Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 238

เอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู

รายวิชาคณิตศาสตร
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
รหัส พค21001

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

หามจําหนาย
หนังสือเรียนนี้จัดพิมพดวยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน
ลิขสิทธิ์เปนของสํานักงาน กศน.สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
nlun

∩1彫 ηlつ く目∩Un3∩ ηl翻 uluuη uu∩ 58∩ υ∩創 nη Ⅶ∩ηぅ高nuη


ηハ1彫 nlJ∩ 11月 ∩υη ぎη膏∩くη覇

ぶ予υ粛∩%Olllu∩ ηぅ、R∩ 1、 高∩uη lデ 者u∩ o関 し


∩n■ .1■ lη u彫 もηνNη u」 、彫%η ■■ηηt」 デ0」 ■。∩1彫 lJU

ttuu
llく ι l∩ 81イνざ∩aml∩ ηl何 ∩υη■o∩ 1811υ 5彫 ∩U∩ η5肩 ∩υη■■耐視筍1■ Ⅶη5籠 ∩ヽη■ 2551
1unη l旬 ∩∩η、何∩υηl済 ″ll∩ aNLも ηИttη u∩ く∩ano ttattt樹 oし 1■ ∩11口 O IJ a■ oく ulullη u■ 0く

nl彫 ηlっ く同∩uη 3∩ lilu∩ ηl日 ∩1彫 ∩lJttaattQη gⅥ lく ∩η、1号 uu剛 oく tttUu∩ nu.ν a∩ 働、∩ηl目 ∩υη■0∩
ζ 冤


8Uυ l彫 nlJ∩ η
、日∩
u■ 剛
uⅥ 蹴
in■ 璃η3n∩ 、
η%25511ヂ aく う
u♂ η
膏∩く
ηu∩ 何
■.1くt斉 う∩
デnal」 し
翁oИ η
ttu視 jη
デ献3く 彫
さ 辱く¶ ザllデ ぶ:号 U現 し 105憫 旬彫dく 因al漱嵐ι
もηらくが01斉a彫 ∩η∩ :Q∩ し 員因alttη Ⅵ ηく∩ηitlUu

∩句■

al」 し
Ooν ηデ斉0く 意翻L]OИ ηttη ¶η∩∩ηl』 η
Иず子
Qa。 118.%olビ η膏∩く
ηu∩ nu.潤 η
al」 L倒 oИ η

」1彫 L∩ u31∩ 側 Ⅵao∩ ∩aoく mη 脚因く∩η100∩ 剛OaOυ luLLma彫 lη uη %η 剛0く an■ ∩くη■ ∩籠■.anИ llJ

LO∩ an131」 Lう oⅥ η
デ斉oく ζ
倒♂η
膏∩く
ηu an■ .1討ミqデ 111u弓 %η 憮栴 デQa■ 5 anl彫 lo1 42 5η u6%η

漁倒♂η 膏∩く
η■∩ ■.1斉LS劉 電ι ttUQ%η 旬∩ ηut10Ⅵ l日 ∩υη
Qし Ⅵ何バザ∩
6%η ∩η
ぅanυ η∩1粛 aO■ LLa彫

ζι
バUつ も
3く 田η衝1」 ι
倒oИ η
デ斉0く il■ lη U6%η κQ∩ ぎη
η
♂η膏∩くη視 ∩何■.Ⅵ つくLl制 OJη くづくづη旬彫Ll■ 」1彫 18%」 ″υ
ttL号
日 ∩n明 .ν ♂∩筍ml∩ ηl目 ∩ul

■0∩ 1彫 lll11彫 ∩υ∩15n∩ υηttuⅦ ■5η 蹴 Ⅶη5n∩ lη %2551 mη tta潤 ∩ηl ηく■oOJOυ naJ 3oη u■ ∩何u.

∩η∩nη ∩ganu■ ∩η
nη lanυ η Ⅵηくl∩ aぶ Liuη %η 電荷n■ ι
」OИ η高∩υη
QLⅥ nバ ■
a5■ lnl16∩ uη


こ和0・ 比 a彫
ふバ
UQ偽 くNη tt lo∩ nai

La旬 15∩ η5∩ 何■ .

3く Vη ∩潤2559
สารบัญ
หนา
คําแนะนําการใชเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู 1
โครงสรางรายวิชาคณิตศาสตร 3
แบบทดสอบกอนเรียน 4
บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ 9
เรื่องที่ 1 จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย 10
เรื่องที่ 2 การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม 11
เรื่องที่ 3 การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม 12
เรื่องที่ 4 สมบัติของจํานวนเต็มและการนําไปใช 16
บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม 21
เรื่องที่ 1 ความหมายของเศษสวน และทศนิยม 22
เรื่องที่ 2 การเขียนเศษสวนดวยทศนิยม และการเขียนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน 23
เรื่องที่ 3 การเปรียบเทียบเศษสวนและทศนิยม 25
เรื่องที่ 4 การบวก ลบ คูณ หารเศษสวนและทศนิยม 26
บทที่ 3 เลขยกกําลัง 32
เรื่องที่ 1 ความหมายและการเขียนเลขยกกําลัง 33
เรื่องที่ 2 การคูณและการหารเลขยกกําลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม 34
เรื่องที่ 3 การเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร 36
บทที่ 4 อัตราสวนและรอยละ 39
เรื่องที่ 1 อัตราสวน 40
เรื่องที่ 2 สัดสวน 44
เรื่องที่ 3 รอยละ 46
เรื่องที่ 4 การแกโจทยปญ
 หาเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละ 48
สารบัญ (ตอ)
หนา
บทที่ 5 การวัด 57
เรื่องที่ 1 การเปรียบเทียบหนวยความยาวและพื้นที่ 58
เรื่องที่ 2 การเลือกใชหนวยการวัด ความยาวและพื้นที่ 62
เรื่องที่ 3 การหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิต 63
เรื่องที่ 4 การแกโจทยปญ หาเกี่ยวกับพื้นที่ในสถานการณตางๆ 76
เรื่องที่ 5 การคาดคะเนเวลา ระยะทาง ขนาด น้ําหนัก 77
บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นทีผ่ ิว 84
เรื่องที่ 1 ลักษณะสมบัติและการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม 85
เรื่องที่ 2 การหาปริมาตรและพื้นทีผ่ ิวของทรงกระบอก 87
เรื่องที่ 3 การหาปริมาตรของพีระมิด กรวยและทรงกลม 89
เรื่องที่ 4 การเปรียบเทียบหนวยปริมาตร 95
เรื่องที่ 5 การแกโจทยปญ หาเกี่ยวกับปริมาตรและพื้นทีผ่ ิว 97
เรื่องที่ 6 การคาดคะเนเกี่ยวกับปริมาตรและพื้นทีผ่ ิว 98
บทที่ 7 คูอันดับและกราฟ 104
เรื่องที่ 1 คูอันดับ (Ordered pairs) 105
เรื่องที่ 2 กราฟของคูอันดับ (Graphing Ordered Pairs) 106
เรื่องที่ 3 การนําคูอันดับและกราฟไปใช 108
บทที่ 8 ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ 114
เรื่องที่ 1 ภาพของรูปเรขาคณิตสองมิติทเี่ กิดจาการคลี่รปู เรขาคณิตสามมิติ 115
เรื่องที่ 2 ภาพสองมิตทิ ี่ไดจากการมองดานหนา ดานขาง หรือดานบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ 118
บทที่ 9 สถิติ 127
เรื่องที่ 1 การรวบรวมขอมูล 128
เรื่องที่ 2 การหาคากลางของขอมูล 135
เรื่องที่ 3 การเลือกใชคากลางของขอมูล 137
เรื่องที่ 4 การใชสถิติ ขอมูลสารสนเทศ 139
สารบัญ (ตอ)
หนา
บทที่ 10 ความนาจะเปน 149
เรื่องที่ 1 การทดลองสุม และเหตุการณ 151
เรื่องที่ 2 ความนาจะเปนของเหตุการณ Probabilities of Events. 154
เรื่องที่ 3 การนําความนาจะเปนของเหตุการณไปใชในชีวิตประจําวัน 156
บทที่ 11 การใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการประกอบอาชีพ 162
เรื่องที่ 1 ลักษณะ ประเภทของงานอาชีพที่ใชทักษะทางคณิตศาสตร 163
เรื่องที่ 2 การนําความรูทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับงานอาชีพในสังคม 167
แบบทดสอบหลังเรียน 175
ภาคผนวก 180
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน 181
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 181
คณะผูจัดทํา 228
1

คําแนะนําการใชเอกสารสรุปเนื้อหาทีต่ องรู
เอกสารสรุ ป เนื้อ หาที่ ต อ งรู รายวิ ชาคณิ ตศาสตร ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น รหั ส พค 21001
ใชสําหรับนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แบงออกเปน
2 สวน คือ
สวนที่ 1 โครงสรางรายวิชา แบบทดสอบกอนเรียน โครงสรางของแตละบท เนื้อหาสาระ กิจกรรม
ทายบท และแบบทดสอบหลังเรียน
สวนที่ 2 เฉลยกิจกรรมทายบท และเฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

วิธีใชเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู
ใหนักศึกษาดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
1. ศึกษารายละเอียดโครงสรางรายวิชาโดยละเอียด เพื่อใหทราบวานักศึกษาตองเรียนรูเนื้อหาในเรือ ่ง
ใดบางในรายวิชานี้
2. วางแผนเพื่อกําหนดระยะเวลาและจัดเวลาที่นักศึกษามีความพรอมที่จะศึกษาเอกสารสรุปเนื้อหาที่
ตองรู เพื่อใหสามารถศึกษารายละเอียดของเนื้อหาไดครบทุกบท
3. ทําแบบทดสอบกอนเรียน เพื่อทราบพื้นฐานความรูเดิมของนักศึกษา โดยตรวจสอบคําตอบจาก
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนทายเลม
4. ศึก ษาเนื้อ หาสาระในแตล ะบทอย า งละเอี ย ดใหเ ข า ใจ และทํา กิ จ กรรมท า ยบทที่ กํ า หนดไว ใ ห
ครบถวน
5. เมื่อทํากิจกรรมทายบทเสร็จแตละกิจกรรมแลว นักศึกษาสามารถตรวจสอบคําตอบไดจากเฉลย
ทายเลม หากนักศึกษายังทํากิจกรรมไมถูกตอง ใหนักศึกษากลับไปทบทวนเนื้อหาสาระในเรื่องนั้นซ้ําจนกวาจะ
เขาใจ
6. เมื่อศึกษาเนื้อหาสาระครบทุกบทแลว ใหนักศึกษาทําแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจคําตอบจาก
เฉลยทายเลมวานักศึกษาสามารถทําแบบทดสอบไดถูกตองทุกขอหรือไม หากขอใดยังไมถูกตอง ใหนักศึกษา
กลับไปทบทวนเนื้อหาสาระในเรือ่ งนั้นใหเขาใจอีกครั้งหนึ่ง นักศึกษาควรทําแบบทดสอบหลังเรียนใหไดคะแนน
มากกวาแบบทดสอบกอนเรียน และควรไดคะแนนไมนอยกวารอยละ 60 ของแบบทดสอบทั้งหมด เพื่อใหมั่นใจ
วาจะสามารถสอบปลายภาคผาน
7. หากนั กศึ ก ษาได ทํ าการศึ กษาเนื้อ หาสาระแล ว ยั ง ไม เ ข าใจ นัก ศึ ก ษาสามารถสอบถามและขอ
คําแนะนําไดจากครูหรือแหลงคนควาเพิ่มเติมอื่นๆ
2

8. เอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรูเลมนี้มี 11 บท คือ
บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม
บทที่ 3 เลขยกกําลัง
บทที่ 4 อัตราสวนและรอยละ
บทที่ 5 การวัด
บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นที่ผิว
บทที่ 7 คูอันดับและกราฟ
บทที่ 8 ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
บทที่ 9 สถิติ
บทที่ 10 ความนาจะเปน
บทที่ 11 การใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการประกอบอาชีพ

หมายเหตุ : ใหครูนํากิจกรรมทายบทในแตละบท มาประเมินนักศึกษา โดยเลือกเรื่องที่มีความจําเปนและ


สําคัญ เพื่อเปนคะแนนระหวางภาค
3

โครงสรางรายวิชาคณิตศาสตร
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
(พค 21001)
สาระสําคัญ
ใหผูเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับจํานวนและการดําเนินการ เศษสวน และทศนิยม เลขยกกําลัง
อัตราสวน สัดสวน และรอยละ การวัด ปริมาตรและพื้นที่ผิว คูอันดับและกราฟ ความสัมพันธระหวางรูปทรง
เรขาคณิตสองมิติและสามมิติ สถิติ และความนาจะเปน และการใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการ
ประกอบอาชีพ
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. ระบุ ห รื อยกตัวอยางเกี่ ยวกั บ จํ านวนและการดําเนินการ เศษสวนและทศนิยม เลขยกกํ าลั ง
อัตราส วน ร อ ยละ การวัด การหาปริม าตรและพื้นที่ ผิว คูอันดับ และกราฟ ความสั ม พั นธร ะหวางรูป ทรง
เรขาคณิตสองมิติและสามมิติ สถิติ และความนาจะเปน
2. สามารถคิดคํานวณแกปญหาโจทยและนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได
ขอบขายเนื้อหา
บทที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
บทที่ 2 เศษสวนและทศนิยม
บทที่ 3 เลขยกกําลัง
บทที่ 4 อัตราสวนและรอยละ
บทที่ 5 การวัด
บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นที่ผิว
บทที่ 7 คูอันดับและกราฟ
บทที่ 8 ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
บทที่ 9 สถิติ
บทที่ 10 ความนาจะเปน
บทที่ 11 การใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรในการประกอบอาชีพ

สื่อการเรียนรู
เอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู
4

แบบทดสอบก่ อนเรียน
. ข้อใดต่อไปนี เป็ นเท็จ . ข้อใดเป็ นจํานวนตรงข้ามของ
ก. ไม่ใช่จาํ นวนเต็ม - , , ,-,
ข. - เป็ นจํานวนเต็มลบ ก. - , - , ,
2 ข. , - , , , -
ค. ไม่เป็ นจํานวนเต็ม
5 ค. - , - , , ,
ง. . ไม่เป็ นจํานวนเต็ม ง. , - , ,

. ข้อใดเป็ นจํานวนเต็มทังหมด 6. (18 + 8) – มีค่าเท่ากับข้อใด


2 ก.
ก. 1 , - , , -
3 ข.
ข. . , - , . , - ค.
ค. , , - , - , ง.
4
ง. . ,  , - , .
5 . ข้อใดไม่ถกู ต้อง
ก. (- ) + (- ) = -14
. ข้อใดถูกต้อง
ข. (-8) + 4 = -4
ก. - > -10
ค. 12 + (-6) = -6
ข. -7 < -12
ง. (-12) + 8 = -4
ค. -8 > -4
ง. 0 < -5
8. [(-4) × 2] + [(-7) + (-4)]
ก. -12
4. ข้อใดเรี ยงลําดับจากมากไปหาน้อย
ข. -15
ก. , - , , - ,
ค. -17
ข. - , , , - ,
ง. -19
ค. , , , - , -
ง. , , , - ,
5

9. ถ้า a = -4 b = 3 c = -5 แล้ว (a × b) + (b - c) . ข้อใดเขียนในรู ปทศนิยมได้ถกู ต้อง


มีค่าเท่าไร 4
ก.
ก. 5
ข. - 5
ข.
ค. 6
ง. - 12
ค.
6
14
. ข้อใดถูกต้อง ง.
7
ก. (8 × 7) × 2 = 40
ข. (8 ÷ 1) × 8 = 8
1 1
ค. (0 × 42) +0 = 0 . 3 + มีค่าเท่ากับข้อใด
4 3
ง. (18 ÷ 3) × 3 = 24 7
ก.
6
. จํานวนใดมีค่าน้อยทีสุด 8
ข.
5 6
ก.
4 9
ค.
6 6
ข.
5 10
ง.
12 6
ค.
10
30 5 1
ง. . - มีค่าเท่ากับข้อใด
25 8 2
1
ก.
2 3 1 2
. + + มีค่าเท่ากับข้อใด
5 5 5 1
ข.
4 4
ก.
5 1
ค.
6 6
ข.
5 1
ง.
7 8
ค.
5
8
ง.
5
6

4 2 5
. × มีค่าตรงกับข้อใด . มีค่าเท่ากับข้อใด
7 5 6
6 ก. 0.8
ก.
35 ข. .
8 ค. 0.83
ข.
35 ง. 0.8383
14
ค.
35 21.
20
ง.
35

. จํานวนในข้อใด มีค่ามากทีสุด
ข้อใดคือเศษส่วนแทนภาพทีกําหนดให้
ก. .
1
ข. . ก.
ค. . 3
4
ง. . ข.
5
1
. (34.23 + 3.78) – (2.7 × 3.5) มีค่าเท่ากับข้อใด ค.
2
ก. . 1
ง. 1
ข. . 2
ค. .
ง. . . ข้อใดไม่ถกู ต้อง
1
ก. 3 > .
2 2
. เขียนเป็ นทศนิยมซํา ข้อใดถูกต้อง
3 3
ข. 2 = 2.75
ก. . 4
ข. . 1  3
ค. <   
ค. . 2  4
ง. 0.6 ง. . > .165
7

23. กําหนด a = 3, b = – 6 , c = 5 .
ค่าของ (a + b) – c เท่ากับเท่าไร
ก. – 10
ข. 2
ค. –
ง. ถ้าถังใบหนึงมีเส้นผ่าศูนย์กลางยาว เมตร
1
. ( – ) มีผลลัพธ์ตรงกับข้อใด มีความสูง เมตร บรรจุ ถัง นําในถังมี
2
ก.  ประมาณกีลูกบาศก์เมตร
ข. .  ก.
ค. .  ข.
ง. .  ค. ,
ง. ,
. อัตราส่วนอายุของเมย์กบั มุขเป็ น :
ถ้ามุขอายุ ปี สองคนนี อาบุห่างกันกีปี . กําหนดข้อมูล , , , และ
ก. ค่าเฉลียเลขคณิตของข้อมูลชุดนี
ข. มีค่าตรงกับข้อใด
ค. ก.
ง. ข.
ค.
. ทีดินรู ปสีเหลียมผืนผ้ามีพนที
ื ไร่ งาน ง.
ตารางเมตร และกว้าง เมตร
ทีดินแปลงนี ยาวกีเมตร . กําหนดข้อมูล , , , , ข้อใดถูกต้อง
ก. ก. ค่าเฉลีย = ค่ามัธยฐาน
ข. ข. ฐานนิยม > ค่าเฉลีย
ค. ค. ฐานนิยม = มัธยฐาน
ง. ง. มัธยฐาน < ค่าเฉลีย
8

. กล่องใบหนึงมีลกู บอลสีแดง ลูก


ลูกบอลสีขาว ลูก หยิบลูกบอลอย่างสุ่ม
มา ลูก ความน่าจะเป็ นทีจะได้ลกู บอลสี
ขาวเท่ากับเท่าไร
1
ก.
2
1
ข.
3
2
ค.
3
1
ง.
9
9

บทที
จํานวนและการดําเนินการ

สาระสําคัญ
เรื องของจํานวนและการดําเนินการ เป็ นหลักการเบืองต้นทีเป็ นพืนฐานในการนําไปใช้ในชีวิตจริ ง
เกียวกับการเปรี ยบเทียบ การบวก การลบ การคูณ และการหาร

ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. ระบุหรื อยกตัวอย่างจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย์ได้
2. เปรี ยบเทียบจํานวนเต็มได้
3. บวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็มได้
4. บอกสมบัติของจํานวนเต็มและนําสมบัติของจํานวนเต็มไปใช้ได้

ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย์
เรื องที การเปรี ยบเทียบจํานวนเต็ม
เรื องที การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม
เรื องที สมบัติของจํานวนเต็มและการนําไปใช้
10

เรืองที
จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย์
จํานวนเต็มประกอบไปด้วย จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และจํานวนเต็มศูนย์ ดังโครงสร้าง
ต่อไปนี

จํานวนเต็ม

จํานวนเต็มลบ จํานวนเต็มศูนย์ จํานวนเต็มบวก

จํานวนเต็มบวก คือ จํานวนนับ เป็ นจํานวนชนิดแรกทีมนุษย์รู้จกั มีค่ามากกว่าศูนย์ จํานวนนับจํานวนแรก คือ


จํานวนทีอยูถ่ ดั ไปจะเพิมขึนทีละ เสมอ สามารถเขียนจํานวนนับ เรี ยงตามลําดับได้ ดังนี , , , ... ไปเรื อยๆ
จํานวนนับเหล่านีอาจเรี ยกได้ว่า “จํานวนเต็มบวก” ถ้านําจํานวน และจํานวนเต็มบวกมาเขียนแสดงด้วยเส้น
จํานวนได้ ดังนี

0 1 2 3 4
จํานวนเต็มศูนย์ มีจาํ นวนเดียว คือ ศูนย์ ( )
สําหรับ เป็ นจํานวนเต็ม แต่ไม่เป็ นจํานวนนับ เพราะจะไม่กล่าวว่ามีผเู้ รี ยนจํานวน คน แต่ศนู ย์ก็
ไม่ได้หมายความว่า ไม่มีเสมอไป เช่น เมือกล่าวถึงอุณหภูมิ เพราะทําให้เราทราบและเกิดความรู้สึกขณะ
อุณหภูมิ องศาเซลเซียสได้
จํานวนเต็มลบ หมายถึงจํานวนทีตรงข้ามกับจํานวนเต็มบวก มีค่าน้อยกว่าศูนย์ ( ) มีค่าลดลงเรื อยๆ ไม่มีที
สิ นสุด เช่น - , - , - , ....
พิจารณาจากเส้นจํานวน จะเห็นว่าจํานวนทีอยูท่ างซ้ายของ เป็ นระยะทาง หน่วย เขียนแทนด้วย
- อ่านว่า ลบหนึง ลบสอง ลบสาม ตามลําดับ

จากจํานวนทีอยูท่ างซ้ายของ สองช่อง เขียนแทนด้วย - อ่านว่า ลบสอง ถ้าอยูท่ างซ้ายของ สาม


ช่อง เขียนแทนด้วย - อ่านว่า ลบสาม
11

เรืองที
การเปรียบเทียบจํานวนเต็ม
จํานวนเต็ม จํานวน เมือนํามาเปรี ยบเทียบกันจะได้ว่า จํานวนหนึงทีมากกว่าจํานวนหนึง หรื อ
จํานวนหนึงทีน้อยกว่าอีกจํานวนหนึง หรื อจํานวนทัง จํานวนเท่ากัน เพียงอย่างใดอย่างหนึงเท่านัน
ถ้า a, b, c เป็ น จํานวนธรรมชาติใดๆ แล้ว
a–b=c เมือ a มากกว่า b ตัวอย่าง กําหนดให้ a = 5 b = 2 ดังนัน – 2 = 3
a–b=-c เมือ b มากกว่า a ตัวอย่าง กําหนดให้ a = -5 b = 2 ดังนัน (-5) – 2 = -3
หรื อ a น้อยกว่า b
a–b=0 แล้ว a เท่ากับ b ตัวอย่าง a = (-5)
เครื องหมายทีใช้ > แทนมากกว่า
< แทนน้อยกว่า
= แทนเท่ากับ หรื อเท่ากัน
การเปรี ยบเทียบจํานวนเต็มสามารถเปรี ยบเทียบจากเส้นจํานวนได้ดงั นี

จากเส้นจํานวนจะเห็นว่า > > > > > - > - > - ซึงจะเห็นได้ว่า จํานวนทีอยูบ่ นเส้น
จํานวนด้านขวามีค่ามากกว่าจํานวนทีอยูด่ า้ นซ้ายเสมอ
12

เรืองที
การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม
. การบวกจํานวนเต็ม
). การบวกจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มบวก
การบวกจํานวนเต็มบวกจํานวนใดจํานวนหนึงกับจํานวนเต็มบวกอีกจํานวนหนึง คือการ
เคลือนทีจากจุดทีแทนจํานวนเต็มนัน ไปทางขวาของเส้น จํานวนเป็ นระยะเท่ากับระยะจากศูนย์ไปยังจํานวน
นัน (การเคลือนทีของจุดไปทางขวาคือการเพิมค่า)
ตัวอย่างที จงหาผลบวกของ +
ให้นกั ศึกษาพิจารณาจากเส้นจํานวน

- -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
วิธีคิด เริ มต้นจาก ไปที บวกเพิมไปทางขวาอีก หน่วย จะได้ หน่วย นันคือ + = 6

2). การบวกจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มลบ
การบวกจํานวนเต็มลบจํานวนใดจํานวนหนึงกับจํานวนเต็มลบอีกจํานวนหนึง คือการเคลือนที
จากจุดทีแทนจํานวนเต็มนันไปทางซ้ายของเส้นจํานวนเป็ นระยะเท่ากับระยะจากศูนย์ไปยังเส้นจํานวนนัน
(เคลือนจุดไปทางซ้ายค่าจะลดลง)
ตัวอย่างที จงหาผลบวกของ (– ) + (– )
ให้นกั ศึกษาพิจารณาจากเส้นจํานวน

- -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
วิธีคิด เริ มต้นที – บวกเพิมไปทางซ้ายอีก หน่วย จะได้ –

3). การบวกจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มลบ หรื อ การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มบวก


3.1 การบวกจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มลบ คือ การเคลือนทีจากศูนย์ไปยังจุดทีเป็ นจํานวน
เต็มบวก (ตัวตัง) แล้วบวกเพ่มไปทางซ้ายของเส้นจํานวนเป็ นระยะเท่ากับระยะศูนย์ไปยังจํานวนนัน
(เต็มบวก) ผลลัพธ์ดูจากจํานวนสุดท้าย ตามการเคลือนที
ตัวอย่างที จงหาผลบวกของ + (– )
ให้นกั ศึกษาพิจารณาจากเส้นจํานวน

- -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
13

วิธีคิด เริ มจาก ไปยัง และนับย้อนไปทางซ้ายอีก หน่วย จะได้คาํ ตอบคือ


นันคือ + (– ) = 2
3.2 การบวกจํานวนเต็มลบกับจํานวนเต็มบวก คือการเคลือนทีจากศูนย์ไปยังจุดทีเป็ นจํานวน
เต็มลบ (ตัวตัง) แล้วบวกเพิมไปทางขวาของเส้นจํานวนเป็ นระยะเท่ากับระยะจากศูนย์ ไปยังจํานวนนัน
(ตัวบวก) ผลลัพธ์ดูจากจํานวนสุดท้ายตามการเคลือนที
ตัวอย่างที จงหาผลบวกของ (– ) +
ให้นกั ศึกษาพิจารณาจากเส้นจํานวน

- -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7
วิธีคิด เริ มจาก ไปยัง – นับเพิมไปทางขวา หน่วย จะได้คาํ ตอบคือ –
นันคือ (– ) + = –

. การลบจํานวนเต็ม
ทบทวนจํานวนตรงข้ามของจํานวนเต็มดังต่อไปนี
จํานวนตรงข้ามของ คือ -
จํานวนตรงข้ามของ – คือ และ + (- ) =
จํานวนตรงข้ามของ - เขียนแทนด้วย –(- ) ดังนี –(- ) = 3
พิจารณาการลบจํานวนเต็มสองจํานวนทีกําหนดให้ดงั นี
1) 12 – ) (-12) – (-8)
2) 12 – 4) (-12) - 8
โดยพิจารณาทังสองแบบ
. แสดงการหาผลลบของสองจํานวนทีกําหนดให้
1) 12 – = 4 ) (-12) – (-8) = -4
2) 12 – = -4 4) (-12) – 8 = -20

. แสดงการหาผลลบโดย กําหนดให้ – b แทนจํานวนตรงข้ามของ b แล้วพิจารณาค่าของ a + (-b)


ประโยคแสดงผลลัพธ์ ของ a – b a b (-b) ประโยคแสดงผลลัพธ์ ของ a + (-b)
). – = 1 3 2 (-2) 3 + (-2) = 1
2). 3 – 5 = -2 3 5 (-5) 3 + (-5) = -2
จากการลบจํานวนเต็มสองจํานวนทัง แบบจะเห็นได้ว่า
กําหนด (-b) เป็ นจํานวนตรงข้ามของ b
ผลลัพธ์ของ a-b และผลลัพธ์ของ a+(-b) มีค่าเท่ากัน
14

ดังนัน การลบจํานวนเต็ม เราอาศัยการบวกตามข้อตกลงดังต่อไปนี

ตัวตัง – ตัวลบ = ตัวตัง + จํานวนตรงข้ ามของตัวลบ

นันคือ เมือ a และ b แทนจํานวนใดๆ


a –b = a + จํานวนตรงข้ามของ b
หรื อ a – b = a + (-b)

ตัวอย่าง จงหาเฉลยของจํานวนต่อไปนี โดยใช้บทนิยาม


1. 12 – = 12 + (-8) = 4
2. (-12) – 8 = (-12) + (-8) = -20
3. (-12) – (-8) = (-12) + 8 = -4
4. 12- (-8) = 12 + 8 = 20
. การคูณจํานวนเต็ม
) การคูณจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มบวก ผลลัพธ์เป็ นจํานวนเต็มบวก
เช่น 4 × 5 = 5+5+5+5
= 20
6×4 = 4+4+4+4+4+4
= 24
การคูณจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มบวกนัน ได้คาํ ตอบเป็ นจํานวนเต็มบวกทีมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับ
ผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจํานวนนัน
) การคูณจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มลบ ผลลัพธ์เป็ นจํานวนเต็มลบ
เช่น  (-8) = (-8) + (-8)
= -
 (-7) = (-7) + (-7) + (-7)
= -
การคูณจํานวนเต็มบวกด้วยจํานวนเต็มลบ ได้คาํ ตอบเป็ นจํานวนเต็มลบทีมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณ
ของค่าสัมบูรณ์ของสองจํานวนนัน
15

) การคูณจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มบวก ผลลัพธ์เป็ นจํานวนเต็มลบ (สมบัติการสลับทีการคูณ)


เช่น (- )  =  (- )
= (- ) + (- )+ (- ) + (- )
= -
การคูณจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มบวก ได้คาํ ตอบเป็ นจํานวนเต็มลบทีมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณ
ของค่าสัมบูรณ์ของสองจํานวนนัน
) การคูณจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มลบ ผลลัพธ์เป็ นจํานวนเต็มบวก
เช่น (- )  (- ) = 15
(- )  (- ) =
การคูณจํานวนเต็มลบด้วยจํานวนเต็มลบ ได้คาํ ตอบเป็ นจํานวนเต็มบวกทีมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณ
ของค่าสัมบูรณ์ของสองจํานวนนัน

. การหารจํานวนเต็ม
การหารจํานวนเต็ม เมือ a, b และ c แทนจํานวนเต็มใดๆ ที b ไม่เท่ากับ จะหาผลหารได้โดยอาศัย
การคูณ ดังนี
ตัวหาร × ผลหาร = ตัวตัง

ถ้า a b  c แล้ว a  bc

การหาผลหาร  25 จะต้องหาจํานวนทีคูณกับ แล้วได้ - ดังนัน  25  5


5 5
การหาผลหาร 25 จะต้องหาจํานวนทีคูณกับ - แล้วได้ ดังนัน 25  5
5 5

จากการหาผลหารข้างต้นจะได้ว่า
ถ้าทังตัวตังหรื อตัวหาร ตัวใดตัวหนึงเป็ นจํานวนเต็มลบ จะทําให้ผลหารมีค่าเป็ นลบ

การหาผลหาร  25 จะต้องหาจํานวนทีคูณกับ - แล้วได้ - ดังนัน  25  5


5 5

การหาผลหาร 25 จะต้องหาจํานวนทีคูณกับ แล้วได้ ดังนัน 25  5


5 5

จากการหาผลหารข้างต้นจะได้ว่า
ถ้าทังตัวตังและตัวหารเป็ นจํานวนเต็มบวกทังคู่หรื อจํานวนเต็มลบทังคู่ คําตอบเป็ นจํานวน
เต็มบวก
16

เรืองที
สมบัตขิ องจํานวนเต็มและการนําไปใช้
4.1 สมบัติเกียวกับการบวกและการคูณจํานวนเต็ม
) สมบัติการสลับที
ถ้า a และ b แทนจํานวนเต็มใดๆ
a + b = b + a (สมบัติการสลับทีการบวก) เช่น + = 2 + 3 = 5
a × b = b × a (สมบัติการสลับทีการคูณ) เช่น × 2 = 2 × 3 = 6
) สมบัติการเปลียนหมู่
ถ้า a และ b แทนจํานวนเต็มใดๆ
สมบัติการเปลียนหมู่การบวก
(a + b) + c = a + (b + c) เช่น
( + ) + = + ( + ) = 14
สมบัติการเปลียนหมู่การคูณ
(a × b) × c = a × (b × c) เช่น
(5 × 3) × 6 = 5 × (3 × 6) = 90
) สมบัติการแจกแจง
ถ้า a และ b แทนจํานวนเต็มใดๆ
a × (b + c) = ab + ac เช่น
6 × ( + ) = (6 × 3) + (6 × 2) = 30
และ (b + c) × a = ba + ca เช่น
( + ) × 6 = (6 × 2) + (6 × 3) = 30
. สมบัติของหนึงและศูนย์
) สมบัติของหนึง ถ้าหนึงคูณจํานวนใดๆ จะได้ผลลัพธ์เท่ากับจํานวนนัน
) ถ้า a แทนจํานวนใดๆ แล้ว a  1 = 1  a = a
2) ถ้า a แทนจํานวนใดๆ แล้ว a  a
1
ตัวอย่าง × 5 = 5, 1 × 0 = 0, 1 × 10 = 10
) สมบัติของศูนย์
) ถ้า a แทนจํานวนใดๆ แล้ว a + 0 = 0 + a = a
) ถ้า a แทนจํานวนใดๆ แล้ว a  0 = 0  a = 0
) ถ้า a แทนจํานวนใดๆ ทีไม่ใช่ แล้ว 0  0 (เราไม่ใช้ เป็ นตัวหาร
a
ถ้า a แทนจํานวนใดๆ แล้ว a ไม่มีความหมายทางคณิตศาสตร์)
0
) ถ้า a และ b แทนจํานวนใดๆ และ a  b = 0 แล้วจะได้ a = 0 หรื อ b = 0
17

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
1. จงเลือกจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และจํานวนเต็มจากจํานวนต่อไปนี
0, 6 , -1, , 10 , -3, 4, 7 – 10, 300 ,  750
3 2 600 250

จํานวนเต็มบวก ประกอบด้วย...............................................................................................
จํานวนเต็มลบ ประกอบด้วย...............................................................................................
จํานวนเต็ม ประกอบด้วย..............................................................................................
2. จงเติมเครื องหมาย < หรื อ > เพือให้ประโยคต่อไปนี เป็ นจริ ง
1) -6 ..................................... 4
2) -5 ..................................... -4
3) -4 ..................................... -7
4) 2 ...................................... -4
5) 8 ...................................... 3
3. จงเรี ยงลําดับจํานวนเต็มจากน้อยไปหามาก
1) -7, 2, 0, -3, 4, -5, 6, -12, 20
…………………………………………………………………………………………………..
2) 13, -4, 9, 5, -12, 7, 4
…………………………………………………………………………………………………..
18

แบบฝึ กหัดที

1. จงทําให้เป็ นผลสําเร็ จ
. 16 - 9
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
. (-16) – (-9)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
. 21 – (-8)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
. (-12) - 14
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
. [10 – (-3)] - 4
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….

