Intro

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 79

ความรู้ เบื+องต้ นเกีย2 วกับ

วิชาเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ (Economics) คือ ศาสตร์ ที/ศึกษาเกี/ยวกับการเลือกหนทางในการใช้
ทรัพยากรการผลิตที/มีอยูอ่ ย่างจํากัด เพื/อการผลิตสิ นค้าและบริ การให้เกิดประโยชน์
สู ง สุ ด สามารถตอบสนองความต้อ งการที/ ไ ม่ จ ํา กัด ของบุ ค คลในสั ง คม โดย
เศรษฐศาสตร์มีความเกี/ยวข้องกับ 3 ประเด็น คือ

1) ความจํากัด หรื อขาดแคลน (Scarcity) ของทรัพยากร


2) ความต้องการที;ไม่จาํ กัดของมนุษย์ (Unlimited wants)
3) ทางเลือก (Choice)
ประวัตขิ องวิชาเศรษฐศาสตร์

สํ านักคลาสสิ ก: เชื/ อมัน/ ในกลไกตลาดว่าสามารถแก้ไขปั ญหาได้ดว้ ยตัวมันเองใน


ระยะยาว รัฐบาลไม่ควรแทรกแซง
สํ านักเคนส์ : อธิบายสาเหตุและวิธีการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ และรัฐบาลควรเข้า
มาช่วยเหลือ
สํ านักนีโอคลาสสิ ก: เน้นถึงการมีอยูอ่ ย่างจํากัดของทรัพยากร และให้ใช้ทรัพยากรที/
มีอยูอ่ ย่างจํากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
ที#มา: Sherman Butler
ที#มา: relivingmbadays.wordpress.com
ปัญหาพืน7 ฐานทางเศรษฐกิจ

• ผลิตอะไร (What) : เป็ นปัญหาที/ผผู ้ ลิตต้องตัดสิ นใจว่าควรจะ


ผลิตสิ นค้าชนิดใด เป็ นจํานวนเท่าไหร่ จึงจะเกิดประโยชน์
(ได้รับกําไร) สู งสุ ด
• ผลิตอย่างไร (How) : เป็ นปัญหาเกี/ยวกับการเลือกใช้ปัจจัย
การผลิตและสัดส่ วนของปัจจัยการผลิตแต่ละชนิดที/ใช้
เพื/อให้มีตน้ ทุนตํ/าที/สุด
• ผลิตเพื/อใคร (For Whom) : เป็ นการพิจารณาว่าสิ นค้าที/ผลิตได้
ควรจะจัดสรรให้กบั ผูบ้ ริ โภคแต่ละคนในสังคมอย่างไร
เศรษฐศาสตร์ จุลภาคและมหภาค

เศรษฐศาสตร์ จุลภาค (Microeconomics) เป็ นการศึ กษาหน่ วยย่อยทางเศรษฐกิ จ


เช่ น ผูบ้ ริ โ ภค ผูผ้ ลิ ต ในการตัด สิ น ใจและปั จ จัย ในการตัด สิ น ใจเกี/ ย วกับ ปั ญ หาทาง
เศรษฐกิ จ เช่ น อรรถประโยชน์ รายได้ รายจ่าย ต้นทุนการผลิต กําไร ปั จจัยทุน ปั จจัย
แรงงาน ราคาสิ นค้า เป็ นต้น
เศรษฐศาสตร์ มหภาค (Macroeconomics) เป็ นการศึกษาภาพรวมถึงปรากฏการณ์
ทางเศรษฐกิ จที/ กระทบกับคนหมู่ มาก เช่ น รายได้ประชาชาติ อัตราดอกเบีV ย เงิ นเฟ้ อ
การจ้างงาน ระดับราคาสิ นค้าโดยรวม/โดยเฉลี/ย/โดยทัว/ ไป
เศรษฐกิจ

การเมือง สังคม
กฎว่ าด้ วยการมีจาํ กัด (Law of scarcity) ระบุวา่ เนื;องจาก
ทรั พยากรมี จาํ นวนจํากัดและในระยะสัFนไม่สามารถเพิ;มจํานวน
ทรัพยากรได้ ดังนัFนเมื;อระบบเศรษฐกิจมีการใช้ทรัพยากรทัFงหมด
อย่างเต็มที;แล้ว การเพิ;มผลผลิตของสิ นค้าชนิ ดหนึ; งจะเป็ นไปได้ก็
ต่อเมื;อลดการผลิตสิ นค้าชนิดอื;นลง
ค่ าเสี ยโอกาส (Opportunity cost) คือ ผลตอบแทนของ
ทางเลือกที;ดีที;สุดที;ไม่ถูกเลือก
ที#มา: boycewire.com
2. บัญชีรายได้ ประชาชาติ
บัญชี รายได้ประชาชาติ เป็ นข้อมูลที/สําคัญยิ/งในการวิเคราะห์สถานการณ์ทาง
เศรษฐกิจของประเทศ และการวางนโยบายเศรษฐกิจของภาครัฐบาลและภาคเอกชน
ASEAN Economies (1960-
2024) : Nominal GDP
ที#มารูปภาพ: aseanbriefing.com
กระแสหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ
เป็ นการศึกษาการหมุนเวียนของการใช้จ่ายและการผลิตสิ นค้าและบริ การใน
ระบบเศรษฐกิจ ซึ/งมีโครงสร้างโดยทัว/ ไปที/ประกอบด้วย
หน่ วยเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภาคเศรษฐกิจ
บุคคลหรื อสถาบันหนึ/งที/ กิจกรรมที/เกี/ยวกับการผลิต หน่วยเศรษฐกิจที#ทาํ หน้าที#เหมือนกันหรื อมีเป้าหมาย
ดําเนินกิจกรรมทาง การบริ โภค การแลกเปลี/ยน เดียวกันรวมเข้าด้วยกัน โดยแบ่งออกเป็ น
• ภาคครัวเรื อน (Household sector) เป็ นทัBง
เศรษฐกิจเพื/อให้บรรลุ และการจําหน่ายสิ นค้าและ เจ้าของปั จจัยการผลิตและผูบ้ ริ โภค
เป้าหมายที/ตอ้ งการ บริ การ • ภาคธุรกิจ (Business sector) เป็ นผูผ้ ลิต
• ภาครัฐบาล (Public or Government sector)
เข้ามาแทรกแซงระบบเศรษฐกิจเพื#อให้การ
ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็ นไปอย่างมี
ระบบ โดยเป็ นทัBงผูบ้ ริ โภคและผูล้ ิต
• ภาคต่างประเทศ (Foreign sector) เข้ามามี
ส่ วนเกี#ยวข้องในการแลกเปลี#ยนสิ นค้าและ
บริ การระหว่างประเทศ
แบบจําลองกระแสหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ

