Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

Perio News

ปที่ 6 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม - สิงหาคม 2553


สมาคมปริทันตวิทยาแหงประเทศไทย
THAI ASSOCIATION OF PERIODONTOLOGY
Tel. 0-2218-8850 Fax. 0-2218-8851
WWW.THAIPERIO.ORG

ประชาสัมพันธ์จ๊ะจ๋า
รายนามที่ปรก าสมาคม
สวั ส ดี ค่ ะ ประชาสั ม พั น ธ์ จ๊ ะ จ๋ า กลั บ มาพบเพื่ อ นๆ 1. ผศ.ทพญ. วราภรณ์ บัวทองศรี
พี่ ๆ น้ อ งๆ อี ก ครั้ ง ค่ ะ ก่ อ นอื่ น ต้ อ งขอกราบขอบพระคุ ณ 2. ศ.คลินิก ทพญ. มัลลิกา ศิริรัตน์
3. ผศ.ทพญ. อรอนงค์ วนิชจักร์วงศ์
รศ.ทพ.ญ.นวลฉวี หงษ์ประสงค์ ที่ท่านกรุณารับตำาแหน่ง 4. ศ.คลินิก พล.ร.ต.หญิง สุชาดาวุฆฒกนก
นายกสมาคมฯ ทุ่มเทเวลา ความรู้ความสามารถทำาประโยชน์ 5. ผศ.ทพญ. สุพัตรา แสงอินทร
6. อ.ทพ. อาณาจักร์ ฉันทะสุขศิลป์
ให้ กั บ สมาคมฯ ในช่ ว งเวลา 2 ปี ที่ ผ่ า นมาและขอแสดง 7. ผศ.ทพญ. ดวงพร จิรวิบูลย์
ความยินดีที่ได้รับเกียรติจาก รศ.ทพ.ณรงค์ศักดิ์ เหล่าศรีสิน รายนามค ะกรรมการสมาคม
ที่ท่านจะดำารงตำาแหน่งนายกสมาคมฯ ในวาระต่อไป พร้อม 1. รศ.ทพญ. นวลฉวี หงษ์ประสงค์
กันนั้นได้นำาภาพควันหลงจากงานประชุมวิชาการ “UPDATE นายกสมาคม
2. พล.ต.หญิง นวรัตน์ สุนทรวิทย์
IN PERIODONTICS AND IMPLANT DENTISTRY” และ อุปนายก
ประชุมใหญ่สามัญประจำาปีเมื่อวันที่ 23-24 สิงหาคม 2553 3. รศ.ทพ. ยสวิมล คูผาสุข
บรรณาธิการ
ณ โรงแรมสยามซิตี้ มาฝากทุกๆ ท่านค่ะ 4. รศ.ทพ.ดร. ณรงค์ศักดิ์ เหล่าศรีสิน
นายกสมาคมสำารอง
นอกจากนั้น ยังมีข่าวฝากจากประชาสัมพันธ์ชมรม 5. ศ.คลินิก ทพญ. ผุสดี ยศเนืองนิตย์
เอนโดดอนติกส์ เมื่อเหงือกกับฟันต้องอยู่คู่กันเสมอ ชมรม กรรมการ และที่ปรึกษา
6. รศ.ทพญ. จุฬาลักษณ์ เกษตรสุวรรณ
เอ็ น โดดอนติ ก ส์ ก็ เ ลยขอฝากประชาสั ม พั น ธ์ ก ารประชุ ม กรรมการ
วิ ช าการในวั น จั น ทร์ ที่ 22 พย. ที่ มี หั ว ข้ อ Endo - perio 7. นอ.หญิง บุญธิดา โชติชนาภิบาล
กรรมการ
โดย ทพญ.พัชรินทร์ ปอแก้ว จับคู่กับ ผศ.ทพญ.พิณทิพา 8. ทพ. ธิติ ทิมรัตน์
บุณยะรัตเวช ใน “เจาะประเด็นว่าเป็น endo หรือ perio” กรรมการ
9. ผศ.ทพญ. พิณทิพา บุณยะรัตเวช
มาฟันธงกันให้ชัดๆ ว่า ที่กระดูกหายไปใครกันแน่ที่เป็นเจ้า กรรมการ
10. ทพญ. กนิษฐ์ นันทเสนีย์
ของรอยโรค ตามด้วย “รักษาให้ถูกจุด เพื่อหยุดรอยโรค” กรรมการ
ใครต้ อ งรั ก ษาก่ อ นหรื อ ต้ อ งร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น รั ก ษาและ 11. ทพญ. กิติมาน ชนารัตน์
กรรมการ และปฎิคม
รักษาอย่างไร เพื่อให้กระดูกหวนคืนมา โบกมือลาฟันโยก 12. พ.ต.หญิง สรนีย์ วงษ์อำานวย
หรือจะถอดใจกับรากแท้แก้ปัญหาด้วยรากเทียม แถมด้วย กรรมการ และนายทะเบียน
13. อ.ทพญ.ดร. กนกวรรณ นิสภกุลธร
การบรรยายแบบ edutainment ของ ศ.เกียรติคุณ ใจนุช กรรมการและวิชาการ และวิเทศสัมพันธ์
จงรักษ์ เกี่ยวกับเอ็กซเรย์ และ ทพญ.ปาริชาติ ตั้งกฤษณขจร 14. ทพญ. มลิสาร์ โลหกุล
กรรมการ และประชาสัมพันธ์
ผู้รู้จริงเรื่องฟันแท้เด็กใน “รักษาคลองรากฟันแท้ในเด็ก 15. ผศ.ทพญ. อรวรรณ จรัสกุลางกูร
เรื่องเล็ก...เสียเมื่อไร” สนใจสมัครลงทะเบียนได้ที่ กรรมการ และเหรัญญิก
16. นาวาโทหญิง สิริวิภา อำานรรฆสรเดช
www.thaiendodontics.com ภายใน 8 พย. นี้ค่ะ กรรมการ และเลขาธิการ