. จงหาค่าของ a – b และ b – a เมือกําหนด a และ b ดังต่อไปนี


. a = 7, b = (-5)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
. a = (-16), b = (-8)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
3. a = (-7), b = (-5)
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
19

แบบฝึ กหัดที
จงหาผลลัพธ์
). [(-5)  (-3)]  (-4)
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
2). (-4)  [(-7)  (-3)]
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
3). [2  (-4)]  (-2)
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
4). 5  [(5)  (2)]
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
5). [(-8)  (-5)] + [(-4)  (-5)]
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
20

แบบฝึ กหัดที
. จงหาผลหาร
.  . (- ) 
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
…………………………………………………. …………………………………………………
…………………………………………………. …………………………………………………
. (- )  (- ) 5. [(- 1)  (- )]  [1 (- )]
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
………………………………………………… …………………………………………………
…………………………………………………. …………………………………………………
…………………………………………………. …………………………………………………
.  (- )
…………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………
………………………………………………….
………………………………………………….
21

บทที
เศษส่ วนและทศนิยม
สาระสําคัญ
การอ่าน เขียนเศษส่วน และทศนิยมโดยใช้สมบัติ การบวก การลบ การคูณ การหาร
การเปรี ยบเทียบ และการแก้โจทย์ปัญหาตามสภาพการณ์จริ งได้
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. บอกความหมายของเศษส่วนและทศนิยมได้
2. เขียนเศษส่วนในรู ปทศนิยมและเขียนทศนิยมซําในรู ปเศษส่วนได้
3. เปรี ยบเทียบเศษส่วนและทศนิยมได้
4. บวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนและทศนิยมได้
5. นําความรู้เกียวกับเศษส่วนและทศนิยมไปใช้แก้โจทย์ปัญหาได้
ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที ความหมายของเศษส่วนและทศนิยม
เรื องที การเขียนเศษส่วนด้วยทศนิยม และการเขียนทศนิยมซําเป็ นเศษส่วน
เรื องที การเปรี ยบเทียบเศษส่วนและทศนิยม
เรื องที การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนและทศนิยม
22

เรืองที
ความหมายของเศษส่ วน และทศนิยม
. เศษส่ วน เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างส่วนหนึง เมือเทียบกับส่วนทังหมดของปริ มาณทีกําหนด
หรื อวัตถุหนึง
รูปสีเหลียมถูกแบ่งเป็ น ส่วน เท่าๆ กัน แรเงา ส่วน
1
คิดเป็ น ส่วน ใน ส่วน เขียนแทนด้ วย อ่านว่า
5
เศษหนึงส่วนห้ า

5
ส่วนทีแรเงาคิดเป็ น
8

a
เศษส่วน คือ จํานวนทีเขียนอยูใ่ นรู ป เมือ a และ b เป็ นจํานวนเต็ม
b
โดยที b ≠ เรี ยก a ว่า ตัวเศษ และ เรี ยก b ว่า ตัวส่วน

. . ทศนิยม เป็ นจํานวนทีประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนทีเป็ นจํานวนเต็มและส่วนทีเป็ นทศนิยม


โดยมีจุด (.) คันระหว่างส่วนของจํานวนทีกล่าวมา
) ทศนิยมทีสามารถเขียนแทนด้วยเศษส่วนได้ เรี ยกว่าทศนิยมซํา เช่น
- . , 1.2, 0.07
- 1.344…, 4.666…, 0.171717…
2) ทศนิยมทีไม่สามารถเขียนแทนด้วยเศษส่วนได้ เรี ยกว่าทศนิยมไม่ซาํ เช่น
- . ..., .
23

เรืองที
การเขียนเศษส่ วนด้ วยทศนิยม และการเขียนทศนิยมซําเป็ นเศษส่ วน
2.1 การเขียนเศษส่ วนด้ วยทศนิยม
กรณีที การทําส่วนให้เป็ น , , , , … โดยถ้ามีส่วนเป็ น จะได้ทศนิยม
ตําแหน่ง ส่วนเป็ น ทศนิยมจะเป็ น ตําแหน่ง ตามลําดับ
3 3 25 75
เช่น = = = 0.75
4 4  25 100
1 =  1 5 = 5 = -0.5
2 25 10
25 1
0.25 = =
100 4
1.2 = 12 = 11
10 5

กรณีที หากไม่สามารถดําเนินการได้ตามกรณี ที ให้นาํ เศษหารด้วยตัวส่วน


4
เช่น =  = . ...
7
3
=  = .
8

2.2 การเขียนทศนิยมซําเป็ นเศษส่ วน


ทศนิยมซํา จะมีทศนิยมทีซํากันอย่างเป็ นระบบ เช่น . ... เขียนแทนด้วย 0.5 สามารถ
เปลียนเป็ นเศษส่วนได้
ตัวอย่างที จงเขียน 0.5 ในรู ปเศษส่วน
วิธีทาํ 0.5 = . ... = x
ให้ x = 0.555… -------------- (1)
(1)  10 ------> 10x = 5.55… -------------- (2)
(2) –(1) ------> 10x – x = 5
9x = 5
5
x =
9
5
 0.5 =
9
24

ตัวอย่างที 2 จงเปลียน 2.314 เป็ นเศษส่วน


จาก 2.314 = 2.3141414…
ให้ x = 2.3141414… -------------- (1)
(1)  10 10x = 23.1414… ---------------(2)
(1)  1,000  1,000x = 2314.1414… ---------------(3)
(3) – (2) 1,000x – 10x = 2,291
990x = 2,291
2291
x = 990
2291
ดังนัน 2.314 = 990

สรุ ปได้ว่า การเปลียนทศนิยมซําเป็ นเศษส่วนโดยวิธีจดั ดังนี


เศษ  เขียนจํานวนทังหมดลบด้วยจํานวนทีไม่ซาํ
ส่วน  แทนด้วย เท่ากับจํานวนทีซํา และแทนด้วย เท่ากับจํานวนทีไม่ซาํ

ตัวอย่าง
298 2 296
. 2.98 = 99 = 99
2516 25 2491
2. 2.2516 = 9900 = 9900
25

เรืองที
การเปรียบเทียบเศษส่ วนและทศนิยม
. การเปรียบเทียบเศษส่ วน
3.1.1 เศษส่ วนทีมีส่วนเท่ ากัน ให้พิจารณาตัวเศษ ถ้าเศษน้อยจะมีค่าน้อย และเศษมากจะ
มีค่ามาก
เช่น
1 <
3
4 4
6 >
2
7 7

3.1.2 เศษส่ วนทีมีส่วนไม่เท่ ากัน ให้ทาํ ตัวส่วนให้มีค่าเท่ากันก่อน โดยการหาจํานวนมาคูณ


ทังตัวเศษและตัวส่วน
เช่น
2 กับ
4 (ทําส่วนให้เท่ากับ )
5 15
2 = 2 3 = 6 จะได้
6 >
4
5 5 3 15 15 15
นันคือ
2 >
4
5 15
หรื ออาจจะใช้วิธีจดั โดยการคูณทแยงขึน เป็ น
( ) ( )
2 4
5 15

2 > 4
5 15

. การเปรียบเทียบทศนิยม
การเปรี ยบเทียบทศนิยม ให้พิจารณาเลขโดดจากซ้ายไปขวา ถ้าเลขใดมีค่ามากกว่าก็จะเป็ น
จํานวนทีมากกว่า เช่น
. กับ . นันคือ . < .
หากเป็ นจํานวนลบ จํานวนทีพิจารณาแล้วมากกว่าจะเป็ นตัวน้อยนันเอง (โดยใช้หลักการ
ของค่าสัมบูรณ์) เช่น
- . <- .
26

เรืองที
การบวก ลบ คูณ หารเศษส่ วนและทศนิยม
. การบวกเศษส่ วน
วิธีการหาผลบวกของเศษส่วน สามารถทําได้ดงั นี
1) ทําตัวส่วนให้มีค่าเท่ากัน
2) บวกตัวเศษเข้าด้วยกันโดยทีตัวส่วนยังคงเท่าเดิม
ตัวอย่างที จงหาผลบวก 
3 2
5 3
วิธีทาํ ทําส่วนให้มีค่าเป็ น (พิจารณาจาก ค.ร.น. ของ , )
3 2  3 3   2  5 
   
5 3  5 3   3 5 
= 
9 10
15 15
19
= = 14
15 15
. การลบเศษส่ วน
การลบเศษส่วน ใช้หลักการเดียวกันกับการลบจํานวนเต็ม คือ
ตัวตัง - ตัวลบ = ตัวตัง + จํานวนตรงข้ามของตัวลบ

ตัวอย่างที จงหาผลลบ 12    2 
20  5 
วิธีทาํ ทําส่วนให้มีค่าเท่ากับ
12    2   12  2
 
20  5  20 5
12  2  4 
= + 
20  5  4 
12 8
= 
20 20
=
20 =
20
. การคูณเศษส่ วน
ผลคูณของเศษส่วนสองจํานวน คือ เศษส่วนซึงมีตวั เศษเท่ากับผลคูณของตัวเศษสอง
จํานวนและตัวส่วนเท่ากับผลคูณของตัวส่วนสองจํานวนนัน (เศษคูณเศษ และส่วนคูณส่วน)
a c
เมือ และ เป็ นเศษส่วน ซึง b , d 0
b d
27

a c a c ac
ผลคูณของ และ หาได้จากกฎ  =
b d b d bd
3
ตัวอย่างที จงหาผลคูณของจํานวน 
6
5 7
วิธีทาํ
3  6 =
3 6
5 7 5 7
=
18
35
ตอบ
18
35

4.4 การหารเศษส่ วน
a c
เมือ และ แทนเศษส่วนใดๆ โดยที b, d ≠
b d
a c a d
 = 
b d b c
ตัวอย่างที จงหาผลหารของ   2   3
 12  10
วิธีทาํ   2   3 =  2  10
 
 12  10  12  3
=  20
36
=  5
9

.5 การนําความรู้เรืองเศษส่ วนไปใช้ ในการแก้โจทย์ปัญหา


ในการแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วน ควรดําเนินการตามโจทย์และใช้ขนตอนของการแก้
ั โจทย์
ปัญหา เป็ นการวิเคราะห์โจทย์ การหาวิธีการแก้ปัญหา
3
ตัวอย่าง ระยะทางจากบ้านไปตลาดทังหมด , เมตร เดินไปได้ทาง ของ
4
ระยะทางทังหมด เหลือระยะทางอีกกีเมตรจึงจะถึงตลาด
วิธีทาํ ระยะทางทังหมด , เมตร
3
เดินทางได้  = 1,200 เมตร
4
เหลือระยะทางอีก 1600 – = 400 เมตร
28

. การบวก และการลบทศนิยม
การบวกและการลบทศนิยม จะต้องตังให้จุดทศนิยมตรงกันก่อน แล้วจึงบวก
ลบ จํานวนในแต่ละหลัก ถ้าจํานวนตําแหน่งทศนิยมไม่เท่ากัน นิยมเติมศูนย์ขา้ งท้ายเพือให้จาํ นวน
ตําแหน่งทศนิยมเท่ากัน
การบวกและการลบทศนิยม ระหว่างจํานวนบวกกับจํานวนลบ ให้ใช้หลักการเช่นเดียวกับ
การบวกลบจํานวนเต็ม
ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์ 4.12 – (-3.2)
วิธีทาํ 4.12 – (-3.2) = . + 3.2
 4.12 + 3.2 = 4.12
+
3.20
7.32
 4.12 – (-3.2) = 7.32
.7 การคูณทศนิยม
ผลคูณทศนิยม จะมีจาํ นวนหลักทศนิยมเท่ากับผลบวกของจํานวนหลักทศนิยมของตัวตัง
และจํานวนหลักทศนิยมของตัวคูณ
ตัวอย่าง จงหาผลคูณของ (-3.12) × 4.3
วิธีทาํ

 (-3.12) × 4.3 = - .
29

. การหารทศนิยม
. การหาทศนิยมในการพิจารณาผลลัพธ์ให้ใช้หลักการเดียวกับการคูณทศนิยม
. การหาทศนิยม ต้องทําให้ตวั หารเป็ นจํานวนเต็มก่อน แล้วหารกันโดยคํานึงถึงจุดทศนิยม
ตัวอย่าง จงหาค่าของ .  (- . )
14.436 10
วิธีทาํ .  (- . ) =
 1.2 10
144.36
=
 12
12.03
12 144.36 00
12 

24 
.
36 

 .  (- . ) = -12.03

.9 การนําความรู้เรืองทศนิยมไปใช้ ในการแก้โจทย์ปัญหา
ในการแก้โจทย์ปัญหาทศนิยม ให้ดาํ เนินการตามโจทย์ และใช้หลักการแก้โจทย์ปัญหา เช่น
การวิเคราะห์โจทย์ การหาวิธีแก้ปัญหา เป็ นต้น
ตัวอย่าง รู ปสีเหลียมผืนผ้ารู ปหนึงมีดา้ นกว้าง . เซนติเมตร มีดา้ นยาว .
เซนติเมตร จงหาความยาวรอบรู ป
วิธีทาํ พิจารณา . ซม.

. ซม. . ซม.

. ซม.

ความยาวรอบรู ป = 65.25 + 43.12 + 65.25 + 43.12


= 216.74 เซนติเมตร
30

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
. จงวาดภาพแสดงเศษส่วนทีกําหนดให้
.)
3
4

.)
1
3
. จงเขียนเศษส่วนในรู ปทศนิยม และเขียนทศนิยมในรู ปเศษส่วน
.)
6
20
.)
12
40
.) .
. ) 0.75
. ) 1.256

3. จงเติมเครื องหมาย >, < หรื อ = ลงในช่อง


.)
2 5
4 8
.) 1
1 3
2 4
. )   5   1
 
 6  2
.)
4 .
18
.) .
58
100
. ) (- . ) (- . )
31

4. จงหาผลลัพธ์
6 1
.) 1
8 2
 3 1
.)  
 4 2
3 4 1
4.3)   
4 5 2
1 5
4. ) 3 
2 8
5 4  3
4. )    
8 2  4
 1 1 2
4. ) 3   
 2 4 6
4. )  0.7212.6 0.12
4. ) [0.35  12.6]  0.015

5. จงแก้โจทย์ปัญหา
. ) เชือกเส้นหนึงยาว . เมตร เส้นทีสองยาว . เมตร นํามาผูกต่อกันโดยจะเสียความยาว
ในการผูกปมไป . เมตรเชือกทีต่อกันจะยาวกีเมตร

2
. ) โรงเรี ยนแห่งหนึงมีนกั เรี ยนทังหมด , คน เป็ นชาย ของนักเรี ยนทังหมด จงหาว่ามี
5
นักเรี ยนหญิงมากกว่านักเรี ยยนชายกีคน
32

บทที
เลขยกกําลัง
สาระสําคัญ
การเขียนแทนการคูณจํานวนเดียวกันซําๆ หลายๆ ครัง เขียนแทนด้วย an อ่านว่า a ยกกําลัง n และ
การเขียนแสดงจํานวนในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ มักจะเขียนแทนตัวเลขทีมีค่ามากๆ และตัวเลขทีมีค่าน้อย
มากๆ
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. บอกความหมายและเขียนเลขยกกําลังทีมีเลขชีกําลังเป็ นจํานวนเต็มแทนจํานวนทีกําหนดให้ได้
2. บอกและนําเลขยกกําลังมาใช้ในการเขียนจํานวนในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้
3. อธิบายการคูณและหารเลขยกกําลังทีมีฐานเดียวกัน และเลขชีกําลังเป็ นจํานวนเต็มได้
ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที ความหมายและการเขียนเลขยกกําลัง
เรื องที การคูณและการหารเลขยกกําลังทีมีฐานเดียวกันและเลขชีกําลังเป็ นจํานวนเต็ม
เรื องที การเขียนแสดงจํานวนในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
33

เรืองที
ความหมายและการเขียนเลขยกกําลัง
ความหมาย
เลขยกกําลัง เป็ นการเขียนจํานวนทีเกิดขึนจากการคูณ ซําๆ กัน หลายๆ ครัง เช่น × 6 × 6 × 6
เขียนแทนด้วย อ่านว่า หกยกกําลังสี หรื อหกกําลังสี
นันคือ a a
a  ......
 a = an

n
a แทนจํานวนใด ๆ
n แทนจํานวนเต็มใดๆ
เรี ยก a n ว่าเลขยกกําลัง โดยมี a เป็ นฐานและ n เป็ นเลขชีกําลัง
ตัวอย่าง
. (-2)3 เป็ นเลขยกกําลังทีมี (- ) เป็ นฐาน และมี เป็ นเลขชีกําลัง
 (- ) = (-2) × (-2) × (-2)
4
 2 2
2.   เป็ นเลขยกกําลังทีมี เป็ นฐาน และมี เป็ นเลขชีกําลัง
 3 3
4
 2
   =  2  ×  2  ×  2  ×  2 
 3 3 3 3 3
5
3. (0.6) เป็ นเลขชีกําลังทีมี . เป็ นฐาน และมี เป็ นเลขชีกําลัง
การเขียนจํานวนให้ อยู่ในรูปเลขยกกําลัง
การเขียนจํานวนให้อยูใ่ นรู ปของเลขยกกําลัง ทําได้โดยวิธีการแยกตัวประกอบ
เช่น = 5×5×5
= 53
64 = 2×2×2×2×2×2
= 26
หรื อ = 4×4×4
= 43
หรื อ 64 = 8×8
= 82
34

เรืองที
การคูณและการหารเลขยกกําลังทีมีฐานเดียวกันและเลขชีกําลังเป็ นจํานวนเต็ม
. การคูณเลขยกกําลังทีมีฐานเดียวกัน มีเลขชีกําลังเป็ นจํานวนเต็ม
พิจารณา ×3 = (3 × 3 × 3 × 3) × (3 × 3)
= 3×3×3×3×3×3
= 36
+2
นันคือ ×3 =
6
=
ดังนัน am × an = am + n
เมือ a เป็ นจํานวนใดๆ และ m, n เป็ นจํานวนเต็ม
ตัวอย่าง
-
) × 2 = 2-3 + 4
= 21
= 2
(ในกรณี ทีเลขยกกําลังมีเลขชีกําลังเป็ น เช่น a1 จะเขียนเป็ น a )
3 3 1
1 1 1
2)     =  
2 2 2
4
1
=  
2
3) (- ) × 2 = 4×
= 7
(ในกรณี ทีเลขฐานเป็ นจํานวนลบและเลขชีกําลังเป็ นจํานวนเต็มคู่ จะมีผลลัพธ์เป็ นจํานวนบวก
เช่น (-a)2 = a2)
2.2 การหารเลขยกกําลังทีมีฐานเดียวกัน มีเลขชีกําลังเป็ นจํานวนเต็ม
พิจารณา  = (2 × 2 × 2 × 2 × 2)  (2 × 2 × 2)
///
///
2× 2× 2× 2× 2
=
2× 2× 2
= 2×2
= 22
5–
นันคือ  =
2
=
35

am  am  n
ดังนัน an

เมือ a ≠ 0 และ m, n เป็ นจํานวนเต็ม


ตัวอย่าง จงหาผลลัพธ์
45
)  =
42
= 45 – 2
= 43
- 23
2)  =
2 4
= 23 – (-4)
= 27
- 24  22
) ×4 =
2 3
= 24 + 2 – (-3)
= 29
a 2 b3
4) = a2 - 1∙ b3 – 5
ab5
= ab-2
a
=
b2
ถ้า a เป็ นจํานวนใดๆ และ a ≠ 0 แล้ว a0 = 1
1
ถ้า a เป็ นจํานวนใดๆ และ a ≠ 0 แล้ว a-n =
an
36

เรืองที
การเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณ์ วทิ ยาศาสตร์
การเขียนแสดงจํานวนในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ มีรูปทัวไป เช่น A × 10n เมือ 1 ≤ A < 10 และ n
เป็ นจํานวนเต็ม ซึงมักจะเขียนแทนจํานวนทีมีค่ามากๆ และจํานวนทีมีค่าน้อยมากๆ
ตัวอย่างที จงเขียนจํานวนต่อไปนี ให้อยูใ่ นรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
) 150,000 = 15 × 10,000
= 1.5 × 10 × 10,000
= 1.5 × 10 × 104
= 1.5 × 105
64
2) 0.000064 =
1,000,000
64
=
10 6
6.4  10
=
106
= 6.4 × 10 × 10-6
= 6.4 × 10-5

ตัวอย่างที ดาวเสาร์มีมวล × กิโลกรัม และดาวดวงหนึงมีมวลเป็ น . เท่าของดาวเสาร์ ดาว


ดวงนี จะมีมวลเท่าไร (ตอบในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์)
วิธีทํา จากโจทย์ทีกําหนดให้ สามารถเขียนเป็ นประโยคสัญลักษณ์ ดังนี
× × . =
 8 
 × × . = × × 
 10,000 
8
= × × 4
10
= × × 8 × 10-4
= 448 × 1
= 4.48 × × 1
= 4.48 × 3
37

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
. จงทําเครื องหมาย  หน้าข้อความทีถูกต้อง และ  หน้าข้อความทีไม่ถกู ต้อง
.......... . ) อ่านว่า สามกําลังห้า
.......... . ) มีค่าเท่ากับ × 4
.......... . ) (-2) × (-2) × (-2) × (-2) = (-2)4
.......... .4) (-3)6 = 36
.......... .5) 5 + 5 + 5 + 5 เท่ากับ

. จงเขียนจํานวนต่อไปนีในรู ปเลขยกกําลังทีมีเลขชีกําลังมากกว่า
.) = …………………
2.2) = …………………
2.3) 0.0144 = …………………
2.4) 81 = …………………
.) - = …………………

. จงหาว่าสัญลักษณ์ต่อไปนี แทนจํานวนใด
. ) (- ) = …………………
3
3.2)  2  = …………………
5
3.3) -44 = …………………
3.4) (0.4)3 = …………………
3.5) (-6)3 = …………………

4. จงหาผลลัพธ์
.) × = …………………
3 -2
4.2)  1  ×  1  = …………………
2 2
4.3) (-3)4 × 35 = …………………
4.4) (0.2)4 × (0.2)-3 × (0.2)2 = …………………
4.5) 5-3  52 = …………………
38

5. จงเขียนจํานวนต่อไปนีในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
. ) 12,000,000 = …………………
8
5.2) 450 × 10 = …………………
5.3) 0.00045 = …………………
5.4) 0.25 × 10-3 = …………………
5.5) 6,275 × 105 = …………………

6. จํานวนทีกําหนดให้แทนจํานวนใด
. ) 4 × 10 = …………………
6.2) 1.6 × 10-7 = …………………
6.3) 7.005 × 106 = …………………
6.4) 0.00027 × 1010 = …………………
6.5) 60 × 103 × 2 × 10-4 = …………………

7. ประเทศอินโดนีเซียผลิตข้าวได้ปีละประมาณ × 10 ตัน ประเทศไทยผลิตข้าวได้ปีละประมาณ


20.26 × 10 ตัน อินโดนีเซียผลิตข้าวได้มากกว่าไทยปี ละเท่าไร (ตอบในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์)
39

บทที
อัตราส่ วนและร้ อยละ
สาระสําคัญ
1. อัตราส่วนเป็ นการเปรี ยบเทียบปริ มาณ 2 ปริ มาณขึนไป จะมีหน่วยเหมือนกัน หรื อต่างกันก็ได้
2. ร้อยละเป็ นอัตราส่วนแสดงการเปรี ยบเทียบปริ มาณใดปริ มาณหนึง ต่อ 100

ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. กําหนดอัตราส่วนได้
2. คํานวณสัดส่วนได้
3. หาค่าร้อยละได้
4. แก้โจทย์ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ เกียวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละได้
ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที อัตราส่วน
เรื องที สัดส่วน
เรื องที ร้อยละ
เรื องที การแก้โจทย์ปัญหาเกียวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ
40

เรืองที
อัตราส่ วน
อัตราส่ วน (Ratio) ใช้เปรี ยบเทียบปริ มาณ 2 ปริ มาณ หรื อมากกว่าก็ได้ โดยทีปริ มาณ 2 ปริ มาณที
นํามาเปรี ยบเทียบกันนันจะมีหน่วยเหมือนกัน หรื อต่างกันก็ได้

a
บทนิยาม อัตราส่วนของปริ มาณ a ต่อ ปริ มาณ b เขียนแทนด้วย a : b หรื อ
b
เรี ยก a ว่า จํานวนแรกหรื อจํานวนทีหนึงของอัตราส่วน
เรี ยก b ว่า จํานวนหลังหรื อจํานวนทีสองของอัตราส่วน
a
(อัตราส่วน a : b หรื อ อ่านว่า a ต่อ b )
b

การเขียนอัตราส่ วน มี แบบ
1. ปริ มาณ ปริ มาณมีหน่วยเหมือนกัน
เช่น โต๊ะตัวหนึงมีความกว้าง เซนติเมตร ยาว เซนติเมตร
เขียนเป็ นอัตราส่วนได้ว่า
ความกว้างต่อความยาวของโต๊ะ เท่ากับ 50 : 120
2. ปริ มาณสองปริ มาณมีหน่วยต่างกัน
เช่น ปากกา ด้าม ราคา บาท
เขียนเป็ นอัตราส่วนได้ว่า
อัตราส่วนของจํานวนปากกาต่อราคา เป็ น ด้าม : บาท
ตัวอย่างเช่ น
ถ้าเป็ นปริ มาณทีมีหน่วยเหมือนกัน อัตราส่วนจะไม่มีหน่วยเขียนกํากับ เช่น
มานะหนัก 25 กิโลกรัม มานีหนัก 18 กิโลกรัม
25
จะกล่าวว่าอัตราส่วนของนําหนักของมานะต่อมานีเท่ากับ 25: 18 หรื อ
18
ถ้าเป็ นปริ มาณทีมีหน่วยต่างกัน อัตราส่วนจะต้องเขียนหน่วยแต่ละประเภทกํากับด้วย เช่น
สุดาสูง 160 เซนติเมตร หนัก 34 กิโลกรัม
อัตราส่วนความสูงต่อนําหนักของสุดา เท่ากับ 160 เซนติเมตร : 34 กิโลกรัม
41

อัตราส่ วนทีเท่ ากัน


การหาอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนทีกําหนดให้ ทําได้โดยการคูณหรื อหารอัตราส่วนทังตัวแรก
และตัวทีสองด้วยจํานวนเดียวกัน โดยจํานวนทีนํามาคูณหรื อหารต้องไม่เป็ น “ศูนย์” ตามหลักการ ดังนี
 หลักการคูณ เมือคูณแต่ละจํานวนในอัตราส่วนใดด้วยจํานวนเดียวกัน โดยทีจํานวนนันไม่เท่ากับ
ศูนย์ จะได้อตั ราส่วนใหม่ทีเท่ากับอัตราส่วนเดิม
a ac ad
นันคือ   เมือ c  0 และ d 0
b bc bd

 หลักการหาร เมือหารแต่ละจํานวนในอัตราส่วนใดด้วยจํานวนเดียวกัน โดยทีจํานวนนันไม่เท่ากับ


ศูนย์ จะได้อตั ราส่วนใหม่เท่ากับอัตราส่วนเดิม
a a c a d
นันคือ   เมือ c  0 และ d 0
b b c bd

ตัวอย่าง
จงหาอัตราส่วนอีก 3 อัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนทีกําหนด
3
วิธีทาํ 3 : 4 หรื อ
4
3 3 4 12
 
4 4 4 16
3 3 9 27
 
4 4  9 36
3 3  11 33
 
4 4  11 44
12 27 33 3
ดังนัน , , เป็ นอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วน
16 36 44 4
การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนใดๆ ทําได้โดยใช้ลกั ษณะการคูณไขว้ ได้โดยใช้วิธีดงั นี
เมือ a , b, c และ d เป็ นจํานวนนับ
a c
) ถ้า a d  bc แล้ว 
b d
a c
) ถ้า a d  bc แล้ว 
b d
42

ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่าอัตราส่วนในแต่ละข้อต่อไปนีเท่ากันหรื อไม่


3 5
1) และ
4 6
26 39
) และ
30 45
3 5
) พิจารณาการคูณไขว้ของ และ
4 6
เนืองจาก 3 6 = 18
4 5 = 20
ดังนัน 3 6  4 5

3 5
นันคือ 
4 6

26 39
) พิจารณาการคูณไขว้ของ และ
30 45
เนืองจาก 26 45 = 1,170
30 39 = 1,170
ดังนัน 26 45 = 30 39
26 39
นันคือ =
30 45

อัตราส่ วนต่อเนือง (อัตราส่ วนของจํานวนหลาย ๆ จํานวน)


ในสถานการณ์จริ งทีเกียวกับชีวิตประจําวัน เรามักจะพบความสัมพันธ์ของจํานวนหลาย ๆ จํานวน
เช่น ขนมผิงบ้านคุณยาย ใช้ส่วนผสมดังนี

แป้ งข้าวเจ้า ถ้วยตวง


นํากะทิเข้มข้น ถ้วยตวง
1
นําตาลมะพร้าว ถ้วยตวง
2

นันคือ อัตราส่วนของจํานวนแป้ งข้าวเจ้าต่อนํากะทิเป็ น 3 : 1 หรื อ : 2


1
อัตราส่วนของจํานวนนํากะทิต่อนําตาลมะพร้าวเป็ น 1 : หรื อ : 1
2
43

1
อัตราส่วนของจํานวนแป้ งข้าวเจ้าต่อนําตาลมะพร้าวเป็ น : หรื อ : 1 หรื อเขียนในรู ปอัตราส่ วน
2
ของจํานวนหลาย ๆ จํานวน ดังนี
1
อัตราส่วนของแป้ งข้าวเจ้าต่อนํากะทิ ต่อนําตาลมะพร้าว เป็ น : 1 : หรื อ : 2 : 1
2

ตัวอย่าง ห้องเรี ยนห้องหนึงมีอตั ราส่วนของความกว้างต่อความยาวห้องเป็ น 3 : 4 และความสูงต่อความยาว


ของห้องเป็ น : 2 จงหาอัตราส่วนของความกว้าง : ความยาว : ความสูงของห้อง

วิธีทาํ อัตราส่วนความกว้าง : ความยาวของห้อง เท่ากับ 3 : 4


อัตราส่วนความสูง : ความยาวของห้อง เท่ากับ 1 : 2 หรื อ x 2 : 2 x 2
เท่ากับ : 4
นันคือ อัตราส่วนความกว้างต่อความยาว ต่อความสูงของห้อง
เท่ากับ : 4 : 2
44

เรืองที
สั ดส่ วน
สัดส่วนเป็ นการเขียนแสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน
a c
เช่น a : b = c : d หรื อ  อ่านว่า เอต่อบี เท่ากับ ซีต่อดี
b d

3 5
ตัวอย่างที จงหาค่า m ในสัดส่วน 
m 12
3 5
วิธีที 
m 12
3
5
3 3
 5 (ทําเศษให้เท่ากับ 3 โดยคูณด้วย )
m 12 3 5
5
3 3

m 7.2
ดังนัน m มีค่าเท่ากับ 7.2

3 5
วิธีที 
m 12
3 5
 (คูณไขว้)
m 12
3  12
m
5
ดังนัน m = 7.2

การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้ สัดส่ วน
ในชีวิตประจําวันเราจะพบสถานการณ์ทีต้องแก้ไขปัญหาโดยการใช้หลักการคิดคํานวณ เช่น
กําหนดอัตราส่วนของเครื องดืมโกโก้สาํ เร็ จรู ป ถ้วย ต่อผงโกโก้ ช้อนโต๊ะ ต่อนําตาล
ช้อนโต๊ะ ต่อนําต้มสุก ถ้วย เท่ากับ 1 : 2 : 1 : 1
ถ้ามีผงโกโก้ทงหมด
ั ช้อนโต๊ะ
สมมติว่า ชงเครื องดืมได้ A ถ้วย ใช้นาตาล
ํ B ช้อนโต๊ะ ครี มเทียม C ช้อนโต๊ะ และนําต้มสุก D ถ้วย
ดังนัน อัตราส่วนของจํานวนถ้วยโกโก้ทีชงได้ต่อจํานวนผงโกโก้ เท่ากับ ถ้วย ต่อ ช้อนโต๊ะ หรื อ
A ถ้วย ต่อ ช้อนโต๊ะ
นันคือ 1:2 = A : 30
1 A
หรื อ =
2 30
45

จะได้ว่า x 30 = Ax2
A = 15
ดังนัน ผงโกโก้ ช้อนโต๊ะ จะชงเครื องดืมได้ ถ้วย

ตัวอย่าง ซือส้มโอมา ลูก ราคา บาท ถ้ามีเงิน บาท จะซือส้มโอในอัตราเดิมได้กีลูก


วิธีทาํ สมมติ มีเงิน บาท ซือส้มโอได้ A ลูก
ราคาของส้มโอ บาท ซือได้ ลูก

จะได้ว่า A  50 = 3  350
A  50 3 350
=
50 50
A = 21
จะซือส้มโอได้ ลูก
46

เรืองที 3
ร้ อยละ
ในชีวิตประจําวัน ผูเ้ รี ยนจะเห็นว่าเราเกียวข้องกับร้อยละอยูเ่ สมอ เช่น การซือขาย กําไร
ขาดทุน การลดหรื อการเพิมทีคิดเป็ นร้อยละ การคิดภาษีมลู ค่าเพิม ฯลฯ
คําว่า ร้อยละ หรื อ เปอร์เซ็นต์ เป็ นอัตราส่วนแสดงการเปรี ยบเทียบปริ มาณใดปริ มาณหนึง
ต่อ 100 เช่น
50
ร้อยละ 50 หรื อ 50% เขียนแทนด้วย 50:100 หรื อ
100
7
ร้อยละ 7 หรื อ 7% เขียนแทนด้วย 7:100 หรื อ
100
การเขียนอัตราส่วนใดให้อยูใ่ นรู ปร้อยละ จะต้องเขียนอัตราส่วนนันให้อยูใ่ นรู ปทีมีจาํ นวนหลัง
อัตราส่วนเป็ น 100 ดังตัวอย่างต่อไปนี
4 80
  80 %
5 100
2 20
0.2    20 %
10 100
การเขียนร้อยละให้เป็ นอัตราส่วนทําได้โดยเขียนอัตราส่วนทีมีจาํ นวนหลังเป็ น 100 ดัง
ตัวอย่างต่อไปนี
33
33% =
100
25.75 2575 103
25.75 % =  
100 10000 400
3
ตัวอย่าง จงเขียน ให้อยูใ่ นรู ปร้อยละ
7
3
วิธีทํา วิธีที ทําให้อตั ราส่วน โดยมีจาํ นวนหลังของอัตราส่วนเป็ น
7
100
3 300
3 7
= = 7
7 100 100
7
7
3 300 300
ดังนัน คิดเป็ นร้อยละ หรื อ %
7 7 7
3 A
วิธีที สมมติ = ร้อยละ A หรื อ
7 100
x 100 = Ax7
3 100 300
A = 
7 7
47

การคํานวณเกียวกับร้ อยละ
ผูเ้ รี ยนเคยคํานวณโจทย์ปัญหาเกียวกับร้อยละมาแล้วโดยไม่ได้ใช้สดั ส่วน ต่อไปนีจะเป็ นการนํา
ความรู้เรื องสัดส่วนมาใช้คาํ นวณเกียวกับร้อยละ ซึงจะพบใน 3 ลักษณะ ดังตัวอย่างต่อไปนี
1. 25% ของ 60 เท่ากับเท่าไร หมายความว่า ถ้ามี 25 ส่วนใน 100 ส่วน แล้วจะมีกีส่วนใน 60 ส่วน
ให้มี a ส่วนใน 60 ส่วน
a 25
เขียนสัดส่วนได้ดงั นี 
60 100
จะได้ a  100  60  25
60  25
a
100
ดังนัน a  15
นันคือ 25% ของ 60 คือ 15
2. 9 เป็ นกีเปอร์เซ็นต์ของ 45 หมายความว่า ถ้ามี 9 ส่วนใน 45 ส่วน แล้วจะมีกีส่วนใน 100 ส่วน
x
ให้ 9 เป็ น x% ของ 45  แปลงให้อยู่ในรู ปสมการ ได้ดงั นี = × 45
100
x
x% หมายถึง
100
9 x
เขียนสัดส่วนได้ดงั นี 
45 100
จะได้ 9  100  45  x
9 100
x
45
ดังนัน x = 20
นันคือ 9 เป็ น 20% ของ 45
3. 8 เป็ น 25% ของจํานวนใด หมายความว่า ถ้ามี 25 ส่วนใน 100 ส่วน แล้วจะมี 8 ส่วนในกีส่วน
ให้ 8 เป็ น 25% ของ y
8 25 25
เขียนสัดส่วนได้ดงั นี   แปลงให้อยู่ในรู ปสมการ ได้ดงั นี = ×y
y 100 100
จะได้ 8 100  y  25
8 100
y
25
ดังนัน y = 32
นันคือ 8 เป็ น 25% ของ 32
48