1. แบบจําลองแสดง 2 ภาคเศรษฐกิจ
2. แบบจําลองแสดง 3 ภาคเศรษฐกิจ
3. แบบจําลองแสดง 4 ภาคเศรษฐกิจ
แบบจําลองแสดง 2 ภาคเศรษฐกิจ
ประกอบด้วยภาคครัวเรื อน (Household) และภาคธุรกิจ (Firm) โดยมีขอ้ สมมติ ดังนีL
1. เป็ นระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด คือ ไม่มีภาคต่างประเทศและภาครัฐบาลเข้ามาเกี/ยวข้อง
2. ภาคครัวเรื อนนํารายได้จากการขายปัจจัยการผลิตทัLงหมดไปซืLอสิ นค้าและบริ การจากภาคธุรกิจ
3. ภาคธุรกิจสามารถขายสิ นค้าและบริ การที/ผลิตขึLนมาได้ทL งั หมด
4. ภาคธุ ร กิ จ นํา เงิ น ที/ ไ ด้จ ากการขายสิ น ค้า และบริ การทัLง หมดจ่ า ยเป็ นค่ า ตอบแทนให้ แ ก่
ภาคครัวเรื อนเพื/อซืLอปั จจัยการผลิต
5. ไม่มีการลงทุนและการสึ กหรอของสิ นค้าทุน
แบบจําลองแสดง 2 ภาคเศรษฐกิจ
3) ค่าใช้จ่ายในการซืDอสินค้าและบริการ
4) สินค้าและบริการ

5) เงินออม (Saving) 6) เงินกู/้ ลงทุน (I)


ภาคครัวเรือน สถาบันการเงิน ภาคธุรกิจ

2) ภาคธุรกิจจ่ายค่าตอบแทนให้กับภาคครัวเรือน ในรูปของค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบีDย และกําไร


1) ภาคครัวเรือนขายปัจจัยการผลิตให้กับภาคธุรกิจ

กรณีทไีC ม่ มสี ถาบันการเงิน (Bank)


Y = C หมายความว่า หาเงินได้มาเท่าไหร่ กเ็ อาไปบริ โภคหมด
โดยที/ Y คือ รายได้ประชาชาติ
C คือ การบริ โภค
แบบจําลองแสดง 2 ภาคเศรษฐกิจ (ระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด)
กรณีทมีC สี ถาบันการเงิน (Bank)
ประชาชนจะมีการออมส่ วนหนึ/ง (Saving) และอีกส่ วนจะเอาไปบริ โภค
(Consumption)
โดยระบบเศรษฐกิจจะมีดุลยภาพก็ต่อเมื/อ
Y = C+I
S+C = C+I
S = I หมายถึงการออมในระบบเศรษฐกิจเท่ากับการลงทุนพอดี
ส่ วนรั/วไหล = ส่ วนอัดฉี ด

ส่ วนรั'วไหล หมายถึง รายได้ส่วนที/ไหลออกนอกกระแสหมุนเวียน เช่น การออมของภาคครัวเรื อน


ส่ วนอัดฉีด หมายถึง รายได้ส่วนที/ได้รับเข้ามาในกระแสหมุนเวียน เช่น การลงทุนของภาคธุรกิจ
ที#มา: learn-economics.co.uk
ที#มา: learn-economics.co.uk
ที#มา: learn-economics.co.uk
แบบจําลองแสดง 3 ภาคเศรษฐกิจ
ประกอบด้วยภาคครัวเรื อน (Household) ภาคธุรกิจ (Firm) และภาครัฐบาล (Government) โดยมี
สมมติฐานว่า
1. เป็ นระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด คือ ไม่มีภาคต่างประเทศ
2. ระบบเศรษฐกิจมีทL งั ส่ วนรั/วไหลและส่ วนอัดฉี ด

ค่าใช้จ่ายในการซื@อสินค้าและบริการ
Y = C+I+G
สินค้าและบริการ
C+S+T = C+I+G
S+T = I+G
เงินออม (Saving) เงินกู/้ ลงทุน (I)
ภาคครัวเรือน สถาบันการเงิน ภาคธุรกิจ ส่ วนรั'วไหล = ส่ วนอัดฉี ด
ค่าตอบแทน (ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี@ย และกําไร)
ปัจจัยการผลิต

ค่าตอบแทน/ช่วยเหลือ/ส่งเสริม ค่าตอบแทน/ช่วยเหลือ/ส่งเสริม
รัฐบาล
ภาษี (T) ภาษี (T)
แบบจําลองแสดง 4 ภาคเศรษฐกิจ
แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ภาคครัวเรื อน (Household) ภาคธุรกิจ (Firm) และภาครัฐบาล
(Government) และภาคต่างประเทศ (Foreign)
โดยมีสมมติฐานดังนีV
1. เป็ นระบบเศรษฐกิจแบบเปิ ด คือ มีการติดต่อกับภาคต่างประเทศ
2. ภาคการผลิตเป็ นทัVงอุปสงค์และอุปทานของผลผลิต
3. ภาครัฐบาลไม่มีการติดต่อกับภาคต่างประเทศ
แบบจําลองแสดง 4 ภาคเศรษฐกิจ
ภาคต่างประเทศ