บรรณาธิการ
ปริทันต์ทันโลก
Periodontal Screening and Recording:

คำ�ตอบที่พอเพียง
ในการตรวจสภาพปริทันต์
การทำา periodontal charting อย่างละเอียดในการประเมินสภาพปริทันต์เป็น
สิ่งสำาคัญในการวินิจฉัยและนำาไปสู่การวางแผนการรักษาที่เหมาะสม อย่างไรก็ดีความ
ยุง่ ยากและเวลาทีต่ อ้ งใช้ในการบันทึกสภาพปริทนั ต์นี้ อาจเป็นสาเหตุทที่ าำ ให้ทนั ตแพทย์
ส่วนใหญ่ไม่สามารถนำาไปใช้ได้จริงในชีวิตการทำางานที่มีผู้ป่วยมากมายและเวลาที่
จำากัด “Periodontal screening and recording (PSR)” จึงเป็นคำาตอบเบื้องต้นที่ได้
รับการแนะนำาโดย American Academy of Periodontology and American Dental
Association
ในการตรวจให้ใช้โพรบตรวจที่ฟันทุกซี่ (ยกเว้นซี่ 8) แต่ละซี่จะตรวจ 6 ตำาแหน่ง
ที่ mesio-buccal, mid-buccal, disto-buccal, disto-lingual, mid-lingual และ
mesio-lingual และบันทึกเฉพาะค่าสูงสุดในแต่ละ sextant
โดยวิธีการตรวจให้ค่อยๆ เดินโพรบไปตามซี่ฟัน ควรจะทำา
เป็น sextant เช่น เริ่มจาก disto-buccal ของฟัน 17
ไล่ไปตามด้าน buccal ของฟัน 17, 16, 15 จนถึง
mesio-buccal ของฟัน 14 แล้ววนไปด้าน palatal
เริ่มจาก mesio-palatal ของฟัน 14 แล้วไล่ไปทาง
distal จนถึง disto-palatal ของ ฟัน 17 แล้วดูว่า
ตำาแหน่งไหนมี PSR code สูงสุด ก็บันทึกค่านั้น
ลงในตารางที่เป็นตัวแทนของ sextant นั้น เมื่อโพรบ
ตำาแหน่ง proximal ควรวางโพรบให้ชิด contact แล้ว
เอียงโพรบไปตาม contour ของฟันเพื่อพยายามหยั่งหา
จุดที่ลึกที่สุด ซึ่งมักจะอยู่ใต้ contact
PSR code จะมีตั้งแต่ 0 จนถึง 4 ในการตรวจให้ง่าย คุณหมอควรจะมีโพรบชนิด
WHO probe ค่ะ ลักษณะของโพรบอันนี้ มีลูกตุ้มกลมๆ เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 มม. อยู่
ตรงปลาย และมีแถบสีดาำ อยูท่ รี่ ะยะ 3.5-5.5 มม. วิธกี ารใช้กด็ งู า่ ยๆ ว่าเวลาหยัง่ โพรบลง
ไปจนถึงก้น sulcus แล้วเจ้าแถบดำานี้อยู่ตรงไหน ก็ให้ใส่ code ตามตารางด้านล่างค่ะ