เรืองที
การแก้ โจทย์ ปัญหาเกียวกับอัตราส่ วน สั ดส่ วน และร้ อยละ
ให้นกั เรี ยนพิจารณาตัวอย่างโจทย์ปัญหาและวิธีแก้ปัญหาเกียวกับร้อยละ โดยใช้สดั ส่วน หรื อ
อัตราส่วน ต่อไปนี
ตัวอย่าง 1 ในหมู่บา้ นแห่งหนึงมีคนอาศัยอยู่ , คน % ของจํานวนคนทีอาศัยอยูใ่ นหมู่บา้ นทํางานใน
โรงงานสับปะรดกระป๋ อง จงหาจํานวนคนงานทีทํางานในโรงงานแห่งนี
วิธีทาํ
ให้จาํ นวนคนทีทํางานในโรงงานสับปะรดกระป๋ อง เป็ น s คน
s
อัตราส่วนของจํานวนคนทีทํางานในโรงงานต่อจํานวนคนทังหมด เป็ น
1,200
6
อัตราส่วนดังกล่าวคิดเป็ น 6% 
100
s 6
เขียนสัดส่วนได้ดงั นี 
1,200 100
จะได้ s 100  1,200 6
1,200 6
s
100
ดังนัน s  72
นันคือ จํานวนคนงานทีทํางานในโรงงานสับปะรดกระป๋ องเป็ น 72 คน
ตอบ 72 คน

ตัวอย่าง 2 โรงเรี ยนแห่งหนึงมีนกั เรี ยน , คน นักเรี ยนคนทีหนักเกิน กิโลกรัมมีอยู่ คน จงหาว่า


จํานวนนักเรี ยนทีหนักเกิน กิโลกรัม คิดเป็ นกีเปอร์เซ็นต์ของจํานวนนักเรี ยนทังหมด
วิธีทาํ
ให้จาํ นวนนักเรี ยนทีหนักเกิน 60 กิโลกรัม เป็ น n% ของจํานวนนักเรี ยนทังหมด
n 81
เขียนสัดส่วนได้ดงั นี 
100 1,800
จะได้ n 1,800 100 81
100  81
n
1,800
ดังนัน n  4.5
นันคือ จํานวนนักเรี ยนทีหนักเกิน 60 กิโลกรัมคิดเป็ น 4.5% ของจํานวนนักเรี ยนทังหมด
ตอบ 4.5 เปอร์เซ็นต์
49

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
1. จงเขียนอัตราส่วนจากข้อความต่อไปนี
). ระยะทางในแผนที เซนติเมตร แทนระยะทางจริ ง กิโลเมตร
……………………………………………………………………………………………...
). รถยนต์แล่นได้ระยะทาง กิโลเมตร ในเวลา ชัวโมง
……………………………………………………………………………………………...
). โรงเรี ยนแห่งหนึงมีครู คน นักเรี ยน , คน
……………………………………………………………………………………………...
). อัตราการเต้นของหัวใจมนุษย์เป็ น ครังต่อนาที
……………………………………………………………………………………………...
. สลากกินแบ่งรัฐบาลแต่ละงวดเป็ นเลข หลัก เช่น ซึงมีหมายเลขต่างกันทังหมด , , ฉบับ
ในจํานวนทังหมดนี มีสลากทีถูกรางวัลเลขท้าย ตัวทังหมด , ฉบับ ถูกรางวัลเลขท้าย ตัว ,
ฉบับ และถูกรางวัลที อีก ฉบับ
จงเขียนอัตราส่วนแสดงการเปรี ยบเทียบจํานวนต่อไปนี
1) จํานวนทีถูกรางวัลที ต่อทังหมด
……………………………………………………………………………………………...
2) จํานวนทีถูกรางวัลเลขท้าย ตัวต่อทังหมด
……………………………………………………………………………………………...
3) จํานวนทีถูกรางวัลเลขท้าย ตัวต่อทังหมด
……………………………………………………………………………………………...
4) อัตราส่วนของสลากทีถูกรางวัลเลขท้าย ตัว ต่อเลขท้าย ตัว
……………………………………………………………………………………………...
. พ่อค้าจัดลูกกวาดคละสีขนาดเท่ากันลงในขวดโหลเดียวกัน โดยนับเป็ นชุดดังนี “ลูกกวาดสีแดง เม็ด สี
เขียว เม็ด สีเหลือง เม็ด” จงหา
) อัตราส่วนจํานวนลูกกวาดสีแดงต่อลูกกวาดทังหมด
……………………………………………………………………………………………...
2) อัตราส่วนของจํานวนลูกกวาดสีแดงต่อลูกกวาดสีเหลือง
……………………………………………………………………………………………...
3) ถ้าสุ่มหยิบลูกกวาดขึนมาจากโหลจํานวน เม็ด น่าจะได้ลกู กวาดสีใดมากทีสุด เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………...
50

แบบฝึ กหัดที
. ถ้าอัตราการแลกเปลียนเงินดอลลาร์อเมริ กาต่อเงินบาทเท่ากับ ดอลลาร์ : 43 บาท จงเติมราคาเงินในตาราง
เงินดอลลาร์ (US)
งานบาท

. จงเขียนอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนทีกําหนดให้ต่อไปนี มาอีก อัตราส่วน


2
) = ...............................................................................................................................
3
5
) = ...............................................................................................................................
9

. จงตรวจสอบว่าอัตราส่วนต่อไปนีเท่ากันหรื อไม่

อัตราส่วนทีกําหนดไว้ พิจารณาการคูณไขว้ ผลการตรวจสอบ


5 10  12 = 10  6 5 = 10
1) กับ
6 12 เพราะ = 60 6 12
3 4 5  4 4 3 4
2) กับ 
4 5 เพราะ 15  16 4 5
6 7
3) กับ
8 9
12 18
4) กับ
10 15
0.3 6
) กับ
10 200
51

. จงทําให้อตั ราส่วนต่อไปนี มีหน่วยเดียวกันและอยูใ่ นรู ปอย่างง่าย

ตัวอย่าง อัตราส่วนความกว้างต่อความยาวของโต๊ะเป็ น เซนติเมตร : . เมตร


มีความหมายเหมือนกับ
เซนติเมตร : 1.2 x 100 เซนติเมตร
ดังนัน อัตราส่วนความกว้างต่อความยาวของโต๊ะเป็ น : 120 หรื อ : 12

1) อัตราส่วนของจํานวนวันทีนาย ก. ทํางาน ต่อชัวโมงทีนาย ข. ทํางาน เป็ น วัน : 10 ชัวโมง ดังนัน


อัตราส่วนเวลาทีนาย ก. ทํางาน ต่อเวลาทีนาย ข. ทํางานเป็ น
……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………...

) อัตราส่วนของระยะทางจากบ้านไปตลาด ต่อระยะทางจากบ้านไปโรงเรี ยนเป็ น เมตร : 1.5


กิโลเมตร ดังนัน อัตราส่วนของระยะทางจากบ้านไปตลาด ต่อระยะทางจากบ้านไปโรงเรี ยนเป็ น
……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………...

แบบฝึ กหัดที
1. พ่อแบ่งเงินให้ลกู สามคนโดยกําหนด
อัตราส่วนของจํานวนเงินลูกคนโต ต่อคนกลาง ต่อคนเล็กเป็ น 5 : 3 : 2 จงหาอัตราส่วนต่อไปนี
1) อัตราส่วนจํานวนเงินทีลูกคนโตได้รับต่อลูกคนเล็ก
……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………...
2) อัตราส่วนจํานวนเงินทีลูกคนเล็กได้รับต่อลูกคนกลาง
……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………...
3) อัตราส่วนจํานวนเงินทีลูกคนกลางได้รับต่อเงินทังหมด
……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………...
4) อัตราส่วนจํานวนเงินทีลูกคนเล็กได้รับต่อเงินทังหมด
……………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………..
52

. เศรษฐีคนหนึงได้เขียนพินยั กรรมไว้ก่อนจะเสียชีวิตว่า ถ้าภรรยาทีกําลังตังครรภ์คลอดลูกเป็ นชายให้แบ่ง


เงินในพินยั กรรมเป็ นอัตราส่วนเงินของภรรยาต่อบุตรชายเป็ น : แต่ถา้ คลอดลูกเป็ นหญิงให้แบ่งเงินใน
พินยั กรรมเป็ นอัตราส่วนเงินของภรรยาต่อบุตรหญิงเป็ น 2 : 1 เมือเศรษฐีคนนี เสียชีวิตลงปรากฏว่าภรรยา
คลอดลูกแฝด เป็ นชาย คน หญิง คน จงหาอัตราส่วนของเงินในพินยั กรรมของภรรยาต่อบุตรชาย ต่อบุตร
หญิง
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

แบบฝึ กหัดที
. จงเขียนสัดส่วนจากอัตราส่วนต่อไปนี
) :4=6:8 ……………………………………………………..
)A: = : ……………………………………………………..
) : =B: ……………………………………………………..
) : = :D ……………………………………………………..
2. จงหาค่าตัวแปรจากสัดส่วนทีกําหนดให้ต่อไปนี
A 12
) 
3 15
……………………………………………………..………………………………………………
3 21
) 
B 28
……………………………………………………..………………………………………………
53

แบบฝึ กหัดที
. ขายมะละกอ ผล ราคา บาท ถ้าขาย มะละกอ ผล จะได้เงินเท่าไร
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………

. กศน.แห่งหนึงมีนกั ศึกษาทังหมด คน มีจาํ นวนนักศึกษาหญิงต่อจํานวนนักศึกษาชาย


เป็ น 5: 3 จงหาว่า มีนกั ศึกษาชายกีคนและนักศึกษาหญิงกีคน
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………

3. พ่อแบ่งมรดกให้ลกู สองคน โดยอัตราส่วนของส่วนแบ่งของลูกคนโตต่อส่วนแบ่งลูกคนเล็ก


เป็ น : 3 ถ้าลูกคนโตได้เงินมากกว่าลูกคนเล็ก , บาท จงหาส่วนแบ่งทีแต่ละคนได้รับ
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………
54

แบบฝึ กหัดที
1. จงแสดงวิธีหาคําตอบ
) % ของ เท่ากับเท่าไร
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...………………
……………………………………………………………………………...………………………
……………………………………………………………………..................................................
) % ของ เท่ากับเท่าไร
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...………………
……………………………………………………………………………...………………………
……………………………………………………………………...................................................
) คิดเป็ นกีเปอร์เซ็นต์ ของ
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...………………
……………………………………………………………………………...………………………
……………………………………………………………………...................................................
) . เป็ นกีเปอร์เซ็นต์ของ
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...………………
……………………………………………………………………………...………………………
……………………………………………………………………...................................................
) เป็ น % ของจํานวนใด
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...………………
……………………………………………………………………………...………………………
……………………………………………………………………...................................................
) . เป็ น % ของจํานวนใด
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...………………
……………………………………………………………………………...………………………
……………………………………………………………………...................................................
55

แบบฝึ กหัดที
จงแสดงวิธีหาคําตอบ
1. นักศึกษา กศน. คน สอบได้เกรด จํานวน % ของทังหมด จงหาจํานวนนักศึกษาทีสอบได้
เกรด
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...........................
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...........................

2. โรงเรี ยนแห่งหนึงมีนกั เรี ยน , คน เป็ นชาย % ของทังหมด ในจํานวนนี มาจากต่างจังหวัด


ร้อยละ จงหา
1) จํานวนนักเรี ยนหญิง
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...........................

2) จํานวนนักเรี ยนชายทีไม่ได้มาจากต่างจังหวัดทังหมด
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………...........................

3. ร้านค้าแห่งหนึงประกาศลดราคาสินค้าทุกชนิด ร้อยละ ถ้าคุณแม่ซือเครื องแก้วมาได้รับส่วนลด


บาท จงหาว่าร้านค้าปิ ดราคาขายผลิตภัณฑ์นนก่
ั อนลดราคาเท่าไร
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………………………....
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………….……………………...
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………….……………...
56

4. แผนผังสนามหญ้าแห่งหนึงกว้าง เซนติเมตร ยาว เซนติเมตร ใช้มาตราส่วน เซนติเมตร :


เมตร จงหาว่าสนามหญ้าแห่งนีมีพนที
ื เท่าไร
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………………….……...
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………..……………………………...

5. นกน้อยฝากเงินไว้กบั ธนาคารเป็ นเวลา ปี อัตราดอกเบียร้อยละ ต่อปี คิดดอกเบียทบต้นทุก


เดือนและถูกหักภาษีดอกเบีย % ถ้านกน้อยฝากเงินไว้ , บาท ครบ ปี จะมีเงินในบัญชี
เท่าไร
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………...………
………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………….……………...………
……………………………………………………………………………………..……………...
…………………………………………………………………………………………….……...

6. วีระซือรถยนต์มาคันหนึงราคา , บาท นําไปขายต่อได้กาํ ไรร้อยละ ต่อมาเอาเงินทังหมด


ไปเล่นหุน้ ขาดทุนร้อยละ วีระจะมีเงินเหลือจากการเล่นหุน้ เท่าไร
……………………………………………………………………………………………...………
……………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………….…...………
……………………………………………………………………………….……………………...
…………………………………………………………………….………………………...………
…………………………………………………………………………………….………………...
…………………………………………………………………………..…………………...………
……………………………………………………………………………………………..………...
57

บทที
การวัด

สาระสําคัญ
1. การวัดความยาวพืนที ทีมีหน่วยต่างกันสามารถนํามาเปรี ยบเทียบกันได้
2. เครื องมือการวัด ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับสิ งทีจะวัด
3. การคาดคะเนเกิดจากประสบการณ์ของผูส้ งั เกตเป็ นสําคัญ

ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. เปรี ยบเทียบหน่วยความยาวพืนทีในระบบเดียวกันและต่างระบบได้
2. เลือกใช้หน่วยการวัดเกียวกับความยาวและพืนทีได้อย่างเหมาะสม
3. หาพืนทีของรู ปเรขาคณิ ตได้
4. แก้โจทย์ปัญหาเกียวกับพืนทีสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวติ ประจําวันได้
5. การคาดคะเนเวลา ระยะทาง ขนาด นําหนัก
ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที การเปรี ยบเทียบหน่วยความยาวและพืนที
เรื องที การเลือกใช้หน่วยการวัด ความยาวและพืนที
เรื องที การหาพืนทีของรู ปเรขาคณิ ต
เรื องที การแก้โจทย์ปัญหาเกียวกับพืนทีในสถานการณ์ต่าง ๆ
เรื องที การคาดคะเนเวลา ระยะทาง ขนาด นําหนัก
58

เรืองที 1
การเปรียบเทียบหน่ วยความยาวและพืนที
การวัด
การวัด หมายถึง การชัง การตวง การวัดความยาว การจับเวลา เป็ นต้น ในความเป็ นจริ งนันการวัดมี
หลายอย่างเช่น
. การวัดความยาว มีหน่วยเป็ น มิลลิเมตร เซนติเมตร นิว ฟุต เมตร กิโลเมตร
. การวัดพืนที มีหน่วยเป็ น ตารางวา ตารางเมตร งาน ไร่
. การชัง มีหน่วยเป็ น กรัม ขีด ปอนด์ ตัน
. การตวง มีหน่วยเป็ น ลูกบาศก์เซนติเมตร ลิตร ถัง
. การวัดอุณหภูมิ มีหน่วยเป็ น องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์
. การวัดเวลา มีหน่วยเป็ น วินาที นาที ชัวโมง วัน ปี
. การวัดความเร็วหรื ออัตราเร็ ว มีหน่วยเป็ น กิโลเมตร/ชัวโมง

1.1 การเปรียบเทียบการวัดความยาว
หน่วยการวัดความยาวทีนิยมใช้กนั ในประเทศไทย
หน่ วยการวัดความยาวในระบบอังกฤษ
นิว เท่ากับ ฟุต
ฟุต เท่ากับ หลา
, หลา เท่ากับ ไมล์
หน่ วยการวัดความยาวในระบบเมตริก
มิลลิเมตร เท่ากับ เซนติเมตร
เซนติเมตร เท่ากับ เมตร
, เมตร เท่ากับ กิโลเมตร
หน่ วยการวัดความยาวในมาตรไทย
นิว เท่ากับ คืบ
คืบ เท่ากับ ศอก
ศอก เท่ากับ วา
วา เท่ากับ เส้น
เส้น เท่ากับ โยชน์
กําหนดการเทียบ วา เท่ากับ เมตร
59

หน่ วยการวัดความยาวในระบบอังกฤษเทียบกับระบบเมตริก ( โดยประมาณ )


นิว เท่ากับ . เซนติเมตร
หลา เท่ากับ . เมตร
ไมล์ เท่ากับ . กิโลเมตร

ตัวอย่าง การเปรี ยบเทียบหน่วยการวัดในระบบเดียวกัน


. สุดาสูง เซนติเมตร อยากทราบว่าสุดาสูงกีเมตร
เนืองจาก เซนติเมตร เท่ากับ เมตร และสุดาสูง เซนติเมตร
ดังนัน สุดาสูง = . เมตร

2. ความกว้างของรัวบ้านด้านติดถนนเท่ากับ . กิโลเมตร อยากทราบว่าความกว้างของรัวบ้าน


ด้านติดกับถนนเท่ากับกีเมตร
เนืองจาก กิโลเมตร เท่ากับ , เมตร และรัวบ้านกว้าง . กิโลเมตร
ดังนัน ความกว้างของรัวบ้านเป็ น . x 1,000 = 1,050 เมตร

ตัวอย่าง การเปรี ยบเทียบหน่วยการวัดต่างระบบกัน


1. นักวอลเลย์บอลหญิงชาวไทยสูง เซนติเมตร นักวอลเลย์บอลหญิงชาวอิตาลีสูง ฟุต นิ ว
อยากทราบว่าใครสูงกว่ากันเท่าไร
(ต้องหาความสูงของคนทังสองให้เป็ นหน่วยเดียวกัน จึงจะทราบว่าใครสูงกว่ากันเท่าไร ต้อง
เปลียนหน่วยการวัดความสูงของนักวอลเลย์บอลหญิงชาวอิตาลี ให้เป็ นหน่วยเซนติเมตรก่อน)
นักวอลเลย์บอลหญิงชาวอิตาลีสูง ฟุต นิว
เนืองจาก ฟุตเท่ากับ นิว
คิดความสูงเป็ นนิ ว (6  12) + = 72 + 6 = 78 นิ ว
เนืองจาก นิว เท่ากับ . เซนติเมตรโดยประมาณ
ดังนัน นักวอลเลย์บอลหญิงชาวอิตาลีสูงประมาณ  2 – = 198.12 เซนติเมตร
แต่นกั วอลเลย์บอลหญิงชาวไทยสูง เซนติเมตร
 นักวอลเลย์บอลหญิงชาวอิตาลีสูงกว่านักวอลเลย์บอลหญิงชาวไทย
ประมาณ . – = . เซนติเมตร
60

1.2 การเปรียบเทียบการวัดพืนที
หน่ วยการวัดพืนทีทีสําคัญ ทีควรรู้จกั
หน่ วยการวัดพืนทีในระบบเมตริก
ตารางเซนติเมตร เท่ากับ หรื อ ตารางมิลลิเมตร
ตารางเมตร เท่ากับ , หรื อ ตารางเซนติเมตร
ตารางกิโลเมตร เท่ากับ , , หรื อ ตารางเมตร
หน่ วยการวัดพืนทีในระบบอังกฤษ
ตารางฟุต เท่ากับ หรื อ ตารางนิ ว
ตารางหลา เท่ากับ หรื อ ตารางนิว
เอเคอร์ เท่ากับ , ตารางหลา
ตารางไมล์ เท่ากับ เอเคอร์
หรื อ ตารางไมล์ เท่ากับ , ตารางหลา
หน่ วยการวัดพืนทีในมาตราไทย
ตารางวา เท่ากับ งาน
งาน เท่ากับ ไร่
หรื อ ตารางวา เท่ากับ ไร่
หน่ วยการวัดพืนทีในมาตราไทยเทียบกับระบบเมตริก
ตารางวา เท่ากับ ตารางเมตร
งาน เท่ากับ ตารางเมตร
หรื อ ไร่ เท่ากับ , ตารางเมตร
ตารางกิโลเมตร เท่ากับ ไร่

ตัวอย่ าง
. ทีดิน . ตารางกิโลเมตร คิดเป็ นกีตารางเมตร
เนืองจากพืนที ตารางกิโลเมตร เท่ากับ ตารางเมตร
ดังนันพืนที . ตารางกิโลเมตร เท่ากับ . x
= 1.25 x 7 ตารางเมตร
ตอบ . x 7 ตารางเมตร
61

. พืนทีชันล่างของบ้านรู ปสีเหลียมผืนผ้ากว้าง วา ยาว วา ผูร้ ับเหมาปูพนคิ


ื ดค่าปูพนตาราง

เมตรละ 37 บาท จะต้องเสียค่าปูพนเป็
ื นเงินเท่าไร
พืนทีชันล่างของบ้านมีความกว้าง วา
ความยาว วา
ดังนัน พืนทีชันล่างของบ้านมีพนที
ื เป็ น x 12 = 72 ตารางวา
เนืองจาก พืนที ตารางวา เท่ากับ ตารางเมตร
ถ้าคิดพืนทีเป็ นตารางเมตร พืนทีชันล่างของบ้านมีพนที
ื เป็ น
x4 = 288 ตารางเมตร
ดังนัน เสียค่าปูพนเป็
ื นเงิน x 37 = 10, 656 บาท
ตอบ , บาท
62

เรืองที 2
การเลือกใช้ หน่ วยการวัด ความยาวและพืนที
การวัดความยาว หรื อการวัดพืนที ควรเลือกใช้หน่วยการวัดทีเป็ นมาตรฐาน และเหมาะสมกับสิงที
ต้องการวัด เช่น
- ความหนาของกระเบืองหรื อความหนาของกระจก ใช้หน่วยวัดเป็ น "มิลลิเมตร"
- ความยาวของกระเป๋ าหรื อความสูงของนักเรี ยน ใช้หน่วยวัดเป็ น "เซนติเมตร"
- ความกว้างของถนน ความสูงของตึก ใช้หน่วยวัดเป็ น "เมตร"
- ระยะทางจากกรุ งเทพฯ ถึงนครศรี ธรรมราช ใช้หน่วยวัดเป็ น "กิโลเมตร"
63

เรืองที
การหาพืนทีของรูปเรขาคณิต
. รู ปสามเหลียม
รู ปสามเหลียม คือ รู ปปิ ดทีมีดา้ นสามด้าน มุมสามมุม เมือกําหนดให้ดา้ นใดด้านหนึงเป็ นฐานของ
รู ปสามเหลียม แล้วมุมทีอยูต่ รงข้ามกับฐานจะเป็ นมุมยอด และถ้าลากเส้นตรงจากมุมยอดมาตังฉากกับฐาน
หรื อส่วนต่อของฐานจะเรี ยกเส้นตังฉากว่าส่วนสูง
จากรู ปสามเหลียม ABC ให้กาํ หนด BC เป็ นฐาน
เรี ยก A ว่า มุมยอด
เรี ยก AD ว่า ส่วนสูง

จากรู ปที 1 รู ปที 2 รู ปที 3 พืนทีรู ปสีเหลียมผืนผ้า ABCD แต่ละรู ปเท่ากับ 12 ตารางหน่วย และพืนที
สามเหลียมแต่ละรู ปเท่ากับครึ งหนึงของพืนทีรู ปสีเหลียมผืนผ้า
จากสูตร พืนทีรู ปสีเหลียมผืนผ้า = ฐาน x สูง
1
ดังนัน พืนทีรู ปสามเหลียม =  ฐาน  สูง
2
64

ตัวอย่าง รู ปสามเหลียมรู ปหนึงพืนที 40 ตารางเซนติเมตร และมีฐานยาว 8 เซนติเมตร จะมีความสูงกี


เซนติเมตร
วิธีทาํ ให้ความสูงของสามเหลียม h เซนติเมตร
1
สูตร พืนที  =  ฐาน  สูง
2

1
40 = 8 h
2
40  2
h
8

ดังนัน ความสูงของสามเหลียมเท่ากับ 10 เซนติเมตร

. รู ปสีเหลียม
2.1 พืนทีของรู ปสีเหลียมมุมฉาก
บทนิยาม รู ปสีเหลียมมุมฉาก คือ รู ปสีเหลียมทีมีมุมแต่ละมุมเป็ นมุมฉาก

รู ปสีเหลียมมุมฉากมี 2 ชนิด คือ


ก) รู ปสีเหลียมจัตุรัส
เป็ นรู ปสีเหลียมมุมฉากทีมีดา้ นทุกด้านยาวเท่ากัน

ข) รู ปสีเหลียมผืนผ้า
เป็ นรู ปสีเหลียมมุมฉากทีมีดา้ นตรงข้ามยาวเท่ากัน
65

ถ้าแบ่งรู ปสีเหลียมมุมฉากออกเป็ นตาราง ๆ โดยแบ่งด้านกว้างและด้านยาวออกเป็ นส่วนๆ เท่าๆ กัน แล้ว


ลากเส้นเชือมจุดแบ่งดังรู ป

จากรู ปตารางเล็กๆ ทีเกิดจากแบ่งแต่ละรู ป จะมีความกว้าง 1 หน่วย และยาว 1 หน่วย คิดเป็ น พืนที 1


ตารางหน่วย
การหาพืนของสีเหลียมมุมฉากรู ปที 1
สีเหลียมมุมฉากรู ปที 1 มีดา้ นกว้าง 3 หน่วย ด้านยาว หน่วย เมือแบ่งแล้วได้จาํ นวนตาราง 9 ตาราง
หรื อมีพนที
ื 9 ตารางหน่วย
สีเหลียมมุมฉากรู ปที 2 มีดา้ นกว้าง 3 หน่วย ด้านยาว 4 หน่วย เมือแบ่งแล้วได้จาํ นวนตาราง 12
ตาราง หรื อมีพนที
ื 12 ตารางหน่วย
การหาพืนทีดังกล่าว สามารถคํานวณได้จากผลคูณของด้านกว้างและด้านยาว
นันคือ พืนทีรู ปสีเหลียมมุมฉาก = ด้านกว้าง x ด้านยาว
ในกรณี ทีเป็ นรู ปสีเหลียมจัตุรัส จะมีดา้ นกว้างเท่ากับด้านยาว
นันคือ พืนทีรู ปสีเหลียมจัตุรัส = ด้าน x ด้าน
หรื อ พืนทีรู ปสีเหลียมจัตุรัส = (ด้าน)2

ตัวอย่าง จงหาพืนทีของรู ปสีเหลียมต่อไปนี


(ก) (ข)

หน่วย ซม.

หน่วย ซม.

พ.ท. สีเหลียมผืนผ้า = กว้าง x ยาว พ.ท. สีเหลียมจัตุรัส = ด้าน x ด้าน


= 5x8 = 4x4
= 40 ตารางหน่วย = 16 ตารางเซนติเมตร
ดังนัน พืนทีสีเหลียมผืนผ้า เท่ากับ 40 ตารางหน่วย ดังนัน พืนทีสีเหลียมจัตุรัส เท่ากับ 16 ตารางเซนติเมต
66

(ค) นิว
นิว
นิว

นิว

นิว

พ.ท. สีเหลียมผืนผ้า = (2x3) + (4x7)


= 6 + 28
= 34 ตารางนิ ว
ดังนัน พืนทีสีเหลียมผืนผ้า เท่ากับ 34 ตารางนิ ว

2.2 พืนทีของรู ปสีเหลียมด้านขนาน


บทนิยาม รู ปสีเหลียมด้านขนาน คือ รู ปสีเหลียมทีมีดา้ นตรงข้ามขนานกันสองคู่

การหาพืนทีของรู ปสีเหลียมด้านขนาน
D C

ส่วนสูง

A ฐาน B

กําหนดให้ AB เป็ นฐานของรู ปสีเหลียมด้านขนาน ส่วนของเส้นตรงทีลากจากด้านตรงข้ามมาตัง


ฉากกับฐาน หรื อส่วนของฐาน เรี ยกว่าส่วนสูง
รู ปสีเหลียมด้านขนาน ABCD มีความสูง หน่วย ฐานยาว หน่วย ทับตารางได้พนที ื
ตารางหน่วย
สูตรพืนทีสีเหลียมด้านขนาน = ความยาวของฐาน × ความสูง
67

ตัวอย่าง จงหาพืนทีสีเหลียม ABCD


วิธีทํา

สูตรพืนที
รู ปสีเหลียมด้านขนาน = ฐาน  สูง
= AB  AB
=  ตารางเซนติเมตร
ดังนัน พืนทีสีเหลียมด้านขนาน ABCD = ตารางเซนติเมตร

2.3 พืนทีของรู ปสีเหลียมขนมเปี ยกปูน


รู ปสีเหลียมด้านขนานทีมีดว้ นทุกด้านยาวเท่ากัน และมุมไม่เป็ นมุมฉาก เรี ยกว่ารู ปสีเหลียมขนม
เปี ยกปูน

ส่ วนสู ง

ฐาน

รู ปสีเหลียมขนมเปี ยกปูน มีดา้ นตรงข้ามขนานกันสองคู่ เช่นเดียวกับรู ปสีเหลียมด้านขนาน มีสูตร


การหาพืนทีเช่นเดียวกัน

สูตรพืนทีสีเหลียมขนมเปี ยกปูน = ความยาวของฐาน × ความสูง

ในกรณี รูปสีเหลียมขนมเปี ยกปูน ถ้าลากเส้นทะแยงมุม แบ่งรู ปสีเหลียมออกเป็ นรู ปสามเหลียมสอง


รู ป จะใช้สูตรดังนี
1
สูตรพืนทีสีเหลียมขนมเปี ยกปูน = × ผลคูณของเส้นทะแยงมุม
2
68

ตัวอย่าง
กระดาษรู ปสีเหลียมขนมเปี ยกปูนมีความยาวด้านละ นิว สูง นิ ว กระดาษแผ่นนีมีพนที
ื เท่าใด

วิธีทํา สูตรพืนทีสีเหลียมขนมเปี ยกปูน = ความยาวของฐาน × ความสูง


= 20  9 = 180 ตารางนิว
ดังนัน พืนทีสีเหลียมขนมเปี ยกปูน = 180 ตารางนิ ว

. การหาพืนทีของรู ปสีเหลียมคางหมู
บทนิยาม รู ปสีเหลียมคางหมู คือรู ปสีเหลียมทีมีดา้ นขนานกันหนึงคู่เท่านัน

รู ปสีเหลียมทังสามรู ป แต่ละรู ปมีดา้ นขนานกันเพียง คู่เท่านัน รู ปสามเหลียมทังสามรู ปจึงเป็ น


สีเหลียมคางหมู
รู ปสีเหลียมรู ปที มีดา้ นทีไม่ขนานกัน ด้าน ตังฉากกับด้านคู่ขนาน เรี ยกรู ปสีเหลียมคางหมูนีว่า
สีเหลียมคางหมูมุมฉาก
รู ปสีเหลียมรู ปที มีดา้ นทีไม่ขนานกันยาวเท่ากัน เรี ยกรู ปสีเหลียมคางหมูนีว่า สีเหลียมคางหมูหน้า
จัว

รู ปสีเหลียมคางหมู ABCD มีดา้ น AB ขนานกับด้าน CD ลาก CE ให้ตงฉากกั


ั บ AB และ
ลากเส้นทแยงมุม AC ดังรู ปที

1
สูตร พืนที คางหมู =  สูง  ผลบวกด้านคู่ขนาน
2
69

ตัวอย่าง จงหาพืนทีของสีเหลียม ABCD


วิธีทาํ

1
พืนทีสีเหลียมคางหมู ABCD =  สูง  ผลบวกด้านคู่ขนาน
2
1
=  DE   AB  DC 
2
1
=  6  12  8 
2
= 3  ตารางเซนติเมตร
ดังนัน พืนทีสีเหลียมคางหมู ABCD = ตารางเซนติเมตร

2.5 พืนทีของสีเหลียมรู ปว่าว


บทนิยาม รู ปสีเหลียมรู ปว่าว คือ รู ปสีเหลียมทีมีดา้ นประชิดกันยาวเท่ากันสองคู่

เมือลากเส้นทแยงมุมของรู ปสีเหลียมรู ปว่าว จะพบว่า เส้นทแยงมุมตัดกันเป็ นมุมฉาก และแบ่งครึ ง


ซึงกันและกัน
70

การหาพืนทีรู ปสีเหลียมรู ปว่าว

1
สูตร พืนทีสีเหลียมรู ปว่าว =  ผลคูณของเส้นทแยงมุม
2

ตัวอย่าง จงหาพืนทีรู ปสีเหลียมรู ปว่าว ABCD ทีมี BD  10 เซนติเมตร และ AC  12 เซนติเมตร


วิธีทํา

1
พืนทีรู ปว่าว =  ผลคูณของเส้นทแยงมุม
2
1
=  AC  BD
2
1
=  12  10 ตารางเซนติเมตร
2
ดังนัน พืนทีรู ปสีเหลียมรู ปว่าว ABCD = 60 ตารางเซนติเมตร
71

. พืนทีของรู ปสีเหลียมใดๆ
รู ปสีเหลียมใดๆ เป็ นรู ปสีเหลียมทีไม่เข้าลักษณะของรู ปสีเหลียมข้างต้น การหาพืนทีอาจทําได้โดย
ลากเส้นทแยงมุม ใช้สูตรดังนี

1
สูตร พืนทีสีเหลียมใดๆ =  ความยาวของเส้นทแยงมุม  ผลบวกของความยาวของเส้นกิง
2

ตัวอย่าง จงหาพืนทีของรู ปสีเหลียม ABCD มี AC = 10 เซนติเมตร เส้นกิง DF = 7 เซนติเมตร และ EB =


5 เซนติเมตร
วิธีทาํ

1
พืนที ABCD =  เส้นทแยงมุม  ผลบวกของความยาวของเส้นกิง
2
1
=  AC  BE  DF 
2
1
=  10  7  5 ตารางเซนติเมตร
2
ดังนัน พืนที ABCD = ตารางเซนติเมตร
72

2.7 พืนทีรู ปหลายเหลียม


การหาพืนทีรู ปหลายเหลียม ใช้วิธีแบ่งรู ปหลายเหลียม เป็ นรู ปสีเหลียมย่อยๆ แล้ว หาพืนทีของรู ป
แต่ละรู ปนําผลลัพธ์มารวมกัน แต่บางครังอาจใช้วิธีต่อเติมรู ปเพือให้เกิดรู ปเหลียมใหม่แล้วนํามาหักลบกัน
ดังตัวอย่าง

ตัวอย่าง จงหาพืนทีรู ปเหลียมทีแรเงา

วิธีทาํ ลากต่อ EF และ HG ทําให้เกิดเป็ นรู ปสีเหลียมมุมฉากย่อย รู ป คือ DEJC, FGKJ,


ABKH

จากรู ป EJ = 6 เซนติเมตร
FJ = 4 เซนติเมตร

พืนทีรู ปหลายเหลียม ABCDEFGH = พ.ท. DEJC + พ.ท. FGKJ + พ.ท. ABKH


= ( 6) + (  ) + (  )
= + + ตารางเซนติเมตร
ดังนัน พืนทีรู ปหลายเหลียม ABCDEFGH = ตารางเซนติเมตร