ค่าใช้จ่ายในการซื@อสินค้าและบริการ
สินค้าและบริการ
ส่ วนรั/วไหล = ส่ วนอัดฉี ด
เงินออม (Saving) เงินกู/้ ลงทุน (I) S+T+M = I+G+X
ภาคครัวเรือน สถาบันการเงิน ภาคธุรกิจ
(S-I)+(T-G) = X-M
ค่าตอบแทน (ค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี@ย และกําไร) หรื อ
ปัจจัยการผลิต รายได้ = รายจ่าย
ค่าตอบแทน/ช่วยเหลือ/ส่งเสริม ค่าตอบแทน/ช่วยเหลือ/ส่งเสริม Y = C + I + G + (X - M)
รัฐบาล
ภาษี (T) ภาษี (T)
นิยามของรายได้ ประชาชาติและความสั มพันธ์ ระหว่ างกัน
1. ผลิตภัณฑ์ ภายในประเทศเบืAองต้ น ณ ราคา 2. ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติเบืAองต้ น ณ ราคาตลาด
ตลาด (Gross Domestic Product at market (Gross National Product at market price :
price : GDP) คือ มูลค่ารวมของสิ นค้าและบริ การ GNP)
ขัLนสุ ดท้ายทัLงหมด ณ ราคาตลาด ที/ผลิตขึLนใหม่
GNP = GDP + รายได้สุทธิของปั จจัย
ภายใต้อาณาเขตของประเทศนัLนๆ ภายใน
ระยะเวลา 1 ปี โดยไม่คาํ นึงว่าผูผ้ ลิตจะเป็ น การผลิตต่างประเทศ
พลเมืองของประเทศนัLนหรื อไม่

3. ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติสุทธิ ณ ราคาตลาด


(Net National Product at market price : NNP)
NNP = GNP - ค่าเสื/ อมราคา
+ ไทย

ไทย

ญีป
่ น
ุ่

ญีป
่ น
ุ่
-
4. รายได้ ประชาชาติ (National Income : NI) 5. รายได้ ส่วนบุคคล (Personal Income : PI)
หมายถึง รายได้ที/เกิดขึLนจริ งจากการผลิตหรื อรายได้ที/เป็ น คือ รายได้ทL งั หมดที/แต่ละบุคคลได้รับก่อน
ผลตอบแทนจากการเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต หักภาษี
NI = NNP – ภาษีทางอ้อมทางธุรกิจ
หรื อ NI = R + W + I + CP + PRI
โดยที/ R = ค่าเช่า (Rent) 6. รายได้ ทใี' ช้ จ่ายได้ จริงหรื อรายได้ พงึ ใช้ จ่าย
W = ค่าจ้าง (Wage) (Disposable Income : DI)
I = อัตราดอกเบีLย (Interest rate) เป็ นรายได้ที/แสดงถึงอํานาจซืLอที/แท้จริ งของ
CP = กําไร (Corporate profit) ประชาชน รวมทัLงความสามารถในการออม
PRI = รายได้จากการประกอบอาชีพอิสระหรื อ DI = PI – ภาษีเงินได้ส่วนบุคคล
ธุรกิจส่ วนตัว (Proprietor’s income)

7. รายได้ เฉลีย' ต่ อบุคคล (Per capita income) จะคํานวณจากผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบืLองต้น (GNP) หรื อ


รายได้ประชาชาติ (NI) หรื อรายได้ส่วนบุคคล (PI) หารด้วยจํานวนประชากร
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบืLองต้นปี ที/ n
รายได้เฉลี/ยต่อบุคคล =
จํานวนประชากรปี ที/ n
ความสั มพันธ์ ของ GNP, NNP, NI, DI

- ภาษีเงินได้ของบริษัท
- กําไรทีCยังไม่ได้จัดสรร
การลงทุน ค่าเสืCอม - เงินปันผล
ของภาคธุรกิจ - ภาษีประกันสังคม
ทั1งหมด (I) การลงทุน (I) ภาษีทางอ้อม ภาษีทางอ้อม
รายได้กําไร
รายจ่ายของ รายจ่ายของ
ของบริษัท
รัฐบาล (G) รัฐบาล (G) ภาษีเงินได้ส่วนบุคคล
รายได้ผู้ รายได้ผู้
การส่งออก การส่งออก ประกอบ ประกอบ
สุทธิ (X-M) สุทธิ (X-M) อาชีพอิสระ อาชีพอิสระ
การออม (S)
ค่าใช้จ่ายใน ค่าใช้จ่ายใน ดอกเบี1ย ดอกเบี1ย รายได้ส่วน
บุคคลทีCจ่าย
การบริโภค การบริโภค
ค่าจ้าง ค่าจ้าง ได้จริง การบริโภค
ของครัวเรือน ของครัวเรือน
(C) (C) ค่าเช่า ค่าเช่า (C)

