกแบบ

Q factor:
XL 1 L
ในวงจร RLC แบบ series สูตร Q=n∙ R
= R ∙ √C

n = tunning point ของฟิ ลเตอร์

Q factor มีผลกระทบต่อฟิ ลเตอร์ ดงั รูปทางขวาที่เป็ น


impedance scan ของฟิ ลเตอร์ 5th และ 7th

R จะเป็ นตัว damp ฟิ ลเตอร์

ถ้ า R มาก ฟิ ลเตอร์ จะถูก damp มาก

ใน Single tuned filter ค่า Q factor จะถูกกาหนดมาจากค่า losses หรื อ resistance ของ reactor และ capacitor อยูแ่ ล้ ว โดยทัว่ ไปไม่
จาเป็ นต้ องติดตั ้ง resistor เพิ่มในวงจร filter เพื่อปรับค่า Q factor ในกรณีที่คา่ Q factor สูงเกินไปจนทาให้ ฟิลเตอร์มีความเสี่ยงต่อการโอ
เวอร์ โหลดจากฮาร์ โมนิคได้ มาก ก็สามารถติดตั ้ง resistor เพิม่ ไนวงจร filter ได้ เพื่อลดค่า Q factor หรื อ damp filter ไม่ให้ มี sensitivity
to harmonic มากเกินไป แต่จะทาให้ ฟิลเตอร์ มีคา่ losses สูงขึ ้นด้ วย

Page 45 of 74
Note ตัวอย่างของฮาร์ โมนิคฟิ ลเตอร์ ที่นิยมใช้

Single tuned filter:

นิยมใช้ มากที่สดุ เพราะมีอปุ กรณ์ประกอบน้ อย cost ตา่ และมีผลกระทบจากความผันแปรของอุปกรณ์


ไม่มากนัก โดยทัว่ ไปมีค่า Q ประมาณ 30 ถึง 60

เน้ นการกรองฮาร์ โมนิคหนึ่งอันดับต่อหนึ่งฟิ ลเตอร์ ถ้ าต้ องการกรองฮาร์ โมนิคมากกว่าหนึง่ อันดับก็จะ


ต่อฟิ ลเตอร์ เพิม่

High pass filter หรื อ Damped single tuned filter:

คือ Single tuned filter ทีม่ ีการต่อ damping resistor เพิม่ ขนานกับ L ทาให้ ฟิลเตอร์ มีคา่
impedance ต่ากว่า Single tuned filter ทีฮ่ าร์ โมนิคอันดับสูงๆ และมีค่า Q ต่ามาก (0.5 ถึง 2.0)
จึงสามารถกรองฮาร์ โมนิคได้ หลายอันดับ มีความไวจากความฝันแปรของอุปกรณ์ตา่ แต่กม็ ีค่า losses
ค่อนข้ างมากโดยเฉพาะบริเวณใกล้ กบั tunning point

เน้ นการกรองฮาร์ โมนิคอันดับสูงๆต่อหนึ่งฟิ ลเตอร์ สามารถใช้ งานร่วมกับ single tuned filter ทีฮ่ าร์
โมนิคอันดับต่าเพื่อเพิม่ ความสามารถในการกรองฮาร์ โมนิคอันดับต่าๆ โดยไม่ทาให้ มคี ่า losses สูง
เกินไปใกล้ fundamental

C type filter:

คือ High pass filter ที่มกี ารต่อ C2 เพิ่ม โดย L และ C2 เป็ น Single tuned filter ย่อยที่ความถี่
fundamental จึงทาให้ กระแส fundamental ไม่ไหลผ่าน R แต่ทฮี่ าร์ โมนิคอันดับสูงๆ C type filter
จะทาหน้ าทีเ่ หมือนเป็ น High pass filer หรื อ Damped single tuned filter จากวงจร C1 C2 และ
L ทีอ่ ีกหนึ่ง tunniing point โดยมีคา่ losses ตา่ มากที่ fundamental

มีการใช้ งานคล้ าย High pass filter หรื อ Damped single tuned filter โดยจะแก้ ปัญหาเรื่ องค่า
losses ที่ fundamental และฮาร์ โมนิคตา่ ๆได้ แต่กม
็ ีอปุ กรณ์เพิม่ มากขึ ้น และมักใช้ แทน High pass
filter ในกรณีที่ n < 5

Double tuned filter หรื อ Band pass filter:

มีการทางานคล้ ายกับกับ Single tuned filter สองตัว

Page 46 of 74
มีข้อดีในด้ านของขนาดและพื ้นทีใ่ นการติดตั ้ง สามารถกรองฮาร์ โมนิคได้ สองอันดับด้ วยฟิ ลเตอร์ เดียว
มีที่ใช้ ในกรณีทกี่ ารติดตั ้ง Single tuned filter สองตัวอาจทาได้ ยากโดยมีข้อจากัดในเรื่ องของพื ้นที่
และขนาดของ kvar ของฟิ ลเตอร์ มีไม่มากพอทาให้ cost สูงเกินไป และมักใช้ ใน HVDC filter
system

รูปภาพเปรี ยบเทียบ impedance scan ของฟิ ลเตอร์ แต่ละแบบ

Note passive filter – single tuned filter มีประโยชน์มากมายแต่กม


็ ีข้อจากัดด้ วยเช่นกันดังนี ้

▪ การออกแบบใช้ ข้อมูลที่สภาวะ full load หรื อ worst case เท่านัน้ จึงไม่ร้ ูผลลัพธ์ในกรณีที่โหลดมีค่าน้ อยกว่าที่ full load
▪ Single tuned filter ก็คือ capacitor bank ที่มีการติดตั ้ง reactor เพิม ่ เพื่อให้ สามารถกรองฮาร์ โมนิคได้ ด้วย แต่การทางานยังคงเป็ น
capacitor bank ที่ขึ ้นอยูก่ บ
ั ค่า PF เท่านันไม่
้ ได้ ขึ ้นกับปริมาณฮาร์ โมนิคในระบบ ตัวอย่างเช่น ฟิ ลเตอร์ ไม่ทางานทังที
้ ่มีปริมาณฮาร์ โม
นิคมากเพราะค่ามีคา่ PF ของระบบสูงอยู่
▪ Single tuned filter คือ capacitor bank ที่มีสเต็ปใหญ่ไม่สามารถทาเป็ นสเต็ปย่อยๆได้ จึงไม่สามารถตามการเปลี่ยนแปลงของโหลด
ได้ ดีนกั มีแรงดันกระเพื่อม(ΔV=Q/Ssc)ตอน on/off สเต็ปสูง มีโอกาสที่ PF จะสูงหรื อตา่ เกินไปมากขึ ้น
▪ ฟิ ลเตอร์ ตวั แรกต้ องตรงกับฮาร์ โมนิคต่าสุดทีต่ ้ องการกรองออก (relevant / signeficant harmonic) เช่นถ้ าฮาร์ โมนิคต่าสุดคือ 5th จะ
ไม่สามารถติดตั ้งฟิ ลเตอร์ 7th เป็ นฟิ ลเตอร์ แรกได้ เพราะจุด parallel resonance ของฟิ ลเตอร์ 7th อาจตรงกับฮาร์ โมนิค 5th ได้
▪ ฟิ ลเตอร์ ตวั แรกเช่น 5th อาจมีจดุ parallel resonance ตรงกับฮาร์ โมนิค 3rd ได้ จึงจาเป็ นต้ องปรับค่าพารามีเตอร์ ของฟิ ลเตอร์ เพื่อให้
จุด parallel resonance เลีย่ งจากฮาร์ โมนิค 3rd

