Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

แนวทำงกำรรำยงำนผลกำรปฏิบัติตำมแผนแม่บทกำรพัฒนำทรัพยำกรบุคคล

สำนักงำนตำรวจแห่งชำติ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2567 (ตั้งแต่ 1 ต.ค.66 - 30 ก.ย.67)

ลำดับ กิจกรรม/รำยละเอียดกำรดำเนินกำร หน่วยรับผิดชอบ หมำยเหตุ


1 หลักสูตรกำรผลิตข้ำรำชกำรตำรวจ (Pre-service training)
1.1 พัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรมหรือกาหนดเนื้อหา รร.นรต.
ในแต่ละวิชาในหลักสูตรให้สอดคล้องกับมิติของการพัฒนาสมรรถนะ บช.ศ.
๔ ด้าน ได้แก่ สมรรถนะหลัก สมรรถนะการบริหารสมรรถนะเฉพาะทาง บช.ตชด.
และสมรรถนะการขับเคลือ่ นทางยุทธศาสตร์
โดยเน้นสมรรถนะหลักเป็นสาคัญ และสมรรถนะอื่น ๆ ตามลาดับ
ความสาคัญ
1.2 ผลการจัดการฝึกอบรมในรอบปีงบประมาณ

2 กำรฝึกอบรมหลักสูตรกำรพัฒนำด้ำนกำรบริหำร บช.ศ.
2.1 พัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรม หรือกาหนดเนื้อหา บช.ตชด.
ในแต่ละวิชาในหลักสูตรให้สอดคล้องกับมิติของการพัฒนาสมรรถนะ
๔ ด้าน ได้แก่ สมรรถนะด้านการบริหาร สมรรถนะเฉพาะทาง และ
สมรรถนะการขับเคลือ่ นทางยุทธศาสตร์ โดยเน้นสมรรถนะด้านการ
บริหารเป็นสาคัญ และสมรรถนะอื่นๆ ตามลาดับความสาคัญ
2.2 ผลการจัดการฝึกอบรมในรอบปีงบประมาณ
3 กำรฝึกอบรมหลักสูตรเฉพำะทำงและหลักสูตรที่กำหนดตำม บช.ศ.
คุณสมบัติเฉพำะสำหรับตำแหน่ง บช.ตชด.
3.1 พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรมหรือกาหนดเนื้อหา กมค.
ในแต่ละวิชาในหลักสูตรให้สอดคล้องกับมิติของการพัฒนาสมรรถนะ สพฐ.ตร.
๔ ด้าน ได้แก่ สมรรถนะด้านการบริหาร สมรรถนะเฉพาะทาง และ สกบ.
สมรรถนะการขับเคลือ่ นทางยุทธศาสตร์ โดยเน้นสมรรถนะ บช.ก.
ด้านการบริหารเป็นสาคัญ และสมรรถนะอื่น ๆตามลาดับความสาคัญ
3.2 ผลการจัดการฝึกอบรมในรอบปีงบประมาณ

4 กำรฝึกอบรมหลักสูตรเพื่อพัฒนำข้ำรำชกำรตำรวจอย่ำงต่อเนื่อง บช.ศ.
ระดับผู้บังคับหมู่ถึงรองผู้กำกับกำร ใน 5 สำยงำนหลัก รร.นรต.
4.1 การดาเนินการด้านงบประมาณ กมค.
4.2 วางระบบการจัดฝึกอบรมให้หน่วยต่าง ๆ ดาเนินการ
4.3 ผลการจัดการฝึกอบรมในรอบปีงบประมาณ

5 โครงกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำลังพลและกำรฝึกอบรม บชศ.
ด้ำนยุทธวิธีตำรวจ กมค.
5.1 จัดทาโครงการการพัฒนาที่ตอบสนองการพัฒนาสมรรถนะ ทุกหน่วย
เฉพาะทาง และมีความจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้ทัน
ต่อการเปลีย่ นแปลงและการตอบสนองนโยบายของรัฐ
5.2 ผลการจัดการฝึกอบรมในรอบปีงบประมาณ
ลำดับ กิจกรรม/รำยละเอียด หน่วยรับผิดชอบ หมำยเหตุ
6 กำรพัฒนำทรัพยำกรบุคคลด้วยวิธีกำรอืน่ ๆ
6.1 การปรับการฝึกอบรมตามหลักสูตรต่างๆ ของ ตร. ให้เป็นการเรียนรู้ รร.นรต.
แบบผสมผสาน (Blended Learning) บช.ศ.
- ใช้กระบวนการเรียนรูผ้ สมผสาน เช่น การเรียนในห้อง
การเรียนทางไกล ใช้ระบบ e-Learning ฝึกสถานการณ์สมมติ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เป็นต้น
6.2 ทุนการศึกษาระดับปริญญาในต่างประเทศ
สรรหาทุนการศึกษาให้แก่ข้าราชการตารวจ
- ทุนสานักงาน ก.พ. สกพ.
- ทุนศึกษาต่อของ ตร. รร.นรต.
- การแสวงหาความร่วมมือเพื่อสนับสนุนทุนการศึกษาจาก สทส.
หน่วยงานต่าง ๆ เช่น กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย
และนวัตกรรม เป็นต้น
6.3 ทุนการฝึกอบรมระยะสัน้ สรรหาทุนการฝึกอบรมระยะสัน้ เพื่อจัดสรร
ให้ข้าราชการตารวจไปฝึกอบรม พัฒนาความรูค้ วามสามารถ
เฉพาะด้าน ได้แก่
- ทุนการฝึกอบรมของสานักงาน ก.พ. สกพ.
- ทุนของประเทศต่าง ๆ และองค์กรต่างประเทศ ตท.