GNP NNP NNP NI DI DI


การคํานวณผลิตภัณฑ์ ประชาชาติ
การคํานวณผลิตภัณฑ์ ประชาชาติทางด้ านผลผลิต
§ สิ นค้าและบริ การขัVนสุ ดท้าย คือ สิ นค้าและบริ การที/ถูกซืVอไปเพื/อการบริ โภคเท่านัVน
§ สิ นค้าขัVนกลาง คือ สิ นค้าและบริ การที/ถูกซืVอไปเพื/อนําไปใช้เป็ นปัจจัยในการผลิต
สิ นค้าชนิดอื/น
• คิดเฉพาะมูลค่าของสิ นค้าและบริ การขัVนสุ ดท้าย รวมทัVงส่ วนเปลี/ยนสิ นค้าคงเหลือ
(สิ นค้าขัVนสุ ดท้ายที/ขายไม่หมด)
• คิดแบบมูลค่าเพิ/ม เพื/อขจัดปัญหาการนับซํVา
(double counting)
มูลค่าเพิ/ม = มูลค่าขาย – มูลค่าวัตถุดิบ (มูลค่าสิ นค้าขัLนกลาง)
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (GDP) = ผลรวมของมูลค่าเพิ/มของสิ นค้าและบริ การทุกชนิดในประเทศ
การคํานวณผลิตภัณฑ์ ประชาชาติ
ตัวอย่ างการคํานวณผลิตภัณฑ์ ประชาชาติโดยวิธีมูลค่ าเพิมQ
ขั7นตอน รายรับจากการขาย มูลค่ าสิ นค้ า มูลค่ าเพิมQ ของ
การผลิต (มูลค่ าขาย) ขั7นกลาง ผลผลิต
ข้าวสาลี 4 0 4
แป้ง 6 4 2
ขนมปั ง 20 6 14
รวม 30 10 20 = มูลค่ าผลผลิต
การคํานวณผลิตภัณฑ์ ประชาชาติทางด้ านรายจ่ าย
เป็ นการหาผลรวมของรายจ่ายในการซืVอสิ นค้าและบริ การที/ผลิตขึVนในระยะเวลา
เดียวกัน (1 ปี ) ซึ/งแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท
รายจ่ ายเพื'อการบริโภคของภาคเอกชน (C) รายจ่ ายเพื'อการลงทุน (I)
เป็ นค่าใช้จ่ายของภาคครัวเรื อนในการซืLอสิ นค้า เป็ นรายจ่ายของภาคธุรกิจและภาครัฐบาลเพื/อซืLอสิ นค้า
และบริ การเพื/อใช้ในการบริ โภค ยกเว้น และบริ การมาใช้ในการผลิต ซึ/งประกอบด้วย
- ค่าใช้จ่ายในการซืLอสิ นค้ามือสอง - รายจ่ายเพื/อการก่อสร้างใหม่ ในภาคเอกชน
- ค่าใช้จ่ายในการซืLอบ้านใหม่+ที/ดิน - รายจ่ายเพื/อซืLอเครื/ องมือ เครื/ องจักร และอุปกรณ์
(เป็ นการลงทุน) ต่างๆ ที/ผลิตขึLนใหม่สาํ หรับใช้ในการผลิตสิ นค้าและ
- รายจ่ายเงินโอน บริ การ
- ส่ วนเปลี/ยนของสิ นค้าคงเหลือ = มูลค่าสิ นค้า
คงเหลือปลายปี – มูลค่าสิ นค้าสิ นค้าคงเหลือต้นปี

รายจ่ ายของภาครัฐบาล (G) การส่ งออกสุ ทธิ (X-M)


เป็ นการใช้จ่ายเพื/อซืLอสิ นค้าและบริ การต่างๆ การส่ งออกสุ ทธิ = มูลค่าการส่ งออก – มูลค่าการนําเข้า
ของภาครัฐ
การคํานวณผลิตภัณฑ์ ประชาชาติทางด้ านรายได้
เป็ นการคํานวณรายได้ทV งั หมดที/เจ้าของปัจจัยการผลิตได้รับจากการขายหรื อให้บริ การปั จจัย
การผลิตเหล่านัVนแก่หน่วยธุรกิจต่างๆ เพื/อนําไปผลิตสิ นค้าและบริ การ ซึ/งประกอบด้วย
• ค่าตอบแทนแรงงานของลูกจ้าง : ได้แก่ เงินเดือน ค่าจ้าง และผลตอบแทนอื/น ๆ ทัVงที/
เป็ นตัวเงิน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินโบนัส และที/เป็ นสิ/ งของซึ/งสามารถประเมินค่า
ออกมาเป็ นตัวเงินตามราคาตลาดได้ เช่น ที/อยูอ่ าศัย และอาหาร
• รายได้ที/เอกชนได้รับในรู ปของค่าเช่า : ค่าเช่าที/เอกชนได้รับจากการให้เช่าที/ดิน
ทรัพย์สินอื/น ๆ และผลตอบแทนที/ได้จากธรรมชาติ รวมถึงค่าเช่าประเมินที/เจ้าของใช้
ประโยชน์หรื ออาศัยอยูเ่ อง ส่ วนค่าเช่าที/บริ ษทั ได้รับจะรวมอยูใ่ นกําไรของบริ ษทั
• ดอกเบีVยสุ ทธิ
• รายได้ของกิจการที/ไม่อยูใ่ นรู ปบริ ษทั หมายถึง รายได้ของการประกอบอาชีพอิสระ
• ค่าเสื/ อมราคา
• กําไรของบริ ษทั ก่อนหักภาษี
• ภาษีทางอ้อมธุรกิจ
บัญชีรายได้ ประชาชาติของไทย
1. รู ปแบบการจัดทําและตัวอย่ างบัญชี
แบ่งออกเป็ น 3 ทาง คือ
คํานวณด้ านผลผลิต การคํานวณด้ านรายจ่ าย การคํานวณด้ ายรายได้
จะคํานวณด้วยวิธีมูลค่าเพิ/ม เป็ นการคํานวณตามสมการต่อไปนีL เป็ นการคํานวณผลตอบแทนของ
โดยจําแนกการผลิต
GDP = C + I + G + (X – M) ปัจจัยการผลิตในรู ปค่าจ้าง ค่าเช่า
ดอกเบีLย และกําไร
ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติในประเทศตามราคาประจําปี และตามราคาคงทีQ
1. ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติในประเทศตามราคาประจําปี /ราคาตลาด
คือ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติที/คาํ นวณตามราคาปัจจุบนั หรื อราคาตลาด ซึ/งอาจ
เปลี/ยนแปลงได้จากสาเหตุใดสาเหตุหนึ/งดังนีV
- เกิดการเปลี/ยนแปลงในปริ มาณผลผลิต
- ราคาผลผลิตเปลี/ยนแปลง
- เกิดการเปลี/ยนแปลงของทัVงปริ มาณและราคาผลผลิต