Page 47 of 74
▪ ในกรณีที่มีการติดตั ้งฟิ ลเตอร์ หลายตัวเช่น 5th 7th และ 11th จะต้ องทาการ on ฟิ ลเตอร์ จากน้ อยไปหามากเสมอ 5th → 7th → 11th
และต้ องทาการ off ฟิ ลเตอร์ จากมากไปหาน้ อยเสมอ 5th ← 7th ← 11th (linear mode) และไม่สามารถข้ ามฟิ ลเตอร์ ได้ ทังนี ้ ้เพือ่
ป้องกันไม่ให้ จดุ parallel resonance ตรงกับค่าฮาร์ โมนิคในระบบ
▪ ถ้ าจาเป็ นก็สามารถติดตั ้งวงจรเพือ่ ป้องกันการทางานของฟิ ลเตอร์ ทกุ ตัวในกรณีที่ฟิลเตอร์ หนึง่ ไม่สามารถทางานหรื อหยุดทางานเพือ่
ป้องกันปั ญหา parallel resonance กับระบบ
▪ ฟิ ลเตอร์ ไม่สามารถควบคุมปริมาณกระแสฮาร์ โมนิคที่ไหลผ่านตัวเองได้ ถ้ าระบบมีฮาร์ โมนิคเพิ่ฒมากขึ ้นก็จะมีกระแสฮาร์ โมนิคไหลใน
ฟิ ลเตอร์ เพิ่มมากขึ ้นตาม ทาให้ เกิด overload ได้
▪ ถ้ ามีการเพิม่ โหลดจนมีปริมาณฮาร์ โมนิกเพิ่มขึ ้นเกิน capacity ของฟิ ลเตอร์ จะเกิดการ overload ที่ฟิลเตอร์ และเกิดความเสียหายได้
เพราะฟิ ลเตอร์ ไม่สามารถควบคุมปริมาณฮาร์ โมนิคที่ไหลในตัวเองได้ จึงจาเป็ นต้ องเปลี่ยนฟิ ลเตอร์ ใหม่ทงหมดั้ ไม่สามารถติดตั ้งฟิ ลเตอร์
เพิ่มได้
▪ ถ้ าระบบมีการเปลี่ยนแปลงจนทาให้ คา่ impedance ของระบบลดลงก็จะมีกระแสฮาร์ โมนิคไหลเข้ าระบบมากขึ ้นจนอาจเกินมาตรฐาน
ได้ จึงจาเป็ นต้ องเปลี่ยนฟิ ลเตอร์ใหม่ทงหมด
ั้
▪ Tunning point ของฟิ ลเตอร์ จะเปลี่ยนแปลงตามค่า capacitance และ reactance ของฟิ ลเตอร์ โดยเฉพาะเมื่อมีการใช้ งานฟิ ลเตอร์
ไปนานๆค่า capacitance จะมีค่าลดลดตามอายุการใช้ งานของ capacitor และทาให้ tunning point ขยับเข้ าใกล้ ฮาร์ โมนิคมากขึ ้น
จนอาจเกิด overload ได้ ผลกระทบจากสิง่ แวดล้ อมเช่น อุณหภูมิแวดล้ อม ความสามารถในการระบายความร้ อน ก็มีผลกระทบต่อ
tunning point ได้ ด้วย
▪ ในกรณีที่ระบบ upstream มีการติดตั ้ง capacitor bank อยู่แล้ ว หรื อมีระบบสายส่งทีม่ ีค่า capacitance ในสายสูง ก็อาจเกิด
parallel resonance กับระบบได้ โดยต้ องปรับเปลี่ยนการออกแบบฟิ ลเตอร์ เพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหานี ้

Workshop

1) ทดลองวาด curve ของ impedance scan จาก website นี ้ https://www.desmos.com/calculator/w9jrdpvsmk ตามตัวอย่าง


ในรูปด้ านล่าง
2) ทดลองปรับค่า Q factor เพื่อดูผลกระทบกับ impedance scan

Page 48 of 74
Part 6
การใช้งานโปรแกรม X-Filter เบื้องต้น – Single tuned filter

โปรแกรม X-Filter นี ้คือโปรแกรมเอ็กเซลที่ชว่ ยในการคานวณฮาร์ โมนิคและออกแบบฟิ ลเตอร์ ผู้ทีไม่มีหน้ าที่ในการออกแบบฟิ ลเตอร์ โดยตรง
จึงไม่มคี วามจาเป็ นต้ องศึกษาโปรแกรม X-Filter นี ้

จุดเด่นของโปรแกรมนี ้คือการคานวณผลลัพธ์โดยพิจารณาถึงความคลาดเคลื่อนของอุปกรณ์ตา่ งๆและสิ่งแวดล้ อม เพื่อใช้ ประกอบการ


ตัดสินใจในการออกแบบฟิ ลเตอร์ เตอร์ โปรแกรมนี ้จะเน้ นใช้ งานกับ Single tuned filter เท่านัน้

โปรแกรม X-Filter ที่เรามี มีอยู่สองเวอร์ชนั่ คือเวอร์ ชนั่ Original และเวอร์ ชนั่ extended

เวอร์ชนั่ original
เวอร์ ชนั่ นี ้ง่ายต่อการใช้ งานและตอบสนองความต้ องการในการออกแบบ filter ได้ อย่างดี แต่ไม่ได้ รวมการคานวณเกี่ยวกับโหลด และไม่ได้ มี
รูปแบบของกราฟที่หลากหลาย โปรแกรมถูกป้องกันการ edit ไว้

ผลลัพธ์ทจี่ ะได้ จากโปรแกรมคือ

▪ ค่า VC และ QC rating ของ capacitor ที่แนะนา


▪ ค่า max Irms ที่ไหลในวงจร filter เพื่อนาไปใช้ ในการกาหนดขนาด rating ของ reactor และอุปกรณ์อื่นๆ
▪ ค่ากระแสและแรงดันฮาร์ โมนิคใน system และในวงจร filter และรูปกราฟ
▪ ค่า impedance scan ของ system และ filter
▪ ผลลัพธ์ที่เกิดจากความคลาดเคลือ่ นของอุปกรณ์ตา่ งๆและสิ่งแวดล้ อม รวม 5 พารามีเตอร์ ซึง่ ถือเป็ น contingency condition
o ความคลาดเคลื่อนของ system frequency +/- 1%
o ความคลาดเคลื่อนของ inductance → dL โดยทัว่ ไปใช้ คา่ เท่ากับ +/- 3%
o ความคลาดเคลื่อนของ capacitance จาก manufacturer → dCm โดยทัว่ ไปใช้ คา่ เท่ากับ +/- 5%
o ความคลาดเคลื่อนของ capacitance จาก temperature → dCt โดยทัว่ ไปใช้ คา่ เท่ากับ +/- 1%
o ความคลาดเคลื่อนของ capacitance จาก elemant fail จากการใช้ งาน → dCe โดยทัว่ ไปใช้ ค่าเท่ากับ +/- 2%

ข้ อที่ควรพิจารณาเพิ่มเติมในการใช้ โปรแกรมนี ้คือ

▪ โปรแกรมไม่ได้ มีการคานวนโหลดที่อยู่ในระบบไฟฟ้าแต่อย่างใด ผลลัพธ์ของกระแสฮาร์ มอนิกที่ได้ จึงมีค่าสูงกว่าที่ควรจะเป็ นอยู่เล็กน้ อย


เพราะไม่มกี ระแสฮาร์ โมนิคไหลไปที่โหลด เปรี ยบเสมือนเป็ นการเพิ่มค่า safety factor ขึ ้นเล็กน้ อยในการออกแบบและไม่ทาให้ การ
คานวณซับซ้ อนเกินไป ซึง่ ยอมรับได้