. พืนทีรู ปวงกลม
การหาพืนทีของรู ปวงกลมโดยวิธีแบ่งออกเป็ นส่วนเล็กๆ แล้วนําแต่ละส่วนมาสลับกัน ดังรู ป
73

จะเห็นได้ว่า ถ้ายิงแบ่งส่วนย่อยให้มีจาํ นวนมากขึน รู ปสีเหลียมทีได้จะมีรูปใกล้เคียงกับรู ปสีเหลียมผืนผ้า


โดยมีส่วนสูงใกล้เคียงกับรัศมีของวงกลม
ความยาวของฐาน ใกล้เคียงกับครึ งหนึงของเส้นรอบวง หรื อ 1 2r   r
2
จากสูตร พืนที ผืนผ้า = ฐาน  สูง
= r   r
= r 2

สูตร พืนทีวงกลม = r 2

22
เมือ  หรื อ . โดยประมาณ
7
r แทนความยาวรัศมี

ตัวอย่าง จงหาพืนทีวงกลมทีมีรัศมียาว เซนติเมตร


วิธีทํา

พืนทีวงกลม = r 2
22
= 77 ตารางเซนติเมตร
7
พืนทีวงกลม = 154 ตารางเซนติเมตร
74

สรุปสู ตรการหาพืนที
75
76

เรืองที
การแก้ โจทย์ ปัญหาเกียวกับพืนทีในสถานการณ์ ต่างๆ
ตัวอย่าง ทีดินรู ปสีเหลียมผืนผ้ากว้าง วา ยาว วา ต้องการทําถนนในทีดินกว้าง วา โดยรอบ ถนน
จะมีพนทีื กีตารางวา
วิธีทาํ
พืนทีทังหมด = 
1
= 240 ตารางวา
10 12 วา พืนทีรู ปใน = 
18 = 180 ตารางวา
พืนทีถนน = 240 – 180
20 วา  พืนทีถนน = 60 ตารางวา

ตัวอย่าง ห้องๆ หนึง . เมตร กว้าง เมตร ต้องการปูกระเบืองรู ปสีเหลียมจัตุรัส ซึงมีความกว้างด้านละ


เซนติเมตร จะต้องใช้กระเบืองกีแผ่น
วิธีทํา ห้องมีความยาว . เมตร = 6.5  100 = 650 เซนติเมตร
ความกว้าง เมตร = 400 เซนติเมตร
พืนทีห้อง = 400  650 = 260,000 ตารางเซนติเมตร
พืนทีกระเบือง =  = 625 ตารางเซนติเมตร
260,000
ต้องใช้กระเบือง =  416 แผ่น
625
ดังนัน ต้องใช้กระเบือง แผ่น
77

เรืองที
การคาดคะเนเวลา ระยะทาง ขนาด นําหนัก
ในชีวิตประจําวันบางครังเราอาจต้องการทราบรายละเอียดเกียวกับเวลา ระยะทาง ขนาด หรื อ
นําหนัก ของสิ งต่างๆ แต่ไม่สะดวกทีจะวัดสิ งต่างๆ เหล่านัน เนืองจากมีขอ้ จํากัดบางประการ ตัวอย่างเช่น
ต้องการวัดความยาว และความกว้างของสนามฟุตบอลของโรงเรี ยน แต่ไม่มีอุปกรณ์ทีเหมาะสม ทําให้ตอ้ งมี
การประมาณอย่างคร่ าวๆ ซึงในบางครังอาจจะถูกต้อง หรื ออาจผิดไปจากความเป็ นจริ งบ้าง เราเรี ยกวิธีการ
ประมาณในลักษณะนี ว่า การคาดคะเน
การคาดคะเนปริ มาณต่างๆ เช่น ช่วงเวลา ระยะทาง ขนาด และนําหนักของสิงต่างๆ ผูค้ าดคะเนมัก
ใช้สายตารวมกับประสบการณ์ของผูค้ าดคะเนเอง ซึงในการคาดคะเนแต่ละครังอาจถูกต้องพอดี หรื ออาจมี
ข้อผิดพลาดเกิดขึนบ้างก็ได้ เราเรี ยกข้อผิดพลาดนีว่า ความคลาดเคลือน และความคลาดเคลือนคํานวณได้
จากผลต่างของปริ มาณทีคาดคะเนไว้กบั ปริ มาณทีวัดได้จริ ง เช่น
คะเนว่าหนังสือเรี ยนกว้าง เซนติเมตร ยาว เซนติเมตร และหนา เซนติเมตร แต่เมือวัดจริ ง
พบว่าหนังสือเรี ยนกว้าง . เซนติเมตร ยาว . เซนติเมตร และหนา เซนติเมตร ดังนันคะเนความกว้าง
และความยาวของหนังสือเรี ยนคลาดเคลือนไป . และ . ตามลําดับ ( . เซนติเมตร – . เซนติเมตร =
. เซนติเมตร และ . เซนติเมตร – เซนติเมตร = . เซนติเมตร ส่วนความหนาคาดคะเนได้ถกู ต้องไม่
คลาดเคลือนเลย )
หมายเหตุ บางครังอาจพบการใช้สญ ั ลักษณ์  ตามความคลาดเคลือน เช่น เครื องบรรจุนาได้
ํ ขวด
ละ , ลูกบาศก์เซนติเมตร  ลูกบาศก์เซนติเมตร หมายความว่า โดยปกติแล้วนําดืมทีบรรจุขวดโดย
เครื องนี จะมีปริ มาตร , ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่อาจจะมีบางขวดทีมีปริ มาตรมากกว่าหรื อน้อยกว่า ,
ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึงปริ มาตรทีคลาดเคลือนนีไม่เกิน ลูกบาศก์เซนติเมตร นันคือ นําดืมทีบรรจุขวดจะมี
ปริ มาตรตังแต่ ลูกบาศก์เซนติเมตร ถึง , ลูกบาศก์เซนติเมตร
78

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
1. จงเติมหน่วยความยาวหรื อหน่วยพืนทีให้เหมาะสมกับข้อความต่อไปนี
1) ไม้อดั ชนิดบางมีความหนาแผ่นละ 4 .........................................................................................
) จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเลยอยูห่ ่างกันประมาณ 1,600 ......................................................
3) สนามฟุตบอลแห่งหนึงมีความกว้าง 45 …………… มีความยาว 90 ..................... และถ้าวิง
รอบสนามแห่งนีสามรอบ จะได้ระยะทาง 1 ...............................
4) ห้องเรี ยนมีพนที
ื ประมาณ 80 ................................................
5) แม่นาโขงช่
ํ วงจังหวัดมุกดาหารมีความกว้างประมาณ 200 ............................
2. จงเติมคําลงในช่องว่างทีกําหนดให้ถกู ต้อง
) พืนที 17 ตารางเมตร คิดเป็ นพืนที .................................. ตารางเซนติเมตร
) ทีดิน 3,119 ตารางวา เท่ากับทีดิน ............................... (ตอบเป็ นไร่ งาน ตารางวา)
) กระดาษแผ่นหนึงมีพนที ื 720 ตารางนิ ว กระดาษแผ่นนีมีพนที ื ............................ ตารางฟุต
) พืนที 9.5 ตารางวา จะเท่ากับ .......................... ตารางเมตร
) ลุงสอนมีทีดินอยู่ 2 งาน 68 ตารางวา คิดเป็ นพืนที ..................... ตารางเมตร แล้วถ้าลุงสอน
ขายทีดินไป ตารางเมตรละ 875 บาท ลุงสอนจะได้รับเงิน ...................... บาท แสดงว่าทีดิน
ของลุงสอน ราคาไร่ ละ......................... บาท

3. จงตอบคําถามต่อไปนี พร้อมแสดงวิธีทาํ
1) สวนแห่งหนึงมีพนที
ื 4,800 ตารางเมตร คิดเป็ นพืนทีกีไร่
) ลุงแดงแบ่งทีดินให้ลกู ชาย 3 คน โดยแบ่งให้ลกู ชายคนโตได้ 2 ไร่ ลูกชายคนกลาง 850 ตารางวา
และลูกชายคนเล็กได้ 3,000 ตารางเมตร อยากทราบว่าใครได้ส่วนแบ่งทีดินมากทีสุด
) สมเกียรติซือโลหะแผ่นชนิดหนึง 3 ตารางเมตร ราคา 456 บาท สมนึกซือโลหะแผ่นชนิดเดียวกัน
4 ตารางหลา ราคา 567 บาท อยากทราบว่าใครซือได้ถกู กว่ากัน ตารางเมตรละกีบาท (กําหนด 1 หลา = 90
เซนติเมตร)
79

แบบฝึ กหัดที 2
.จงเติมหน่วยการวัดทีเหมาะสมลงในช่องว่าง
1.ความยาวของรัวโรงเรี ยน …………………………………
.ความหนาของหนังสือ ………………………………….
. ระยะทางจากกรุ งเทพฯ ถึงเชียงใหม่ ……………………………..
. นําหนักของแตงโม …………………………………………..
. เวลาทีนักเรี ยนใช้ในการวิงแข่งในระยะทาง เมตร ……………………..
. อุณหภูมิหอ้ ง .....................................
. พืนทีสวน ......................................
. ปริ มาณของนํา เหยือก ......................................
. ส่วนสูงของนักเรี ยน .....................................
. นําหนักของข้าวสาร ถุง ....................................

แบบฝึ กหัดที 3
1. จงหาพืนทีส่วนทีแรเงาของรู ปต่อไปนี ตัวเลขทีเขียนกํากับด้านไว้ถือเป็ นความยาวของด้าน และมีหน่วย
เป็ นหน่วยความยาว

............................................................................. ......................................................................
............................................................................ .......................................................................
............................................................................ .......................................................................
............................................................................ .......................................................................
........................................................................... .......................................................................
........................................................................... .......................................................................
........................................................................... .......................................................................
80

แบบฝึ กหัดที 4

1. จงหาพืนทีของรูปสีเหลียมจากรูป
1) รู ปสีเหลียม มี 4) รู ปสีเหลียมคางหมู
ด้านยาวด้านละ เซนติเมตร มีรายละเอียดความยาวด้านต่างๆ
ดังรู ป
ม.

ม. ม.

ม.
2) รู ปสีเหลียมผืนผ้า
มีรายละเอียดความยาวด้านต่างๆ
ดังรู ป 5) รู ปสีเหลียมขนมเปี ยกปูน
มีรายละเอียดความยาวด้านต่างๆ
ดังรู ป

4 ซม. ม.
ม.
ม.
7 ซม.
ม.

3) รู ปสีเหลียมด้านขนาน
6) รู ปสีเหลียมรู ปว่าว
มีรายละเอียดความยาวด้านต่างๆ
มีรายละเอียดความยาวด้านต่างๆ
ดังรู ป
ดังรู ป
ม.
ม.
ม. ม.

ม. ม.
ม.
81

7) รู ปสีเหลียมใดๆ
มีรายละเอียดความยาวด้านต่างๆ
ดังรู ป ม.
ม.
ม. ม.
ม. ม.
9 ม.

. จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา ตัวเลขทีเขียนกํากับไว้ถือว่าเป็ นความยาวของด้านและมีหน่วยความยาวเป็ นเมตร

แบบฝึ กหัดที 5
1. จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา ตัวเลขทีเขียนกํากับด้านมีหน่วยเป็ นเซนติเมตร และจุด O แทน
จุดศูนย์กลางของวงกลม

1) 2)
8 3.5
4 9
0
6

4)
3) 2.
2
7 6
0
2.

1
82

แบบฝึ กหัดที 6
1. แผนผังบ้านหลังหนึงมีลกั ษณะและขนาดดังรู ป ถ้าบริ เวณทีแรเงาต้องการเทปูนซีเมนต์ โดยเสียค่าใช้จ่ายตารางเมตร
ละ บาท จะต้องเสียค่าใช้จ่ายทังหมดกีบาท กําหนดความยาวมีหน่วยเป็ นเมตร

แบบฝึ กหัดที 7
. จงคาดคะเนเวลาหรื อช่วงเวลาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่อไปนี
1) ฟ้ าใกล้สว่าง อากาศเย็นสบาย ไก่ตวั ผูต้ ีปีกและส่งเสียงขัน มีนาค้ ํ างจับตามยอดหญ้า น่าจะเป็ นเวลา
ประมาณ...................นาฬิกา
) เมืออยูก่ ลางแจ้งดวงอาทิตย์อยูต่ รงศีรษะพอดี เงาของตัวเองอยูบ่ นพืนทียืนอยูพ่ อดี น่าจะเป็ นเวลา
ประมาณ...................นาฬิกา
) ในจังหวัดทางภาคเหนือเป็ นเวลาเช้าตรู่ ฟ้ าสว่างแล้ว แต่ยงั ไม่เห็นพระอาทิตย์ ท้องฟ้ าขมุกขมัวอากาศ
หนาวเย็นจัด น่าจะเป็ นฤดู....................และควรจะเป็ นช่วงเดือน.....................

. จงวงกลมล้อมรอบข้อทีเหมาะสมทีสุด สําหรับใช้หน่วยในการคาดคะเน ระยะทาง นําหนัก หรื อ


ขนาดของสิ งต่อไปนี
) ความยาวของคัตเตอร์
ก. . มิลลิเมตร ข. เซนติเมตร ค. เมตร
) นําหนักของมะพร้าว ผล
ก. กรัม ข. กิโลกรัม ค. ตัน
) รถกระบะ
. มีนาหนั
ํ ก ก. กิโลกรัม ข. กิโลกรัม ค. ตัน
. ความกว้าง ก. เซนติเมตร ข. ฟุต ค. เมตร
. ความยาว ก. ฟุต ข. เมตร ค. วา
83

. ทางหลวงสายพหลโยธินกรุ งเทพฯ-แม่สาย ยาว กิโลเมตร รถประจําทางปรับอากาศวิงบนทางหลวงสายนี


ตลอดเส้นทางด้วยอัตราเร็ ว - กิโลเมตรต่อชัวโมง
( ) รถประจําทางปรับอากาศใช้เวลาวิงตลอดเส้นทางนานเท่าไร
( ) ถ้ารถออกจากกรุ งเทพฯ ประมาณ . นาฬิกา จะถึงแม่สายในช่วงใด
( ) ถ้าต้องการให้ถึงแม่สายประมาณเทียงวันที กันยายน จะต้องออกจากกรุ งเทพฯ เวลาเท่าไร

. ลิฟต์ของโรงแรมแห่งหนึงบรรทุกผูโ้ ดยสายได้เทียวละไม่เกิน คน ( กิโลกรัม) บางครังมีผโู้ ดยสารเข้า


ลิฟต์เพียง คน ลิฟต์จะมีเสียงเตือน บางครังมีผโู้ ดยสาร คน ลิฟต์ไม่มีเสียงเตือนยังใช้งานได้เป็ นเพราะเหตุใด
จงอธิบาย
84

บทที
ปริมาตรและพืนทีผิว

สาระสําคัญ
การหาพืนทีผิวและปริ มาตรของ ปริ ซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม จําเป็ นจะต้องรู้
กระบวนการคิด และการใช้สูตร เพือสะดวกในการคํานวณอันจะเป็ นประโยชน์ต่อการนําไปใช้ในชีวิตจริ ง

ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. อธิบายลักษณะและสมบัติของปริ ซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม หาปริ มาตรและพืนที
ผิวของปริ ซึมได้
2. หาปริ มาตรและพืนทีผิวของทรงกระบอกได้
3. เปรี ยบเทียบความจุหรื อหน่วยปริ มาตร ในระบบเดียวกันหรื อต่างระบบได้
4. เลือกใช้หน่วยวัดความจุหรื อปริ มาตรได้อย่างเหมาะสม
5. แก้ปัญหาเกียวกับปริ มาตรและพืนทีผิวแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
6. คาดคะเนปริ มาตรและพืนทีผิวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที ลักษณะสมบัติและการหาพืนทีผิวและปริ มาตรของปริ ซึม
เรื องที การหาปริ มาตรและพืนทีผิวของทรงกระบอก
เรื องที การหาปริ มาตรของพีระมิด กรวยและทรงกลม
เรื องที การเปรี ยบเทียบหน่วยปริ มาตร
เรื องที การแก้โจทย์ปัญหาเกียวกับปริ มาตรและพืนทีผิว
เรื องที การคาดคะเนปริ มาตรและพืนทีผิว
85

เรืองที 1
ลักษณะสมบัตแิ ละการหาพืนทีผิวและปริมาตรของปริซึม
พืนทีผิวและปริมาตรของปริซึม
รู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีมีหน้าตัด (ฐาน) ทังสองเป็ นรู ปหลายเหลียมทีเท่ากันทุกประการและ
อยูใ่ นระนาบทีขนานกัน มีหน้าข้างเป็ นรู ปสีเหลียมด้านขนาน เรี ยกว่า ปริซึม

ส่วนต่าง ๆ ของปริ ซึมมีชือเรี ยกดังนี

เราเรี ยกชือปริ ซึมชนิดต่าง ๆ ตามลักษณะของฐานของปริ ซึมดังตัวอย่าง

ปริ ซึมสีเหลียมผืนผ้า ปริ ซึมสามเหลียม ปริ ซึมสี เหลียมคางหมู

ปริ ซึมห้าเหลียม ปริ ซึมหกเหลียม

สูตร การหาพืนทีผิวของปริ ซึม = พืนทีผิวข้าง + พืนทีผิวหน้าตัด


ปริ มาตรปริ ซึม = พืนทีฐาน x สูง
86

ตัวอย่าง จงหาพืนทีผิวของปริ ซึมต่อไปนี กําหนดความยาวทีหน่วยเป็ นเซนติเมตร


วิธีทาํ
พืนทีผิวด้านข้าง ด้าน = ( x )+ ( x )
= ตารางเซนติเมตร
พืนทีหน้าตัด = ( x )
= ตารางเซนติเมตร
พืนทีผิวของปริ ซึม = +
= ตารางเซนติเมตร

ตัวอย่าง จงหาปริ มาตรของปริ ซึมต่อไปนี (ความยาวทีกําหนดให้มีหน่วยเป็ นเมตร)


วิธีทาํ

ปริ มาตรปริ ซึม = พืนทีฐาน x สูง


= ( x ) x8
= 160 ลูกบาศก์เมตร
87

เรืองที
การหาปริมาตรและพืนทีผิวของทรงกระบอก
ทรงกระบอก คือ ทรงสามมิติทีมีฐานเป็ นรู ปวงกลมทีเท่ากันทุกประการ และอยูใ่ นระนาบทีขนานกัน ซึง
เมือตัดทรงสามมิตินีด้วยระนาบทีขนานกับฐานแล้วจะได้รอยตัดเป็ นวงกลมทีเท่ากันทุกประการกับฐานเสมอ

พืนทีผิวของทรงกระบอก
เมือคลีผิวข้างของทรงกระบอกใด ๆ พบว่า จะเป็ นรู ปสีเหลียมผืนผ้าทีมีความยาวเท่ากับเส้นรอบฐาน
วงกลม และส่วนสูงเท่ากับความสูงของทรงกระบอก

สู ตร พืนทีผิวของทรงกระบอก = พืนทีผิวข้าง + พืนทีฐานทังสอง


= 2  rh  2  r 2
เมือ r แทน รัศมีของฐานของทรงกระบอก
h แทน ความสูงของทรงกระบอก
88

ปริ มาตรทรงกระบอก
จาก ปริ มาตรของปริ ซึม = พืนทีฐาน x สูง
ปริ มาตรทรงกระบอก = r 2 h

สูตร ปริ มาตรทรงกระบอก = r 2 h

ตัวอย่างที กระป๋ องทรงกระบอกใบหนึงมีรัศมี เซนติเมตร และสูง เซนติเมตร


ก) ต้องการปิ ดกระดาษรอบข้างและปิ ดฝาทังสองจะต้องใช้กระดาษกีตารางเซนติเมตร
ข) กระป๋ องใบนีมีความจุกีลูกบาศก์เซนติเมตร
ก) พืนทีฐานทังหมด = 2 r 2

วิธีทาํ
22
= 2 77
7
= ตารางเซนติเมตร
พืนทีผิวข้าง = ความยาวรอบฐาน x สูง
= 2 r  h
22
= 2  7  10
7
= ตารางเซนติเมตร
พืนทีผิวกระป๋ อง = 308 + 440

ข) ปริ มาตร = พืนทีฐาน x สูง


= r 2 h
22
=  7  7  10
7
= , ลูกบาศก์เซนติเมตร
ดังนัน ก. ต้องใช้กระดาษ ตารางเซนติเมตร
ข. กระป๋ องมีความจุ , ลูกบาศก์เซนติเมตร
89

เรืองที
การหาปริมาตรของพีระมิด กรวยและทรงกลม
3.1 พืนทีผิวและปริมาตรของพีระมิด
พีระมิด คือ ทรงสามมิติทีมีฐานเป็ นรู ปเหลียมใดๆ มียอดแหลม ซึงไม่อยูใ่ นระนาบเดียวกับฐาน และหน้า
ทุกหน้าเป็ นรู ปสามเหลียม ทีมีจุดยอดร่ วมกันทียอดแหลม

ลักษณะของพีระมิดตรง
1. หน้าของพีระมิดตรงเป็ นรู ปสามเหลียมหน้าจัว
2. สันของพีระมิดตรงจะยาวเท่ากันทุกเส้น
3. ความสูงเอียงของพีระมิดตรง ด้านเท่า มุมเท่า จะยาวเท่ากันทุกเส้น
4. ปริ มาตรของพีระมิด เป็ นหนึงในสามของปริ มาตร ปริ ซึมทีมีฐานเท่ากับพีระมิด และมีส่วนสูงเท่ากับ
พีระมิด

1
สู ตร พืนทีผิวข้างของพีระมิด =  ความยาวรอบฐาน x สูงเอียง
2
พืนทีผิวทังหมดของพีระมิด = พืนทีผิวข้าง + พืนทีฐาน
1
ปริ มาตรของพีระมิด =  พืนทีฐาน x สูง
3
90

ตัวอย่างที พีระมิดฐานสีเหลียมผืนผ้า กว้าง เซนติเมตร ยาว เซนติเมตร และความสูงของพีระมิดเป็ น


เซนติเมตร จงหาความสูงเอียงของพีระมิดทังสองด้าน
. ความสูงเอียงด้านกว้าง 2 2 2
a  12  9
=144 + 81
a 2  225
a  15 เซนติเมตร
ความสูงเอียงด้านกว้างวัดสูง เซนติเมตร

2. ความสูงเอียงด้านยาว
c 2  5 2  122
= 25 + 144
= 169
c = 13 เซนติเมตร
ความสูงเอียงด้านยาว เซนติเมตร
ตัวอย่างที พีระมิดแห่งหนึงมีฐานเป็ นรู ปสีเหลียมจัตุรัส ยาวด้านละ เมตร สูงเอียง เมตร และสูงตรง เมตร
จงหาพืนทีผิวและปริ มาตรของพีระมิด
วิธีทาํ

1
พืนทีผิวข้างของพีระมิด =  ความยาวรอบฐาน x สูงเอียง
2
1
=  ( x )x
2
= ตารางเมตร
พืนทีฐาน = x
= ตารางเมตร
ดังนันพืนทีผิวของพีระมิด = + = ตารางเซนติเมตร
1
ปริ มาตรของพีระมิด =  พืนทีฐาน x สูง
3
1
=  36 x 4
3
= 48 ลูกบาศก์เมตร
91

. พืนทีผิวและปริมาตรของทรงกรวย
กรวย คือ ทรงสามมิติทีมีฐานเป็ นรู ปวงกลม มียอดแหลมทีไม่อยูบ่ นระนาบเดียวกับฐาน และเส้นทีต่อ
ระหว่างจุดยอดกับจุดใด ๆ บนเส้นรอบวงของฐาน เรี ยกเส้นตรงนีว่า “สูงเอียง”

สูงตรง
สูงเอียง

พืนทีผิวของกรวย
การหาพืนทีผิวเอียงของกรวย ทําได้โดยตัดกรวยตามแนวสูงเอียงแล้วคลีแผ่ออกจะเกิดเป็ นรู ปสามเหลียม
ฐานโค้ง

h l

2
สูตร พืนทีผิวของกรวย =  rl   r
เมือ r เป็ นรัศมีของฐานกรวย
l เป็ นความยาวของสูงเอียง

ปริ มาตรของกรวย
ความสัมพันธ์ของปริ มาตรของกรวยกับทรงกระบอก จะเหมือนกับความสัมพันธ์ของปริ ซึมกับพีระมิด ที
มีส่วนสูงและพืนทีฐานเท่ากัน นันคือ
92

1
ปริ มาตรของกรวย เป็ น ของปริ มาตรของทรงกระบอก ทีมีพนที
ื ฐานและส่วนสูงเท่ากับกรวย
3

1 2
สูตร ปริ มาตรของกรวย =  r h
3
เมือ r แทน รัศมีของฐานกรวย
h แทน ความสูงของกรวย

ตัวอย่างที จงหาพืนทีผิวและปริ มาตรของกรวย ซึงสูง เซนติเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง เซนติเมตร


วิธีทาํ 14
รัศมี = 7 เซนติเมตร
2
หาความสูงเอียง (l) จาก  ABO
l 2  242  7 2
= 576 + 49 = 625
l = 25 เซนติเมตร

พืนทีผิวข้าง =  rl
= 22
 7  25
7
= ตารางเซนติเมตร
พืนทีฐาน = r 2
22
= 77
7
พืนทีผิวทังหมด = พืนทีผิวข้าง + พืนทีฐาน = 154 ตารางเซนติเมตร
= 550 + 154
= ตารางเซนติเมตร
1 2
ปริ มาตรของกรวย =  r h
3
1 22
=   7  7  24
3 7
= , ลูกบาศก์เซนติเมตร
พืนทีผิวทังหมด ตารางเซนติเมตร
ปริ มาตรของกรวย , ลูกบาศก์เซนติเมตร
93

. พืนทีผิวและปริมาตรของทรงกลม
ทรงกลม คือ ทรงสามมิติทีมีผวิ โค้งเรี ยบ และจุดทุกจุดอยูบ่ นผิวโค้งอยูห่ ่างจากจุดคงทีจุดหนึงเป็ นระยะ
เท่ากัน
จุดคงที เรี ยกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม
ระยะทีเท่ากัน เรี ยกว่า รัศมีของทรงกลม

พืนทีผิวของทรงกลม
พืนทีผิวของทรงกลม เป็ นสีเท่าของพืนทีวงกลม ซึงมีรัศมีเท่ากับรัศมีของทรงกลม
จาก พืนทีของรู ปวงกลม = r 2
ดังนัน พืนทีผิวของทรงกลม = r 2

สู ตร พืนทีผิวของทรงกลม = r 2

ปริ มาตรของทรงกลม
ปริ มาตรของทรงกลมอาจหาได้จากการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาตรของครึ งวงกลมกับ
ปริ มาตรของกรวย

ข้อกําหนด ) ครึ งของทรงกลมทีมีรัศมี r หน่วย


) กรวยทีมีรัศมีเท่ากับครึ งทรงกลม r หน่วย และส่วนสูงของกรวย (h) เป็ น เท่าของรัศมี ฐาน
ของกรวย คือ r หน่วย
94

4
สูตร ปริ มาตรของทรงกลม = r 3
3
เมือแทน r รัศมีของทรงกลม

ตัวอย่างที จงหาปริ มาตรและพืนทีผิวของลูกโลกพลาสติก ซึงมีรัศมียาว เซนติเมตร


วิธีทํา พืนทีผิวทรงกลม = r 2
22
= 4 77
7
= ตารางเซนติเมตร
4
ปริ มาตรทรงกลม = r 3
3
4 22
=  777
3 7
4,312
=
3
= 1,437.3 ลูกบาศก์เซนติเมตร

พืนทีผิวของทรงกลม = ตารางเซนติเมตร
ปริ มาตรของทรงกลม = 1,437.3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
95

เรืองที
การเปรียบเทียบหน่ วยปริมาตร
การตวง คือ การนําสิงทีต้องการหาปริมาตรใส่ ในภาชนะทีใช้ สําหรับตวง หน่ วยการตวงทีนิยมและใช้
กันมาก คือ ลิตร

1 ลิตร = 1,000 มิลลิลิตร


1,000 ลิตร = 1 กิโลลิตร
เมือเทียบกับหน่ วยปริมาตร
หน่ วยการตวงในมาตราไทย เป็ นหน่ วยการตวงทีนิยมใช้ กนั มาก คือ
1 ถัง = 20 ลิตร (ทะนานหลวง)
1 เกวียน = 100 ถัง
1 เกวียน = 2 ลูกบาศก์เมตร
1 เกวียน = 2,000 ลิตร
1 ลิตร = 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1 มิลลิลิตร = 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1 ลูกบาศก์เมตร = 1,000 ลิตร
1 ลูกบาศก์เมตร = 1,000,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1 แกลลอน = 4.546 ลิตร
1 ลูกบาศก์นิว = 16.103235 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1 ลูกบาศก์นิว = 0.0164 ลิตร
1 ลูกบาศก์ฟุต = 1.728 ลูกบาศก์นิว
1 ลูกบาศก์ฟุต = 28.32 ลิตร
1 บาร์เรล = 158.98 ลิตร
96

ตัวอย่างที 8 อ่างนําทรงสีเหลียมมุมฉากใบหนึง กว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 50 เซนติเมตร และสูง 40 เซนติเมตร


1. อ่างใบนี จุนากี
ํ ลิตร
2. ถ้ามีนาบรรจุ
ํ เต็มอ่าง และนํา 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร หนัก 1 กรัม จงหานําหนักของนําในอ่างใบนี

วิธีทํา 1. ปริ มาตรของอ่างนํา = ความกว้าง  ความยาว  ความสูง


แทนค่า
ปริ มาตรของอ่างนํา = 30  50  40
= 60,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร
เมือเทียบกับหน่ วยปริมาตร
1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1 ลิตร
60,000
60,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร  = 60 ลิตร
1,000
2. นํา 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร หนัก 1 กรัม
นํา 60,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร หนัก 60,000 กรัม  60,000 = 60 กิโลกรัม
1,000
ตอบ 60 กิโลกรัม

ตัวอย่างที 9 ถังเก็บนําฝนทรงกระบอกเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 3 เมตร สูง 5 เมตร คิดเป็ นปริ มาตรของนํากี


ลิตร
วิธีทาํ ปริ มาตร = r2 h
22
=  1. 5  1. 5  5
7
= 35.36 ลูกบาศก์เมตร
= 35.36 × 1,000,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร
= 35,360,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร
เนืองจาก , ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1 ลิตร
35,360,000
ดังนัน , , ลูกบาศก์เซนติเมตร = = 35,360 ลิตร
1,000
97

เรืองที
การแก้ โจทย์ ปัญหาเกียวกับปริมาตรและพืนทีผิว
ตัวอย่างที ลังกระดาษบรรจุกล่องซีดี วัดความยาวภายในได้กว้าง เซนติเมตร บรรจุ ยาว เซนติเมตร และสูง
เซนติเมตร และบรรจุกล่องซีดีเต็มลังพอดี ลังกระดาษนี มีปริ มาตรเท่าไร และถ้าหยิบกล่องซีดีออกมา กล่อง ซึงมี
ปริ มาตร ลูกบาศก์เซนติเมตร กล่องซีดีจะหนาเท่าไร
วิธีทาํ ลังกระดาษมีปริ มาตร = พืนทีฐาน × สูง
= ( x )×
= , ลูกบาศก์เซนติเมตร
กล่องซีดี กล่อง มีปริ มาตร = พืนทีฐาน × หนา
= ( x ) × หนา
270
หนา =
12  15
กล่องใส่ซีดีมีความหนา = . เซนติเมตร
ลังกระดาษมีปริ มาตร , ลูกบาศก์เซนติเมตร

ตัวอย่างที นําขันครึ งวงกลมรัศมี นิ ว ตักนําใส่ถงั ทรงกระบอกทีมีรัศมี นิว และสูง นิ ว กีครังนําจึงจะ


เต็มถัง
1
วิธีทาํ ปริ มาตรนํา ขัน = ของปริ มาตรของทรงกลม
2
1 4 3
=  r
2 3
1 4
=     3 3 3
2 3
= 18  ลูกบาศก์นิว
ปริ มาตรถังทรงกระบอก = r 2 h
=   102  27
= ,  ลูกบาศก์นิว
2,700
จะต้องตักนํา = ครัง
18
= 150 ครัง
ตอบ ครัง
98

เรืองที
การคาดคะเนเกียวกับปริมาตรและพืนทีผิว
การคาดคะเนพืนที เป็ นการประมาณพืนทีอย่างคร่ าวๆ จากการมองโดยอาศัยประสบการณ์และความรู้
เกียวกับขนาดและความยาวมาช่วยในการเปรี ยบเทียบและตัดสินใจ เพือให้ใกล้เคียงกับพืนทีจริ งมากทีสุด หน่วย
พืนทีทีนิยมใช้ คือ ตารางเซนติเมตร(ซม. ) ตารางเมตร(ม. ) และตารางวา(วา )
การคาดคะเนพืนทีของรู ปหลายเหลียม
ตัวอย่าง จงคะเนหาพืนทีรู ปหลายเหลียมต่อไปนี
99

วิธีคิด ในบางครังการหาพืนทีรู ปหลายเหลียมต่างๆ ทีไม่ได้ระบุหน่วยความยาว เราอาจจะใช้วิธีการสร้างหน่วย


ตาราง หน่วย คลุมพืนทีดังกล่าว

โดยกําหนด แทนพืนที หน่วย

หรื อ แทนพืนที ตารางเซนติเมตร

หรื อ แทนพืนที ตารางเมตร

หรื อ แทนพืนที ตารางวา

จากรู ปภาพนับรู ป ได้ รู ป ซึงแทนพืนที ตารางหน่วย


ดังนันพืนทีรู ปหลายเหลียม = ตารางหน่วย
100

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
จงหาพืนทีผิวและปริ มาตรของปริ ซึมต่อไปนี

แบบฝึ กหัดที
1. จงหาปริ มาตร และพืนทีผิวทังหมดของทรงกระบอกสูง เซนติเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง เซนติเมตร
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................

. จงหาปริ มาตรของทรงกระบอกใบหนึงทีมีรัศมีของฐาน . นิ ว และสูง นิ ว


...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
101

แบบฝึ กหัดที
1. จงหาปริ มาตรและพืนทีผิวทังหมดของพีระมิดทีสูง เซนติเมตร ฐานเป็ นรู ปสีเหลียมจัตุรัส ยาวด้านละ
เซนติเมตร
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

. จงหาพืนทีผิวเอียงของพีระมิดฐานรู ปหกเหลียมด้านเท่า มุมเท่า ยาวด้านละ เซนติเมตร สูงเอียง .


เซนติเมตร
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
102

แบบฝึ กหัดที
1. จงหาปริ มาตร และพืนทีผิวทังหมดของกรวยกลมทีสูง เซนติเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง เซนติเมตร
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
. จงหาปริ มาตรและพืนทีผิวทังหมดของกรวยกลมทีสูงเอียง เซนติเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง เซนติเมตร
(ตอบในรู ป )
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................