GDP ที/เป็ นตัวเงิน = ∑ Pn Qn


2. ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติในประเทศตามราคาคงทีC
คือ ผลผลิตประชาชาติในประเทศที/แสดงให้เห็นถึงการเปลี/ยนแปลงของปริ มาณ
ผลผลิตในแต่ละปี โดยขจัดความผันผวนของราคาด้วยการใช้ดชั นีราคา (Price index)

ดัชนีราคา (Price Index) คือ ตัวเลขที/แสดงให้เห็นถึงการเปลี/ยนแปลงของระดับราคา


ผลผลิตในระยะเวลาหนึ/งๆ เมื/อเทียบกับปี ฐาน

Real GDP = ∑ P0 Qn
ประโยชน์ ของบัญชีรายได้ ประชาชาติ
1. เป็ นสิ/ งที/แสดงสถานภาพทางเศรษฐกิจในรอบปี
2. เป็ นดัชนีที/ใช้วดั และเปรี ยบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจในแต่ละช่วงเวลา
3. ใช้เป็ นหลักในการกําหนดเป้าหมายทางเศรษฐกิจ และเป็ นเครื/ องวัดระดับความสําเร็ จ
ของนโยบายและมาตรการต่างๆ ของรัฐบาล
4. ใช้ในการเปรี ยบเทียบ GNP ระหว่างประเทศ โดยใช้อตั ราแลกเปลี/ยนเงินตราระหว่าง
ประเทศเป็ นตัวปรับ
5. ใช้เป็ นข้อมูลพืVนฐานในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ข้ อพึงระวังในการใช้ ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติเพื;อการวิเคราะห์ ภาวะเศรษฐกิจ

1. รายได้ประชาชาติแสดงเฉพาะมูลค่าของสิ นค้าและบริ การที/ผา่ นระบบตลาดเท่านัVน


2. รายได้ประชาชาติไม่ได้คาํ นวณและรวมการพักผ่อนหย่อนใจของบุคคลที/ไม่ตอ้ ง
เสี ยค่าใช้จ่าย
3. รายได้ประชาชาติไม่ได้วดั คุณประโยชน์ของสิ นค้าและบริ การ
4. รายได้ประชาชาติไม่สามารถแสดงให้เห็นส่ วนประกอบของผลผลิต
5. รายได้ประชาชาติไม่แสดงให้เห็นการกระจายรายได้ระหว่างบุคคล
6. รายได้ประชาชาติไม่ได้คาํ นึงถึงค่าเสี ยหายที/เกิดจากกระบวนการผลิต
การใช้ ข้อมูลรายได้ ประชาชาติเพื;อศึกษาปัญหาความยากจน
และความเหลื;อมลําJ ของการกระจายรายได้ ในสั งคมเศรษฐกิจไทย
เส้ นลอเรนซ์ (Lorenz curve) และการกระจายรายได้
เป็ นเส้นกราฟที/แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์สะสมของจํานวน
ประชากรกับเปอร์เซ็นต์สะสมของรายได้
%รายได้

100
เส้นการกระจาย
80 รายได้ที/เท่าเทียม
B
60 เส้นการกระจายราย
ได้ที/ไม่เท่าเทียม
40 (Lorenz Curve)
20 A

0 %ประชากร
20 40 60 80 100
สั มประสิ ทธิTจนี ี (Gini)
คือ เครื/ องมือที/ได้จากเส้นลอเรนซ์ ซึ/งนิยมใช้ในการวัดความเหลื/อมลํVาของการ
กระจายรายได้ คือ ค่าสัมประสิ ทธิaจีนี (Gini)
A
Gini =
A+B
0
Lorenz Curve • ถ้ า A = 0 → Gini = 0 + B = 0 แสดง
ให้เห็นถึงความเท่าเทียมกันของรายได้ ซึ/ง
A เส้นลอเรนซ์จะเป็ นเส้นเดียวกันกับเส้น
ทแยงมุม
B A
• ถ้า B = 0 → Gini = A + 0 = 1 แสดงให้
เห็นถึงความไม่เท่าเทียมกันของรายได้

สรุ ป Gini↑ ทําให้การกระจายรายได้แย่ลง


ที#มา: researchgate.com
ที#มา: huffpost.com
3. ธนาการกลางและนโยบายการเงิน
ธนาคารกลาง (Central Bank)
เป็ นสถาบันที/ได้รับมอบอํานาจจากรัฐบาลให้ควบคุมดูแลระบบการเงินและเครดิตของ
ประเทศให้อยูใ่ นระดับที/เหมาะสม เพื/อให้เกิดประโยชน์แก่เศรษฐกิจและสังคมส่ วนรวม
ข้อแตกต่างระหว่างธนาคารกลางและธนาคารพาณิ ชย์
1. ธนาคารกลางทําหน้าที/เพื/อประโยชน์ของประเทศชาติเป็ นหลัก ไม่แสวงหา
กําไรเหมือนธนาคารพาณิ ชย์
2. ธนาคารกลางไม่ดาํ เนินธุรกิจแข่งขันกับธนาคารพาณิ ชย์
3. ลุกค้าของธนาคารกลางเป็ นคนละประเภทกัน ได้แก่ ธนาคารพาณิ ชย์ ส่ วน
ธนาคารพาณิ ชย์ลูกค้าคือ ประชาชน
บทบาทและหน้ าทีขC องธนาคารกลาง

1. ออกธนบัตร
2. เป็ นนายธนาคารของรัฐบาล
3. เป็ นนายธนาคารของธนาคารพาณิ ชย์
4. เป็ นผูร้ ักษาเงินทุนสํารองระหว่างประเทศ
5. เป็ นผูใ้ ห้กยู้ มื แหล่งสุ ดท้าย
6. เป็ นผูค้ วบคุมปริ มาณเงินและเครดิต เป็ นหน้าที/ที/สาํ คัญที/สุด
7. เป็ นผูค้ วบคุมธนาคารพาณิ ชย์
นโยบายการเงิน (Monetary Policy)
คือ การดูแลปริ มาณเงินและสิ นเชื/อโดยธนาคารกลางเพื/อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
ประการใดประการหนึ/งหรื อหลายประการ อันได้แก่ การรักษาเสถียรภาพของราคา การ
รักษาอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ การส่ งเสริ มให้มีการจ้างงานเพิ/มขึVน การรักษา
ดุลยภาพของดุลการชําระเงินระหว่างประเทศ และการกระจายรายได้ที/เป็ นธรรม
ประเภทของนโยบายการเงิน