Page 49 of 74
▪ โปรแกรมมีการคานวนขนาด kVA ของหม้ อแปลงใหญ่กว่าความเป็ นจริง โดยการคานวณขนาดของหม้ อแปลงจะใช้ คา่ short circuit
power ที่ด้าน secondary เพื่อกาหนดขนาด kVA ของหม้ อแปลงแทนการระบุขนาด kVA ของหม้ อแปลงโดยตรง ดังนันจึ ้ งควรระบุค่า
short circuit power ที่ด้าน secondary ที่ทาให้ การคานวณขนาด kVA ของหม้ อแปลงถูกต้ องเสมอเพื่อจะได้ คา่ อิมพีแด๊ นซ์ทถี่ กู ต้ อง
▪ โปรแกรมไม่ได้ ใช้ ค่า X/R raito ในการคานวณ impedance ของระบบจึงทาให้ คา่ impedance ของระบบต่ากว่าความเป็ นจริง
เล็กน้ อย(ไม่มี losses หรื อ R) กระแสฮาร์ โมนิคจะไหลเข้ าระบบได้ มากขึ ้นเล็กน้ อย
▪ โปรแกรมไม่ได้ ใช้ ค่า X/R raito หรื อค่า losses ในการคานวณ impedance ของหม้ อแปลงจึงทาให้ คา่ impedance ของหม้ อแปลง ต่า
กว่าความเป็ นจริงเล็กน้ อย กระแสฮาร์ โมนิคจะไหลเข้ าระบบได้ มากขึ ้นเล็กน้ อย
▪ โปรแกรมคานวณผลลัพธ์ที่เกิดจากความคลาดเคลื่อนของอุปกรณ์ต่างๆและสิ่งแวดล้ อมในรูปของความคลาดเคลื่อนของความถี่ระบบ
เป็ นสามระดับคือ
o Normal ไม่คานึงถึงความคลาดเคลื่อนของอุปกรณ์ต่างๆและสิ่งแวดล้ อมเลย
o High ใช้ คา่ ความคลาดเคลื่อนสูงสุดในการคานวณ(ครึ่งหนึ่งของทังหมด ้ ) ยกเว้ นความถี่มลู ฐาน
o Low ใช้ คา่ ความคลาดเคลื่อนตา่ สุดในการคานวณ(ครึ่งหนึ่งของทังหมด ้ ) ยกเว้ นความถี่มลู ฐาน
▪ โปรแกรมคานวนค่ากระแส fundamental If ที่ไหลในฟิ ลเตอร์ โดยใช้ ค่าแรงดัน 1.1 เท่าของแรงดันระบบ (over voltage 10%) ซึง่ เมื่อ
รวมกับกระแสฮาร์ โมนิคแล้ วจะเป็ นกระแสสูงสุดที่ไหลในฟิ ลเตอร์ ผู้ออกแบบบางคนจะให้ capacitor ต้ องมีค่ากระแส IC rating x 1.3
ไม่ต่ากว่าค่ากระแสสูงสุดนี ้ ขณะที่บางคนจะใช้ คา่ กระแสสูงสุดนี ้เป็ นค่ากระแส IC rating เลยซึง่ หมายความว่า capacitor สามารถรับ
กระแสเกิน(เนื่องจากแรงดันเกินและกระแสฮาร์ โมนิค)ได้ อีก 1.3 เท่าตามมาตราฐานIEC
▪ โปรแกรมคานวณ VC ของ capacitor มาจากค่าแรงดันเกิน10% แรงดันฮาร์ โมนิคและระบบรวมกันแบบ rms แต่ในความเป็ นจริงเราจะ
รวมค่าแรงดันทังหมดโดยการบวกกั
้ นธรรมดา (arithmetic sum) ที่จะได้ VC สูงขึ ้น
▪ โปรแกรมคานวณ QC ของ capacitor มาจากค่า VC rms แต่ในความเป็ นจริงเราจะใช้ คา่ VC ที่การบวกกันธรรมดา (arithmetic sum)
▪ โปรแกรมไม่ได้ คานวณผลกระทบจาก system pollution ที่เป็ นเเหล่งกาเนิดแรงดันฮาร์ โมนิคและจ่ายกระแสเข้ ามาที่ filter
▪ โปรแกรมคานวณผลลัพธ์ที่ full load เท่านัน้ ไม่ได้ คานวณผลลัพธ์ในกรณีที่ฟิลเตอร์ยงั ไม่ทางานทังหมดตอนที
้ ่ไม่เป็ น full load
▪ โปรแกรมไม่ได้ คานวนค่า Q factor อย่างไรก็ตามใน Single tuned filter ค่า Q factor จะถูกกาหนดมาจากค่า losses หรื อ
resistance ของ reactor และ capacitor อยู่แล้ ว โดยทัว่ ไปไม่จาเป็ นต้ องติดตั ้ง resistor เพิ่มในวงจร filter เพื่อปรับค่า Q factor ใน
กรณีที่ค่า Q factor คสูงเกินไปจนทาให้ ฟิลเตอร์มีความเสี่ยงต่อการโอเวอร์ โหลดจากฮาร์ โมนิคได้ มาก ก็สามารถติดตั ้ง resistor เพิ่มไน
วงจร filter ได้ เพื่อลดค่า Q factor หรื อ damp filter ไม่ให้ มี sensitivity to harmonic มากเกินไป แต่จะทาให้ ฟิลเตอร์ มีคา่ losses
สูงขึ ้นด้ วย
▪ โปรแกรมไม่ได้ คานวนค่า PF
▪ ในขันตอนสุ
้ ดท้ ายจะขึ ้นอยู่กบั ประสบการณ์ของผู้ออกแบบในการกาหนดค่า rating ของอุปกรณ์ตา่ งๆ รวมถึงการเพิ่มหรื อลดค่า safety
margin ที่เหมาะสม

เวอร์ชนั่ extended
พื ้นฐานมาจากเวอร์ ชนั่ original และเพิ่มการคานวณเกี่ยวกับโหลดและรูปแบบของกราฟที่หลากหลายมากขึ ้น สามารถ edit ได้

Page 50 of 74
และมีสิ่งที่เพิ่มขึ ้นดังนี ้

▪ การคานวณหรื อสูตรที่เพิม่ ขึ ้นอาจมีที่ผิดที่ต้อง verify อยู่บางจุด


▪ เพิ่ม X/R ratio ของระบบ
▪ เพิ่ม losses ของหม้ อแปลง
▪ เพิ่มขนาด kVA ของหม้ อแปลงทีถ่ กู ต้ องที่สามารถเลือกใช้ ในการคานวณได้
▪ เพิ่มการคานวณ voltage rise เนื่องจากค่า reactive power (kvar) ของฟิ ลเตอร์
▪ เพิ่มการคานวนโหลด
▪ เพิ่มการคานวน PF
▪ เพิ่มจานวนสูงสุดของฟิ ลเตอร์ จาก 3 เป็ น 4 ฟิ ลเตอร์
▪ เพิ่มการคานวนแรงดันของ reactor
▪ เพิ่ม sheet (BP_ และ size cap_) คานวน rating ของอุปกรณ์ตา่ งๆในฟิ ลเตอร์
o การคานวณใน sheet นี ้ไม่ได้ คานวณกระแสฮาร์ โมนิคจากโหลด แต่สมมติให้ มีแหล่งจ่ายแรงดันฮาร์ โมนิคที่ bus ที่จ่ายกระแส
ฮาร์ โมนิคเข้ าสู่ฟิลเตอร์ โดยตรง ค่าแรงดันฮาร์ โมนิคทีใ่ ช้ จะอ้ างอิงกับมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่ง
o ผลลัพธ์ที่ได้ คือค่ากระแสฮาร์ โมนิคที่ไหลเข้ าฟิ ลเตอร์ มากกว่าความเป็ นจริ ง เนื่องจากไม่ได้ คานึงถึง source impedance ของ
แรงจ่ายแรงดันทาให้ สามารถจ่ายกระแสได้ ไม่จากัด
o ผลลัพธ์ที่ได้ อาจพอยอมรับได้ ในกรณีของการออกแบบ Detuned filter bank เพราะ tunning point อยู่หา่ งจากแรงดันฮาร์
โมนิคค่อนข้ างมาก กระแสฮาร์ โมนิคที่คานวณได้ จงึ มากกว่าความเป็ นจริงไม่มากนัก ถือเป็ นการเพิม่ safety factor ให้ กบั
อุปกรณ์ต่างๆ
o ในกรณีของ Single tuned filter กระแสจะไหลเข้ าฟิ ลเตอร์ มากกว่าความเป็ นจริ ง ควรคานวณกระแสฮาร์ โมนิคจากโหลด
โดยตรงโดยการใช้ สตู รวงจรแบ่งกระแส
▪ เพิม่ sheet impedance scan ของฟิ ลเตอร์ แต่ละตัว และการจับคู่กนั ทางาน (combination) ของ filters
▪ เพิ่ม sheet รวมกราฟทังหมด ้

เวอร์ ชนั่ extended นี ้จะให้ ผลลัพธ์ ข้ อมูล และกราฟ ที่หลากหลายเหมาะกับการนาไปใช้ นาเสนอต่อไป