แบบฝึ กหัดที
1. จงหาปริ มาตรและพืนทีผิวของทรงกลมซึงมีเส้นผ่านศูนย์กลาง เซนติเมตร
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
. ทรงกลมมีปริ มาตร , ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหารัศมีและพืนทีผิว
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
103

. ทรงกลมมีพนที ื ผิว ตารางนิ ว จงหาปริ มาตรของทรงกลม


...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
. โลหะกลมลูกหนึง รัศมีภายนอก เซนติเมตร รัศมีภายใน เซนติเมตร จงหาปริ มาตรเนือโลหะ
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
104

บทที 7
คู่อันดับและกราฟ
สาระสําคัญ
คู่อนั ดับ เป็ นการจับคู่ระหว่างสมาชิกสองตัวจากกลุ่ม เพือนําไปจัดทํากราฟบนระนาบพิกดั หาปริ มาณ
ความเกียวข้องของปริ มาณสองชุด

ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. อธิบายความหมายคู่อนั ดับได้
2. แปลความหมายกราฟบนระนาบพิกดั ฉากทีกําหนดให้ได้
3. เขียนกราฟแสดงความเกียวข้องของปริ มาณสองชุดทีกําหนดให้ได้

ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที คู่อนั ดับ
เรื องที กราฟของคู่อนั ดับ
เรื องที การนําคู่อนั ดับและกราฟไปใช้
105

เรืองที
คู่อันดับ (Ordered pairs)
นิยาม คู่อนั ดับ คือ การแสดงถึงความสัมพันธ์ของการจับคู่ระหว่างสมาชิกของกลุ่มสองกลุ่ม ถ้า a เป็ น
สมาชิกกลุ่มหน้าหรื อกลุ่มทีหนึง และ b เป็ นสมาชิกกลุ่มหลัง หรื อกลุ่มทีสอง เขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ (a, b) อ่านว่า “คู่อนั ดับเอบี”
ตารางแสดงจํานวนกําของผักคะน้ ากับราคาขาย
จํานวนผักคะน้ า (กํา) ราคาขาย (บาท)

จากตารางข้างต้น แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณสองปริ มาณ คือ จํานวนผักคะน้าเป็ นกํากับราคา


ขายเป็ นบาท ทีเป็ นคู่กนั เราสามารถเขียนแผนภาพแสดงการจับคู่ระหว่างปริ มาณทังสองได้ดงั นี

ผักคะน้า ราคาขาย (บาท)


1 15
2 30
3 45
4 60
5 75

a b

เราสามารถเขียนแสดงการจับคู่ โดยใช้สยั ลักษณ์ (a, b) ได้ดงั นี


(1, 15) , ( , ) , ( , ) , ( , ) , ( , )
จากคู่อนั ดับ ( , ) อ่านว่า “คู่อนั ดับ สอง – สามสิบ” มี เป็ นสมาชิกกลุ่มหน้า หรื อกลุ่มทีหนึง
เป็ นสมาชิกกลุ่มหลัง หรื อกลุ่มทีสอง
ตัวอย่าง ถ้า (x, y) = (-1, 4) จงหาค่า 3x + y –
วิธีทํา 3x + y – = 3(-1) + (4) –
= -3 + 8 – 4
=1
106

เรืองที
กราฟของคู่อันดับ (Graphing Ordered Pairs)
กราฟของคู่อนั ดับเป็ นแผนภาพทีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของกลุ่มหนึ งกลับสมาชิกของอีก
กลุ่มหนึงโดยใช้เส้นจํานวนในแนวนอนหรื อแนวตัง ให้ตดั กันเป็ นมุมฉาก ทีตําแหน่งของจุดทีแทนศูนย์ ( ) ซึงเรา
เรี ยกว่า จุดกําเนิด ดังภาพ

เส้นจํานวนในแนวนอน หรื อแกน X และเส้นจํานวนในแนวตัง หรื อแกน Y อยูบ่ นระนาบเดียวกัน และ


แบ่งระนาบออกเป็ น ส่วนเรี ยกว่า จตุภาค (Quadrant)

การอ่านและแปลความหมายกราฟบนระนาบพิกดั ฉากทีกําหนดให้
107

ตําแหน่งของจุด A คือ ( , 2)
ตําแหน่งของจุด B คือ (- , 3)
ตําแหน่งของจุด C คือ (- , )
ตําแหน่งของจุด D คือ ( , -4)
เรี ยกจุดทีแทนตําแหน่งคู่อนั ดับว่ากราฟของคู่อนั ดับ และเรี ยกตําแหน่งของคู่อนั ดับว่า พิกดั

ตัวอย่าง กําหนด A = (- , 6), B = ( , -5), C = ( , 2), D = (- , -2) จุด A, B, C, D อยูใ่ นจุดภาคใด

วิธีทาํ จุด A = (- , ) อยูใ่ นจตุภาคที


จุด B = ( ,- ) อยูใ่ นจตุภาคที
จุด C = ( , ) อยูใ่ นจตุภาคที
จุด D = (- ,- ) อยูใ่ นจตุภาคที
108

เรืองที
การนําคู่อันดับและกราฟไปใช้
เราสามารถนําคู่อนั ดับและกราฟไปใช้ในชีวติ ประจําวันได้ ซึงจะกล่าวในตัวอย่างต่อไปนี
ตัวอย่างที 1 กราฟทีแสดงปริ มาณนํามัน (ลิตร) และราคานํามัน (บาท) ของวันที เดือนมีนาคม ปี ซึงมีราคาลิตร
ละ บาท
วิธีทํา

ตัวอย่างที 2 จากกราฟในตัวอย่างที 1 จงตอบคําถามต่อไปนี


(1) นํามัน 9 ลิตร ราคาเท่าใด
(2) เงิน 209 บาท ซือนํามันได้กีลิตร
วิธีทํา

(1) จากตําแหน่งแสดงปริ มาณนํามัน 9 ลิตร ลากเส้นตรงให้ขนานกับแกนตังไป


ตัดกราฟและจากจุดทีตัดกราฟลากเส้นตรงขนานแกนนอนไปตัดแกนทีแสดงราคานํามัน เป็ นเงิน 171 บาท
ดังนัน นํามัน 9 ลิตร เป็ นราคา 171 บาท
(2) จากตําแหน่งแสดงราคานํามัน 209 ลิตร ลากเส้นตรงให้ขนานกับแกนนอนไปตัดกราฟและจากจุดทีตัด
กราฟลากเส้นตรงขนานแกนตังไปตัดทีแกนแสดงจํานวนนํามันเป็ นปริ มาณ 11 ลิตร
ดังนัน เงิน 209 ลิตร จะซือนํามันได้ 11 ลิตร
109

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
1. จงเขียนคู่อนั ดับจากแผนภาพทีกําหนดให้ต่อไปนี

1)

.....................................................................................................................................................................
)

.....................................................................................................................................................................
)

.....................................................................................................................................................................
110

. จงหาค่า x และ y จากเงือนไขทีกําหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี


). (x,y) = (4,3)
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….

2). (x,y) = (y,2)


……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
3). (x,0) = (6,y)
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
4). (x+1,y) = (5,4)
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
111

แบบฝึ กหัดที
. จงหาพิกดั ของจุด A, B, C, D ในแต่ละข้อ

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
.

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
112

. จงเขียนกราฟของคู่อนั ดับในแต่ละข้อ
). ( , ), (- , ), ( , - ), ( , )

). ( , - ), ( , ), (- , ), (- , )
113

แบบฝึ กหัดที
กราฟข้างล่างแสดงการเดินทางของอนุวฒั น์และอนุพนั ธ์

1. จงใช้กราฟทีกําหนดให้ตอบคําถามต่อไปนี

1) อนุวฒั น์ออกเดินทางก่อนอนุพนั ธ์กีชัวโมง ) อนุวฒั น์ออกเดินทางนานเท่าไรจึงจะหยุดพัก


................................................................. .................................................................
2) อนุพนั ธ์ใช้เวลาเดินทางกีชัวโมงจึงทันอนุวฒั น์ ) ตําแหน่งทีอนุวฒั น์หยุดพักห่างจากตําแหน่งที
อนุพนั ธ์ออกเดินทางกีกิโลเมตร
................................................................. .................................................................
3) อนุพนั ธ์เดินทางทันอนุวฒั น์เมือทังสอง
เดินทางได้กีกิโลเมตร
.................................................................
114

บทที 8
ความสั มพันธ์ ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละสามมิติ
สาระสําคัญ
รู ปเรขาคณิ ตสองมิติ และสามมิติ มีความสัมพันธ์กนั เป็ นอย่างมาก เหมาะทีจะนําไปใช้ในการประดิษฐ์
เป็ นรู ปลูกบาศก์และใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน

ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. อธิบายรู ปเรขาคณิ ตสองมิติทีเกิดจากการคลีรู ปเรขาคณิตสามมิติจากภาพสองมิติทีกําหนดให้ได้
2. บอกภาพสองมิติทีได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบน ของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีกําหนดให้
ได้
3. บอกรู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีได้จากรู ปเรขาคณิ ตสองมิติทีกําหนดให้ได้

ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที ภาพของรู ปเรขาคณิ ตสองมิติทีเกิดจากการคลีรู ปเรขาคณิตสามมิติ
เรื องที ภาพสองมิติทีได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง หรื อด้านบนของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ
115

เรืองที
ภาพของรูปเรขาคณิตสองมิตทิ ีเกิดจาการคลีรู ปเรขาคณิตสามมิติ
รู ปเรขาคณิ ตมีส่วนเกียวข้องสัมพันธ์กบั ชีวิตประจําวันมนุษย์ตงแต่
ั อดีตจนถึงปั จจุบนั สิ งแวดล้อมต่าง ๆ
ทีอยูร่ อบตัวเราล้วนเป็ นไปด้วยวัตถุรูปเรขาคณิ ต นอกจากนี เราใช้เรขาคณิ ตเพือทําความเข้าใจหรื ออธิบายสิ งต่าง
ๆ รอบตัว เช่น การสํารวจพืนที สร้างผังเมือง เป็ นต้น
ภาพของรูปเรขาคณิต
รู ปเรขาคณิ ต เป็ นรู ปทีประกอบด้วย จุด ระนาบ เส้นตรง เส้นโค้ง ฯลฯ อย่างน้อยหนึงอย่าง
ตัวอย่างรู ปเรขาคณิตสองมิติ เช่น รู ปสามเหลียม รู ปสีเหลียม รู ปห้าเหลียม รู ปวงกลม เป็ นต้น

ตัวอย่างรูปเรขาคณิตสามมิติ เช่น ทรงกระบอก พีระมิด ทรงกลม กรวย เป็ นต้น

จะเห็นว่า รู ปเรขาคณิตสามมิติ หรื อทรงสามมิติ มีส่วนประกอบของรู ปเรขาคณิ ตหนึงมิติและสองมิติ


116

รู ปคลีของรูปเรขาคณิตสามมิติ
รู ปคลีของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ หรื อทรงสามมิติใดๆ เป็ นรูปเรขาคณิตสองมิติทีสามารถนํามาประกอบ
กันแล้วได้ทรงสามมิติ
พิจารณาทรงสีเหลียมมุมฉากทีมีความกว้าง ความยาว และความสูง หน่วย เท่ากัน ซึงเราเรี ยกทรง
สีเหลียมมุมฉากนีว่า “ลูกบาศก์”
117

รู ปเรขาคณิ ตสาม รู ปคลี

รู ปเรขาคณิ ตสาม รู ปคลี


118

เรืองที
ภาพสองมิตทิ ีได้ จากการมองด้ านหน้ า ด้ านข้ าง หรือด้ านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ
การมองรู ปเรขาคณิ ตสามมิติในทิศทางหรื อแนวตังฉากกับด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน ตามรู ป
การมองด้ านบน

การมองด้ านหน้ า
การมองด้ านข้ าง

ภาพทีได้ จากการมองรูปเรขาคณิตสามมิตทิ างด้ านหน้ า

ทิศทางการมองด้านหน้า ภาพด้านหน้า

ภาพทีได้ จากการมองรู ปเรขาคณิตสามมิตทิ างด้ านข้ าง

ทิศทางการมองด้านข้าง ภาพด้านข้าง
119

ภาพทีได้ จากการมองรู ปเรขาคณิตสามมิตทิ างด้ านบน


ทิศทางการมองด้านบน

ภาพด้านบน

จากข้อมูลข้างต้นสามารถเขียนรู ปเรขาคณิ ตสองมิติ ในการอธิบายลักษณะของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ นิยม


เขียน ภาพ ซึงประกอบด้วย ภาพทีได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบน และเขียนภาพทังหมดภายใน
กรอบสีเหลียม
120

ตัวอย่าง จงแรเงาพร้อมทังเขียนรู ปเรขาคณิ ตสองมิติส่วนทีเป็ นด้านบน ด้านหน้า และด้านข้างของทรงสามมิติที


กําหนดให้ต่อไปนี

วิธีทํา
121

พิจารณารู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีประกอบขึนจากลูกบาศก์ต่อไปนี

จะเห็นว่า เมือเขียนรู ปเรขาคณิ ตสองมิติ แสดงภาพทีได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนดัง


ภาพ
122

จะเห็นว่าการเขียนรู ปเรขาคณิ ตสองมิติ เพือแสดงรู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีประกอบขึนจากลูกบาศก์ เรา


สามารถเขียนจํานวนลูกบาศก์กาํ กับไว้ในตารางรู ปสีเหลียมจัตุรัสในด้านทีมองทังสามด้านดังภาพต่อไปนี

ตัวอย่าง จงเขียนภาพทีได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรู ปสามมิติทีกําหนดให้ พร้อมทัง


เขียนตัวเลขแสดงจํานวนลูกบาศก์กาํ กับไว้ในตาราง

เขียนแสดงภาพทังหมดได้ดงั นี
123
124

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
. จงบอกชนิดของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีมีรูปคลีดังต่อไปนี

1. ……..………………………...…. 2. ….……………………………….

3. …….…………………………….. 4. …..……………………………….

2. จงเขียนรู ปคลีของรู ปเรขาคณิตสามมิติในแต่ละข้อต่อไปนี


125

แบบฝึ กหัดที
จงเขียนภาพด้านบน ด้านหน้า และด้านข้างของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีกําหนดให้
126

แบบฝึ กหัดที
จงจับคู่ภาพด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน ในแต่ละข้อต่อไปนี กับรู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีกําหนดให้
ทางขวามือ โดยเลือกตัวอักษรทีกํากับไว้ในรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ เขียนเติมลงในช่องว่างบนขวาของแต่ละข้อ
127

บทที 9
สถิติ
สาระสําคัญ
1. ข้อมูลเบืองต้นของสถิติ จะช่วยให้ทราบข้อเท็จจริ งทีชัดเจนถูกต้อง ซึงจะเป็ นประโยชน์ สําหรับการ
วางแผนการดําเนินงาน และตัดสินใจปรับปรุ งการดําเนินงานตามผลทีได้นาํ เสนอข้อมูลไว้
. การนําเสนอข้อมูล มีความมุ่งหมายเพือแสดงให้เห็นรายละเอียดของข้อมูลได้ง่าย ชัดเจน และรวดเร็ ว
สามารถนําข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้ทนั ที ฉะนันการเลือกใช้วิธีการนําเสนอข้อมูลต้องให้เหมาะสมกับลักษณะ
ของข้อมูลและการใช้ประโยชน์เป็ นสําคัญ
ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. บอกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลทีเหมาะสมได้
2. นําเสนอข้อมูลในรู ปแบบทีเหมาะสมได้
3. หาค่ากลางของข้อมูลทีไม่แจกแจงความถี
4. เลือกใช้ค่ากลางของข้อมูลทีกําหนดให้ได้อย่างเหมาะสม
5. อ่าน แปลความหมาย และวิเคราะห์ขอ้ มูล
6. อภิปรายและให้ขอ้ คิดเห็นเกียวกับข้อมูลข่าวสารทางสถิติทีสมเหตุสมผล
ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที การรวบรวมข้อมูล
เรื องที การนําเสนอข้อมูล
เรื องที การหาค่ากลางของข้อมูล
เรื องที การเลือกใช้ค่ากลางของข้อมูล
เรื องที การใช้สถิติขอ้ มูลและสารสนเทศ
128

เรืองที
การรวบรวมข้ อมูล
. สถิติ หมายถึง ศาสตร์ทีว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การนําเสนอข้อมูล และการวิเคราะห์
ข้อมูล
. การรวบรวมข้ อมูล (Data Collection)
การรวบรวมข้อมูล หมายถึง การนําเอาข้อมูลต่างๆ ทีผูอ้ ืนได้เก็บไว้แล้ว หรื อรายงานไว้ในเอกสารต่างๆ
มาทําการศึกษาวิเคราะห์ต่อ

. ประเภทของข้อมูล
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริ งหรื อสิงทียอมรับว่าเป็ นข้อเท็จจริ งของเรื องทีสนใจศึกษา จําแนกได้เป็ น
ประเภท คือ
) ข้อมูลเชิงปริ มาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลทีเป็ นตัวเลขหรื อนํามาให้รหัสเป็ นตัวเลข ซึงสามารถ
นําไปใช้วิเคราะห์ทางสถิติได้ เช่น อายุ นําหนัก ส่วนสูง
) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ ข้อมูลทีไม่ใช่ตวั เลข ไม่ได้มีการให้รหัสตัวเลขทีจะนําไป
วิเคราะห์ทางสถิติ แต่เป็ นข้อความหรื อข้อสนเทศ เช่น เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ

. แหล่งทีมาของข้อมูล
แหล่งข้อมูลทีสําคัญ ได้แก่ บุคคล เช่น ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ ผูก้ รอกแบบสอบถาม บุคคลทีถูกสังเกต เอกสาร
ทุกประเภท และข้อมูลสถิติจากหน่วยงาน รวมไปถึง ภาพถ่าย แผนที แผนภูมิ หรื อแม้แต่วตั ถุ สิ งของ ก็ถือเป็ น
แหล่งข้อมูลได้ทงสิั น โดยทัวไปสามารถจัดประเภทข้อมูลตามแหล่งทีมาได้ ประเภท คือ
) ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือ ข้อมูลทีผูว้ ิจยั เก็บขึนมาใหม่เพือตอบสนองวัตถุประสงค์การวิจยั ใน
เรื องนันๆ
) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ข้อมูลต่างๆ ทีมีผเู้ ก็บหรื อรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่นกั วิจยั
นํามาศึกษา

. การเก็บรวบรวมข้ อมูล แบ่ งเป็ นวิธีการใหญ่ๆ ได้ วิธี คือ


) การสังเกตการณ์ (Observation) ทังการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่ วม และการสังเกตการณ์
แบบไม่มีส่วนร่ วม
) การสัมภาษณ์ (Interview) นิยมมากในทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะการสัมภาษณ์โดยใช้
แบบสอบถาม การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก หรื ออาจจะจําแนกเป็ นการสัมภาษณ์เป็ นรายบุคคล และการสัมภาษณ์
เป็ นกลุ่ม
129

) การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เช่น หนังสือ รายงานวิจยั วิทยานิพนธ์ บทความ สิงพิมพ์ต่างๆ


เป็ นต้น

. ขันตอนการเก็บรวบรวมข้ อมูล
1. การสัมภาษณ์บุคคลทีเกียวข้อง
2. การบันทึกข้อมูลจากบันทึกหรื อเอกสารของหน่วยงานต่างๆ
3. การอ่านและศึกษาค้นคว้า
4. การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
5. การเข้าร่ วมในเหตุการณ์ต่างๆ
6. การฟังวิทยุและดูโทรทัศน์
130

เรืองที
การนําเสนอข้ อมูล
การนําเสนอข้อมูลเป็ นการนําข้อมูลทีเก็บรวบรวมมาจากแหล่งต่าง ๆ ซึงยังไม่เป็ นระบบ มาจัดเป็ น
หมวดหมู่ให้มีความสัมพันธ์เกียวข้องกันตามวัตถุประสงค์ เพือสะดวกแก่การอ่าน ทําความเข้าใจ วิเคราะห์ และ
แปลความหมาย
การนําเสนอข้อมูลแบ่งออกเป็ น ประเภท ได้แก่
. การนําเสนอข้อมูลอย่างไม่มีแบบแผน (informal presentation) หมายถึง การนําเสนอข้อมูลทีไม่มี
กฎเกณฑ์ หรื อแบบแผนทีแน่นอนตายตัว ทีนิยมใช้มีสองวิธีคือ การนําเสนอข้อมูลในรู ปบทความหรื อข้อความ
เรี ยง และการนําเสนอข้อมูลในรู ปบทความกึงตาราง
2. การนําเสนอข้อมูลอย่างมีแบบแผน เป็ นการนําเสนอข้อมูลทีมีกฎเกณฑ์ โดยแต่ละแบบจะต้อง
ประกอบด้วยชือเรื อง ส่วนของการนําเสนอ และแหล่งทีมาของข้อมูล การนําเสนอข้อมูลอย่างมีแบบแผน
ประกอบด้วย การนําเสนอข้อมูลในรู ปตาราง แผนภูมริ ู ปภาพ แผนภูมิวงกลม (แผนภูมกิ ง) แผนภูมิแท่ง กราฟเส้น
และตารางแจกแจงความถี
. การนําเสนอข้อมูลในรู ปตาราง
การนําเสนอในรู ปตาราง (Tabular presentation) ข้ อมูลต่างๆ ทีเก็บรวบรวมมาได้ เมือทําการประมวลผล
แล้วจะอยู่ในรูปตาราง เป็ นการนําเสนอข้อมูลทีง่าย และนิ ยมใช้กนั อย่างแพร่ หลาย เพราะมีความสะดวกและ
ง่ายแก่การนําไปวิเคราะห์และแปลความหมายทางสถิติ เช่น

เปรียบเทียบการปรับราคานํามันปี 2521-2523
(ราคา : บาท / ลิตร)
ชนิดนํามัน 2521 2522 2523
10 มี.ค. 31 ม.ค. 22 มี.ค. 13 ก.ค. 20 ก.ค. 9 ก.พ. 20 มี.ค.
เบนซิ นพิเศษ 4.98 5.60 - 7.84 - 9.80 -
เบนซิ นธรรมดา 4.98 5.12 - 7.45. - 9.26 -
นํามันก๊าด 2.68 3.06 - 5.12 4.20 6.71 5.70
ดีเซลหมุนเร็ ว 2.64 3.03 - 4.88 - 7.39 6.50
ดีเซลหมุนช้า 2.50 2.93 - 4.71 - 7.12 6.27
ทีมา: ภาวะการค้าของประเทศไทยปี 2522 สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
131

. การนําเสนอข้อมูลด้ วยแผนภูมริ ู ปภาพ


แผนภูมริ ู ปภาพ คือ แผนภูมิทีใช้รูปภาพแทนจํานวนของข้อมูลทีนําเสนอ เช่น แผนภูมิรูปภาพคน
รู ปภาพคน 1 คน แสดงประชากรทีนําเสนอ 1 ล้านคน เป็ นต้น
การเขียนแผนภูมิรูปภาพ อาจกําหนดให้รูปภาพ 1 รู ปแทนจํานวนสิงของ 1 หน่วย หรื อหลายหน่วยก็ได้
รู ปภาพแต่ละรู ปต้องมีขนาดเท่ากันเสมอ
แผนภูมิแสดงงานอดิเรกของนักเรี ยนชัน ป. ของโรงเรี ยนแห่งหนึง (สํารวจเมือวันที มกราคม )
ปลูกต้นไม้

อ่านหนังสือ
วาดรู ป

หมายเหตุ ภาพ แทนจํานวนนักเรี ยน คน

2.3 การนําเสนอด้ วยแผนภูมแิ ท่ง (Bar chart) ประกอบด้วยรู ปแท่งสีเหลียมผืนผ้าซึงแต่ละแท่งมีความ


หนาเท่าๆ กัน โดยจะวางตามแนวตังหรื อแนวนอนของแกนพิกดั ฉากก็ได้

แผนภูมแิ ท่ งแบบทางเดียว เป็ นการนําข้อมูลเพียงข้อมูลเดียวมานําเสนอในรู ปแบบของแท่งสีเหลียม


ตัวอย่าง แผนภูมิแท่งแสดงการส่งออกไก่ไปต่างประเทศ
ปริ มาณ (ตัน)

ประเทศ
แผนภูมแิ ท่ งแสดงการเปรียบเทียบ เป็ นการนําข้อมูลตังแต่ ชุดขึนไปทีเป็ นเรื องเดียวกัน นํามาเขียน
บนแกนคู่เดียวกัน แล้วระบายสีแท่งสีเหลียมให้ต่างกันเพือง่ายต่อการดู แล้วอธิบายว่าสีใดแทนอะไร
132

ตัวอย่าง แผนภูมิแสดงการเปรี ยบเทียบยอดการขายแต่ละเดือนของบริ ษทั หนึง

จํานวน (ล้ านบาท)

2.4 การนําเสนอด้ วยกราฟเส้ น (Line graph) เป็ นแบบทีรู้จกั กันดีและใช้กนั มากทีสุดแบบหนึง เหมาะ
สําหรับข้อมูลทีอยูใ่ นรู ปของอนุกรมเวลา เช่น ราคาข้าวเปลือกในเดือนต่างๆ ปริ มาณสินค้าส่งออกรายปี เป็ นต้น

จากตาราง นําเสนอข้อมูลด้วนกราฟเส้น ดังนี


133

2.5 การนําเสนอด้ วยรู ปแผนภูมวิ งกลม (Pie chart) เป็ นการแบ่งวงกลมออกเป็ นส่วนต่างๆ ตามจํานวน
ชนิดของข้อมูลทีจะนําเสนอ
ตัวอย่าง แผนภูมวิ งกลมแสดงการใช้ ทดิี นทีครอบครอง เพือการเกษตร พ.ศ.

2.6 การนําเสนอข้อมูลในรู ปตารางแจกแจงความถี


ข้อมูลทีเก็บรวบรวมมาได้นนั ถ้ามีจาํ นวนมากหรื อซํากันอยูม่ าก เมือมาเรี ยงกันหรื อจัดให้อยูเ่ ป็ น
หมวดหมู่แล้ว จะช่วยบอกรายละเอียดต่างๆ หรื อสรุ ปผลเกียวกับข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็วขึน
เช่น
ในการชังนําหนักของนักเรี ยน 40 คน หน่วยเป็ นกิโลกรัม ปรากฏผลดังนี
57 44 46 41 48 50 51 42 43 45
45 43 42 40 50 41 47 60 50 52
46 42 42 53 46 55 45 41 50 42
44 41 40 45 59 44 49 50 39 42

ในทางสถิติเรี ยกว่า ข้อมูลดิบ หรื อคะแนนดิบ หรื อค่าจากสังเกต เมือนํามาจัดเรี ยงใหม่ให้เป็ นระบบโดย
อาจเรี ยงจากมากไปหาน้อยหรื อจากน้อยไปหามาก แล้วบันทึกรอยขีด แสดงจํานวนครังของข้อมูลทีเกิดขึนซํากัน
ในตาราง จํานวนรอยขีดทีนับได้เรี ยกว่า ความถีของแต่ละข้อมูล
ตารางทีนําเสนอข้อมูลในรู ปแบบนี เรี ยกว่า ตารางแจกแจงความถี และวิธีการจําแนกข้อมูลโดยการ
บันทึกรอยขีดเพือหาค่าความถีเรี ยกว่า การแจกแจงความถี
134

การสร้ างตารางแจกแจงความถี
ในกรณี ทีข้อมูลทีเก็บรวบรวมมามีจาํ นวนมากๆ และไม่ค่อยซํากัน ถ้าจะเรี ยงลําดับจะเป็ นการเสียเวลา
และสินเปลืองมาก จึงกําหนดข้อมูลเป็ นช่วงๆ และหาความถีของช่วงข้อมูลนันๆ
วิธีการสร้างตารางแจกแจงความถี โดยจัดเป็ นอันตรภาคชันให้ทุกๆ ชันมีความกว้างเท่ากัน มีวิธีการ
ดังนี
1. หาพิสยั ของข้อมูล
พิสยั = ข้อมูลทีมีค่าสูงสุด – ข้อมูลทีมีค่าตําสุด

2. กําหนดจํานวนชันหรื อกําหนดความกว้างของอันตรภาคชันขึนมา
- ถ้ากําหนดจํานวนชันก็ให้หาความกว้างของอันตรภาคชัน

พิสยั
ความกว้างของอันตรภาคชัน =
จํานวนอันตรภาคชัน
(เศษเท่าไรปัดขึนเสมอ)

- ถ้ากําหนดความกว้างของอันตรภาคชันก็หาจํานวนชันได้จาก
พิสยั
จํานวนอันตรภาคชัน =
ความกว้างของอันตรภาคชัน
(เศษเท่าไรปัดขึนเสมอ)
3. เขียนอันตรภาคชันโดยเรี ยงค่าจากน้อยไปมากหรื อจากมากไปน้อย ถ้าเรี ยงค่าจากน้อยไปมาก ต้องให้ขอ้ มูลทีมี
ค่าตําสุดในอันตรภาคชันแรก และข้อมูลทีมีค่าสูงสุดอยูใ่ นอันตรภาคชันสุดท้าย
4. นําข้อมูลดิบมาใส่ในตารางโดยใช้รอยขีด
5. รวมความถีตามรอยขีด
135

เรืองที
การหาค่ากลางของข้ อมูล
การหาค่ากลางของข้อมูลทีเป็ นตัวแทนของข้อมูลทังหมดเพือความสะดวกในการสรุ ปเรื องราวเกียวกับ
ข้อมูลนันๆ จะช่วยทําให้เกิดการวิเคราะห์ขอ้ มูลถูกต้องดีขนึ การหาค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาหลายวิธี แต่ละวิธีมี
ข้อดีและข้อเสีย และมีความเหมาะสมในการนําไปใช้ไม่เหมือนกัน ขึนอยูก่ บั ลักษณะข้อมูลและวัตถุประสงค์ของ
ผูใ้ ช้ขอ้ มูลนันๆ

ค่ากลางของข้อมูลทีสําคัญ มี 3 ชนิด คือ


1. ค่าเฉลียเลขคณิต (Arithmetic mean) คือ ค่าทีได้จากผลรวมของข้อมูลทังหมด หารด้วยจํานวน ข้อมูล
ทังหมด ใช้สญ
ั ลักษณ์ คือ x

x1  x2  x3  ...xn
x
N
X แทน ข้อมูล
N แทน จํานวนข้อมูล

ตัวอย่าง จากการสอบถามอายุของนักเรี ยนกลุ่มหนึงเป็ นดังนี 14 , 16 , 20 , 25 , 30


14  16  20  25  30
วิธีทาํ ค่าเฉลียเลขคณิตของข้อมูลชุดนี คือ
5
105
=
5
= 21
2. มัธยฐาน (Median)
คือ ค่ากลางของข้อมูลซึงเมือเรี ยงข้อมูลจากน้อยไปมาก หรื อจากมากไปน้อยแล้ว จํานวนข้อมูลทีน้อย
กว่า ค่านันจะเท่ากับจํานวนข้อมูลทีมากกว่าค่านัน

หลักการคิด
1) เรี ยงข้อมูลทีมีอยูท่ งหมดจากน้
ั อยไปมาก หรื อมากไปน้อยก็ได้
N 1
2) ตําแหน่งมัธยฐาน คือ ตําแหน่งกึงกลางข้อมูล ดังนันตําแหน่งของมัธยฐาน =
2
เมือ N คือ จํานวนข้อมูลทังหมด
136

ตัวอย่าง จงหามัธยฐานจากข้อมูลต่อไปนี 3, 10, 4, 15, 1,24, 28, 8, 30, 40, 23


วิธีทาํ . เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรื อมากไปหาน้อย
จะได้ , 3, 4, 8, 10, 15, 23, 24, 28, 30, 40
N 1
2. หาตําแหน่งของข้อมูล จาก
2
11  1
จะได้ 6
2
ดังนัน มัธยฐานอยูต่ าํ แหน่งที มีค่าเป็ น
ถ้าข้อมูลชุดนันเป็ นจํานวนคู่ จะใช้ค่าเฉลียเลขคณิ ตของข้อมูลคู่ทีอยูต่ รงกลางเป็ นมัธยฐาน
ตัวอย่าง จงหามัธยฐานจากข้อมูลต่อไปนี 25, 3, 2, 10, 14, 6, 19, 22, 30, 8, 45, 36, 50, 17
วิธีทาํ . เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปหามาก หรื อมากไปหาน้อย
จะได้ 2, 3, 6, 8, 10, 14, 17, 19, 22, 25, 30, 36, 45, 50
N 1
2. หาตําแหน่งของข้อมูล จาก
2
14  1
จะได้  7.5
2
มัธยฐานอยูร่ ะหว่างตําแหน่งที และ
17  19
ดังนัน มัธยฐาน คือ  18
2

3. ฐานนิยม (Mode)
ฐานนิยมของข้อมูลชุดหนึง คือ ข้อมูลทีมีความถีสูงสุดในข้อมูลชุดนัน หรื ออาจกล่าวว่าข้อมูลใดการซํา
กันมากทีสุด(ความถีสูงสุด) ข้อมูลนันเป็ นฐานนิยมของข้อมูลชุดนัน และ ฐานอาจจะไม่มี หรื อ มีมากกว่า 1 ค่าก็
ได้
ตัวอย่าง จากข้อมูล 2, 3, 4, 3, 4, 5, 6, 8, 6, 4, 6, 7 จงหาฐานนิยม
วิธีทาํ จากข้อมูลจะเห็นว่า
มี อยูห่ นึงตัว
มี อยูส่ องตัว
มี อยูส่ ามตัว
มี อยูห่ นึงตัว
มี อยูส่ ามตัว
มี อยูห่ นึงตัว
มี อยูห่ นึงตัว
ข้อมูลทีมีความถีสูงสุดในทีนีมี ตัวคือ และ ซึงต่างก็มคี วามถีเป็ น
ดังนัน ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี คือ และ
137

เรืองที
การเลือกใช้ ค่ากลางของข้ อมูล
ในการทีจะเลือกใช้ค่ากลางค่าใดนัน ขึนอยูก่ บั จุดประสงค์ของผูใ้ ช้ ซึงค่ากลางทังสามมีสมบัติทีแตกต่าง
กันดังนี
ค่าเฉลียเลขคณิต
ข้ อเสีย
. ถ้าข้อมูลมีบางค่าตําเกินไปหรื อสูงเกินไป จะมีผลต่อค่าเฉลียเลขคณิ ต จึงไม่เหมาะสมทีจะใช้ เช่น
รายได้ของพนักงาน คน เป็ นดังนี ,000 บาท 9,000 บาท 13,500 บาท ,00 บาท 80,000 บาท
. ถ้าข้อมูลแจกแจงความถีชนิดปลายเปิ ด เช่น น้อยกว่าหรื อเท่ากับ มากกว่าหรื อเท่ากับ จะคํานวณหา
ค่าเฉลียเลขคณิตไม่ได้
. ใช้ได้กบั ข้อมูลเชิงปริ มาณเท่านัน
ข้ อดี
. มีประโยชน์ในการใช้ขอ้ มูลจากตัวอย่างอ้างอิงไปสู่ประชากร
. สามารถคํานวณได้ง่ายโดยใช้ค่าทีได้มาทุกจํานวน
. มีการนําไปใช้ในสถิติชนสู ั งมากกว่าค่าเฉลียแบบอืน ๆ
. สามารถเปรี ยบเทียบกับข้อมูลชุดอืนได้ง่าย

ฐานนิยม
ข้ อเสีย
. บางครังหาฐานนิยมไม่ได้
. การคํานวณฐานนิยมไม่ได้ใช้ค่าของข้อมูลทุกตัว จึงไม่เป็ นตัวแทนทีดีนกั
. ค่าฐานนิยมไม่ค่อยนิยมใช้ในสถิติชนสู ั ง
ข้ อดี
. เข้าใจง่ายและคํานวณง่าย
. สามารถคํานวณจากกราฟได้
. เป็ นค่ากลางทีใช้ได้กบั ข้อมูลเชิงคุณภาพ
. เมือมีขอ้ มูลบางตัวเล็กหรื อใหญ่ผดิ ปกติจะไม่กระทบฐานนิยม
. ใช้ได้ดีเมือจุดประสงค์มุ่งทีจะศึกษาสิงทีเกิดขึนบ่อย หรื อลักษณะทีคนชอบมากหรื อมีคะแนนส่วน
ใหญ่รวมกันอยู่ ณ ค่าใดค่าหนึง
. กรณี ทีข้อมูลแจกแจงความถีชนิดปลายเปิ ดสามารถหาฐานนิยมได้
138