สิ่งที่ตรว บ
0 เห็นแถบดำาทั้งหมด ไม่มีหินน้้ำาลาย หรือ defective margin ไม่มีเลือดออก
1 เห็นแถบดำาทั้งหมด ไม่มีหินน้้ำาลาย หรือ defective margin มีเลือดออก
2 เห็นแถบดำาทั้งหมด มีหินน้้ำาลาย หรือ defective margin
3 เห็นแถบดำาบางส่วน (เริ่มมี pocket)
4 ไม่เห็นแถบดำา (pocket ลึก)
* พบฟันโยก furcation involvement หรือ mucogingival problem (เช่น เหงือกร่น
จนถึง mucogingival junction หรือ keratinized gingiva < 2 mm.)

เคล็ด (ไม่) ลับ ในก�รตรวจให้รวดเร็ว


ในการตรวจจริงๆ จะมีเคล็ดลับเล็กๆ น้อยๆ ได้ดงั นีค้ ะ่ ขัน้ แรกให้มองผ่านๆ ดูกอ่ น
ว่าในปากมี calculus ปรากฏอยู่ใน sextant ไหนหรือไม่ ถ้ามีปุ๊บ code ของ sextant นั้น
ก็จะเป็นอย่างน้อย 2 แน่นอนโดยไม่ต้องกังวลว่ามี bleeding หรือไม่ ทีนี้หลังจากนั้นก็
เริ่มโพรบไล่ไปทีละ sextant ก่อนโพรบก็บอกคนไข้ซักนิดนึงว่ากำาลังจะตรวจเหงือกอาจ
จะเจ็บๆ คันๆ นิดหน่อย จากนั้นก็เริ่มตรวจไล่ไปทีละ sextant ระหว่างตรวจตาคอยมอง
เจ้าแถบดำาบนโพรบเอาไว้ เมื่อไหร่เริ่มเห็นว่าจมหายลงไปใต้เหงือก แต่ยังเห็นบางส่วน
อยู่เหนือเหงือก code ก็จะกลายเป็น 3 ทีนี้ถ้ามีตาำ แหน่งที่แถบสีดาำ หายลงไปใต้เหงือก
ทั้งหมด ก็เป็นอันว่า sextant นั้นหยุดตรวจได้ค่ะ เพราะว่าไม่ว่าตำาแหน่งที่เหลือของ
sextant นั้นจะเป็นอย่างไร code ก็จะเป็น 4 ค่ะ (เพราะเป็น code สูงสุดแล้ว) ดังนั้นถ้า
คุณหมอรูส้ กึ ว่าการโพรบนัน้ ทำาให้คนไข้เจ็บและไม่อยากจะทำา เพราะยังไงก็ไม่ได้เป็นคน
รักษาโรคปริทันต์เองอยู่แล้ว กรณีที่คนไข้เป็นโรคปริทันต์อักเสบขั้นรุนแรง คุณหมออาจ
จะตรวจไม่กี่ตำาแหน่งแล้วก็ได้ code 4 ทั้ง 6 sextants ไปเลยเรียบร้อยก็ได้ค่ะ
Code* : รหัสพิเศษที่ไม่ควรมองข้�ม
นอกจากนี้ยังมีสัญลักษณ์พิเศษที่คุณหมอต้องตรวจเพิ่มเติมเล็กน้อย โดยให้ดูว่า
มีฟันโยก หรือ furcation involvement หรือ mucogingival defect (เช่น มีเหงือกร่น
มากจนถึง mucogingival junction, หรือ มี keratinized tissue น้อยกว่า 2 มม.) ให้ใส่
เครือ่ งหมาย * ไว้ใน sextant ทีม่ ตี วั เลข PSR code ใส่ลงไปแล้ว เช่น 3* แล้วอาจจะเขียน
ไว้ในบักทึกว่าพบ furcation involvement ที่ฟัน 46B เป็นต้นค่ะ หรืออาจจะเพิ่มเติมลง
ในแบบฟอร์มการตรวจที่คุณหมอมีอยู่แล้ว จะช่วยให้ไม่ลืมว่าควรดูอะไร