อย่างไรก็ตาม การใช้ งานเวอร์ ชนั่ extended นี ้ ควรเปรี ยบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กบั เวอร์ ชนั่ original ด้ วยเสมอ

Workshop:
1) เปรี ยบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ จากการใช้ งานโปรแกรมเอ็กเซลที่เขียนขึ ้นมาในเวิร์กช็อปก่อนหน้ านี ้ กับผลลัพธ์ที่ได้ จากโปรแกรม X-Filter เวอร์
ชัน่ original และ extended
2) ทดลองคาณวนผลกระทบของแรงดันฮาร์ โมนิคจากระบบที่มตี ่อฟิ ลเตอร์ โดยใช้ โมเดล voltage source ที่มี source impedance เป็ น
ค่าเดียวกับ system impedance และ transformer impedance
3) ทดลองปรับเปลี่ยน tunning point จานวนฟิ ลเตอร์ ขนาดฟิ ลเตอร์ ฯลฯ เพื่อดูผลลัพธ์ที่เปลี่ยนไป

Page 51 of 74
Part 7
ขั้นตอนการออกแบบ Passive filter – single tuned filter

เขียนวงจรอย่ างง่ าย
▪ หา single line diagram
▪ หาข้ อมูลที่สาคัญของระบบไฟฟ้า; system short circuit power, transformer's rating, rating of key loads, impedance of
key buses and cables, etc.
▪ คานวณวงจรสมมูลอย่างง่ายของ ระบบ หม้ อแปลง สายไฟ และโหลดที่สาคัญๆ
▪ วาดวงจรสมบมูลอย่างง่ายของทังระบบ ้ เพื่อใช้ ในการวิเคราะห์คานวณ
▪ ในกรณีที่มีการวัดฮาร์ โมนิค ภายหลังได้ ผลการวัดแล้ วควรทาการจาลองจากวงจรสมมูลเพื่อเปรี ยบเทียบผลลัพธ์การคานวณจากวงจร
สมมูลกับค่าฮาร์ โมนิกทีว่ ดั ได้ จริง เพื่อตรวจสอบว่าวงจรสมมูลมีความแม่นยาแค่ไหน

หาข้ อมูลฮาร์ โมนิค


▪ ทาความเข้ าใจกับปั ญหาของลูกค้ า ทาไมต้ องการแก้ ไข ถ้ าไม่แก้ ไขจะเกิดอะไรขึ ้น
▪ ศึกษาข้ อมูลของระบบไฟฟ้าของลูกค้ าจาก single line diagram
▪ หาข้ อมูลเกี่ยวกับธุรกิจของลูกค้ าเพื่อเป็ นแนวทางในการทาความเข้ าใจเกี่ยวกับโหลดและการทางานของโหลดในระบบของลูกค้ า
▪ หาข้ อมูลฮาร์ โมนิคของโหลดที่สาคัญจากบริษัทผู้ผลิต
▪ หาข้ อมูลมลภาวะทางฮาร์ โมนิคจากระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้า ในทางปฏิบตั ิแล้ วจะหาข้ อมูลนี ้ได้ ยาก
▪ ทาการวัดฮาร์ โมนิค
o ทาข้ อตกลงกับลูกค้ าถึงวัตถุประสงค์ในการวัด วิธีการวัด และเครื่ องมือที่ใช้ วดั รวมถึงมาตรฐานทีใ่ ช้ อ้างอิง
o ทาข้ อตกลงกับลูกค้ าถึงรูปแบบของรายงานผลการวัดฮาร์ โมนิค รวมถึงตัวอย่างของรายงานผลการวัด
o ทาข้ อตกลงกับลูกค้ าเกี่ยวกับ data sampling frequency ของเครื่ องวัด , ความถี่ในการเก็บข้ อมูล (ทุกๆสามวินาที ทุกสิบห้ านาที
เป็ นต้ น ), ระยะเวลาในการวัด, การควบคุมสิ่งแวดล้ อม (เช่น การหยุดทางานของ capacitor bank, การทางานของโหลด), การ
บันทึกข้ อมูล และแหล่งเก็บข้ อมูล เป็ นต้ น
o จุดที่ต้องทาการวัด
o ตรวจสอบความแม่นยาของ CT และ PT ในระบบทีจ่ ะทาการวัด
o ทาการสารวจสถานที่และระบบไฟฟ้าที่ต้องการวัดล่วงหน้ า
▪ รายงานสรุปผลการวัด - วิธีการทีใ่ ช้ สรุปผลข้ อมูล (ค่าทางสถิติที่ใช้ ตารางข้ อมูล กราฟข้ อมูล ข้ อมูลดิบ เป็ นต้ น), ผลสรุปทัว่ ไป (เช่น
Power, Voltage, Current, PF เป็ นต้ น ), รูปแบบหรื อรอบการทางานของโหลดและฮาร์ โมนิค, ลาดับต่างๆของฮาร์ โมนิค, ระดับโหลด
สูงสุด, ค่า CP95, ข้ าฮาร์ โมนิครวมและแยกของ V & I, ระดับการเปลี่ยนแปลงของโหลดที่ชว่ งเวลาต่างๆ , ระดับการเปลี่ยนแปลงของ
ฮาร์ โมนิคทีช่ ่วงเวลาต่างๆ, การเกิดเรโซแนนซ์ , ปริมาณของฮาร์ โมนิคเทียบกับค่า PF และโหลด