มัธยฐาน
ข้ อเสีย
. ใช้ได้กบั ข้อมูลเชิงปริ มาณเท่านัน
. สําหรับข้อมูลทีแจกแจงความถีหรื อข้อมูลทีจัดกลุ่มมัธยฐานทีคํานวณได้จะไม่ใช่ค่าข้อมูลจริ ง
ข้ อดี
. คํานวณได้ง่ายสําหรับข้อมูลไม่จดั กลุ่ม
. ข้อมูลบางค่ามีค่าสูงหรื อตําเกินไป ไม่กระทบกระเทือนต่อมัธยฐาน จึงเหมาะทีจะใช้มธั ยฐานมากทีสุด
. กรณี ทีข้อมูลแจกแจงความถีชนิดปลายเปิ ดก็สามารถหามัธยฐานได้
139

เรืองที
การใช้ สถิติ ข้ อมูลสารสนเทศ
. สถิตใิ นชีวติ ประจําวัน
ในชีวิตประจําวันของคนเรานัน สถิติมีส่วนเกียวข้องอยูเ่ สมอ เช่น
- เกียวกับตัวนักเรี ยน อาจจะมีการหาความสูงหรื อหานําหนักโดยเฉลียหรื อหาคะแนนเฉลีย เป็ นต้น
- เกียวกับครู-อาจารย์ เช่น สถิติเกียวกับจํานวนครู-อาจารย์ จํานวนนักเรี ยนทีสอบเข้ามหาวิทยาลัย
ได้ในแต่ละรุ่ น แต่ละปี
- เกียวกับข่าวสาร สารสนเทศ ซึงเห็นในหนังสือพิมพ์ หรื อโทรทัศน์ เช่น สถิติเกียวกับการเปลียนแปลง
ราคาหุน้ แผนภูมวิ งกลม หรื อกราฟเส้น เป็ นต้น
- ในเรื องของแรงงาน เปอร์เซ็นต์ของคนว่างงาน รายได้หรื อสวัสดิการทีได้รับ
- ในเรื องเกียวกับการกสิกรรม มีการศึกษาทดลองใหม่ๆ เช่น การทดลองปลูกจริ งในทีดินลักษณะ
ต่างๆ การปลูกหม่อนเลียงไหม พันธุไ์ หนจะดีกว่ากัน
- ในเรื องเกียวกับธุรกิจการค้า บริ ษทั ห้างร้านมีสถิติเกียวกับยอดขายสินค้าในแผนกต่างๆ สถิติ
ยอดขายของพนักงานแต่ละคน สถิติช่วยในการกําหนดวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูล
นอกจากนี สถิติยงั ไปเกียวข้องกับชีวิตประจําวันอีกมากมาย เช่น การสํารวจความคิดเห็นหรื อโพล
การร่ วมแสดงความคิดเห็นโดยการส่ง sms เป็ นต้น
140

. การใช้ ข้อมูลสารสนเทศ
การเลือกใช้ขอ้ มูลในการตัดสินใจ เป็ นสิ งทีมีประโยชน์มาก เพราะในการดํารงชีวิตของคนเรามัก
เกียวข้องกับเหตุการณ์ต่างๆ มากมาย จึงจําเป็ นต้องอาศัยการตัดสินใจอย่างมีระบบระเบียบ มีหลักมีเกณฑ์ และมี
เหตุผล โดยนําปัจจัยต่างๆ มาพิจารณาก่อนทีจะตัดสินใจ เพือให้ได้ทางเลือกทีดีทีสุด ซึงต้องอาศัยทังความรู้
ประสบการณ์ ข้อมูล ข่าวสารต่างๆ เป็ นส่วนประกอบ เพือไม่ให้เกิดความผิดพลาดหรื อโอกาสทีจะผิดพลาดมีนอ้ ย
ทีสุด เช่น
การเลือกสิงต่าง ๆ การตัดสินใจ
การเลือกซือสินค้าอย่างหนึง . คุณภาพดี
. ราคาไม่แพงเกินไป
. มีคนนิยมมาก
. จําเป็ นต้องใช้
. ชอบเป็ นชีวิตจิตใจ
การเลือกธนาคารเพือการออม . ธนาคารของรัฐบาล
. ธนาคารใกล้บา้ น
. ธนาคารใกล้ทีทํางาน
. ให้ผลประโยชน์มาก
. การไปมาสะดวก
. ธนาคารทีมีความมันคงไม่
สันคลอน หรื อ ไม่มีข่าวออกมา
ในทางไม่สูด้ ีอยูเ่ สมอๆ
การลงทุนในกิจการอย่างใดอย่างหนึง . เงินลงทุน
. ผลผลิตทีได้
. คุม้ ค่าแรงงานหรื อไม่
. เป็ นทีนิยมหรื อเปล่า
การเลือกชมรายการโทรทัศน์ช่องต่างๆ . รายการโปรด
. เนือหาสาระดี
. ให้ความบันเทิง
. การนําเสนอทันสมัย
. มีประโยชน์สามารถนําไป
ประยุกต์ใช้ได้
. เพือการลงทุน เช่น หุน้
141

การเดินทาง
รายงานข่าวบอกว่ามีรถติดทีถนนใดบ้าง . อาจหลีกเลียงเส้นทางดังกล่าว
. รอจนกว่าจะเดินรถสะดวกก่อน
เทศกาลต่างๆ รถจะแน่น เมือเดินทาง . อาจไม่กลับในช่วงเทศกาล
ไปต่างจังหวัด . อาจเลือกกลับหลังเทศกาล – วัน
เป็ นต้น
นอกจากนีการตัดสินใจยังมีความสําคัญในการประกอบธุรกิจต่างๆ ทังธุรกิจขนาดเล็กและธุรกิจขนาด
ใหญ่ นักธุรกิจอาจพบปั ญหาในด้านต่างๆ มากมายทีจะต้องตัดสิ นใจอยู่เสมอ เช่น ปั ญหาด้านการตลาด ปั ญหา
ด้านการขยายการลงทุน ปัญหาแรงงาน ปัญหาในด้านการกําหนดราคา ปั ญหาพนักงาน ค่าครองชีพ ปั ญหาด้าน
การเงิน ซึงนักธุรกิจจะใช้ประสบการณ์หรื อคําสังสอนอบรมจากพ่อแม่ บรรพบุรุษมาแก้ปัญหาอย่างเดียวไม่ได้
อาจจะเกิดความผิดพลาดได้ ดังนัน นักธุรกิจควรใช้ขอ้ มูลและวิธีการทางสถิติมาช่วยในการตัดสินใจ
สําหรั บในระดับนี การเลือกใช้ข ้อมูลในการตัดสิ นใจอาจจะเกี ยวกับค่ ากลางทีกล่าวมาแล้วด้วย เช่ น ถ้า
ต้องการกะประมาณรายได้ของประชากรทังประเทศ ควรใช้ค่ากลาง คื อ ค่ าเฉลียเลขคณิ ต หรื อประมาณจํานวน
พลเมืองทีชอบดูทีวีสีช่อง ควรเลือกใช้ค่ ากลางฐานนิ ยม หรื อถ้าข้อมูลมีค่ าตําและค่าสูงแตกต่างกันมากควร
ตัดสินใจเลือกใช้ค่ากลางมัธยฐาน เป็ นต้น
ในเรื องนี ผูเ้ รี ยนจะได้เรี ยนละเอียดในชันสูงต่อไป
142

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
1. ให้ผเู้ รี ยนพิจารณาข้อความต่อไปนี แล้วเขียนเครื องหมาย  ลงในช่องทีตรงกับความคิดเห็นของผูเ้ รี ยน
ข้อมูลสถิติ
ข้อที ข้อความ
เป็ น ไม่เป็ น
1 นําหนักของนักเรี ยนทุกคนทีเรี ยนชุดการเรี ยนทางไกล
2 สมศรี ได้คะแนน คะแนน
ในการโยนเหรี ยญ ครัง เกิดหัว ครัง เกิดก้อย ครัง ได้
3 6
อัตราส่วนทีจะเกิดหัว 10
4 คน คน เป็ นชาย คน เป็ นหญิง คน ทีอยูใ่ นบ้านวิชยั
จํานวนคดีอาชญากรรมในปี ซึงรวบรวมมาจากบันทึกคดี
5
อาชญากรรมแต่ละวันในแต่ละสถานีตาํ รวจ

. ให้ผเู้ รี ยนพิจารณาข้อมูลในแต่ละข้อต่อไปนี แล้วเขียนเครื องหมาย  ลงในช่องทีตรงกับความคิดเห็น


ข้อมูลสถิติ
ข้อที ข้อความ ข้อมูล ข้อมูล
คุณภาพ ปริ มาณ
สถิติคนไข้แยกตามเชือโรคของโรงพยาบาลแห่งหนึง
จํานวนครังของการโทรศัพท์ทางไกลจากแต่ละเครื องใน
สํานักงาน เครื อง ในวันหนึง
ผูจ้ ดั การถูกสัมภาษณ์ถึงจํานวนเปอร์เซ็นต์ของเวลาทํางานทีใช้ใน
การประชุม
เครื องสําอางโดยเฉพาะสีของสีทาปาก ซึงแต่ละบริ ษทั ใน
บริ ษทั ได้ระบุว่ามียอดขายมากทีสุด
143

. ให้ผเู้ รี ยนพิจารณาข้อความต่อไปนี แล้วเติมคําตอบลงในช่องว่างตามความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนว่าเป็ นข้อมูล


ปฐมภูมิ หรื อทุติยภูมิ
) รายงานประจําปี ของหน่วยงานต่างๆ
…………………………………………………………………………………………………………….………

) สํานักงานสถิติแห่งชาติ ต้องการเก็บสถิติผลผลิตข้าวทัวประเทศ โดยการไปสัมภาษณ์ชาวนา


……………………………………………………………………………………………………………………

) ศิรินภาไปขอข้อมูลเกียวกับจํานวนคนเกิด ตาย และย้าย ซึงสํานักงานเทศบาลแห่งหนึงได้รวบรวมไว้


……………………………………………………………………………………………………………………

) บรรณารักษ์หอ้ งสมุดโรงเรี ยนแห่งหนึง ได้สงั เกตและบันทึกการใช้หอ้ งสมุดของนักเรี ยน


แต่ละวัน
…………………………………………………………………………………………………….………………

5) ครูคนหนึงต้องการทราบว่าห้องสมุดของโรงเรี ยนมีนกั เรี ยนใช้มากหรื อน้อยเพียงใดในแต่ละวัน จึง


ไปขอลอกข้อมูลจากบรรณารักษ์

………………………………………………………………………………………….…………………………
144

แบบฝึ กหัดที
1. แผนภูมิรูปวงกลมแสดงรายได้ของห้างสรรพสินค้าแห่งหนึงโดยเฉลียต่อวัน จําแนกตามแผนกต่างๆ

จากแผนภูมิจงตอบคําถามต่อไปนี
1) รายได้จากแผนกเสื อผ้าบุรุษ และแผนกเสือผ้าสตรี รวมกันมากกว่าหรื อน้อยกว่ารายได้จากแผนกเครื องเขียน
แบบเรี ยนอยูก่ ีเปอร์เซ็นต์
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
2) รายได้จากแผนกใดน้อยทีสุด และคิดเป็ นร้อยละเท่าไรของรายได้จากแผนกทีรายได้มากทีสุด
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
3) รายได้จากแผนกเสื อผ้าสตรี คิดเป็ นร้อยละเท่าไรของรายได้จากแผนกเครื องเขียน แบบเรี ยน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
4) แผนกใดทีมีรายได้มากเป็ นอันดับสอง และรายได้นนคิ ั ดเป็ นร้อยละเท่าไรของรายได้ทงหมด

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
145

. จากการสอบถามงบประมาณทีแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ได้มาจากการจัดสรรงบประมาณของทางโรงเรี ยน
เป็ นดังนี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ งบประมาณ จํานวนเปอร์ เซ็นต์ ขนาดของมุมทีจุดศูนย์กลาง
(บาท) ของรู ปวงกลม (องศา)
คณิ ตศาสตร์ , 35000
 100  10.29
35000
 360  37.06
340000 340000
วิทยาศาสตร์ ,
ภาษาต่างประเทศ ,
ภาษาไทย ,
ศิลปะ ,
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ,
สุขศึกษาและพลศึกษา ,
สังคมศึกษา ศาสนา และ ,
วัฒนธรรม
รวม ,

. จงเขียนแผนภูมิรูปวงกลมโดยใช้จาํ นวนเปอร์เซ็นต์และขนาดของมุมทีจุดศูนย์กลางของรู ปวงกลมทีคํานวณได้


จากตารางข้างต้น
146

4. ให้ผเู้ รี ยนพิจารณากราฟเส้นต่อไปนี

จากกราฟเส้น จงตอบคําถามต่อไปนี
) ใน พ.ศ. ใดบ้างทีปริ มาณไม้สกั ทีผลิตได้มีมากกว่าไม้ประดู่
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
) ในพ.ศ. ใดทีปริ มาณของไม้สกั และไม้ประดู่ทีผลิตได้ต่างกันมากทีสุด และต่างกันประมาณกีลูกบาศก์เมตร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………………………………………………….
147

4. ตารางแสดงรายจับ – รายจ่ายของนาย ก ในรอบ 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2546 เป็ นดังนี

จากตารางจงนําเสนอข้อมูลด้วยกราฟเส้น
148

แบบฝึ กหัดที
1. จากข้อมูล 2, 6,1, 5, 13, 6, 16 จงหาค่าเฉลียเลขคณิต ฐานนิยม และมัธยฐาน
ค่าเฉลียเลขคณิต = ………………………………………………….\
มัธยฐาน = ………………………………………………….
ฐานนิยม = ………………………………………………….
เรี ยงข้อมูลจากมากไปหาน้อยหรื อน้อยไปหามาก
ค่าเฉลียเลขคณิต = ………………………………………………….
มัธยฐาน คือ = ………………………………………………….
ฐานนิยม คือ = ………………………………………………….

2. จากข้อมูล 24, 16,18, 36, 7, 28, 6, 36, 12 จงหาค่าเฉลียเลขคณิ ต ฐานนิยม และมัธยฐาน


ค่าเฉลียเลขคณิต = ………………………………………………….\
มัธยฐาน = ………………………………………………….
ฐานนิยม = ………………………………………………….
เรี ยงข้อมูลจากมากไปหาน้อยหรื อน้อยไปหามาก
ค่าเฉลียเลขคณิต = ………………………………………………….
มัธยฐาน คือ = ………………………………………………….
ฐานนิยม คือ = ………………………………………………….
149

บทที
ความน่ าจะเป็ น
Probability
สาระสําคัญ
1. การนับจํานวนผลลัพธ์ทีเกิดจากการทดลองใด ๆ
. ความน่าจะเป็ น แสดงให้ทราบว่า เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึงมีโอกาสเกิดขึนมากน้อยเพียงใด อันจะมี
ประโยชน์ต่อการตัดสินใจในการดําเนินงานนัน ๆ

ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
1. อธิบายการทดลองสุ่มและเหตุการณ์ได้
2. หาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์จากการทดลองสุ่ม มีโอกาสทีจะเกิดขึนเท่าๆกันได้
3. ใช้ความรู้เกียวกับความน่าจะเป็ น ในการคาดการณ์หรื อตัดสินใจได้อย่างสมเหตุสมผล

ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
เรื องที ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์
เรื องที การนําความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ต่างๆ ไปใช้
150

ความน่ าจะเป็ น Probability


ในชีวิตประจําวันเรามักจะได้ยนิ ประโยคเหล่านี

การลงทุนทํากิจการครังนี คาดว่าจะได้กาํ ไร %

พรุ่ งนีจะมีฝนตก % ของพืนที

ปี หน้าคาดว่านักศึกษา กศน.เขตพญาไทเพิมขึน %

นายโชคดี ซือล๊อตเตอร์รีไม่เคยถูกเลย

ประโยคกล่าวข้างต้น เป็ นคําพูดทีเกียวกับการคาดคะเน การทํานาย โอกาสหรื อความเป็ นไปได้


ทีจะเกิดเหตุการณ์ทีกล่าวถึงเหล่านัน เราไม่สามารถบอกได้แน่ชดั ว่า เหตุการณ์เหล่านันจะเกิดขึนหรื อไม่ จนกว่า
จะถึงเวลาทีกําหนด
ในทางคณิ ตศาสตร์ อาจหาจํานวนหนึงทีบ่งบอกถึงโอกาสมากน้อยทีจะเกิดขึนแต่ละเหตุการณ์
เหล่านัน และเรี ยกจํานวนนีว่า “ความน่าจะเป็ น” ของเหตุการณ์
ดังนัน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ จึงเป็ นวิธีวดั ความไม่แน่นอนในรู ปแบบคณิตศาสตร์ เช่น เมือ
โยนเหรี ยญ ความน่าจะเป็ นของเหรี ยญทีจะออกหัวหรื อก้อยเท่ากับ . ในทํานองเดียวกัน เหตุการณ์ต่างๆ ที
เกิดขึนในอนาคตเป็ นสิ งทียากจะคาดเดาได้ถกู ต้องร้อยเปอร์เซ็นต์
151

เรืองที
การทดลองสุ่ ม และเหตุการณ์
. การทดลองสุ่ ม
การทดลองสุ่ม คือ การทดลองทีเราไม่สามารถบอกได้ล่วงหน้าว่าผลลัพธ์ทีเกิดขึนมาจากแต่ละ
การกระทําจะเป็ นอย่างไร แต่เราสามารถบอกได้ว่ามีผลลัพธ์อะไรบ้างทีจะเกิดขึน ตัวอย่างเช่น
. โยนเหรี ยญ เหรี ยญ ครัง หน้าทีหงายขึนอาจจะออกหัว หรื อ ออกก้อย ก็ได้

หัว ก้อย

ออกหัว ออกก้อย

. หยิบลูกปิ งปอง ลูกจากโหลดังรู ป ลูกปิ งปองทีหยิบได้ อาจจะเป็ นลูกปิ งปอง สีแดง สีเขียว สีฟ้า
หรื อสีเหลือง (ลูกปิ งปองต้องมีขนาดเท่ากัน)

แดง
ฟ้า
เขียว
เหลือง

. ทอดลูกเต๋ า ลูก ครัง หน้าทีหงายอาจเป็ นแต้ม , , , , ,


152

ผลลัพธ์ ของการสุ่ ม
การโยนเหรี ยญ เหรี ยญ ครัง ผลลัพธ์ทงหมดที
ั อาจจะเกิดขึน สามารถแสดงด้วยแผนภาพต้นไม้ ได้
ดังนี
ผลทีอาจจะเกิดจากการ ผลทีอาจจะเกิดจากการ ผลทีอาจจะเกิดจากการ
โยนเหรี ยญครังที โยนเหรี ยญครังที โยนทังสองครัง

H H, H

T H, T

H T, H

T T, T

จะได้ผลลัพธ์ทงหมดที
ั เกิดจากการทดลองสุ่มข้างต้นทีแตกต่างกัน มี แบบ คือ
HH , HT , TH และ TT

ผลทีอาจจะเกิดจากการโยน ผลทีอาจจะเกิดจากการโยน ผลทีอาจจะเกิดจากการโยน


เหรี ยญ ครังที เหรี ยญ ครังที เหรี ยญทังสองครั ง
H H (H , H)
H T (H , T)
T H (T , H)
T T (T , T)
153

. เหตุการณ์ (Events)
ในการทดลองสุ่มโยนเหรี ยญบาท 1 เหรี ยญและเหรี ยญห้าสิบสตางค์ 1 เหรี ยญ นักเรี ยนทราบแล้วว่าผล
ทังหมดทีอาจจะเกิดขึนได้คือ (H, H), (H, T), (T, H) และ (T, T) ถ้าเราสนใจผลทีจะเกิดก้อยอย่าง
น้อย 1 เหรี ยญ จะได้ว่า ผลทีจะเกิดก้อยอย่างน้อย 1 เหรี ยญ คือ (H, T), (T, H) และ (T, T) เราเรี ยกผลทีเรา
สนใจจากการทดลองสุ่มว่า เหตุการณ์
พิจารณาการหลับตาหยิบลูกบอล 1 ลูกจากถุงซึงมีลกู บอลสีเขียว 4 ลูก คือ ข1, ข2, ข3 และ ข4 ดังนัน

จากการทดลองสุ่มครังนีจะเห็นได้ว่าจะหยิบลูกบอลครังใดก็จะได้ลกู บอลสีเขียวเสมอ ซึงผลทังหมดที


อาจจะเกิดขึนได้คือ ข1, ข2, ข3 และ ข4
และถ้าสนใจเหตุการณ์ "หยิบได้ลกู บอลสีเขียว” จะได้ว่าเหตุการณ์คือ ข1, ข2, ข3 และ ข4
จะเห็นว่า ผลทังหมดทีอาจเกิดขึนได้ และเหตุการณ์ทีจะหยิบได้ลกู บอลสีเขียวเป็ นผลชุดเดียวกัน เราเรี ยก
เหตุการณ์ "หยิบได้ลกู บอลสีเขียว" จากการทดลองสุ่มครังนี ว่า "เหตุการณ์ทีแน่นอน"
และจากการทดลองสุ่มครังนีจะเห็นว่าเราไม่อาจทีจะหยิบได้ลกู บอลสีแดงได้เลย เราเรี ยกเหตุการณ์ "หยิบ
ได้ลกู บอลสีแดง" จากการทดลองสุ่มครังนีว่า "เหตุการณ์ทีเป็ นไปไม่ได้”
ตัวอย่างเหตุการณ์
ตัวอย่างที 1 หลับตาหยิบลูกบอล 1 ลูกจากกล่องทีมีลกู บอลสีแดง 1 ลูก สีขาว 1 ลูก และสีนาเงิ ํ น 1 ลูก
จงหาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ต่อไปนี
(1) หยิบได้ลกู บอลสีแดง
(2) หยิบได้ลกู บอลทีไม่ใช่สีแดง
วิธีทาํ ผลทังหมดทีอาจเกิดขึนได้จากการทดลองสุ่มคือ แดง ขาว และนําเงิน
ดังนัน จํานวนทังหมดทีอาจจะเกิดขึนได้เป็ น 3
(1) เหตุการณ์ทีจะหยิบได้ลกู บอลสีแดง คือ แดง
จํานวนผลทีเกิดในเหตุการณ์นีเป็ น 1
1
ฉะนันความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์หยิบได้ลกู บอลสีแดงเป็ น
3

(2) เหตุการณ์ทีจะหยิบได้ลกู บอลทีไม่ใช่สีแดง คือ


หยิบได้ ขาว และ นําเงิน
จํานวนผลทีเกิดขึนในเหตุการณ์เป็ น 2
2
ฉะนันความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์หยิบได้ลกู บอลทีไม่ใช่สีแดงเป็ น
3
154

เรืองที
ความน่ าจะเป็ นของเหตุการณ์ Probabilities of Events.
พิจารณาการทดลองสุ่มและเหตุการณ์ทีสนใจ
ทอดลูกเต๋ า ลูก ครัง ผลทังหมดทีอาจเกิดขึน คือ , , , , , ซึงมีทงหมด ั จํานวน
). ถ้าเหตุการณ์ทีสนใจ คือ แต้มหงายบนหน้าลูกเต๋ าเป็ นจํานวนคู่ ซึงได้แก่ , , จะเห็นได้ว่ามี
จํานวน นันคือ จํานวนผลทีจะเกิดในเหตุการณ์ เป็ น
3 1
เรากล่าวว่าความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ทีแต้มหงายบนหน้าลูกเต๋ าเป็ นจํานวนคู่ คือ หรื อ
6 2
). ถ้าเหตุการณ์ทีสนใจ คือ แต้มทีหงายบนหน้าลูกเต๋ า เป็ นจํานวนทีน้อยกว่า ซึงได้แก่
, จะเห็นว่ามีทงหมด
ั จํานวน นันคือ จํานวนผลทีจะเกิดในเหตุการณ์เป็ น
2 1
เรากล่าวว่าความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ทีแต้มหงายบนหน้าลูกเต๋ าเป็ นจํานวนคู่ คือ หรื อ
6 3

จากทัง เหตุการณ์ทีกล่าวมาเราสามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปของตารางได้ ดังนี

จํานวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์ทีสนใจ
ความน่ าจะเป็ นของเหตุการณ์ 
จํานวนผลลัพธ์ทงหมดข
ั องการทดลองสุ่ ม

หมายเหตุ
เมือแต่ละผลลัพธ์ทีอาจเกิดขึนจากการทดลองสุ่ม มีโอกาสเกิดขึนได้เท่าๆกัน
155

สัญลักษณ์ ทีใช้ Probabilities of Events.


- ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ ใช้สญ ั ลักษณ์ P(E)
- จํานวนผลลัพธ์ของเหตุการณ์ทีเราสนใจ N(E)
- จํานวนผลลัพธ์ทงหมดของการทดลองสุ
ั ่ม N(S)
จะได้สูตร ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ คือ

P(E)  N(E)
N(S)

Note 1. ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ใดๆ จะมีค่าตังแต่ ถึง หรื อ  P(E) 


. ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ทีจะเกิดขึนแน่นอนจะมีค่าเท่ากับ
. ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ทีไม่มีผลลัพธ์เกิดขึนเลยหรื อเหตุการณ์ทีไม่เกิดขึนแน่นอนเท่ากับ
156

เรืองที
การนําความน่ าจะเป็ นของเหตุการณ์ ไปใช้ ในชีวติ ประจําวัน
ในปัจจุบนั นักธุรกิจ นักประกันภัย และนักพยากรณ์ต่างๆ ได้นาํ ความรู้เรื องความน่าจะเป็ นและค่า
คาดหมายมาช่วยในการตัดสินใจ ว่าเหตุการณ์ทีพิจารณานัน จะเกิดขึนมากน้อยเพียงใดและจะได้รับหรื อเสีย
ผลประโยชน์ เช่น ด้านธุรกิจ ใช้การคาดหมายในการทํานายผลกําไรทีได้จากการผลิตสินค้าใหม่ ด้านการ
ประกันภัย ใช้การคาดหมายในการกําหนดเงินเบียประกันทีลูกค้าจะต้องส่งมาในแต่ละงวด เพือทีบริ ษทั ยังได้ผล
ประโยชน์ตลอดอายุของกรมธรรม์ หรื อความน่าจะเป็ นกับกีฬา เช่น ในกีฬาฟุตบอลทีก่อนแข่งขันกรรมการจะ
โยนเหรี ยญเพือให้ฝ่ายทีทายผลชนะได้เลือกก่อนว่าจะเขียบอลหรื อเลือกข้าง โอกาสทีจะชนะ / เนืองจาก
เหรี ยญทีโยนจะออกหัวหรื อก้อยก็ได้ มีโอกาสเกิดขึนเท่ากัน ความน่าจะเป็ นกับการพยากรณ์อากาศ ถ้าวางแผนจะ
ไปเทียวทะเลกับเพือนในหน้าฝน ก็ควรจะต้องตรวจเช็คสภาพอากาศล่วงหน้าว่าพยากรณ์ไว้ว่าฝนจะตกหรื อเปล่า
และตกกีเปอร์เซ็นต์ เช่น ถ้าพยากรณ์ว่าฝนตก % ไม่ตอ้ งไป แต่ถา้ พยากรณ์ไว้ว่าฝนจะตก % น่าจะไป
มากกว่า
157

กิจกรรมบทที 0
แบบฝึ กหัดที
มีกล่อง กล่องทีบรรจุลกู แก้วสีต่างๆ ดังรู ป

กล่องที กล่องที กล่องที


เพชรกับพลอย เล่นเกมโดยผลัดกันหลับตาหยิบลูกแก้วจากกล่องในกล่องใดกล่องหนึง ขึนมา ลูก เมือ
หยิบลูกแก้วดูสีแล้วใส่คืนกล่องเดิม โดยมีเงือนไขในการเล่นเกมส์ดงั นี
) ถ้าเพชรหยิบได้ลกู แก้วสีแดงได้ คะแนน
หยิบได้ลกู แก้วสีนาเงิ
ํ นได้ คะแนน
) ถ้าพลอยหยิบได้ลกู แก้วสีนาเงิ
ํ นได้ คะแนน
หยิบได้ลกู แก้วสีแดงได้ คะแนน

ให้นกั ศึกษาตอบคําถามต่อไปนี
1) เพชรหยิบลูกแก้วจากกล่องใดจึงมีโอกาสชนะมากกว่า จงอธิบาย
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
) พลอยหยิบลูกแก้วจากกล่องใด จึงจะมีโอกาสชนะมากกว่า จงอธิบาย
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
158

) เพชรหยิบลูกแก้วจากกล่องใด จึงจะไม่มีสิทธิชนะ
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
) ถ้าต้องการให้เพชรและพลอยมีโอกาสชนะเท่ากันควรหยิบลูกแก้วจากกล่องใด
...................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................
สรุ ป
จากกิจกรรมข้างต้น จะเห็นว่า การทีผูเ้ ล่นจะได้เปรี ยบหรื อเสียเปรี ยบ ขึนอยูก่ บั ว่ากติกาละอุปกรณ์การ
เล่น การเล่นแต่ละครัง การทีเราทราบเรื องของความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์จะช่วยให้เรารู้ได้ว่า ในการเล่นแต่ละ
ครัง เราได้เปรี ยบหรื อเสียเปรี ยบและตัดสินใจได้ว่าควรจะเล่นหรื อไม่เล่นในเกมนัน

แบบฝึ กหัดที
. ให้ผเู้ รี ยนพิจารณาการทดลองสุ่มต่อไปนี ว่าผลจากการทดลองสุ่มอาจเป็ นอย่างไรบ้าง
). โยนเหรี ยญสิบบาท อัน
……………………………………………………………………………………………...
). โยนเหรี ยญสิบบาทสองอันพร้อมกัน
……………………………………………………………………………………………...
). หยิบลูกปิ งปอง ลูกพร้อมๆกัน จากกล่องทีมีลกู ปิ งปองสีเหลือง ลูก สีแดง ลูก
……………………………………………………………………………………………...

. จงเขียนผลทีอาจจะเกิดขึนได้ทงหมดจากการหมุ
ั นแป้ นวงกลมทีมีหมายเลข และ แล้วมาโยนเหรี ยญบาท อัน
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..…………….......................

. จงเขียนผลทังหมดทีอาจจะเกิดขึนได้จากการหยิบสลาก ใบ จากสลากทีเขียนหมายเลขตังแต่
ถึง ไว้
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………..…………………….
159

แบบฝึ กหัดที
. ทอดลูกเต๋ า ลูก ครัง จงเขียน
) ผลทังหมดทีอาจเกิดขึน
……………………………………………………………………………………………
) เหตุการณ์ทีได้แต้มไม่เกิน
……………………………………………………………………………………………
) เหตุการณ์ทีได้แต้มเป็ นจํานวนทีหารด้วย ลงตัว
……………………………………………………………………………………………

. ทอดลูกเต๋ า ลูกพร้อมกัน ครัง จงเขียน


) ผลทังหมดทีอาจเกิดขึน
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
) ผลรวมของแต้มเป็ น
……………………………………………………………………………………………
) ผลรวมของแต้มมากกว่า
……………………………………………………………………………………………
) ผลรวมของแต้มน้อยกว่า
……………………………………………………………………………………………
) ผลรวมของแต้มหารด้วย ลงตัว
……………………………………………………………………………………………
) ผลรวมของแต้มน้อยกว่า
……………………………………………………………………………………………

. จากการสอบถามถึงปกรายงานทีผูเ้ รี ยนชอบ สี ในจํานวน สี คือ สีขาว สีฟ้า สีชมพู สีเขียว และสี


เหลือง จงเขียน
1) ผลทังหมดทีอาจเกิดขึน
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
) เหตุการณ์ทีนิตยาจะชอบสีฟ้าหรื อสีชมพู
……………………………………………………………………………………………
160

แบบฝึ กหัดที
. ทอดลูกเต๋ า ลูก ครัง

จงหาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ต่อไปนี
. ) ออกแต้มเป็ นจํานวนคู่
ตอบ .....................................................................................................................................
. ) ออกแต้มเป็ นจํานวนเฉพาะ
ตอบ .....................................................................................................................................

. การสุ่มหยิบลูกกวาด เม็ดพร้อมกันในถุงใบหนึงทีมีลกู กวาดสีแดง เม็ด สีดาํ เม็ด จงหาความน่าจะ


เป็ นของเหตุการณ์ต่อไปนี

2.1) หยิบได้ลกู กวาดสีแดง เม็ด และสีดาํ เม็ด


ตอบ .....................................................................................................................................
2.2) หยิบได้ลกู กวาดสีแดงทังสองเม็ด
ตอบ .....................................................................................................................................
161

3. โยนเหรี ยญ เหรี ยญ พร้อมกัน ครัง จงหาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ต่อไปนี


บาท

บาท

บาท

3.1) ออกก้อยอย่างน้อย เหรี ยญ


ตอบ .....................................................................................................................................
. ) ออกหัวและออกก้อยจํานวนเท่ากัน
ตอบ .....................................................................................................................................