Periodontal Screening & Recording

3 2 4
4* 2* 3 1 2 2 2 0 9
SEXTANT SCORE MONTH DAY YEAR
Gingival recession…31, 41
Tooth mobility : …2° TEETH 31, 41
Furcation involvement : …TOOTH 46B

ข้อมูลที่ได้...ใช้ให้เป็นประโยชน์
คำาถามถัดไปก็คอื ตรวจแล้ว ค่าทีไ่ ด้แปลว่าอะไร ต้องทำาอะไรต่อ คำาแนะนำาสำาหรับ
PSR code แต่ละอันเป็นดังนี้ค่ะ

Code Status Treatment


0 Healthy OHI
(If needed)
1 Gingivitis OHI
Code Status Treatment
2 Gingivitis OHI, Scaling,
Remove overhangs
3 PD 3.5- 5.5 mm Charting-sextant
4 PD> 5.5 mm Charting-FM

พูดง่ายๆ ก็คือถ้าคนไข้มีค่า PSR = 0-1 ทั้งปาก และไม่มีเครื่องหมาย * กำากับอยู่


ทีใ่ ด ก็เป็นอันว่าคุณหมอค่อนข้างสบายใจได้วา่ คนไข้คนนีม้ รี ากฐานของฟันทีแ่ ข็งแรงดี
ค่ะ เราอาจจะดูวา่ ควรจะแนะนำาวิธกี ารทำาความสะอาดบางตำาแหน่งทีย่ งั เป็นว่ามีปญ ั หา
เท่านั้นก็พอค่ะ ทีนี้ถ้า code เป็น 2 ซึ่งเป็น code ที่คนส่วนใหญ่เป็น แปลว่าเริ่มมีปัญหา
เหงือกอักเสบที่มีปัจจัยเฉพาะที่ กล่าวคือหินน้้ำาลายหรือ defective restoration เข้ามา
เกีย่ วข้อง กรณีนคี้ วรทำาการ scaling และแก้ไข defective restoration เหล่านัน้ ให้อยูใ่ น
สภาพดีค่ะ เมื่อไหร่ก็ตามที่มี code 3, 4 หรือ * เข้ามาเกี่ยวข้อง การบันทึก pocket อย่าง
ละเอียดเป็นสิง่ ทีค่ วรทำาเพือ่ จะได้วางแผนในการรักษาโรคปริทนั ต์ทเี่ หมาะสมต่อไป หาก
คุณหมอไม่รักการทำา scaling & root planing ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม ขอแนะนำาให้ส่ง
ต่อคนไข้ที่มี PSR code 3-4 รวมถึงเครื่องหมาย * ไปให้หมอเหงือกตรวจและพิจารณา
วางแผนการรักษาที่เหมาะสมต่อไป ที่สำาคัญอย่าเพิ่งทำาการรักษาอะไรใหญ่เช่น ครอบ
ฟัน สะพานฟันนะคะ เพราะหลังจากการรักษาโรคปริทันต์แล้ว มักจะมีเหงือกร่น สร้าง
ปัญหาเรื่องความไม่สวยงามในฟันหน้า จนอาจต้องทำา restoration ใหม่ หรือไม่ก็การ
ดูแลรักษาที่ยากขึ้นหรือเศษอาหารติดในบริเวณฟันหลังได้
ไม่ยากเกินไปที่จะทำาใช่มั้ยคะ ตรวจแล้วอย่าลืมบันทึกไว้ด้วยนะคะ รับรองจริงๆ
ค่ะว่า ถ้าชำานาญแล้ว ตรวจได้ภายใน 5 นาที และจะพบว่าเราไม่อาจเชื่อสายตาของเรา
ในการประเมินสภาพปริทันต์ได้จริงๆ
ทพญ.พิณทิพา บุณยะรัตเวช
คัดย่อจากบทความ “มิตรแท้ของสามเกลอ” ต้องการบทความเต็มในรูป แบบ pdf
กรุณาติดต่อ pintippa@gmail.com
เรื่องนอกปาก