1. นโยบายการเงินแบบเข้ มงวด คือ การใช้เครื/ องมือต่างๆทางการเงินเพื/อให้ปริ มาณเงิน


ในระบบเศรษฐกิจลดลง ซึ/งมักจะใช้ในกรณี ที/ระบบเศรษฐกิจปะสบปัญหาเงินเฟ้อ
ประชาชนมีการใช้จ่ายเกินตัว จึงต้องลดปริ มาณเงิน เพื/อไม่ให้การเงินร้อนแรงเกินไป
2. นโยบายการเงินแบบผ่ อนคลาย คือ การใช้เครื/ องมือต่างๆทางการเงินเพื/อให้ปริ มาณ
เงินในระบบเพิ/มขึVน ซึ/งมักจะใช้ในกรณี ที/มีปัญหาเงินฝื ดหรื อภาวะเศรษฐกิจซบเซา
เครืC องมือของนโยบายการเงิน
1. การควบคุมทางปริมาณหรื อโดยทัวC ไป เป็ นการควบคุมซึ/งส่ งผลกระทบต่ออัตรา
ดอกเบีVยทัว/ ไปในตลาด และปริ มาณเครดิตทัVงหมดในระบบเศรษฐกิจ โดยเครื/ องมือที/ใช้
ในการควบคุมทางปริ มาณ ได้แก่ การซืVอขายหลักทรัพย์ อัตราดอกเบีVยมาตรฐาน และเงิน
สดสํารองที/ตอ้ งดํารง
เครืC องมือของนโยบายการเงิน
2. การควบคุมทางคุณภาพหรื อวิธีการเลือกสรร เป็ นการควบคุมชนิดของเครดิต ซึ/งใช้
ในกรณี ที/ธนาคารกลางจําเป็ นต้องจํากัดเฉพาะเครดิตบางชนิดเท่านัVน โดยชนิดของ
เครดิตที/ธนาคารกลางมักจะเลือกคุม ได้แก่ การควบคุมเครดิตเพื/อการซืVอขาย
หลักทรัพย์ การควบคุมเครดิตเพื/อการอุปโภคบริ โภค การควบคุมเครดิตเพื/อการซืVอ
บ้านและที/ดิน
เครืC องมือของนโยบายการเงิน
3. การชักชวนธนาคารพาณิชย์ ให้ ปฏิบัตติ าม
ซึ/งจะได้ผลมากน้อยเพียงใดขึVนอยูก่ บั
- จํานวนธนาคารพาณิ ชย์ที/มีอยูใ่ นขณะนัVน
- ความเต็มใจของธนาคารพาณิ ชย์ที/จะปฏิบตั ิตาม
- ความเคารพนับถือในตัวผูว้ า่ การธนาคารกลาง
- การติดตามผลอย่างจริ งจังของเจ้าหน้าที/การเงิน
สรุปนโยบายการเงิน
เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกตํา' มาก
นโยบายการเงิน นโยบายการเงิน
ลดปริ มาณเงิน เพิ/มปริ มาณงาน
แบบเข้มงวด แบบผ่อนคลาย
เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ
1. ธนาคารกลางขายหลักทรัพย์ 1. ธนาคารกลางซืLอหลักทรัพย์
2. เพิ/มอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย 2. ลดอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
3. เพิ/มอัตรารับช่วงซืLอลด 3. ลดอัตรารับช่วงซืLอลด
4. เพิ/มอัตราดอกเบีLยมาตรฐาน 4. ลดอัตราดอกเบีLยมาตรฐาน
เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ
1. เพิ/มเงินดาวน์ + ลดปี ผ่อน 1. ลดเงินดาวน์ + เพิ/มปี ผ่อน
2. เพิ/ม Margin 2. ลด Margin
4. การคลังและนโยบายคลัง
ความหมายและวัตถุประสงค์ ของนโยบายการคลัง

นโยบายการคลัง คือ นโยบายเกี/ยวกับการใช้รายได้และรายจ่ายของรัฐบาล เป็ นเครื/ องมือ


ในการกําหนดแนวทางเป้าหมาย และการดําเนินงาน เพื/อให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
วัตถุประสงค์ ของนโยบายการคลัง

1. ส่ งเสริ มการจัดสรรทรัพยากรระหว่างภาคเอกชนและภารัฐบาลให้เป็ นไปอย่างมี


ประสิ ทธิภาพ
2. ส่ งเสริ มการกระจายรายได้ที/เป็ นธรรม
3. เสริ มสร้างการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื/อง
4. รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
เครืQ องมือของนโยบายการคลัง

เครื/ องมือของนโยบายการคลัง ได้แก่ งบประมาณแผ่นดิน ซึ/งเป็ นแผนการเงินของรัฐบาล


ประกอบด้วยงบประมาณรายได้และรายจ่าย รวมทัVงการจัดหาเงินเพื/อเป็ นค่าใช้จ่ายตาม
ประมาณการรายจ่ายในช่วงระยะเวลา 1 ปี ดังนัVนเครื/ องมือของนโยบายการคลังจึง
ประกอบด้วย รายจ่าย รายรับ และหนีVสาธารณะ
ปี งบประมาณ