แบบฝึ กหัดที
จากโจทย์ ครอบครัวหนึงมีบุตร คน อายุต่างกัน จงหาความน่าจะเป็ นทีครอบครัวนี
1) มีบุตรคนโตเป็ นผูห้ ญิง
2) มีบุตรคนสุดท้องเป็ นผูห้ ญิง
3) มีบุตรเป็ นชายทัง คน
4) มีบุตรคนโตเป็ นผูห้ ญิงและคนสุดท้องเป็ นผูช้ าย
162

บทที
การใช้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการประกอบอาชีพ
สาระสําคัญ
ในการประกอบอาชีพต่าง ๆ ในสังคม ผูป้ ระกอบอาชีพในหลายสาขา เช่น เกษตรกรรม การประมง
การก่อสร้าง การบัญชี งานบริ การและการท่องเทียว เป็ นต้น จําเป็ นต้องใช้ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
ใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมันคง เพือเสริ มสร้างรายได้และผลกําไรทีสูงขึน

ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง
มีความสามารถในการเชือมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์กบั งานอาชีพได้ สามารถวิเคราะห์งานอาชีพ
ในสังคม ทีใช้ทกั ษะทางคณิ ตศาสตร์ได้
1. บอกประเภทของงานอาชีพทีใช้ทกั ษะทางคณิ ตศาสตร์ได้
2. นําความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในงานอาชีพได้

ขอบข่ ายเนือหา
เรื องที ลักษณะประเภทของงานอาชีพทีใช้ทกั ษะทางคณิ ตศาสตร์
เรื องที การนําความรู้ทางคณิ ตศาสตร์ไปเชือมโยงกับงานอาชีพในสังคม
163

เรืองที
ลักษณะ ประเภทของงานอาชีพทีใช้ ทักษะทางคณิตศาสตร์
. กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ อาชีพ การทํานา ทําไร่ การปลูกผัก การเลียงสัตว์ ฯลฯ

ลักษณะงานเบืองต้นทีใช้ ทกั ษะทางคณิตศาสตร์


. การสํารวจความต้องการของตลาดเพือวางแผนการปลูก
2. การเตรี ยมพืนทีดิน ซึงขึนอยูก่ บั ความกว้าง ความยาวของพืนทีว่าผูป้ ระกอบการใช้พนที
ื กีไร่ กีงาน กี
ตารางวา ในการทําแปลง ขุดร่ อง การแบ่งพืนทีใช้สอย เช่น ใช้เป็ นพืนทีนา ส่วน พืนทีปลูกผัก ส่วน บ่อนํา
ส่วน การเลียงสัตว์ ส่วน พืนทีอยูอ่ าศัย ส่วน เป็ นต้น
. การเตรี ยมเมล็ดพันธุข์ า้ ว ผัก และพืชพันธุอ์ ืนๆ
. การเตรี ยมปุ๋ ยว่าใช้ปุ๋ยชนิดใดและปริ มาณกีกิโลกรัมต่อไร่
. การรดนํา พรวนดิน ซึงต้องกําหนดปริ มาณและจํานวนครังในการรดนํา
. การใช้ความรู้เรื องอัตราส่วน สัดส่วน เพือผสมยากําจัดศัตรู พืชทางชีวภาพ เช่น สะเดา และสมุนไพร
อืนๆ กับนําก่อนฉีดพ่น
. การเก็บเกียวผลผลิต ซึงต้องใช้ทกั ษะการคํานวณระยะเวลาตังแต่การปลูกจนถึงระยะการเก็บเกียว
ผลผลิต
- การตรวจสอบความชืนของวัสดุและสถานทีเก็บผลผลิต
- การคํานวณพืนทีในการเก็บรักษาผลผลิต
. การจําหน่ายผลผลิต ซึงต้องใช้ทกั ษะการจัดทําบัญชีรับ – จ่าย การจดบันทึกจํานวนและบันทึกของ
ผลผลิตทีได้
. การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
164

. กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม ได้แก่ อาชีพพนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมห้องเย็น ถ้วยชาม


อุปกรณ์เซรามิค ผ้าขนหนู กระดาษและสิ งพิมพ์ สแตนเลส เหล็ก พลาสติก ฯลฯ

ลักษณะงานเบืองต้นทีใช้ ทกั ษะคณิตศาสตร์


. การคํานวณเงินรายได้ประจําวัน
2. การคํานวณเงินค่าทํางานล่วงเวลา
. การคํานวณเงินกูแ้ ละดอกเบียคงทีหรื อดอกเบียทบต้น
4. การทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายประจําวัน
. การจัดทําบัญชีพสั ดุ (การจัดซือ การเบิกจ่ายพัสดุ)
. การสํารวจและวิจยั การตลาด
. การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

. กลุ่มอาชีพพาณิชยกรรม ได้แก่ อาชีพค้าขาย ผูป้ ระกอบการร้านอาหารและเครื องดืม ผูป้ ระกอบการขาย


ปลีกและขายส่ง ธุรกิจการซือขายอสังหาริ มทรัพย์ ธุรกิจการซือขายหุน้ ในตลาดหลักทรัพย์ อาชีพการทําบัญชี
การตลาด เป็ นต้น
165

ลักษณะงานเบืองต้นทีใช้ ทกั ษะคณิตศาสตร์


. การจัดเตรี ยมสถานที การคํานวณการจัดวางโต๊ะ เก้าอี หรื อวัสดุ อุปกรณ์ในการขาย
. การจัดซือวัตถุดิบในการค้าขายปลีกหรื อขายส่ง
. การจําหน่ายสินค้า การคํานวณราคาสินค้าต่อหน่วย การทอนเงิน
. การจัดทําบัญชีพสั ดุ (การจัดซือ การเบิกจ่ายพัสดุ)
. การจัดทําบัญชีรับ – จ่ายประจําวัน
. การฝากเงิน การถอนเงิน การออมเงิน
. การประชาสัมพันธ์งานธุรกิจค้าขายหรื อพาณิ ชยกรรม ซึงต้องใช้ทกั ษะในการคํานวณขนาดของป้ าย
โฆษณา ขนาดตัวอักษร ขนาดและจํานวนแผ่นพับหรื อใบปลิวโฆษณา
. การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

. กลุ่มอาชีพด้ านความคิดสร้ างสรรค์ ได้แก่ ธุรกิจโฆษณา ธุรกิจการออกแบบตกแต่งทีอยูอ่ าศัย สํานักงานและ


สวนหย่อม การจัดดอกไม้และแจกันประดับ ธุรกิจการทําพวงหรี ด การจัดกระเช้าของขวัญ เป็ นต้น

ลักษณะงานเบืองต้นทีใช้ ทกั ษะคณิตศาสตร์


. การจัดเตรี ยมขนาด ปริ มาตร รู ปทรงของพืนทีหรื อชินงานในการจัดทําธุรกิจ ซึงต้องใช้การวัดความ
กว้าง ความยาว ความสูงของพืนทีหรื อชินงาน การออกแบบรู ปทรงโดยใช้รูปเรขาคณิตสามมิติ
. การคํานวณปริ มาณของวัสดุอุปกรณ์ในการใช้ประดิษฐ์สร้างสรรค์ชินงาน หรื อการจัดตกแต่ง
สวนหย่อม
. การคํานวณเพือกําหนดราคาขายสินค้า
. การจัดทําบัญชีพสั ดุ (การจัดซือ การเบิกจ่ายพัสดุ)
. การจัดทําบัญชีรับ – จ่าย ประจําวัน
. การประชาสัมพันธ์ธุรกิจทุกประเภท ซึงต้องใช้ทกั ษะในการคํานวณเป็ นพืนฐาน
7. การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
166

. กลุ่มอาชีพบริหารจัดการและการบริการ ได้แก่ อาชีพกลุ่มงานบริ การและการท่องเทียว งานบริ การรักษาความ


ปลอดภัย บริ การดูแลสต๊อก บริ การดูแลผูส้ ูงอายุ บริ การสันทนาการและการกีฬา เป็ นต้น

ลักษณะงานเบืองต้นทีใช้ ทกั ษะคณิตศาสตร์


. การสํารวจพืนทีในการให้บริ การ การคํานวณระยะทางในการให้บริ การ
. การจัดซือวัสดุ อุปกรณ์ในการให้บริ การ
. การรับสมัครและกําหนดเงินเดือนตามตําแหน่งงานของเจ้าหน้าทีในการให้บริ การ
. การจัดทําตารางเวลา การอยูเ่ วร – ยามของเจ้าหน้าทีประจําสํานักงาน
. การจัดทํากําหนดการท่องเทียวและการให้บริ การ รวมทังกําหนดราคาขายบริ การในแต่ละพืนที
. การคํานวณการใช้นามั ํ นเชือเพลิงของยานพาหนะทีให้บริ การ
. การจัดทําบัญชีพสั ดุ และการเบิกจ่ายพัสดุ
. การจัดทําบัญชีรับ – จ่ายประจําวัน
. การจัดทําแผ่นป้ ายโฆษณา ประชาสัมพันธ์การให้บริ การ
. การจัดทําสรุ ปรายงานและการนําเสนอข้อมูล
. การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
167

เรืองที
การนําความรู้ทางคณิตศาสตร์ ไปเชือมโยงกับงานอาชีพในสั งคม
การเชือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์กบั งานอาชีพเป็ นการนําความรู้และทักษะ/กระบวนการต่างๆ
ทางคณิ ตศาสตร์ไปสัมพันธ์กบั เนื อหาและความรู้ของงานอาชีพอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล ช่วยในการตัดสินใจในงาน
อาชีพ เช่น การใช้ตารางและกราฟประกอบการใช้สถิติมาช่วยในการวิเคราะห์งานอาชีพเพือสํารวจความต้องการ
สินค้าเพือการผลิต ใช้ร้อยละในการคิดคํานวณดอกเบีย ภาษี กําไรขาดทุน เป็ นต้น

. ทักษะการจัดทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายประจําวัน
ตัวอย่าง การจัดทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายประจําวันของผูป้ ระกอบการร้านอาหาร
วันที กันยายน จ่ายค่าซือวัตถุดิบในการทําอาหาร , บาท จ่ายค่านํา ค่าไฟฟ้ า
บาท ได้รับเงินจากการขายอาหาร , บาท
วันที กันยายน จ่ายค่าโทรศัพท์ บาท จ่ายค่านํามันรถยนต์ , บาท
จ่ายค่าเครื องปรุ ง , บาท จ่ายค่าผลไม้ บาท ได้รับเงินจาก
การขายอาหาร , บาท
วันที กันยายน จ่ายค่าหนังสือพิมพ์ บาท จ่ายค่าวัตถุดิบในการทําอาหาร , บาท
จ่ายค่านําดืม บาท จ่ายค่าซ่อมรถยนต์ , บาท
ได้รับเงินจากการขายอาหาร , บาท
วันที กันยายน จ่ายค่านํามันพืช บาท ซือถุงพลาสติกใส่อาหาร บาท
ได้รับเงินจากการขายอาหาร , บาท
168

ตัวอย่าง การจัดทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายประจําวันของผูป้ ระกอบการร้านอาหาร


จํานวนเงิน จํานวนเงิน
วัน เดือน ปี รายการรับ วัน เดือน ปี รายการจ่าย
บาท สต. บาท สต.
ก.ย. ได้เงินจากการขายอาหาร , - ก.ย. วัตถุดิบในการทําอาหาร , -
ค่านํา ค่าไฟฟ้ า -
ก.ย. ได้เงินจากการขายอาหาร , - ก.ย. ค่าโทรศัพท์ -
ค่านํามันรถยนต์ , -
ค่าเครื องปรุ ง , -
ค่าผลไม้ -
ก.ย. ได้เงินจากการขายอาหาร , - ก.ย. ค่าหนังสือพิมพ์ -
วัตถุดิบในการทําอาหาร , -
ค่านําดืม -
ค่าซ่อมรถยนต์ , -
ก.ย. ได้เงินจากการขายอาหาร , - ก.ย. ค่านํามันพืช -
ซือถุงพลาสติกใส่ อาหาร -
รวม , - รวม , -
ยอดคงเหลือยกไป , -

เมือจัดทําบัญชีรายรับและรายจ่ายประจําวันแล้ว ผูเ้ รี ยนจะคํานวณยอดคงเหลือ ซึงได้จากการนํารายรับไปลบ


กับรายจ่าย เมือจัดทําบัญชีในหน้าถัดไปหรื อในเดือนถัดไปก็จะนํายอดคงเหลือไปบันทึกในรายการของรายรับในหน้า
ถัดไป ซึงจะไปเป็ นยอดรายการรับรวมกับรายการรับเงินทีจะได้จากการรับเงินจากการขายอาหารในวันต่อ ๆ ไป

. ทักษะการคํานวณรายได้ และการแลกเปลียนเงินตรา
ตัวอย่าง บริ ษทั แห่งหนึงสังซือเครื องจักรจากต่างประเทศราคา , ดอลลาร์สหรัฐ เมือสินค้า
ส่งมาถึงเมืองไทยต้องผ่านพิธีการศุลกากร เสียภาษีศุลกากร % ภาษีมลู ค่าเพิม %
ค่าธรรมเนียมและค่าบริ การต่าง ๆ รวม , บาท ราคาเครื องจักรและค่าใช้จ่ายทังหมดรวมเป็ นเงินเท่าไร (
ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ . บาท)
169

วิธีทํา
ราคาเครื องจักร , × 35.42 = 1, , บาท
10
เสียภาษีศุลกากร % = 1, ,900 × = 1 , 90 บาท
100
7
เสียภาษีมลู ค่าเพิม % = 1, ,900 × = , 3 บาท
100
 ราคาเครื องจักรและค่าใช้จ่ายทังหมด รวมเป็ นเงิน
= ราคาเครื องจักร + ภาษีศุลกากร + ภาษีมลู ค่าเพิม +
ค่าธรรมเนียมและค่าบริ การต่าง ๆ
= 1, ,900 + 1 , 90 + , 3 + 4,000
= 1, , 3 บาท

. การคิดคํานวณดอกเบียสินเชือธนาคาร
ตัวอย่าง บริ ษทั สังซือเครื องจักรคิดเป็ นเงินไทยราคา , , บาท บริ ษทั ได้ขอสินเชือจากธนาคารได้รับสิทธิใน
การผ่อนชําระเครื องจักรเป็ นรายเดือน เดือนละ , บาท คิดดอกเบียปี ละ . % เมือผ่อนชําระครบ
เดือน จะต้องเสียเงินทังหมดเท่าไร
เงินต้น  อัตราดอกเบบีย  ระยะเวลา
วิธีทํา ดอกเบีย =
100
7.5 1
เดือนที เสียดอกเบีย = 2,200 ,000   = , บาท
100 12
เดือนที เงินต้นคงเหลือ = , , 00 – 2 0,000 = , , บาท
7.5 1
เสียดอกเบียเดือนที = 2,000,000   = , บาท
100 12
เดือนที เงินต้นคงเหลือ = , , – 2 0,000 = 1,8 , 00 บาท
7.5 1
เสียดอกเบียเดือนที = 1,800 ,000   = , บาท
100 12
เดือนที เงินต้นคงเหลือ = 1, , 00 – 2 0,000 = 1, 0 , 00 บาท
7.5 1
เสียดอกเบียเดือนที = 1,600,000   = , บาท
100 12
เดือนที เงินต้นคงเหลือ = 1, 0 , 00 – 2 0,000 = , , บาท
7.5 1
เสียดอกเบียเดือนที = 1,400 ,000   = , บาท
100 12
เดือนที เงินต้นคงเหลือ = , , – 20 ,000 = , , บาท
170

7.5 1
เสียดอกเบียเดือนที = 1,200 ,000   = , บาท
100 12
เมือผ่อนชําระครบ เดือน จะต้องเสียเงินทังหมด = ผ่อนชําระเป็ นรายเดือน เดือน + ดอกเบีย เดือน
= ( ,000 × 6) + 13,750 + 12,500 + 11,250
+ 10,000 + 8,750 + 7,500 บาท
= 1, , บาท

. การคํานวณกําลังการผลิต (อัตราส่ วน/สัดส่ วน)


ตัวอย่าง เครื องจักรบรรจุนาผลไม้
ํ ขนาด ซม ได้นาทีละ ขวด ทํางานวันละ ชัวโมง
เครื องจักรจะทําการบรรจุได้กีขวด
วิธีทํา อัตราส่วนของเวลาทีใช้ในการบรรจุต่อจํานวนขวดเท่ากับ นาที ต่อ ขวด หรื อ ชัวโมง
ต่อ A ( ชัวโมง  นาที : A)
นันคือ 1 : = 8  60 : A
1 480
=
500 A
A = 480  00
A = ,
ดังนัน เครื องจักรบรรจุนาผลไม้
ํ ขนาด ซม วันละ ชัวโมง เท่ากับ , ขวด

. การคํานวณรายได้ (ร้ อยละ อัตราส่ วน สัดส่ วน)


ตัวอย่าง พนักงานได้รับเงินเดือนๆ ละ , บาท ค่าเบียขยัน % ของเงินเดือน ค่าล่วงเวลาได้ชวโมงละ
ั บาท
เดือนนี ทํางานล่วงเวลา วัน ๆ ละ ชัวโมง หักเงินประกันสังคม % ของเงินเดือน พนักงานคนนี จะได้รับ
เงินเท่าไร
10
วิธีทํา ค่าเบียขยัน =  9,000 = 00 บาท
100
อัตราส่วนของจํานวนชัวโมงล่วงเวลา : ค่าล่วงเวลา เท่ากับ ชัวโมง ต่อ บาท
นันคือ 8  3 : ค่าล่วงเวลา = 1 : 50
24 : ค่าล่วงเวลา = 1 : 50
24 1
=
ค่าล่วงเวล า 50
ค่าล่วงเวลา =  = 1,200 บาท
5
เงินประกันสังคม =  9,000 = 0 บาท
100
171

พนักงานคนนี ได้รับเงิน = เงินเดือน + เบียขยัน + ค่าล่วงเวลา – เงินประกันสังคม


= 9,000 + 900 + 1,200 –
= 1 , บาท

. ทักษะการคํานวณภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
ตัวอย่างที โอฬารมีรายได้จากการประกอบอาชีพเดือนละ , บาท ไม่มีครอบครัว เมือยืนแบบ
คํานวณภาษี มีสิทธิหกั ค่าใช้จ่ายได้ % ของรายได้แต่ไม่เกิน , บาท
ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ , บาท สิ นปี โอฬารจะต้องชําระภาษีหรื อไม่
วิธีทํา เงินได้พึงประเมินของโอฬารตลอดปี ภาษี = 10,500  12 = 126,000 บาท
40
หัก ค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ ของเงินได้พึงประเมิน = 126,000 = 50,400 บาท
100
หัก ค่าลดหย่อนผูม้ ีเงินได้ , บาท
เงินได้สุทธิทีต้องคํานวณภาษี = เงินได้พึงประเมิน – (เงินหักค่าใช้จ่าย + ค่าลดหย่อน)
= 126,000 – ( , + , )
= , บาท
กรมสรรพากรกําหนดให้ผมู้ ีเงินได้สุทธิตงแต่ั ถึง , บาท ได้รับการยกเว้นภาษี
ดังนัน โอฬารต้องยืนแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด. ) แต่ไม่ตอ้ งชําระเงิน เพราะได้รับ
การยกเว้นภาษี ดังตาราง
ตารางอัตราภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ปี พ.ศ.
เงินได้ สุทธิ
เงินได้ สุทธิ อัตราภาษี ภาษีในแต่ ละ
ขันเงินได้ สุทธิตงแต่
ั จํานวนสู งสุ ด ภาษีเงินได้
แต่ ละขัน ร้ อยละ ขันเงินได้
ของขัน
- , , .............. .... - .............. .... ยกเว้น
เกิน , - , , .............. .... .............. .... ,
เกิน , - , , .............. .... 10 .............. .... ,
เกิน , - , , .............. … .............. … ,
เกิน , - , , , .............. … .............. … ,
เกิน , , - , , , , .............. … .............. … ,
เกิน , , - , , , , ,
เกิน , , บาท ขึนไป
2.7 การประชาสัมพันธ์ โดยทําป้ายจากแผ่นอะครีลกิ
ตัวอย่าง ทําป้ ายจากแผ่นอะครี ลิกติดหน้าห้องต่าง ๆ ดังนี
172

ห้ องประชุม
Meeting Room

ห้ องแสดงสิ นค้ า
Show Room

ห้ องเก็บของ
Store Room

ป้ ายทัง ทําด้วยแผ่นอะครี ลิกหนา มม. สีขาว โดยมีขนาดกว้าง นิ ว ยาว นิว โดยทางร้านคิดค่าใช้จ่าย


การจัดทําตารางฟุตละ บาท จะต้องเสียค่าใช้จ่ายทําป้ ายทังสามเท่ากับเท่าไร
วิธีทํา
8
ป้ ายมีความกว้าง นิว = ฟุต
12
21
ความยาว นิว = ฟุต
12
8 21
พืนทีป้ ายทังหมด =   3 = 3.5 ตารางฟุต
12 12
เสียค่าใช้จ่ายทําป้ าย = .  = . บาท
173

กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
. จงจัดทําบัญชีรับจ่ายประจําวันของนายสมพร ซึงประกอบอาชีพเป็ นผูข้ ายกาแฟ ในเวลา วัน ดังรายการดังนี
วันที ตุลาคม ยอดเงินคงเหลือมาจากเดือนกันยายน , บาท
จ่ายค่าซือวัตถุดิบ , บาท จ่ายค่าแก๊สหุงต้ม บาท
ค่าอาหาร บาท ได้รับเงินจากการขายกาแฟ , บาท
วันที ตุลาคม จ่ายค่านํา ค่าไฟฟ้ า บาท ค่าอาหาร บาท ค่าถุงพลาสติก บาท
ค่าถุงกระดาษ บาท ได้รับเงินจากการขายกาแฟ , บาท
วันที ตุลาคม จ่ายค่าโทรศัพท์ บาท ค่าอาหาร บาท จ่ายค่าหนังสือเรี ยนลูก บาท
ค่านําดืม บาท ได้รับเงินจากการขายกาแฟ , บาท
วันที ตุลาคม จ่ายค่าเสือผ้า , บาท ค่าอาหาร บาท
ซือแป้ งสาลีและวัตถุดิบอืนๆ , บาท ได้รับเงินจากการขายกาแฟ , บาท
วันที ตุลาคม จ่ายค่าอาหาร บาท ค่านําดืม บาท จ่ายค่าหนังสือพิมพ์ บาท
ได้รับเงินจากการขายกาแฟ , บาท

. ร้านเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึง ซือเฟอร์นิเจอร์ครบ , บาท (เฉพาะราคาสินค้า) ได้ลด %


และทุกรายการต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม % สมรต้องการซือ
ราคาเฟอร์ นิเจอร์ เตียงนอน ตูเ้ สื อผ้า และโต๊ะ สมรต้องจ่ายเงินเท่าไร
ประเภท ราคาสินค้า หากสมรซือเฟอร์นิเจอร์ทุกรายการในตาราง สมรต้องจ่ายเงินเท่าไร
เตียงนอน ,
ตูเ้ สือผ้า ,
เก้าอี ,
โต๊ะ , __________________________________________________________
ตูต้ ิดผนัง , __________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________________________
174

3. อมรมีเงินสด , บาท อมรควรนําเงินสดไปออมประเภทใด จึงจะได้ผลตอบแทนมากทีสุด


ในระยะเวลา ปี จงบอกเหตุผล
( ) ฝากออมทรัพย์ได้ดอกเบียร้อยละ .40 บาท/ปี
( ) ฝากประจํา 6 เดือนได้ดอกเบียร้อยละ 1.25 บาท/ปี
กรณี ฝากประจําต้องเสียภาษี % ของดอกเบีย
( ) ซือสลากออมสิน ฉบับละ บาทได้ดอกเบียฉบับละ 1. บาท เมือฝากครบ ปี
ฝากครบ ปี ได้ดอกเบียฉบับละ . บาท ฝากครบ ปี ได้ดอกเบียฉบับละ . บาท และมีสิทธิถกู
รางวัลเลขท้าย ตัว รางวัลละ
บาท จํานวน รางวัล/เดือน
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________

. จํานงเป็ นพนักงานขายอุปกรณ์การแพทย์ได้ค่าตอบแทนเดือนละ , บาท แต่ยงั ไม่มีครอบครัว


สิ นปี มีสิทธิหกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ ของเงินได้พึงประเมิน แต่ไม่เกิน , บาท หักลดหย่อน
ผูม้ ีเงินได้ , บาท หักค่าเบียประกันชีวิต , บาท สินปี ยืนแบบแสดงรายการภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดาต้องชําระภาษีหรื อไม่ ถ้าชําระต้องชําระภาษีเท่าไร
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________
175

แบบทดสอบหลังเรียน

. ข้อใดต่อไปนี เป็ นเท็จ . ข้อใดเป็ นจํานวนตรงข้ามของ - , , , - ,


ก. ไม่ใช่จาํ นวนเต็ม ก. - ,-, ,
ข. - เป็ นจํานวนเต็มลบ ข. ,-, , ,-
2 ค. - ,-, , ,
ค. ไม่เป็ นจํานวนเต็ม
5 ง. ,-, ,
ง. . ไม่เป็ นจํานวนเต็ม

6. (18 + 8) – มีค่าเท่ากับข้อใด
. ข้อใดเป็ นจํานวนเต็มทังหมด ก.
2 ข.
ก. 1 , - , , -
3 ค.
ข. . , - , . , -
ง.
ค. , , - , - ,
4
ง. . ,  , - , .
5 . ข้อใดไม่ถกู ต้อง
ก. (- ) + (- ) = -14
. ข้อใดถูกต้อง ข. (-8) + 4 = -4
ค. 12 + (-6) = -6
ก. - > -10
ง. (-12) + 8 = -4
ข. -7 < -12
ค. -8 > -4
ง. 0 < -5 8. [(-4) × 2] + [(-7) + (-4)]
ก. -12
4. ข้อใดเรี ยงลําดับจากมากไปหาน้อย ข. -15
ค. -17
ก. , - , ,-,
ง. -19
ข. - , , ,-,
ค. , , ,-,-
ง. , , ,-,
176

9. ถ้า a = -4 b = 3 c = -5 แล้ว (a × b) + (b - c) 2 3 1
. + + มีค่าเท่ากับข้อใด
มีค่าเท่าไร 5 5 5
ก. 4
ก.
ข. - 5
6
ค. ข.
5
ง. - 7
ค.
5
8
. ข้อใดถูกต้อง ง.
5
ก. (8 × 7) × 2 = 40
ข. (8 ÷ 1) × 8 = 8
ค. (0 × 42) +0 = 0 . ข้อใดเขียนในรู ปทศนิยมได้ถกู ต้อง
ง. (18 ÷ 3) × 3 = 24 4
ก.
5
5
ข.
. จํานวนใดมีค่าน้อยทีสุด 6
5 12
ก. ค.
4 6
6 14
ข. ง.
5 7
12
ค.
10 1 1
30 . 3 + มีค่าเท่ากับข้อใด
ง. 4 3
25
7
ก.
6
8
ข.
6
9
ค.
6
10
ง.
6
177

5 1 . (34.23 + 3.78) – (2.7 × 3.5) มีค่าเท่ากับข้อใด


. - มีค่าเท่ากับข้อใด
8 2 ก. .
1 ข. .
ก.
2 ค. .
1
ข. ง. .
4
1
ค.
6 2
1 . เขียนเป็ นทศนิยมซํา ข้อใดถูกต้อง
ง. 3
8 ก. .
ข. .
4 2 ค. .
. × มีค่าตรงกับข้อใด
7 5 ง. 0.6
6
ก.
35
8 5
ข. . มีค่าเท่ากับข้อใด
35 6
14 ก. 0.8
ค. ข. .
35
20 ค. 0.83
ง. ง. 0.8383
35

. จํานวนในข้อใด มีค่ามากทีสุด
ก. .
ข. .
ค. .
ง. .
178

21. ก. 

ข. . 

ค. 

ง. . 

ข้อใดคือเศษส่วนแทนภาพทีกําหนดให้
1 . อัตราส่วนอายุของสมร กับ ศักดิ เป็ น :
ก.
2 ถ้าศักดิอายุ ปี สองคนนี มีอายุห่างกันกีปี
1 ก.
ข.
3
ข.
1
ค. ค.
4
2 ง.
ง.
3
. ทีมารู ปสีเหลียมผืนผ้ามีพนที
ื งาน
. ข้อใดถูกต้อง ตารางเมตร กว้าง เมตร ทีดินแปลงนี
1 ยาวกีเมตร
ก. 3.08 > 3
2 ก.
3 ข. .
ข. 2 = 2.75
4
ค. .
1 3
ค. 1 < ง.
2 4
ง. . < 3.08

23. กําหนด a = 3, b = – 6, c = 5
ค่าของ (a - b) + c เท่ากับเท่าไร
ก. 2
ข. 4
ค. 8
ง. 14
24. (252 – ) เท่ากับเท่าไร
179

. . กําหนดข้อมูล , , , , ข้อใดถูกต้อง
ก. ฐานนิยม = ค่าเฉลีย
ข. ค่าเฉลีย > ค่ามัธยฐาน
10
ค. ฐานนิยม > ค่าเฉลีย
ง. มัธยฐาน = ค่าเฉลีย
ถ้าถังใบหนึงมีเส้นผ่าศูนย์กลางยาว เมตร มี
1 . ทอดลูกเต๋ า ลูกพร้อมกัน
ความสูง เมตร บรรจุ ของถัง นําในถัง
3 ความน่าจะเป็ นทีจะทอดได้แต้มรวมกันเป็ น
มีประมาณกีลูกบาศก์เมตร คือข้อใด
ก. 1
ก.
ข. 6
ค. 2
ข.
ง. , 3
5
ค.
36
. กําหนดข้อมูล , , , และ
7
ค่าเฉลียเลขคณิตของข้อมูลชุดนี ง.
36
มีค่าตรงกับข้อใด
ก.
ข.
ค. .
ง.
180

ภาคผนวก
181

เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรียน

.ก .ค .ก .ง .ข
.ค .ค .ง .ข .ค
.ก .ข .ข .ก .ก
.ข .ก .ค .ง .ค
21. ค .ค . ค. . ข. .ข
.ง .ข .ข . ค. .ข

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

.ก .ค .ก .ง .ข
.ค .ค .ง .ข .ค
.ก .ข .ข .ก .ก
.ข .ก .ค .ง .ค
21. ง .ข .ง . ข. .ค
.ง .ข .ค . ค. .ค
182

เฉลย กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
1. จงเลือกจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และจํานวนเต็มจากจํานวนต่อไปนี
0, 6 , -1, , 10 , -3, 4, 7 – 10, 300 , - 750
3 2 600 250

จํานวนเต็มบวก ประกอบด้วย 6 , 3, 4, 10 , 7, 300


3 2 600
จํานวนเต็มลบ ประกอบด้วย -1, -3, -10, - 750
250
จํานวนเต็ม ประกอบด้วย 6 , 3, 4, 10 , 7, 300 , 0, -1, -3, -10, - 750
3 2 600 250
2. จงเติมเครื องหมาย < หรื อ > เพือให้ประโยคต่อไปนี เป็ นจริ ง
1) -6 < 4
2) -5 < -4
3) -4 > -7
4) 2 > -4
5) 8 > 3
3. จงเรี ยงลําดับจํานวนเต็มจากน้อยไปหามาก
1) -7, 2, 0, -3, 4, -5, 6, -12, 20
-12, -7, -5, -3, 0, 2, 4, 6, 20
2) 13, -4, 9, 5, -12, 7, 4
-12, -4, 4, 5, 7, 9, 13

แบบฝึ กหัดที
. จงแสดงการหาผลบวกของสองจํานวนทีกําหนดให้
. 24 + 3
24 + 3 = 27
. (-25) + (- 0)
(-25) + (- 0) = -45
. 34 + 78
34 + 78 = 82
183

. (-38) + (-30)
(-38) + (-30) = -68
. 4 + (-20)
4 + (-20) = 25
. (-24) + 9
(-24) + 9 = 35
. (-18) + 20
(-18) + 20 = 2
. 2 + (-14)
2 + (-14) = -12

แบบฝึ กหัดที
1. จงทําให้เป็ นผลสําเร็ จ

. - . (-12) – 14
วิธีทาํ - = + (-9) วิธีทาํ (-12) – 14 = (-12) + (-14)
=7 = -26

. (-16) – (-9) . [10 – (-3)] – 4


วิธีทาํ (-16) – (-9) = (-16) + 9 วิธีทาํ [10 – (-3)] – 4 = 10 + 3 + (-4)
= -7 = 13 + (-4)
=9
. 21 – (-8)
วิธีทาํ 21 – (-8) = 21 + 8
= 29
184

. จงหาค่าของ a – b และ b – a เมือกําหนด a และ b ดังต่อไปนี

. a = 7, b = (-5)
วิธีทาํ a – b = 7 – (-5) b – a = (-5) – 7
=7+5 = (-5) + (-7)
= 12 = -12
. a = (-16), b = (-8)
วิธีทาํ a – b = (-16) – (-8) b – a = (-8) – (-16)
= (-16) + 8 = (-8) + 16
= -8 =8
3. a = (-7), b = (-5)
วิธีทาํ a – b = (-7) – (-5) b – a = (-5) – (-7)
= (-7) + 5 = (-5) + 7
= -2 =2

แบบฝึ กหัดที
จงหาผลลัพธ์
). [(-5)  (-3)]  (-4)
วิธีทาํ [(-5)  (-3)]  (-4) = 15  (-4)
= -60
2). (-4)  [(-7)  (-3)]
วิธีทาํ (-4)  [(-7)  (-3)] = (4)  21
= 84
3). [2  (-4)]  (-2)
วิธีทาํ [2  (-4)]  (-2) = (-8)  (-2)
= 16
4). 5  [(5)  (2)]
วิธีทาํ 5  [(5)  (2) ] = 5  10
= 50
185

5). [(-8)  (-5)] + [(-4)  (-5)]


วิธีทาํ [(-8)  (-5)] + [(-4)  (-5)] = 40 + 20
= 60
แบบฝึ กหัดที
. จงหาผลหาร
. 2 2 . (-64)  8
วิธีทาํ 2  2 = 1 วิธีทาํ (-64)  8 = -8
. (- 0)  (- 0) 5. [(-21)  (-3)]  [18 (-3)]
วิธีทาํ (- 0)  (- 0) = 1 วิธีทาํ [(-21)  (-3)]  [18 (-3)] = 7  (-6)
= 1 1
6
. 8  (-2)
วิธีทาํ 8  (-2) = -9

เฉลยกิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
. จงวาดภาพแสดงเศษส่วนทีกําหนดให้
.)
3
4

.)
1
3

. จงเขียนเศษส่วนในรู ปทศนิยม และเขียนทศนิยมในรู ปเศษส่วน


.)
6 = 0.3
20
.)
12 = 0.3
40
186

.) . =
15 หรื อ 3
100 20
. ) 0.75 =
68
90
. ) 1.256 =
1244
990
3. จงเติมเครื องหมาย >, < หรื อ = ลงในช่อง

.)
2 5
4 8
.) 1
1 3
2 4
. )   5   1
 
 6  2

.)
4 .
18
.) .
58
100
.) (- . ) (- . )

4. จงหาผลลัพธ์
6 1 1
.) 1 = 2
8 2 4
1
.)  3
 
 1
= 1
 4 2 4
1
4.3) 3 4 1
   = 1
4 5 2 20
1 5 3
4. ) 3  = 2
2 8 16
 15
4. ) 5 4  3
    =
8 2  4 16
5
4. )  1 1 2
3    = 2
 2 4 6 8
4. )  0.7212.6 0.12 = ( . )
4. ) [0.35  12.6]  0.015 = 294
187

5. จงแก้โจทย์ปัญหา
. ) เชือกเส้นหนึงยาว . เมตร เส้นทีสองยาว . เมตร นํามาผูกต่อกันโดยจะเสียความ
ยาวในการผูกปมไป . เมตรเชือกทีต่อกันจะยาวกีเมตร
( . เมตร)
2
. ) โรงเรี ยนแห่งหนึงมีนกั เรี ยนทังหมด , คน เป็ นชาย ของนักเรี ยนทังหมด จงหาว่ามี
5
นักเรี ยนหญิงมากกว่านักเรี ยยนชายกีคน
( คน)

เฉลยกิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
. จงทําเครื องหมาย  หน้าข้อความทีถูกต้อง และ  หน้าข้อความทีไม่ถกู ต้อง
 . ) อ่านว่า สามกําลังห้า
 . ) มีค่าเท่ากับ × 4
 . ) (-2) × (-2) × (-2) × (-2) = (-2)4
 .4) (-3)6 = 36
 .5) 5 + 5 + 5 + 5 เท่ากับ

. จงเขียนจํานวนต่อไปนีในรู ปเลขยกกําลังทีมีเลขชีกําลังมากกว่า
.) = 53
2.2) = 63
2.3) 0.0144 = (0.12)2
2.4) 81 = 34 หรื อ
.) - = (-3)3 หรื อ -33
. จงหาว่าสัญลักษณ์ต่อไปนี แทนจํานวนใด
. ) (- ) = 81
188

2
3 8
3.2)   =
5 125
3.3) -44 = -256
3.4) (0.4)3 = 0.064
3.5) (-6)3 = -216

4. จงหาผลลัพธ์
.) × = 39
3 -2
4.2)  1  ×  1  = 1
 
2 2 2
4.3) (-3)4 × 35 = 39
4.4) (0.2)4 × (0.2)-3 × (0.2)2 = (0.2)3
4.5) 5-3  52 = 5-5 =
1
55

5. จงเขียนจํานวนต่อไปนีในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
. ) 12,000,000 = 1.2 × 107
5.2) 450 × 108 = 4.5 × 1010
5.3) 0.00045 = 4.5 × 10-4
5.4) 0.25 × 10-3 = 2.5 × 10-4
5.5) 6,275 × 105 = 6.275 × 108

6. จํานวนทีกําหนดให้แทนจํานวนใด
. ) 4 × 10 = 4,000
6.2) 1.6 × 10-7 = 0.00000016
6
6.3) 7.005 × 10 = 7,005,000
6.4) 0.00027 × 1010 = 2,700,000
6.5) 60 × 103 × 2 × 10-4 = 12
7. ประเทศอินโดนีเซียผลิตข้าวได้ปีละประมาณ × 10 ตัน ประเทศไทยผลิตข้าวได้ปีละประมาณ
20.26 × 10 ตัน อินโดนีเซียผลิตข้าวได้มากกว่าไทยปี ละเท่าไร (ตอบในรู ปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์)
วิธีทาํ อินโดนีเซียผลิตได้ 355 × 10 ตัน
ไทยผลิตได้ 20.26 × 10 ตัน
189

อินโดนีเซียผลิตข้าวได้มากกว่าไทยปี ละ ( 5 × 10 ) – (20.26 × 10 )
(355 × 10 ) – (20.26 × 10 ) = ( .5 × 106) – (20.26 × 10 )
= ( - 20.26) × 10
= 15.24 × 10
= 1.52 × 107