Page 52 of 74
▪ ระบุลาดับและค่าของฮาร์ โมนิคทีม่ ีปัญหา โดยเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานหรื อระดับความสัมพันธ์กบั ปั ญหาของลูกค้ า
ระบุขนาดของ capacitor bank ที่ต้องการติดตัง้
▪ Passive filter ก็คือ capacitor bank ที่มีหน้ าที่หลักในการปรับปรุงค่า PF การติดตั ้ง reactor เพิ่มเข้ าไปทาให้ มค
ี วามสามารถเสริมใน
การกรองฮาร์ โมนิคได้ ด้วย ขนาดและการทางานของ passive filter จะขึ ้นอยู่กบั ค่า PF ของโหลดเท่านันไม่ ้ ได้ ขึ ้นกับค่าของฮาร์ โมนิค ถ้ า
ระบบมีค่า PF ตา่ passive filter จะทางาน ถ้ าระบบมีค่า PF สูงแล้ ว passive filter จะไม่ทางาน ไม่ว่าระบบจะมีค่าฮาร์ โมนิคสูงหรื อ
ต่าเพียงไร
▪ การออกแบบ passive filter จะเริ่มจากการออกแบบ capacitor bank ก่อนเสมอ เมื่อได้ capacitor bank ที่เหมาะสมแล้ วจึง
ดัดแปลงให้ เป็ น passive filter โดยการติดตั ้ง reactor ที่มีขนาดที่เหมาะสมเพิม่ เข้ าไป(series)ทาให้ สามารถกรองฮาร์ โมนิคได้ พร้ อมๆ
กับการปรับปรุงค่า PF
▪ ขนาดของ capacitor bank หรือ passive filter นี ้จะออกแบบที่ระดับการทางานของโหลดสูงสุดหรื อในระดับของโหลดที่ต้องการใน
ขันต้
้ น การแบ่งเป็ นสเต็ปย่อยสามารถทาได้ ในขันตอนการค
้ านวณ passive filter อย่างไรก็ตาม capacitor bank หรื อ passive filter
นี ้ไม่สามารถออกแบบเป็ นสเต็ปย่อยหลายๆสเต็ปได้ เหมือน capacitor bank ทัว่ ไปได้ เนื่องจากข้ อจากัดของ tolerance ของ reactor
และ capacitor และปั ญหาเรโซแนนซ์ การออกแบบให้ เผื่อการเพิม่ โหลดในอนาคตก็ทาได้ ยาก
▪ จากข้ อมูลการวัดฮาร์ โมนิคและโหลด จะสามารถกาหนดค่า PF ทีต่ ้ องการและขนาดของ capacitor bank ได้
การกาหนด tuning point ของ passive filter และการคานวณค่ าฮาร์ โมนิคของระบบ - ฟิ ลเตอร์ แบบ single tuned
▪ Single tuned filter คือการติดตั ้งรี แอคเตอร์ อนุกรมกับ capacitor เพื่อให้ เกิดวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมที่มีจด
ุ เรโซแนนซ์ (ค่า
อิมพีแดนซ์ต่า) ตรงกับความถี่ของฮาร์ โมนิคที่ต้องการกรองออกจากระบบไฟฟ้า การคานวนค่ารี แอคเตอร์ ที่เหมาะสมในขันตอนนี ้ ้
สามารถเรี ยกได้ ว่าเป็ นการจูน (tune) วงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมให้ ตรงกับความถี่ของฮาร์ โมนิค อิมพีแดนซ์ของ passive filter จะมี
ค่าตา่ กว่าอิมพีแดนซ์ของระบบ กระแสฮาร์ โมนิคจึงไหลเขา passive filter มากกว่าเข้ าระบบ
▪ เริ่มต้ นจากฮาร์ โมนิคลาดับตา่ ที่สดุ (relevant or signeficant)เสมอ
o ระบุระดับของโหลดที่ต้องการ เช่นระดับสูงสุด ค่าเฉลี่ย CP95 เป็ นต้ น โดยทัว่ ไปเราจะใช้ ที่ full load ในที่นี ้คือระดับของโหลด
ที่ใช้ ในการออกแบบ capacitor bank นัน่ เอง
o ตรวจสอบค่าฮาร์ โมนิคที่อน ั ดับต่างๆ
o กาหนด tuning point และคานวน % impedance ของ reactor ค่าจูนนิ่งพ้ อยท์มกั มีคา่ ตา่ กว่าฮาร์ โมนิคนันๆเล็ ้ กน้ อย (5-
10%) เพื่อป้องกันไม่ให้ filter ไวต่อกรองฮาร์ โมนิคมากเกินไปจนเสี่ยงต่อการเกิดโอเวอร์ โหลดได้
o คานวนค่าฮาร์ โมนิคทังกระแสและแรงดั
้ น กระแสฮาร์ โมนิคที่ไหลเข้ าระบบและไหลเข้ าฟิ ลเตอร์ เปรี ยบเทียบผลที่ได้ กบั ความ
ต้ องการของลูกค้ า ตรวจสอบจุดเรโซแนนซ์แบบขนาน ที่อาจมีการขยายฮาร์ โมนิคลาดับตา่ หรื อสูงๆได้
o ปรับเปลี่ยนจูนนิ่งพ้ อยท์ เพื่อให้ ได้ ผลลัพธ์ที่ต้องการ
o กาหนด rating ของ capacitor – ต้ องตรวจสอบกับผู้ผลิตว่าสามารถผลิตเรตติ ้งดังกล่าวได้ รึเปล่า
o โดยทัว่ ไปค่า VC ควรมีค่าไม่ต่ากว่าผลรวม (arithmatic sum) ของค่าแรงดันฮาร์ โมนิคทุกอันดับ ในบางกรณีลกู ค้ าต้ องการให้
เผื่อแรงดัน over voltage แบบถาวรอีก 10% ที่ fundamental ก็สามารถนามาบวกรวมกับค่า VC นี ้ได้
o ค่า QC จะคานวณจากค่า VC และค่า capacitance

Page 53 of 74
o ค่า 1.3 x IC (1.3 x rated current ของ capacitor) ควรมีคา่ ไม่ต่ากว่าผลรวมแบบ rms (√∑ 𝐼𝑟𝑚𝑠 2 ) ของกระแส
fundamental และฮาร์ มอนิกทุกอันดับ ในบางกรณีลกู ค้ าต้ องการให้ เผื่อกระแส IC เนื่องจากแรงดัน over voltage แบบถาวร
อีก 10% ที่ fundamental ก็สามารถนามารวม(rms)กับค่า IC นี ้ได้
o ในกรณีที่ระบบไฟฟ้า(upstream)มีแรงดันฮาร์ โมนิคปริ มาณมากจนอาจกระทบกับประสิทธิภาพในการทางานของฟิ ลเตอร์ ก็
จาเป็ นต้ องนามาพิจารณาในการคานวณและกาหนดค่า rating ของ capacitor ด้ วย
o ในกรณีที่ระบบไฟฟ้า(upstream)มีการติดตั ้ง capacitor bank อยู่แล้ ว หรื อมีระบบสายส่งที่มค ี ่า capacitance ในสายสูง ก็
อาจเกิด parallel resonance กับระบบได้ โดยต้ องปรับเปลี่ยนการออกแบบฟิ ลเตอร์เพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหานี ้
o กาหนด rating ของอุปกรณ์อื่นๆและอุปกรณ์ป้องกัน โดยควรมีคา่ กระแส rated ไม่ต่ากว่า 1.43 x IC
o ฟิ ลเตอร์ มีคา่ inrush current ตา่ แต่กม ็ ีคา่ trancient recovery voltage สูงกว่า capacitor bank ธรรมดา จึงอาจมีผลต่อ
การเลือกใช้ contactor cibuit breaker และ surge arrester และค่า BIL
o Passive filter นี ้จะมีแค่สเต็ปเดียว และทางานเมื่อมีโหลดมากพอและค่า PF ต่าพอ โดยจะปรับปรุงค่า PF และกรองฮาร์ โมนิ
คลาดับที่ตา่ ที่สดุ เป็ นหลักและยังช่วยกรองลาดับฮาร์ โมนิคทีส่ งู กว่าได้ บ้าง
▪ เพิ่ม filter ทีก่ รองฮาร์ โมนิคลาดับสูงขึ ้นถ้ าจาเป็ น หรื อฮาร์ โมนิคลาดับสูงๆยังมีคา่ มากเกินความต้ องการ
o สามารถทาได้ โดยการแบ่ง filter (แบ่ง kvar) เป็ นสองสเต็ป โดยสเต็ปแรกทาการกรองฮาร์ โมนิคลาดับตา่ ที่สด ุ และสเต็ปที่สอง
ทาการกรองฮาร์ โมนิคลาดับถัดไป โดยฟิ ลเตอร์ ทงสองจะช่ ั้ วยกันกรองฮาร์ โมนิคลาดับสูงๆ บ้ างบางส่วน
o การคานวณ filter สเต็ปที่สองทาเช่นเดียวกับการคานวณ filter สเต็ปแรก สามารถทดลองปรับเปลี่ยนขนาดของทังสองสเต็ ้ ป
และจูนนิ่งพ้ อยท์เพื่อให้ ได้ ผลลัพธ์ที่ต้องการ โดยคานวณที่ฟิลเตอร์ ทงสองท
ั้ างานร่วมกัน
o ในกรณีที่ยงั ไม่ได้ ผลลัพธ์ที่ต้องการก็เพิม ่ สเต็ปที่สามต่อไป โดยทัว่ ไปจะมีฟิลเตอร์ หนึ่งถึงสามสเต็ปก็สามารถได้ ผลลัพธ์ตามที่
ต้ องการ
o โดยทัว่ ไป passive filter จะมีสเต็ปขนาดใหญ่ ควรตรวจสอบ ΔV และจุดเรโซแนนซ์แบบขนานด้ วย
▪ การแบ่ง filter เป็ นสเต็ปย่อยที่มจี นู นิ่งพ้ อยท์เดียวกันมีความเสี่ยงที่แต่ละสเต็ปจะกรองฮาร์ โมนิคมากหรื อน้ อยกว่ากัน จนทาให้ สเต็ป
หนึ่งเกิดโอเวอร์ โหลดและมีอายุการใช้ งานที่สั ้นกว่าปกติ ถ้ าสเต็ปหนึ่งพังแล้ วสเต็ปที่เหลือก็จะเกิดโอเวอร์ โหลดและพังตามมาเป็ นลูกโซ่
o มักนิยมออกแบบให้ ฟิลเตอร์ มีหนึง่ สเต็ปสาหรับหนึ่งฮาร์ โมนิค มีลาดับเริ่มต้ นจากฮาร์ โมนิคต่าสุด เรี ยงตามลาดับจากตา่ ไปสูง ไม่
ข้ ามฮาร์ โมนิค (5, 7, 11, 13, … not skiping 5, 11, 13,..)
o เมื่อจาเป็ นต้ องให้ ฟิลเตอร์ มีสองสเต็ปสาหรับหนึ่งฮาร์ โมนิค จาเป็ นต้ องต่อเชื่อมด้ านเอาพุทของรี แอคเตอร์ เข้ าด้ วยกัน เพื่อทาให้ จน ู
นิ่งพ้ อยท์ตา่ งกันน้ อยที่สดุ และคานวณการแบ่งกระแสของแต่ละสเต็ปเพื่อความปลอดภัย
▪ โดยทัว่ ไปสามารถมีฟิลเตอร์ ได้ หลายรูปแบบ ทังจ ้ านวนฟิ ลเตอร์ จานวนสเต็ป ขนาดของแต่ละสเต็ป และจูนนิ่งพ้ อยท์