งบประมาณปี 2568 คือ ช่วง 1 ตุลาคม 2567 – 30 กันยายน 2568


ส่ วนประกอบของงบประมาณแผ่ นดิน
1. รายจ่ ายของรัฐบาล ซึ/งจําแนกตามลักษณะเศรษฐกิจได้เป็ น 2 วิธียอ่ ย คือ
1.1 การจําแนกรายจ่ ายของ 1.2 การจําแนกรายจ่ ายของรัฐบาลออกเป็ นรายจ่ ายใน
รัฐบาลออกเป็ นงบลงทุนหรื อ การซืYอสิ นค้ าและบริการ และรายจ่ ายเงินโอน
รายจ่ ายในการลงทุน และงบ ซึ/งแบ่งย่อยเป็ น 2 ส่ วนคือ
ประจําหรื อรายจ่ ายในการ ก. รายจ่ายเงินโอนที/ไม่มีผลต่างตอบแทน
บริโภค ได้แก่ เงินบําเหน็จบํานาญ เงินชดเชยการว่างงาน
เป็ นต้น
ข. รายจ่ายในการซืVอสิ นทรัพย์เช่น การซืVอ
สิ/ งก่อสร้างเก่า การจ่ายเวนคืนที/ดิน เป็ นต้น
2. รายได้ ของรัฐบาล แบ่งเป็ น

รายได้ จากภาษีอากร เช่น ภาษีเงินได้ รายได้ ทมีC ใิ ช่ ภาษีอากร ได้แก่ รายได้จาก


บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล รัฐพาณิ ชย์ รายได้จากการขายหลักทรัพย์
ภาษีศุลกากร และภาษีสรรพสามิต อสังหาริ มทรัพย์ และค่าธรรมเนียม
นิยามของภาษี คือ สิ/ งที/รัฐบาลบังคับจัดเก็บจากประชาชน และนํามาใช้เพื/อประโยชน์ของ
ส่ วนรวม โดยไม่มีสิ/งตอบแทนโดยเฉพาะแก่ผเู ้ สี ยภาษี โดยภาษีมีการจําแนกประเภทดังนีV
1. ภาษีทางตรง คือ ภาษีที/ผเู ้ สี ยภาษีเป็ นผู ้ 2. ภาษีทางอ้ อม คือ ภาษีที/ผเู ้ สี ยภาษีเป็ น
แบกรับภาษีนV นั ทัVงหมดหรื อส่ วนใหญ่ไม่ ผูแ้ บกรับภาษีเพียงบางส่ วนหรื ออาจผลัก
สามารถผลักภาระภาษีไปยังผูอ้ ื/นได้ โดย ภาระภาษีทV งั หรื อส่ วนใหญ่ไปยังผูอ้ ื/นได้
มักเก็บจากฐานรายได้และทรัพย์สิน โดยมักเก็บจากฐานการใช้จ่ายหรื อการ
ซืVอขาย

โครงสร้ างอัตราภาษี
1. อัตราภาษีแบบก้าวหน้า คือ อัตราภาษีส่วนเพิ/มมีค่ามากกว่าอัตราภาษีเฉลี/ย เมื/อฐานภาษี
ใหญ่ขV ึน
2. อัตราภาษีแบบคงที/ คือ อัตราภาษีส่วนเพิ/มมีค่าเท่ากับอัตราภาษีเฉลี/ย ไม่วา่ ฐานภาษีจะ
เพิ/มขึVนหรื อลดลง
3. อัตราภาษีแบบถดถอย คือ อัตราภาษีส่วนเพิ/มมีค่าน้อยกว่าอัตราภาษีเฉลี/ย เมื/อฐานภาษี
ใหญ่ขV ึน
ตัวอย่ างโครงสร้ างอัตราภาษี
โครงสร้ าง ฐานภาษี อัตราภาษี จํานวนภาษี อัตราภาษีเฉลียC อัตราภาษีส่วนเพิมC
อัตราภาษี (Y) (T) (T/Y) (∆T/∆Y)
อัตราภาษี 1,000 7 70 0.07 -
แบบ 2,000 10 200 0.10 0.13
ก้าวหน้า 3,000 15 450 0.15 0.25
อัตราภาษี 1,000 7 70 0.07 -
แบบคงที/ 2,000 7 140 0.07 0.07
3,000 7 210 0.07 0.07
อัตราภาษี 1,000 15 150 0.15 -
แบบ 2,000 10 200 0.10 0.05
ถดถอย 3,000 7 210 0.07 0.01
3. หนีสY าธารณะ ในกรณี ทวั/ ไปที/งบประมาณแผ่นดินขาดดุล รัฐบาลจะต้องจัดหาเงิน
มาเพิ/มเข้าไปในส่ วนที/ขาดดุล โดยการก่อหนีVสาธารณะ สามารถจําแนกตามแหล่งที/มา
ของเงินกูไ้ ด้เป็ นหนีVภายในประเทศ และหนีVต่างประเทศ
วัตถุประสงค์ ของการก่ อหนีสY าธารณะ