6.4 หลักสูตรการฝึกอบรมภายในประเทศ สรรหาและประสานงาน สกพ.


เพื่อขอรับการสนับสนุนทุน การฝึกอบรมภายในประเทศ เพื่อ พัฒนำ
สมรรถนะด้านต่าง ๆ
6.5 สร้างระบบการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) รร.นรต.
- สร้างหลักสูตรหรือบทเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ ประกอบด้วยบทเรียน บช.ศ.
สือ่ การเรียน เงื่อนไขการฝึกอบรม และการทดสอบ
- ผสมผสานใช้บทเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning)
กับหลักสูตรการฝึกอบรมที่มีอยูแ่ ล้ว
- จัดทาห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library)
6.6 การทดสอบความรูด้ ้านวิชาชีพตารวจและความรูท้ างกฎหมาย รร.นรต.
๑) งานป้องกันปราบปราม บช.ศ.
๒) งานจราจร กมค.
๓) งานสืบสวน
4) งานสอบสวน
5) งานอานวยการ
6.7 การตรวจร่างกายประจาปี และการประเมินสุขภาพจิต รพ.ตร.
- จัดระบบการตรวจร่างกายประจาปี และการประเมินสุขภาพจิต
ให้ครอบคลุมข้าราชการตารวจและต่อเนื่อง
6.8 การทดสอบสมรรถนะทางร่างกาย รพ.ตร.
- จัดระบบการทดสอบสมรรถนะทางร่ายกาย ทุกหน่วย
และสร้างความตระหนักและจูงใจให้ข้าราชการตารวจพัฒนาสมรรถนะ
ทางร่ายกาย
ลำดับ กิจกรรม/รำยละเอียด หน่วยรับผิดชอบ หมำยเหตุ
6.9 การจัดการฝึกและการประกวดการฝึกของข้าราชการตารวจ สยศ.ตร.
- จัดระบบให้ข้ราชการตารวจในสถานีตารวจและหน่วยปฏิบัติต่างๆ ทุกหน่วย
ได้รับการฝึกอย่างต่อเนื่อง
- พัฒนารูปแบบการฝึกให้เหมาะสมกับการพัฒนาสมรรถนะ
ของข้าราชการตารวจ ทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติหน้าที่
ในสายงานต่าง ๆ
6.10 การฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ สยศ.ตร.
- จัดระบบให้ข้าราชการตารวจมีการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ทั้งนี้ ทุกหน่วย
ตามหลักเกณฑ์และรูปแบบที่ ตร.กาหนด และติดตามผลการปฏิบัติ

6.11 การทบทวนหลังการปฏิบัติ (AAR After Action Review) เพื่อให้ บชศ.


เกิดการเรียนรูด้ ้วยตนเอง รร.นรต.
- การจัดทาแนวทางการทบทวนหลังการปฏิบัติ ซึง่ อย่างน้อย
ต้องประกอบด้วยลักษณะงานหรือภารกิจที่ต้องมีการทบทวน
หลังปฏิบัติกระบวนการทบทวน ระยะเวลา บุคคลที่มีส่วนร่วม
การเก็บรวบรวมองค์ความรูท้ ี่ได้จากการทบทวน

6.12 การมอบหมายให้ทาหน้าที่วิทยากร รร.นรต.


- ส่งเสริมให้ข้าราชการตารวจในสังกัด ทาหน้าที่เป็นวิทยากร ทุกหน่วย
ให้ความรูแ้ ก่ข้าราชการตารวจในสังกัด ตามความรูค้ วามสามารถ
- พัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรให้แก่ข้าราชการตารวจ
6.13 การจับคูก่ ารปฏิบัติหน้าที่ การจัดพี่เลีย้ งฝึกงาน รร.นรต.
- การมอบหมายให้ข้าราชการตารวจที่ได้รับการบรรจุและแต่งตัง้ ใหม่หรือ ทุกหน่วย
ผูท้ ี่ได้รับการแต่งตัง้ โยกย้ายเปลีย่ นสายงาน ปฏิบัติหน้าที่
กับข้าราชการตารวจที่มีความรูค้ วามสามารถเหมาะสม
ทาหน้าที่เป็นพี่เลีย้ ง
6.14 การนิเทศงานสาหรับข้าราชการตารวจที่เข้าปฏิบัติหน้าที่ครัง้ แรก ทุกหน่วย
- การจัดนิเทศงานหรือการฝึกอบรมให้ความรูส้ าหรับข้าราชการตารวจที่
ได้รับการบรรจุและแต่งตัง้ ครัง้ แรก โดยมอบหมายข้าราชการตารวจ
ภายในหน่วยงานที่มีคุณสมบัติเหมาะสม

6.15 สร้างสภาพแวดล้อมจูงใจให้ข้าราชการตารวจพัฒนาตนเอง สกพ.


- พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลบุคคล เพื่อจัดเก็บข้อมูลการพัฒนา บช.ศ.
ข้าราชการตารวจแต่ละบุคคล
- พิจารณาจัดทาเว็บไซต์หรือแอพพลิเคชั่นในลักษณะ Portal Web ซึง่
สามารถเชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์อื่น เพื่อเป็นฐานข้อมูลและ
แหล่งเรียนรูด้ ้วยตนเองของข้าราชการตารวจ และเชื่อมโยงไปสูร่ ะบบการ
การจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและการประเมินผล

You might also like