การตรวจสอบผลการออกแบบฟิ ลเตอร์
▪ ตรวจสอบการทางานเช่นเดียวกับ capacitor bank - ค่า PF, ค่าปรับ, ระดับแรงดันกระเพื่อม, การตามโหลดได้ ทนั , ความถี่ในการตัด
ต่อสเต็ป เป็ นต้ น
▪ ตรวจประสิทธิภาพของฟิ ลเตอร์ในการกรองฮาร์ โมนิคที่ระดับของโหลดต่างๆ - ฟิ ลเตอร์ มีข้อจากัดทีไ่ ม่สามารถทางานตามระดับของฮาร์
โมนิคแต่ทางานตามระดับของ PF เนื่องจากการคานวณของเราทาที่ full load จึงประเมินผลลัพธ์ได้ ที่สภาวะ full load เท่านัน้

Page 54 of 74
▪ ตรวจประสิทธิภาพของฟิ ลเตอร์ในการกรองฮาร์ โมนิคที่มีผลกระทบจากค่า tolerance ของ capacitor และ reactor ผลกระทบจาก
อุณหภูมิและสิ่งแวดล้ อม ถ้ า capacitor มีอณ ุ หภูมิสงู หรื อตา่ เกินไปจะทาให้ ค่า capacitance เปลี่ยนไป และผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงของความถี่ระบบ ในทางปฏิบตั ิแล้ วขันตอนนี
้ ้สามารถทาได้ ในขันตอนการก
้ าหนดขนาดของฟิ ลเตอร์ โดยการเพิม่ ค่า
tolerance ต่างๆเข้ าไปในสูตรการคานวณ
▪ ตรวจประสิทธิภาพของฟิ ลเตอร์ในการกรองฮาร์ โมนิคที่มีผลกระทบจากการเพิม่ โหลดในอนาคตหรือความเปลี่ยนแปลงของระบบไฟฟ้าใน
อนาคต
▪ ตรวจประสิทธิภาพของฟิ ลเตอร์ในการกรองฮาร์ โมนิคที่มีผลกระทบจากการที่ capacitor เสื่อมตามอายุการใช้ งาน
▪ โดยปกติแล้ วฮาร์ โมนิคโหลดมีแนวโน้ มที่จะสร้ างกระแสฮาร์ โมนิคเพิ่มขึ ้นหลังการติดตั ้งฟิ ลเตอร์ แล้ ว ซึง่ จาเป็ นต้ องมีการเพื่อค่า safety
factor เพิ่มขึ ้นด้ วย
▪ ทาการปรับเปลี่ยน จานวนฟิ ลเตอร์ จานวนสเต็ป ขนาดของสเต็ป จูนนิ่งพ้ อยท์ เพื่อให้ ได้ ผลลัพธ์ที่เหมาะสมตามความต้ องการ
▪ ในขันตอนสุ
้ ดท้ าย ผู้ออกแบบอาจพิจารณาปรับเพิ่มหรื อลดค่า safety factor ตามประสบการณ์ของตัวเอง ทังนี ้ ้การลดค่า safety
factor มากเกินไปก็จะเพิ่มความเสี่ยงทีฟ่ ิ ลเตอร์ จะ overload และการเพิ่มค่า safety factor มากเกินไปก็เป็ นการเพิ่ม cost ของ
ฟิ ลเตอร์ โดยไม่จาเป็ น

การวิเคราะห์ Before & After


▪ โดยทัว่ ไปผลลัพธ์ที่ได้ จากการคานวณในขันตอนการออกแบบฟิ
้ ลเตอร์ มกั จะแตกต่างจากผลลัพธ์ที่ได้ จริงหลังจากติดตั ้งฟิ ลเตอร์ แล้ ว
เนื่องจากวงจรที่ใช้ ในการคานวณเป็ นวงจรแบบง่าย ค่า tolerance ของ reactor และ capacitor ค่าของฮาร์ โมนิคที่เกิดขึ ้นจริงในขณะ
ติดตั ้งแตกต่างจากขณะทีว่ ดั และความเปลี่ยนแปลงของระดับฮาร์ โมนิคที่โหลดสร้ างขึ ้นเมื่อติดตั ้งฟิ ลเตอร์ แล้ วเทียบกับตอนที่ยงั ไม่ได้
ติดตั ้งฟิ ลเตอร์ ผลกระทบจากสิ่งแวดล้ อม เป็ นต้ น
▪ ทารายงานสรุปผลการทางานของฟิ ลเตอร์ เปรียบเทียบผลลัพธ์ในขันตอนการออกแบบกั
้ บผลลัพธ์ที่ได้ จริงหลังติดตั ้งฟิ ลเตอร์ แล้ ว
▪ ทาการวิเคราะห์หาสาเหตุในกรณีที่ผลการทางานของฟิ ลเตอร์ ไม่เป็ นไปตามการออกแบบอย่างมากและเสนอแนวทางในการแก้ ไข
▪ ทารายงานสรุปบทเรี ยนที่ได้ เพื่อใช้ ในการปรับปรุงการออกแบบครัง้ ต่อไป

Page 55 of 74
Part 8
แนวทางในการวัดฮาร์โมนิคเพื่อแก้ปัญหา

การวัดฮาร์ โมนิคของเราจะเป็ นการวัดเพื่อหาแนวทางการแก้ ปัญหาฮาร์ โมนิคที่เกิดขึ ้นในระบบของลูกค้ า ทังนี


้ ้เพื่อเสนอโซลูชนั่ ให้ กบั ลูกค้ า

ผู้ที่จะทาการวัดฮาร์ โมนิกควรมีความรู้ความเข้ าใจในการออกแบบ passive filter เป็ นอย่างดี เพื่อให้ แน่ใจว่าจะสามารถรวบรวมข้ อมูลที่จา
เป็ นได้ เพียงพอและถูกต้ องสาหรับการออกแบบ passive filter ตลอดจนการติดตั ้ง commissioning และใช้ งานบารุงรักษา

นอกเหนือจากคาแนะนาในหัวข้อ “หาข้ อมูลฮาร์ โมนิค” ของ Part 7 มีขอ้ แนะนาและควรพิจารณา


เพิ่มเติมดังนี้
▪ ในการวัดฮาร์ โมนิคเพื่อแก้ ปัญหา โดยทัว่ ไปเราจะวัดในขณะ full load peak load หรื อ worst case เพื่อใช้ ในการออกแบบฟิ ลเตอร์
ระยะเวลาในการวัดก็อาจเป็ นช่วงสั ้นๆ ตัวอย่างเช่น
o ถ้ าบันทึกข้ อมูลทุกๆ 3 วินาที ก็ใช้ เวลา 1-2 ชัว่ โมง จะได้ จานวนข้ อมูลทังหมด
้ 1200-2400 ข้ อมูล
o ถ้ าบันทึกข้ อมูลทุกๆ 1 นาที ก็ใช้ เวลา 1-2 วัน จะได้ จานวนข้ อมูลทังหมด้ 1440-2880 ข้ อมูล
o ถ้ าบันทึกข้ อมูลทุกๆ 10 นาที ก็ใช้ เวลา 7 วัน จะได้ จานวนข้ อมูลทังหมด
้ 1008 ข้ อมูล
▪ ก่อนการวัดต้ องเข้ าใจทิศทางการไหลของกระแสฮาร์ โมนิคในระบบทังหมดตาม ้ SLD และวงจรสมมูลที่เราสร้ างขึ ้น เพื่อให้ แน่ใจว่าการวัด
จะครอบคลุมกระแสฮาร์ โมนิคที่โหลดสร้ างขึ ้นมาทังหมด
้ และกระแสฮาร์ โมนิคที่ไหลเข้ าสู่ระบบ upstream ทังหมด