การก่ อหนีภY ายในประเทศ การก่ อหนีตY ่ างประเทศ


• เพื/อชดเชยงบประมาณขาดดุล • เพื/อเพิ/มการลงทุนด้านอุตสาหกรรม
ชัว/ คราว และโครงสร้างพืVนฐานทางเศรษฐกิจ
• เพื/อใช้ในการลงทุนตามโครงการ • เพื/อชําระค่าสิ นค้าทุนและเทคโนโลยี
พัฒนาเศรษฐกิจ ที/นาํ เข้ามาจากต่างประเทศ
• เพื/อสร้างเสถียรภาพของระบบ
เศรษฐกิจ
ผลกระทบของการก่ อหนีสY าธารณะ
การก่ อหนีใA นประเทศ การก่ อหนีตA ่ างประเทศ
• ผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยทัว/ ไป • ผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากร
ผลกระทบต่อการจัดสรรทรัพยากร • ผลกระทบต่องบประมาณรายจ่าย
ผลกระทบต่อตลาดเงินและการลงทุน ของรัฐบาล
ผลกระทบต่องบประมาณรายจ่ายของภาครัฐ • ผลกระทบต่อดุลการชําระเงิน
ผลกระทบต่อการกระจายรายได้
ผลกระทบต่ออุปสงค์รวมและภาวะดุลการค้า
• ผลกระทบต่อปริ มาณเงินและสิ นเชื/อของเงินกูจ้ าก
แหล่งต่างๆ
การกูเ้ งินจากธนาคารกลางและการใช้เงินคงคลัง
การกูเ้ งินจากธนาคารพาณิ ชย์
การกูเ้ งินจากสถาบันการเงินอื/นและประชาชน
ประเภทของนโยบายการคลัง
1. นโยบายการคลังจําแนกตามลักษณะงาน แบ่งเป็ น
1.1 นโยบายการคลังแบบอัตโนมัติ 1.2 นโยบายการคลังแบบตัYงใจ
เป็ นนโยบายการคลังที/สามารถ มักจะถูกนํามาใช้ในกรณี ที/ระบบ
ปรับตัวเพื/อให้เกิดเสถียรภาพหรื อลด เศรษฐกิจมีความผันผวนมาก และเกิดขึVน
ความผันผวนระบบเศรษฐกิจได้โดย เป็ นเวลานาน ซึ/ งอาจทําให้นโยบายการ
อัตโนมัติ ซึ/งเครื/ องมือของนโยบาย คลังแบบอัตโนมัติใช้ไม่ได้ผล โดย
การคลังแบบอัตโนมัติ ได้แก่ ภาษีเงิน เครื/ องมือของนโยบายการคลังแบบตัVงใจ
ได้และรายจ่ายเงินโอนของรัฐบาล ได้แก่ การเปลี/ยนแปลงชนิดของภาษี
ภาษีอตั ราก้าวหน้า และเงินชดเชยการ อัตราภาษี และการเปลี/ยนแปลงระดับการ
ว่างงาน ใช้จ่ายองรัฐบาล
นโยบายการคลัง

แบบขยายตัว แบบหดตัว
เครืQ องมือของนโยบายการคลัง

แบบตั7งใจ แบบอัตโนมัติ

แบบขยายตัว แบบหดตัว
งบประมาณ ขาดดุล งบประมาณ เกินดุล
G>T G<T ภาษีอตั รา เงินช่ วยเหลือผู้
Gเพิ/ม และ Tลด Gลด และ Tเพิ/ม ก้ าวหน้ า ว่ างงาน
เครืQ องมือของนโยบายการคลัง
แบบตั7งใจ
ใช้ ในช่ วงเศรษฐกิจตกตํ4า
เครื; องมือของนโยบายการคลัง
แบบอัตโนมัติ
• เครื/ องมือที/สามารถปรับตัวเพื/อให้เกิดเสถียรภาพหรื อลดความผันผวนได้โดยอัตโนมัติ

มาตรการที/สาํ คัญ

• การจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า
• การจ่ายเงินช่วยเหลือผูว้ า่ งงาน
• การจ่ายเงินพยุงราคาสิ นค้าเกษตรกรรม
การจัดเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า
รายได้ อัตราภาษี (ร้อยละ)
ตํ9ากว่า 20,000 10
20,001 - 50,000 40
เดิม รายได้ 30,000 บาท
เสี ยภาษี 2,000 + 4,000 = 6,000 บาท ดังนัBน รายได้สุทธิ 24,000 บาท
ถ้า เศรษฐกิจดี ทําให้ รายได้ เพิ9มเป็ น 50,000 บาท
เสี ยภาษี 2,000 + 12,000 = 14,000 บาท ดังนัBน รายได้สุทธิ 36,000 บาท
รายได้เพิ9มจากเดิม 20,000 บาท และรายได้สุทธิเพิ9มจากเดิม 12,000 บาท
ถ้า เศรษฐกิจแย่ ทําให้ รายได้ ลดเป็ น 20,000 บาท
เสี ยภาษี 2,000 บาท ดังนัBน รายได้สุทธิ 18,000 บาท
รายได้ลดจากเดิม 10,000 บาท และรายได้สุทธิลดจากเดิม 6,000 บาท
การจ่ายเงินช่วยเหลือผูว้ า่ งงาน
เศรษฐกิจตกตํ;า ว่างงานมาก
• ไม่มีการจ่ายเงินช่วยเหลือผูว้ า่ งงาน ศก.แย่ลงมาก

รายได้ C I Y
• มีการจ่ายเงินช่วยเหลือผูว้ า่ งงาน ศก.แย่ลงไม่มากเท่ากรณี แรก
รายได้ C I Y
การจ่ายเงินช่วยเหลือผูว้ า่ งงาน
เศรษฐกิจรุ่ งเรื องมาก ว่างงานน้อย
• ไม่มีการจ่ายเงินช่วยเหลือผูว้ า่ งงาน ศก.ร้อนแรงเกินไป

รายได้ C I Y
• มีการจ่ายเงินช่วยเหลือผูว้ า่ งงาน ศก.ไม่ร้องแรงเกินไป
รายได้ C I Y

76
2. นโยบายการคลังจําแนกตามลักษณะปัญหาเศรษฐกิจทีตC ้ องแก้ ไข แบ่งเป็ น
2.1 นโยบายการคลังแบบขยายตัว คือ นโยบายการคลังที/เพิ/มงบประมาณ
รายจ่ายและลดภาษี เป็ นการใช้งบประมาณขาดดุล เพื/อเพิ/มระดับการใช้จ่ายมวลรวมของ
ประเทศ จะใช้ตอนภาวะเศรษฐกิจตกตํ/า
2.2 นโยบายการคลังแบบหดตัว คือ นโยบายการคลังที/ลดงบประมาณรายจ่าย
และเพิ/มภาษีหรื อการจัดทํางบประมาณแบบเกินดุล เพื/อให้ระดับการใช้จ่ายมวลรวม
ลดลง จะใช้ในช่วงที/เศรษฐกิจร้อนแรงเกินไป

เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกตําC
นโยบายการคลังแบบหดตัว นโยบายการคลังแบบขยายตัว
ลดรายจ่าย เพิ/มรายจ่าย
เพิ/มรายได้ (ภาษี) ลดรายได้ (ภาษี)
งบประมาณแบบเกินดุล งบประมาณแบบขาดดุล
Q&A

You might also like