พระค�ถ�เยธัมม�
หัวใจพระพุทธศาสนา
เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต
เตสญฺจ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณ
รรมเห า เกิ แตเหต ระต าคต ก า วเหตแหง รรมเห านัน แ ะ
ความ ับ ง รรมเห านัน ระมหาสม ะทรงมีปกติ สั่งส น ยางนี
ระ ัสส ิเ ระคา า พระคาถานี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระคาถาสำาคัญ
บทหนึง่ ในพระพุทธศาสนา เพราะกล่าวถึงความเป็นเหตุผลและจุดมุง่ หมายในพระพุทธ
ศาสนาไวในคาถาเดียว คาถานีไ้ ดรบั การยอมรับมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสมัยทวารวดี
พระคาถาจำานวน 4 บาทนี้ ได้ถกู นำามาจารึกลงและบรรจุไวในพระเจดียใ์ นฐานะองค์แทน
แห่งพระพุทธศาสนา
ความ ยย คือหลังจากที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสรู้และแสดง
ธรรมสัง่ สอนประกาศพระศาสนาแล้วครัง้ หนึง่ ได้เสด็จมาประทับอยู่ ณ เวฬุวนั มหาวิหาร
กรุงราชคฤห์ วันหนึง่ พระอัสสชิ ผูเ้ ป็นหนึง่ ในพระปัญจวัคคีย์ ซึง่ ตามเสด็จฯ พระพุทธองค์
มาด้วย เข้าไปบิณฑบาตในกรุงราชคฤห์ ระหว่างทาง อุปติสสะปริพพาชก ซึง่ เดินทางมา
จากสำานักปริพพาชกได้พบเห็น พระอัสสชิ มีกิริยาอาการอันสงบ สำารวม น่าเลื่อมใส จึง
อยากทราบว่าใครเป็นศาสดาของ พระอัสสชิ และมีคาำ สั่งสอนเช่นไร พระอัสสชิ จึงแจ้ง
ว่าตนเป็นนักบวชในสำานักของ พระมหาสมณะ ผูเ้ ป็นโอรสแห่งศากยวงศ์ พร้อมกับแสดง
ธรรมอันย่นย่อของพระพุทธองค์ ซึ่งก็คือพระคาถา เย ธมฺมาฯ นั่นเอง
เมื่อได้ฟังธรรมปริยายนี้ อุปติสสะ ได้ดวงตาเห็นธรรมบรรลุโสดาปัตติผล จากนั้น
อุปติสสะปริพพาชก จึงเดินทางกลับมายังสำานักและบอกเล่าเรื่องที่ได้พบกับ พระอัสสชิ
ตลอดจนแสดงธรรมที่ พระอัสสชิ กล่าวให้แก่สหาย คือ โกลิตตะปริพพาชก ฟังจนกระทั่ง
เกิดดวงตาเห็นธรรมเช่นกัน ปริพพาชก ทั้งสองพร้อมด้วยบริวารจึงพากันไปเข้าเฝาฯ
พระพุทธองค์ ยังเวฬุวันมหาวิหาร และทูลขออุปสมบท
พระพุทธองค์จึงประทานอนุญาตให้ ปริพพาชก
ทั้งสองพร้อมด้วยบริวารได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ
พระโกลิตตะปริพพาช ซึ่งต่อมาก็คือ พระโมค
คัลลานะ หลังจากอุปสมบทได้ ๗ วัน ก็
สำาเร็จอรหัตตผล ส่วนอุปติสสะปริพพชก
หรือ พระสารีบุตร บรรลุเป็นอรหันต์หลัง
จากอุปสมบทได้ ๑๕ วัน ซึ่งทั้งสองท่าน
ต่อมาไดเป็นอัครสาวกฝ่ายซาย และ
ฝ่ายขวาของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
มีส่วนช่วยเผยแพร่พระพุทธศาสนาเป็นอย่างมาก
ทพ.ธิติ ทิมรัตน์

ภ�พง�นประชุมวิช�ก�ร และ ประชุมใหญ่ส�มัญประจำ�ปี


Update In Periodontics And Implant Dentistry
23-24 สิงห�คม 2553 โรงแรมสย�มซิตี้

ที่ปรก าก งบรร า ิการ ก งบรร า ิการ


รศ.ทพญ. นวลฉวี หงษ์ประสงค์ ที่ปรึกษา ทพญ. กนิษฐ์ นันทเสนีย์
รศ.ทพ.ดร. ณรงค์ศักดิ์ เหล่าศรีสิน ที่ปรึกษา อ.ทพญ. กันยวัชร์ รัตนสุวรรณ
ทพญ. กิติมาน ชนารัตน์
บรร า ิการ ทพ. ธิติ ทิมรัตน์
ทพญ. มลิสาร์ โลหกุล อ.ทพ. พีรศุษม์ รอดอนันต์

You might also like