▪ ก่อนการวัดควรปลด capacitor bank และฟิ ลเตอร์ เดิมที่มีอยู่ในระบบทังหมด


้ การวิเคราะห์จะทาได้ ยากถ้ าระบบอยูใ่ นสภาวะ
series/parallel resonance ของ capacitor และฟิ ลเตอร์ เดิมอยู่
▪ จุดที่ควรวัดมีดงั นี ้

Page 56 of 74
o ที่โหลดที่สร้ างฮาร์ โมนิค ถือเป็ นข้ อมูลที่สาคัญที่สดุ ในการวัด เพื่อจะได้ ร้ ูว่ามีการสร้ างฮาร์ โมนิคปริมาณเท่าไหร่
o ที่ incoming upstream หรื อ PCC เพื่อจะได้ ร้ ูว่ามีฮาร์ โมนิคปริ มาณเท่าไหร่ ไหลเข้ าระบบ upstream ข้ อมูลนี ้ยังมี
ความสาคัญในการช่วยตรวจสอบโมเดลในการวิเคราะห์ โดยการทา simulation ของค่า impedance ของโมเดลของระบบที่
เราสร้ างขึ ้นกับกระแสฮาร์ โมนิคจริงของโหลดที่วดั ได้ แล้ วเปรี ยบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ จากการทา simulation กับผลการวัด
ค่ากระแสฮาร์ โมนิคจริงที่ไหลเข้ าระบบ upstream
o ที่ตาแหน่งทีจ่ ะติดตั ้งฟิ ลเตอร์ ในกรณีที่ไม่สามารถวัดฮาร์ โมนิคได้ ทโี่ หลดโดยตรง
▪ พารามิเตอร์ ที่ต้องการวัดที่แต่ละจุด
o กระแสฮาร์ โมนิคแยกแต่ละอันดับและกระแสรวมฮาร์ โมนิค ทังในรู ้ ปของ Arms และ % ของค่า fundamental แยกเฟสและ
รวมเฟส
o แรงดันฮาร์ โมนิคแยกแต่ละอันดับและแรงดันรวมฮาร์ โมนิค ทังในรู ้ ปของ Vrms และ % ของค่า fundamental แยกเฟสและ
รวมเฟส
o ค่าพารามิเตอร์ มาตรฐานต่างๆของระบบ เช่น kVA, kW, kvar, PF, V, A, มุมเฟส, THDU, THDI, Pst, Plt, imbalance,
system frequency เป็ นต้ น แยกเฟสและรวมเฟส
o ในกรณีที่ทาการวัดมากกว่าหนึง่ จุด ต้ องตั ้งเวลาของเครื่ องวัดให้ ตรงกันมากที่สด ุ
o สังเกตว่าโหลดมีการทางานที่ระดับใดเทียบกับสภาวะ full load ตรวจดูวา่ ไม่มีการทางานของ capacitor bank และฟิ ลเตอร์
ที่อาจมีอยู่ในระบบ
▪ ก่อนทาการวัดจาเป็ นต้ องตรวจสอบและแน่ใจว่า ผู้เข้ าร่วมทาการวัด สถานที่ สิง่ แวดล้ อม และอุปกรณ์ต่างๆ มีความปลอดภัยสูงสุดตาม
มาตรฐาน มีการสื่อสารและประสานงานกับทุกหน่วยงานถึงขันตอนในการวั ้ ดและความปลอดภัยระหว่างการวัดโดยเฉพาะการ log out
tag out และการควบคุมการจ่ายไฟให้ กบ ั ระบบ
▪ สร้ างสมมุตฐิ านก่อนว่าจะพบข้ อมูลในลักษณะใดล่วงหน้ าก่อนการวัด เช่น ปริมาณของฮาร์ โมนิกทีเ่ กิดจากโหลด ค่า PF ความเร็วในการ
เปลี่ยนแปลงของโหลด
▪ เมื่อทาการวัดแล้ วให้ รีบทาการตรวจสอบผลการวัดกับสมมุติฐานทันที เพื่อประเมินว่าการวัดถูกต้ องและจะได้ ข้อมูลที่ถกู ต้ องตามต้ องการ
▪ ทาการประเมินเบื ้องต้ นทันทีว่าโซลูชนั่ ที่จะใช้ จะเป็ นอย่างไร
▪ ทังนี
้ ้ในรายงานผลการวัดจะต้ องมีเวลาเริ่มต้ นเท่ากัน มีเวลาสิ ้นสุดเท่ากัน และมีจานวนข้ อมูลเท่ากัน

รู ปแบบของรายงานและการสรุ ปผลการวัดที่จาเป็ น
▪ ข้ อมูลเบื ้องต้ นเกี่ยวกับบริษัทหรือสถานที่ที่ทาการวัด สภาพแวดล้ อมทัว่ ไป เป็ นต้ น
▪ วัตถุประสงค์ของการวัดวัดเช่น
o ต้ องการวัดค่าฮาร์ โมนิคเพื่อใช้ ในการออกแบบฟิ ลเตอร์ โดยระบุถึงสาเหตุที่ต้องติดตั ้งฟิ ลเตอร์ ด้วย เช่น มีค่าฮาร์ โมนิคเกิน
มาตรฐาน มี capacitor bank เสียหายบ่อย หม้ อแปลงร้ อนทังๆที ้ ่โหลดยังมีคา่ น้ อย สายไฟร้ อนผิดปกติ มีความเสียหายกับ
อุปกรณ์ไฟฟ้า เกิดความผิดปกติในระบบไฟฟ้าเช่นไฟดับบ่อย เป็ นต้ น
o ลูกค้ าต้ องการติดตั ้งฟิ ลเตอร์ ใหม่แทนของเก่าที่หมดอายุการใช้ งาน
o ต้ องการวัดฮาร์ โมนิคเพื่อช่วยวิเคราะห์ปัญหาในระบบทีอ่ าจเกิดจากฮาร์ โมนิก โดยระบุถงึ ปั ญหาทีต ่ ้ องการแก้ ไขด้ วย

Page 57 of 74
o ต้ องการวัดค่าฮาร์ โมนิคเพื่อช่วยตรวจสอบการทางานและประสิทธิภาพของฟิ ลเตอร์ ทตี่ ิดตั ้งอยู่
▪ SLD หรื อ รูปจาลองของระบบของลูกค้ า
▪ แบบจาลองการไหลของฮาร์ โมนิคในระบบของลูกค้ าและจุดทีจ่ ะทาการวัด ตัวอย่างเช่น
o กรณีที่หนึ่ง ลูกค้ าต้ องการติดตั ้งดีจน
ู ฟิ ลเตอร์ แทนของเก่าที่หมดอายุการใช้ งาน จะทากลางวัดทีเ่ บรกเกอร์ H106 และปลด
เบรกเกอร์ H212 และ H207 และปิ ดการทางานของดีจนู ฟิ ลเตอร์ เก่า เนื่องจากแหล่งกาเหนิดฮาโมนิคมีหลายจุดถึงไม่สามารถ
วัดค่าฮาร์ โมนิคทังหมดที
้ ่โหลดสร้ างขึ ้นได้

o กรณีที่สอง ลูกค้ าต้ องการวัดค่าฮาร์ โมนิคที่ main bus ของ sunstation no. 6 เพื่อเปรี ยบเทียบกับผลการวิเคราะห์จาก
โปรแกรม E-TAP

Page 58 of 74
▪ ตารางหลักสรุปผลการวัด พร้ อมข้ อสังเกตและขอสรุปที่ได้ จากตารางนี ้
o พารามิเตอร์ หลัก เช่น kVA, kW, kvar, PF, V, A, มุมเฟส, THDU, THDI, Pst, Plt, imbalance, system frequency เป็ น
ต้ น แยกเฟสและรวมเฟส
o แรงดันฮาร์ โมนิคแต่ละอันดับและผลรวม เทียบกับมาตราฐาน
o กระแสฮาร์ โมนิคแต่ละอันดับและผลรวม เทียบกับมาตราฐาน
▪ มาตราฐานที่ใช้ อ้างอิง
▪ กราฟ trend ของพารามิเตอร์ หลักเทียบกับเวลาที่ทาการวัด พร้ อมข้ อสังเกตและขอสรุปที่ได้ จากกราฟนี ้
o ค่า P kVA Q PF frequency แยกเฟส
o ค่า V I แยกเฟส
o ค่า THDV THDI แยกเฟส
o ค่า Pst Plt แยกเฟส
o ค่า imbalance แยกเฟส

Page 59 of 74
Page 60 of 74
Page 61 of 74
Page 62 of 74
Page 63 of 74
▪ กราฟแท่ง(spectrum)สรุปค่าฮาร์ โมนิกของกระแสและแรงดันเทียบกับมาตราฐาน พร้ อมข้ อสังเกตและขอสรุปที่ได้ จากรูปคลื่นนี ้

Page 64 of 74
▪ รูปภาพแสดงรูปคลื่นของกระแสและแรงดันที่ full load หรื อ worst case พร้ อมข้ อสังเกตและขอสรุปที่ได้ จากกราฟนี ้

Page 65 of 74
▪ กราฟ scatter diagram พร้ อมข้ อสังเกตและขอสรุปที่ได้ จากกราฟนี ้
o ค่า V ระบบเทียบกับระดับของโหลด แยกเฟส

o ค่า Q และ PF ระบบเทียบกับระดับของโหลด แยกเฟส

o ค่า I ระบบเทียบกับระดับของโหลด แยกเฟส

Page 66 of 74
o ค่า V ระบบเทียบ I ระบบ แยกเฟส

o ค่า THDU ระบบเทียบกับระดับของโหลด แยกเฟส โดยกราฟนี ้จะให้ ข้อมูลที่สาคัญเพื่อใช้ ประมาณแรงดันฮาร์ โมนิกในระบบ


upstream (Uh from system - จุดตัดแกน Y ของกราฟ)

Y = ax +b หรื อ V = Z ∙ IL + Usystem ; a คือ slope ทีเ่ ป็ นค่า impedance ของระบบ และ b คือจุดตัดแกน y ที่เป็ นค่าแรงดัน
ระบบเมื่อกระแสโหลดมีคา่ เท่ากับศูนย์ ซึง่ ก็คือแรงดันฮาร์ โมนิกของระบบ upstream นัน่ เอง

Page 67 of 74
o ค่า THDI ระบบเทียบกับระดับของโหลด แยกเฟส จากตัวอย่างนี ้มีค่า slope เป็ นลบ อาจเป็ นไปได้ ว่ามีกระแสฮาร์ โมนิคจาก
ระบบ upstream ไหลสู่ระบบของลูกค้ ามากกว่ากระแสฮาโมนิคของโหลดของลูกค้ าไหลกลับเข้ าไปที่ระบบ ควรใช้ ค่า Amp ใน
การ plat กราฟเพื่อยืนยัน

Page 68 of 74
Page 69 of 74
o ค่า THDI ระบบเทียบกับ THDU ระบบ แยกเฟส

Page 70 of 74
o ค่ากระแสฮาร์ โมนิคแต่ละอันดับเทียบกับระดับของโหลด แยกเฟส

Page 71 of 74
o ค่ากระแสเทียบกับแรงดันฮาร์ โมนิคแต่ละอันดับ แยกเฟส โดยกราฟนี ้จะให้ ข้อมูลที่สาคัญเพื่อใช้ ประมาณแรงดันฮาร์ โมนิกใน
ระบบ upstream (Uh from system - จุดตัดแกน Y ของกราฟ) และใช้ เปรี ยบเทียบค่า impedance ของระบบ(slope ของ
กราฟ)ที่ฮาร์ โมนิคอันดับต่างๆ กับค่า impedance ในโมเดลของเรา

Y = ax +b หรื อ V = Z ∙ IL + Usystem ; a คือ slope ทีเ่ ป็ นค่า impedance ของระบบ และ b คือจุดตัดแกน y ที่เป็ นค่าแรงดัน
ระบบเมื่อกระแสโหลดมีคา่ เท่ากับศูนย์ ซึง่ ก็คือแรงดันฮาร์ โมนิกของระบบ upstream นัน่ เอง

Page 72 of 74
▪ ตารางสรุปค่า full load หรื อ worst case ที่จะใช้ ในการออกแบบ capacitor bank หรื อ ฟิ ลเตอร์ โดยทัว่ ไปแล้ วค่าพารามิเตอร์ตา่ งของ
ระบบจะไม่เกิดขึ ้นที่โหลดระดับเดียวกัน จึงจาเป็ นต้ องตกลงกับลูกค้ าว่าจะใช้ ข้อมูลที่ระดับใด
ตัวอย่ าง
ถ้ าในกรณีกาหนดค่า Q และ PF จากตารางข้ างล่าง เราจะเลือกโหลดที่ 2/14/2020 ที่ต้องการค่า Q สูงสุดในการกาหนดขนาด
capacitor bank
H106 PP1 Required var to reach target
Condition: Date: Time: PT (W) QT (var) PFT 0.85 0.9 0.95 1
Lowest PFT 2/14/2020 1:30:00 PM 5373699 4016525 0.8 699,955 1,427,673 2,264,025 4,030,274
Highest PFT 2/15/2020 9:20:00 PM 6427806 4161981 0.839 185,142 1,055,609 2,056,020 4,168,738
Highest QT 2/14/2020 10:10:00 AM 6383101 4368205 0.824 433,187 1,297,601 2,291,054 4,389,078
Highest PT 2/15/2020 6:10:00 PM 6497689 4293712 0.834 271,887 1,151,819 2,163,106 4,298,793

▪H110ผลสรุ
PP2
ปรวมของปั ญหาและข้ อสังเกตทังหมด
้ Required var to reach target
Condition: Date: Time: PT (W) QT (var) PFT 0.85 0.9 0.95 1
ข้ อแนะนาในการแก้ ปัญหา
▪Lowest PFT 2/14/2020 12:00:00 PM 3723547 3181806 0.765 827,094 1,331,345 1,910,870 3,134,741
Highest PFT 2/15/2020 6:20:00 PM 7301164 4467546 0.852 -38,394 950,345 2,086,684 4,486,461
Highest QT 2/20/2020 2:50:00 AM 7775262 4976266 0.841 183,335 1,236,278 2,446,404 5,002,009
ทังนี
้ ้รายงานและข้ อมูลดิบทังหมด
Highest PT ้
2/20/2020 ควรมีการเก็บรวบรวมไว้ เพื่อใช้ อ้างอิงในอนาคต
3:30:00 AM 7777036 4894562 0.845 101,997 1,155,181 2,365,583 4,921,771

Note:

โดยทัว่ ไปเครื่ องวัดสามารถทาตารางสรุปผลการวัดที่นามาใช้ งานได้ เลย จึงจาเป็ นต้ องศึกษาและนาตารางสาเร็จรูปมาใช้ งานให้ มากที่สดุ เพื่อ
ประหยัดเวลาในการวิเคราะห์และความถูกต้ องของผลการวิเคราะห์

Page 73 of 74
อย่างไรก็ตามเรายังคงต้ องการข้ อมูลดิบในรูปของตารางเอ็กเซล เพื่อใช้ ในการวิเคราะห์อย่างละเอียด จาเป็ นต้ องกาหนด format ของ
ตารางเอ็กเซลให้ เป็ นมาตรฐานเพื่อที่จะสามารถใช้ เป็ น template ในการทารายงานโดยไม่ต้องสร้ าง template หม่ทกุ ครัง้

ในกรณีที่ข้อมูลดิบมีการแยกเป็ นหลายไฟล์ จาเป็ นต้ องให้ แน่ใจว่า เวลาเริ่มต้ น เวลาสิ ้นสุด และจานวนข้ อมูลตรงกัน เพื่อป้องกันความ
ผิดพลาดในการรวมไฟล์ต่างๆเข้ าด้ วยกัน เครื่ องวัดทุกเครื่ องต้ องมีการตั ้งเวลาให้ ตรงกันมากที่สดุ

Page 74 of 74

You might also like