เฉลย กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
. จงเขียนอัตราส่ วนจากข้อความต่อไปนี
. เซนติเมตร : กิโลเมตร
. กิโลเมตร : 3 ชัวโมง
. : ,
. ครัง : นาที

. สลากกินแบ่งรัฐบาลแต่ละงวดเป็ นเลข หลัก เช่น ซึงมีหมายเลขต่างกันทังหมด , ,


ฉบับ ในจํานวนทังหมดนี มีสลากทีถูกรางวัลเลขท้าย ตัวทังหมด , ฉบับ ถูกรางวัลเลขท้าย
ตัว , ฉบับ และถูกรางวัลที อีก ฉบับ
. : 1,000,000
. 4, : , ,
. , : , ,
. , : ,

. พ่อค้าจัดลูกกวาดคละสีขนาดเท่ากันลงในขวดโหลเดียวกัน โดยนับเป็ นชุดดังนี “ลูกกวาดสีแดง เม็ด


สีเขียว เม็ด สีเหลือง เม็ด” จงหา
. 3: 10
3.2 3: 5
3.3 สีเหลืองเพราะมีจาํ นวนมากทีสุด ดังนันโอกาสทีจะหยิบได้สีเหลืองจึงมีมาก

แบบฝึ กหัดที
. ถ้าอัตราการแลกเปลียนเงินดอลลาร์ต่อเงินหนึงบาทเท่ากับ : 43 จงเติมราคาเงินในตาราง
เงินดอลลาร์ (US)
190

งานบาท 43 86 129 430 860

. จงเขียนอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนทีกําหนดให้ต่อไปนี มาอีก อัตราส่วน


4 6 8
. , ,
6 9 12
10 15 20
2.2 , ,
18 27 36
. จงตรวจสอบว่าอัตราส่วนต่อไปนีเท่ากันหรื อไม่
อัตราส่วนทีกําหนดให้ พิจารณาการคูณไขว้ ผลการตรวจสอบ
5 10 5  12 = 10  6 5 10
) กับ =
6 12 เพราะ = 60 6 12
3 4 3 5  4  4 3 4
) กับ 
4 5 เพราะ  16 4 5
6 7 6 9 = 8  7 6 7
) กับ 
8 9 เพราะ  56 8 9
12 18 12  15 = 18  10 12 18
) กับ =
10 15 = 180 10 15
0.3 6 0.3  200 = 6  10 0.3 6
) กับ =
10 200 = 60 10 200

. จงทําให้อตั ราส่วนต่อไปนี มีหน่วยเดียวกันและอยูใ่ นรู ปอย่างง่าย


. x 24 : 10 หรื อ : 10 หรื อ : 5
4.2 200 : 1.5 x 1,000 เมตร หรื อ : 1,500

แบบฝึ กหัดที
. พ่อแบ่งเงินให้ลกู สามคนโดยกําหนด
อัตราส่วนของจํานวนเงินลูกคนโต ต่อคนกลาง ต่อคนเล็กเป็ น 5 : 3 : 2 จงหาอัตราส่วนต่อไปนี
1.1 5 : 2
1.2 2 : 3
1.3 3 : 10
1.4 2 : 10
191

. เศรษฐีคนหนึงได้เขียนพินยั กรรมไว้ก่อนจะเสียชีวิตว่า ถ้าภรรยาทีกําลังตังครรภ์คลอดลูกเป็ นชายให้


แบ่งเงินในพินยั กรรมเป็ นอัตราส่วนเงินของภรรยาต่อบุตรชายเป็ น : แต่ถา้ คลอดลูกเป็ นหญิงให้
แบ่งเงินในพินยั กรรมเป็ นอัตราส่วนเงินของภรรยาต่อบุตรหญิงเป็ น 2 : 1 เมือเศรษฐีคนนี เสียชีวิตลง
ปรากฏว่าภรรยาคลอดลูกแฝด เป็ นชาย คน หญิง คน จงหาอัตราส่วนของเงินในพินยั กรรมของ
ภรรยาต่อบุตรชาย ต่อบุตรหญิง
ตอบ อัตราส่วนเงินของภรรยาต่อเงินของบุตรชาย เป็ น 1 : 2
อัตราส่วนเงินของภรรยาต่อเงินของบุตรหญิง เป็ น : 1
เมือเศรษฐีเสียชีวิตลงภรรยาคลอดลูกเป็ นฝาแฝด ชาย คน หญิง คน ต้องแบ่งพินยั กรรมเป็ น สามส่วน
คือ
อัตราส่วนเงินของภรรยาต่อเงินของบุตรชาย เป็ น : 2 = 2: 4
อัตราส่วนเงินของภรรยาต่อเงินของบุตรหญิง เป็ น : 1
นันคือ อัตราส่วนเงินของภรรยาต่อเงินของบุตรชายต่อบุตรหญิงเป็ น :4 : 1

แบบฝึ กหัดที
. จงเขียนสัดส่วนจากอัตราส่วนต่อไปนี
3 6
. 
4 8
A 9
. 
7 27
12 B
. 
10 5
5 65
. 
4 D

. จงหาค่าตัวแปรจากสัดส่วนทีกําหนดให้ต่อไปนี
A 12
. 
3 15
12
วิธีทาํ A 3
15
192

= 2.4
3 21
2.2 
B 28
28
วิธีทาํ B  3
21
=4

แบบฝึ กหัดที
. ขายมะละกอ ผล ราคา บาท ถ้าขาย มะละกอ ผล จะได้เงินเท่าไร
วิธีทํา ขายมะละกอ ผล ราคา บาท
ขายมะละกอ ผล ราคา x บาท
3 15
จะได้ 
50 x
15  50
x
3
x = 250

. กศน.แห่งหนึงมีนกั ศึกษาทังหมด คน มีจาํ นวนนักศึกษาหญิงต่อจํานวนนักศึกษาชาย เป็ น 5: 3


จงหาว่า มีนกั ศึกษาชายกีคนและนักศึกษาหญิงกีคน
วิธีทํา กศน. แห่งหนึงมีนกั ศึกษาทังหมด คน
มีจาํ นวนนักศึกษาหญิงต่อจํานวนนักศึกษาชาย เป็ น 5: 3
ดังนันถ้าแบ่งนักศึกษา กศน.ทังหมดออกเป็ น + = 8 ส่วน
400
จะได้นกั ศึกษา กศน. ส่วนละ  = คน
8
ฉะนัน มีนกั ศึกษาชาย อยู่ ส่วน เป็ น × = 150 คน
มีนกั ศึกษาหญิงอยู่ ส่วน เป็ น × = 250 คน

3. พ่อแบ่งมรดกให้ลกู สองคน โดยอัตราส่วนของส่วนแบ่งของลูกคนโตต่อส่วนแบ่งลูกคนเล็ก


เป็ น : 3 ถ้าลูกคนโตได้เงินมากกว่าลูกคนเล็ก , บาท จงหาส่วนแบ่งทีแต่ละคนได้รับ
วิธีทํา อัตราส่วนของส่วนแบ่งของลูกคนโตต่อส่วนแบ่งลูกคนเล็ก เป็ น : 3
ดังนัน พ่อแบ่งเงินทังหมดเป็ น ส่วน
ลูกคนโตมีเงินมากกว่าลูกคนเล็ก ส่วน เป็ นเงิน , บาท
193

80,000
ดังนัน เงิน ส่วน เป็ นเงิน  20,000 บาท
4
สรุ ปได้ว่า ลูกคนโตได้รับเงินมรดก ส่วน เป็ นเงิน x 20,000 = 140,000 บาท
ลูกคนเล็กได้รับเงินมรดก ส่วน เป็ นเงิน x 20,000 = 60,000 บาท

แบบฝึ กหัดที
.
.
. %
. %
.
. .

แบบฝึ กหัดที
. คน
. . , คน
. คน
. วิธีทาํ สินค้าทุกชนิดลดราคา %
คุณแม่ซือเครื องแก้วแล้วได้ส่วนลด บาท
100
ดังนันร้านค้าปิ ดราคา 250   , บาท
20
4. วิธีทาํ สนามหญ้าแห่งหนึงกว้าง เซนติเมตร ยาว เซนติเมตร
มาตราส่วน เซนติเมตร : เมตร
ดังนันสนามหญ้าจริ งกว้าง เมตร ยาว เมตร
หาพืนทีสีเหลียมผืนผ้า จะได้ × 400 = 100,000 ตารางเมตร
. วิธีทาํ นกน้อยได้อตั ราดอกเบียร้อยละ ต่อปี แต่ถกู หักภาษีร้อยละ คิดเป็ น 15
 3  0.45
100
เท่ากับดอกเบียทีถูกหักภาษีแล้ว – . = .
นกน้อยฝากเงิน , บาท สิ นปี จะได้ดอกเบียทีถูกหักภาษี ร้อยละ .
194

2.55
คิดเป็ น 10,000  255 บาท
100
รวมมีเงินบัญชี , + = 10,225 บาทในต้นปี ทีสอง
สิ นปี ทีสองจะได้ดอกเบียร้อยละ . ของเงินฝากปี ทีสอง = 2.55
 10,255  261.50 บาท
100
ครบสองปี จะมีเงินในบัญชี , + . = , . บาท

. วิธีทาํ วีระซือรถยนต์ ราคา , บาท


20
ขายต่อได้กาํ ไร % เป็ นเงิน  200,000  40,000 บาท
100
วีระมีเงินทังหมด , บาท
20
วีระเอาเงินไปเล่นหุน้ ขาดทุน % เป็ นเงิน  240,000  48,000 บาท
100
ดังนันวีระเหลือเงิน , - , = , บาท

เฉลย กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
1. จงเติมหน่วยความยาวหรื อหน่วยพืนทีให้เหมาะสมกับข้อความต่อไปนี
1) มิลลิเมตร
) กิโลเมตร
) เมตร, เมตร, กิโลเมตร
) ตารางเมตร
) เมตร
2. จงเติมคําลงในช่องว่างทีกําหนดให้ถกู ต้อง
1) 170,000
) ไร่ งาน ตารางวา
)
)
) , , และ , ,
3. จงตอบคําถามต่อไปนี พร้อมแสดงวิธีทาํ
195

1) สวนแห่งหนึงมีพนที
ื 4,800 ตารางเมตร คิดเป็ นพืนทีกีไร่
วิธีทํา พืนที , ตารางเมตร เท่ากับ ไร่
4,800
พืนที , ตารางเมตร เท่ากับ 3 ไร่
1,600
) ลุงแดงแบ่งทีดินให้ลกู ชาย 3 คน โดยแบ่งให้ลกู ชายคนโตได้ 2 ไร่ ลูกชายคนกลาง 850
ตารางวา และลูกชายคนเล็กได้ 3,000 ตารางเมตร อยากทราบว่าใครได้ส่วนแบ่งทีดินมากทีสุด
วิธีทํา คนโตได้ ไร่ คิดเป็ น x 1,600 = 3,200 ตารางเมตร
คนทีสองได้ ตารางวา คิดเป็ น x = 3,400 ตารางเมตร
คนเล็กได้ , ตารางเมตร
แสดงว่า คนกลางได้มากทีสุด
3) สมเกียรติซือโลหะแผ่นชนิดหนึง 3 ตารางเมตร ราคา 456 บาท สมนึกซือโลหะแผ่นชนิด
เดียวกัน 4 ตารางหลา ราคา 567 บาท อยากทราบว่าใครซือได้ถกู กว่ากัน ตารางเมตรละกีบาท (กําหนด 1
หลา = 90 เซนติเมตร)
วิธีทํา หลา = เซนติเมตร
ตารางหลา = x 90 ตารางเซนติเมตร
ตารางหลา = x 90 x 4 ตารางเซนติเมตร
x ตารางเซนติเมตร = ตารางเมตร
90 x90 x 4
ดังนัน x 90 x 4 ตารางเซนติเมตร =  3.24 ตารางเมตร
100 x100

567
ดังนัน สมนึกซือโลหะแผ่น ราคา บาท คิดเป็ นราคาตารางเมตรละ  175 บาท
3.24
456
สมเกียรติซือโลหะแผ่นราคา บาท คิดเป็ นราคาตารางเมตรละ  152 บาท
3
ดังนัน สมเกียรติซือได้ในราคาทีถูกกว่า

แบบฝึ กหัดที 2
.จงเติมหน่วยการวัดทีเหมาะสมลงในช่องว่าง
. เมตร
. มิลลิเมตร
. กิโลเมตร
. กิโลกรัม
. วินาที
196

. องศาเซลเซียส
. ไร่ – งาน – ตารางวา
. ลูกบาศก์เซนติเมตร หรื อ ลิตร
. เซนติเมตร
. กิโลกรัม

แบบฝึ กหัดที 3
1. จงหาพืนทีส่วนทีแรเงาของรู ปต่อไปนี ตัวเลขทีเขียนกํากับด้านไว้ถือเป็ นความยาวของด้าน และมี
หน่วยเป็ นหน่วยความยาว

1 1
.  20 15  150 ตารางหน่วย .  10  5  25 ตารางหน่วย
2 2

แบบฝึ กหัดที 4
1.1 พืนทีรู ปสีเหลียมจัตุรัส = ด้าน x ด้าน = 8 x 8 = 64 ตารางเซนติเมตร
1.2 พืนทีรู ปสีเหลียมผืนผ้า = กว้าง x ยาว = 4 x 7 = 28 ตารางเซนติเมตร
1.3 พืนทีสีเหลียมด้านขนาน = ฐาน x สูง = x = ตารางเมตร
1 1
1.4 พืนทีสีเหลียมคางหมู = x ผลบวกด้านคู่ขนาน x สูง = x5  11x 6  48 ตารางเมตร
2 2
1.5 พืนทีรู ปสีเหลียมขนมเปี ยกปูน = 1 x ผลคูณของเส้นทแยงมุม = 1 x12 x8  48 ตารางเมตร
2 2
1.6 พืนทีรู ปสีเหลียมรู ปว่าว = 1 x ผลคูณของเส้นทแยงมุม = 1 x8 x10  40 ตารางเมตร
2 2
197

1.7 พืนทีรู ปสีเหลียมใดๆ = 1 x เส้นทแยงมุม x ผลบวกของเส้นกิง = 1


x10 x5  7  60
2 2
ตารางเมตร

. จงหาพืนทีส่วนทีแรงเงา ตัวเลขทีเขียนกํากับไว้ถือว่าเป็ นความยาวของด้านและมีหน่วยความยาวเป็ น


เมตร

1
วิธีทาํ พืนทีสามเหลียมรู ปเล็ก = x 4 x 4  8 ตารางเมตร
2
1
พืนทีสามเหลียมรู ปใหญ่ = x8 x6  24 ตารางเมตร
2
จะเห็นว่าพืนทีส่วนทีแรเงามีพนที
ื เท่ากับ – = 16 ตารางเมตร

แบบฝึ กหัดที 5
1. จงหาพืนทีส่ วนทีแรเงา ตัวเลขทีเขียนกํากับด้ านมีหน่ วยเป็ นเซนติเมตร และจุด O, Q แทนจุด
ศูนย์กลางของวงกลม
.
198

1
วิธีทาํ พืนทีสามเหลียม รู ป =  8  3  12
2
1 1
พืนทีสีเหลียม รู ป (รู ปสีเหลียมคางหมู) =  10  8   10  8  40
2 2
ดังนัน พืนทีทีแรเงาทังหมด = + = ตารางหน่วย

22
วิธีทํา พืนทีวงกลม = x3.5 x3.5
7
พืนทีทีแรเงาทังหมด = . ตารางหน่วย

.
199

22
วิธีทํา พืนทีวงกลม = x7 x 7  154
7
พืนทีสีเหลียม = x 14 = 196
พืนทีทีแรเงาทังหมด = – = 42 ตารางหน่วย

1.4
1 1
2.5

6 2

2.5

วิธีทํา พืนทีสามเหลียมรู ปที = 1x6=6


พืนทีสามเหลียมรู ปที = 2x1=2
พืนทีสามเหลียมรู ปที = 1x6=6
ดังนันพืนทีแรเงาทังหมด = 6+2+6 = 14 ตารางหน่วย

1.5
200

วิธีทํา พืนทีสีเหลียมรู ปที = 4 x 5 = 20


1
พืนทีสามเหลียมรู ปที = x 4 x3  6
2
ดังนัน พืนทีทังหมด = 20 + 6 = 26 ตารางหน่วย

แบบฝึ กหัดที 6
1. แผนผังบ้านหลังหนึงมีลกั ษณะและขนาดดังรู ป ถ้าบริ เวณทีแรเงาต้องการเทปูนซีเมนต์ โดยเสีย
ค่าใช้จ่ายตารางเมตรละ บาท จะต้องเสียค่าใช้จ่ายทังหมดกีบาท กําหนดความยาวมีหน่วยเป็ น
เซนติเมตร

วิธีทาํ พืนทีสีเหลียมรู ปที = 1x2 = 2 ตารางเมตร


พืนทีสีเหลียมรู ปที = 1x3 = 3 ตารางเมตร
พืนทีสีเหลียมรู ปที = 1.5 x 2 = 3 ตารางเมตร
ดังนันพืนทีส่วนทีแรเงา = 2+3+3 = 8 ตารางเมตร
ต้องการเทปูนซีเมนต์โดยเสียค่าใช้จ่ายตารางเมตรละ บาท
จะต้องเสียค่าใช้จ่ายทังหมด = 250 x 8 = 2,000 บาท

แบบฝึ กหัดที 7
. จงคาดคะเนเวลาหรื อช่วงเวลาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่อไปนี
1.1 5.00 นาฬิกา
. . นาฬิกา
. หนาว , ธันวาคม
. จงวงกลมล้อมรอบข้อทีเหมาะสมทีสุด สําหรับใช้หน่วยในการคาดคะเน ระยะทาง นําหนัก หรื อ
201

ขนาดของสิ งต่อไปนี
. ข
. ข
.
2.3.1 ค
.. ก
.. ข

. ทางหลวงสายพหลโยธินกรุ งเทพฯ-แม่สาย ยาว กิโลเมตร รถประจําทางปรับอากาศวิงบนทาง


หลวงสายนี ตลอดเส้นทางด้วยอัตราเร็ ว - กิโลเมตรต่อชัวโมง
. – ชัวโมง
. . – . น.
. . – . น.
. ลิฟต์ของโรงแรมแห่งหนึงบรรทุกผูโ้ ดยสายได้เทียวละไม่เกิน คน ( กิโลกรัม) บางครังมี
ผูโ้ ดยสารเข้าลิฟต์เพียง คน ลิฟต์จะมีเสียงเตือน บางครังมีผโู้ ดยสาร คน ลิฟต์ไม่มีเสียงเตือนยังใช้
งานได้เป็ นเพราะเหตุใด จงอธิบาย
ตอบ ถ้านําหนักของคน คน รวมกันเกิน กิโลกรัม
ถ้านําหนักของคน คน รวมกันไม่เกิน กิโลกรัม

เฉลย กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
. จงหาพืนทีผิวและปริ มาตรของปริ ซึมต่อไปนี

วิธีทาํ ปริ มาตร = พืนทีฐาน x สูง


1 
=  x8 x3  x5 = 60 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2 
202

วิธีทาํ ปริ มาตร = พืนทีฐาน x สูง


1 
=  x12 x 2  x 4 = 48 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2 
แบบฝึ กหัดที
1. จงหาปริ มาตร และพืนทีผิวทังหมดของทรงกระบอกสูง เซนติเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง
เซนติเมตร
วิธีทาํ ปริ มาตร = ¶r2 h
22
= x 7 x 7 x10  1,540 ลูกบาศก์เซนติเมตร
7
พืนทีฐาน = ¶r2
22
= x7 x 7  154 ตารางเซนติเมตร
7
พืนทีผิวข้าง = 2¶rh
22
= 2x x 7 x10  440 ตารางเซนติเมตร
7
ดังนันพืนทีผิวทังหมด คือ +( x 2) = 748 ตารางเซนติเมตร

. จงหาปริ มาตรของทรงกระบอกใบหนึงทีมีรัศมีของฐาน . นิ ว และสูง นิ ว


วิธีทาํ ปริ มาตร = ¶r2 h
22
= x3.5 x3.5 x5  192.5 ลูกบาศก์นิว
7

แบบฝึ กหัดที
1. จงหาปริ มาตรและพืนทีผิวทังหมดของพีระมิดทีสูง เซนติเมตร ฐานเป็ นรู ปสีเหลียมจัตุรัส ยาวด้านละ
เซนติเมตร
วิธีทาํ หาสูงเอียง จากสูตร c2  a2  b2
c 2  82  6 2
203

C = 10
พืนทีฐานสีเหลียมจัตุรัส = 16 x 16 = 256 ตารางเซนติเมตร
1
ปริ มาตรพีระมิด = x พืนทีฐาน x สูง
3
1
= x 256 x 6 = 512 ตารางเซนติเมตร
3
1
พืนทีผิวเอียง = x 4 x16 x10 = ตารางเซนติเมตร
2
ดังนันพืนทีผิวทังหมด = 256 + 320 = ตารางเซนติเมตร

. จงหาพืนทีผิวเอียงของพีระมิดฐานรู ปหกเหลียมด้านเท่า มุมเท่า ยาวด้านละ เซนติเมตร สูงเอียง .


เซนติเมตร
1
วิธีทาํ พืนทีผิวเอียง = x ความยาวรอบฐาน x สูงเอียง
2
1
= x (4 x 6) x 7.5
2
= 2 x 6 x 7.5 = 90 ตารางเซนติเมตร

แบบฝึ กหัดที
1. จงหาปริ มาตร และพืนทีผิวทังหมดของกรวยกลมทีสูง เซนติเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง
เซนติเมตร
1 2
วิธีทาํ ปริ มาตร = ¶r h
3
1 22
= x x7 x 7 x 24
3 7
= 1,232 ลูกบาศก์เซนติเมตร
สูงเอียง = A2  242  7 2 = 625
A = 25
204

พืนทีฐาน = ¶r2
22
= x7 x 7  154 ตารางเซนติเมตร
7
พืนทีผิวเอียง = ¶rl
22
= x 7 x 25  550 ตารางเซนติเมตร
7
ดังนันพืนทีผิวทังหมด = 154 + 550 = 704 ตารางเซนติเมตร

. จงหาปริ มาตรและพืนทีผิวทังหมดของกรวยกลมทีสูงเอียง เซนติเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง


เซนติเมตร (ตอบในรู ป )
วิธีทาํ หาสูงตรง c2  a 2  b2
a 2  52  4 2
a =3
1 2
ปริ มาตร = ¶r h
3
1 2
= 4 x3 = 16 ¶ ลูกบาศก์เซนติเมตร
3

พืนทีผิวเอียง = ¶rl
= ¶ (4)(5) = 20 ¶ ตารางเซนติเมตร
พืนทีฐาน = ¶r2
= ¶ 42 = 16 ¶ ตารางเซนติเมตร
พืนทีผิวทังหมด = 20 ¶ + 16¶ = 36¶ ตารางเซนติเมตร

แบบฝึ กหัดที
1. จงหาปริ มาตรและพืนทีผิวของทรงกลมซึงมีเส้นผ่านศูนย์กลาง เซนติเมตร
4 3
วิธีทาํ ปริ มาตรทรงกลม = ¶r
3
4 22
=  777 = 1,437.3 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3 7
พืนทีผิวทรงกลม = 4¶ r 2
22
= 4x x7 x7 = ตารางเซนติเมตร
7
205

. ทรงกลมมีปริ มาตร , ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหารัศมีและพืนทีผิว


4 3
วิธีทาํ ปริ มาตรทรงกลม = ¶r
3
4 22 3
, = x xr
3 7
38,808  3  7
r3 =
4  22
r = 21 เซนติเมตร
พืนทีผิวทรงกลม = 4¶ r 2
22
= 4x x 21x 21 = 5,544 ตารางเซนติเมตร
7

. ทรงกลมมีพนที
ื ผิว ตารางนิ ว จงหาปริ มาตรของทรงกลม
วิธีทาํ พืนทีผิวทรงกลม = 4¶ r 2
22
616 = 4  r2
7
r2 = 616  1  7
4 22
r = 7 เซนติเมตร
4 3
ปริ มาตรทรงกลม = ¶r
3
= 4 22
 777
3 7
= 1,437.33 ลูกบาศก์เซนติเมตร

. โลหะกลมลูกหนึง รัศมีภายนอก เซนติเมตร รัศมีภายใน เซนติเมตร จงหาปริ มาตรเนือโลหะ


4 3
วิธีทาํ ปริ มาตรทรงกลมรู ปนอก = ¶r
3
= 4 22
  21 21 21
3 7
= 38,808 ลูกบาศก์เซนติเมตร
4
ปริ มาตรทรงกลมรู ปใน = ¶ r3
3
= 4 22
 777
3 7
206

= 1,437.33 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ดังนันปริ มาตรเนื อโลหะ = 38,808 - 1,437.33 = 37,370.67

เฉลย กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
1. จงเขียนคู่อนั ดับจากแผนภาพทีกําหนดให้ต่อไปนี
. ( ,- ), ( ,- ), ( ,- ), ( ,- )
. (1,c), (2,b), (3,a) , (4,d)
1.3 ( , ), ( ,- ), ( ,- ), ( ,- ),( ,- )
. จงหาค่า x และ y จากเงือนไขทีกําหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี
. x=4 , y=3
2.2 x=y , y=2
2.3 x=6 , y=0
2.4 x=4 , y=4

แบบฝึ กหัดที
1.1 A = ( 1,3) B= (-1,2) C= (-4, -2) D=(1,-1)
1.2 A = ( 0,2) B= (-3,1) C= (4, 0) D=(3,-4)
207

2.1
208

2.2

แบบฝึ กหัดที
กราฟข้างล่างแสดงการเดินทางของอนุวฒั น์และอนุพนั ธ์

3.1 2 ชัวโมง
3.2 ชัวโมง
3.3 กิโลเมตร
3.4 ชัวโมง
3.5 กิโลเมตร
209

เฉลย กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
จงบอกชนิดของรู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีมีรูปคลีดังต่อไปนี

1. พีระมิดฐานสามเหลียม 2. สีเหลียมลูกบาศก์ หรื อทรงสีเหลียมมุม


ฉาก

3. พีระมินฐานหกเหลียม 4. ปริ ซึมห้าเหลียม


2. จงเขียนรู ปคลีของรู ปเรขาคณิตสามมิติในแต่ละข้อต่อไปนี
210

แบบฝึ กหัดที
211

แบบฝึ กหัดที
จงจับคู่ภาพด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน ในแต่ละข้อต่อไปนี กับรู ปเรขาคณิ ตสามมิติทีกําหนดให้
ทางขวามือ โดยเลือกตัวอักษรทีกํากับไว้ในรู ปเรขาคณิ ตสามมิติ เขียนเติมลงในช่องว่างบนขวาของแต่ละ
ข้อ


212

เฉลย แบบฝึ กหัดท้ ายบทที


สถิติ
แบบฝึ กหัดที
ข้ อมูลสถิติ
ข้ อที ข้ อความ
เป็ น ไม่เป็ น
นําหนักของนักเรียนทุกคนทีเรียนชุดการเรียนทางไกล 
สมศรีได้ คะแนน คะแนน 
ในการโยนเหรียญ ครัง เกิดหัว ครัง เกิดก้อย ครัง ได้ 
6
อัตราส่ วนทีจะเกิดหัว 10

คน คน เป็ นชาย คน เป็ นหญิง คน ทีอยู่ในบ้ านวิชัย 


จํานวนคดีอาชญากรรมในปี ซึงรวบรวมมาจากบันทึกคดี 
อาชญากรรมแต่ละวันในแต่ละสถานีตาํ รวจ

. ให้ ผ้เู รียนพิจารณาข้ อมูลในแต่ละข้ อต่อไปนี แล้วเขียนเครืองหมาย  ลงในช่ องทีตรงกับ


ความคิดเห็น
ข้ อมูลสถิติ
ข้ อที ข้ อความ ข้ อมูล ข้ อมูล
คุณภาพ ปริมาณ
สถิตคิ นไข้ แยกตามเชือโรคของโรงพยาบาลแห่ งหนึง 
จํานวนครังของการโทรศัพท์ ทางไกลจากแต่ละเครืองในสํานักงาน 
213

เครือง ในวันหนึง
ผู้จดั การถูกสัมภาษณ์ถึงจํานวนเปอร์ เซ็นต์ของเวลาทํางานทีใช้ ใน 
การประชุม
เครืองสําอางโดยเฉพาะสีของสีทาปาก ซึงแต่ละบริษัทใน 
บริษัท ได้ ระบุว่ามียอดขายมากทีสุ ด

. ให้ ผ้เู รียนพิจารณาข้ อความต่อไปนี แล้วเติมคําตอบลงในช่ องว่างตามความคิดเห็นของผู้เรียนว่าเป็ น


ข้ อมูลปฐมภูมิ หรือทุตยิ ภูมิ
. ทุติยภูมิ
. ปฐมภูมิ
. ทุติยภูมิ
. ปฐมภูมิ
. ทุติยภูมิ

แบบฝึ กหัดที
1. แผนภูมิรูปวงกลมแสดงรายได้ของห้างสรรพสินค้าแห่งหนึงโดยเฉลียต่อวัน จําแนกตามแผนกต่างๆ
214

. น้อยกว่า . %
. รายได้จากแผนกเครื องสําอางน้อยทีสุด คิดเป็ น . % ของรายได้จากแผนกทีรายได้มากทีสุด
. . %
1.4 แผนกเครื องเขียนแบบเรี ยน คิดเป็ น 20.11% ของรายได้ทงหมด

. จากการสอบถามงบประมาณทีแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ได้มาจากการจัดสรรงบประมาณของทาง
โรงเรี ยน เป็ นดังนี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ งบประมาณ จํานวนเปอร์ เซ็นต์ ขนาดของมุมทีจุดศูนย์กลาง
(บาท) ของรูปวงกลม (องศา)
คณิ ตศาสตร์ , 35,000
 100  10.29
35,000
 360  37.06
340,000 340,000
วิทยาศาสตร์ , . .
ภาษาต่างประเทศ , . .
ภาษาไทย , . .
ศิลปะ , . .
215

การงานอาชีพและเทคโนโลยี , . .
สุขศึกษาและพลศึกษา , . .
สังคมศึกษา ศาสนา และ , . .
วัฒนธรรม

. จงเขียนแผนภูมิรูปวงกลมโดยใช้จาํ นวนเปอร์เซ็นต์และขนาดของมุมทีจุดศูนย์กลางของรู ปวงกลมที


คํานวณได้จากตารางข้างต้น
216

4. ให้ ผ้เู รียนพิจารณากราฟเส้ นต่อไปนี

. พ.ศ. , พ.ศ. , พ.ศ.


. พ.ศ. แตกต่างกันประมาณ , ลูกบาศก์เมตร
217

5. ตารางแสดงรายรับ – รายจ่ายของนาย ก ในรอบ 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2546 เป็ นดังนี

จากตารางนําเสนอข้ อมูลด้ วยกราฟเส้ น ได้ ดงั นี

แบบฝึ กหัดที
1. จากข้อมูล 2, 6,1, 5, 13, 6, 16 จงหาค่าเฉลียเลขคณิต ฐานนิยม และมัธยฐาน
ค่าเฉลียเลขคณิต = 7
มัธยฐาน = 4
ฐานนิยม = 6
2. จากข้อมูล 24, 16,18, 36, 7, 28, 6, 36, 12 จงหาค่าเฉลียเลขคณิ ต ฐานนิยม และมัธยฐาน
ค่าเฉลียเลขคณิต = 20.33
มัธยฐาน = 18
ฐานนิยม = 36
3. จากข้อมูล 10.1, 13.8, 15.6, 4.5, 18.6, 8.4 จงหาค่าเฉลียเลขคณิ ต ฐานนิยม และมัธยฐาน
ค่าเฉลียเลขคณิต = 11.83
มัธยฐาน = 11.95
ฐานนิยม = -
218

เฉลย กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
1. ตอบ กล่องทีสาม เพราะในกล่องทีสามมีลกู แก้วสีแดงมากกว่าสีนาเงิํ น ดังนันโอกาสทีจะจับ
ได้ลกู แก้วสีแดงย่อมมีมากกว่า
. ตอบ กล่งทีสอง เพราะในกล่องทีสองเปป็ นลูกแก้วสีนาเงิ
ํ นทังหมด
. ตอบ กล่องทีสอง เพราะไม่มีลกู แก้วสีแดงเลย
. ตอบ กล่องทีหนึง เพราะในกล่องทีหนึง มีลกู แก้วสีแดงและลูกแก้วสีนาเงิ
ํ นเท่ากัน

แบบฝึ กหัดที
. ให้ผเู้ รี ยนพิจารณาการทดลองสุ่มต่อไปนี ว่าผลจากการทดลองสุ่มอาจเป็ นอย่างไรบ้าง
. อาจได้ หัว หรื อ ก้อย
. อาจได้หวั ทัง เหรี ยญ หรื อได้ หัว และ ก้อย หรื ออาจได้กอ้ ยทังสองเหรี ยญ
1.3 อาจได้ลกู ปิ งปองสีเหลืองสองลูก หรื อสีเหลือง ลูกและสีแดง ลูก

. จงเขียนผลทีอาจจะเกิดขึนได้ทงหมดจากการหมุ
ั นแป้ นวงกลมทีมีหมายเลข และ แล้วมาโยน
เหรี ยญบาท อัน
ตอบ H,1 H,2 T,1 T, 2

. จงเขียนผลทังหมดทีอาจจะเกิดขึนได้จากการหยิบสลาก ใบ จากสลากทีเขียนหมายเลขตังแต่
ถึง ไว้
ตอบ , , , , , , , , , ,

แบบฝึ กหัดที
. ทอดลูกเต๋ า ลูก ครัง
1.1 1, 2, 3, 4, 5,6
1.2 1, 2, 3, 4, 5
1.3 3, 6
219

. ทอดลูกเต๋ า ลูกพร้อมกัน ครัง


2.1 {(1,1),(1,2),(1,3),(1,4),(1,5),(1,6),
(2,1),(2,2),(2,3),(2,4),(2,5),(2,6),
(3,1),(3,2),(3,3),(3,4),(3,5),(3,6),
(4,1),(4,2),(4,3),(4,4),(4,5),(4,6),
(5,1),(5,2),(5,3),(5,4),(5,5),(5,6),
(6,1),(6,2),(6,3),(6,4),(6,5),(6,6)}
2.2 (2,6), (3,5), (4,4), (5,3) (6,2)
2.3 (4,6), (5,5), (5,6), (6,4),(6,5),(6,6)
2.4 (1,1),(1,2), (2,1)
2.5 (1,1), (1,3),(1,5),(2,1),(2,2),(2,4),(2,6), (3,1),(3,3),(3,5),(4,2),(4,4),(4,6),
(5,1),(5,3),(5,5),(6,2),(6,4),(6,6)
2.6 ไม่มี หรื อ เป็ นเหตุการณ์ทีเป็ นไปไม่ได้

3. จากการสอบถามถึงปกรายงานทีผูเ้ รี ยนชอบ สี ในจํานวน สี คือ สีขาว สีฟ้า สีชมพู สีเขียว


และสีเหลือง
3.1 (สีขาว,สีฟ้า), (สีขาว,สีชมพู), (สีขาว,สีเขียว), (สีขาว,สีเหลือง), (สีฟ้า,สีชมพู), (สีฟ้า,
สีเขียว), (สีฟ้า,สีเหลือง), (สีชมพู,สีเขียว), (สีชมพู,สีเหลือง), (สีเขียว,สีเหลือง)
. (สีขาว,สีฟ้า), (สีขาว,สีชมพู), (สีฟ้า,สีชมพู), (สีฟ้า,สีเขียว), (สีฟ้า,สีเหลือง), (สีชมพู.
สีเขียว), (สีชมพู,สีเหลือง)
220

แบบฝึ กหัดที
. ทอดลูกเต๋ า ลูก ครัง
. ตอบ เหตุการณ์ทีทอดลูกเต๋ า แล้วออกแต้มจํานวนคู่ มีผลลัพธ์คือ , และ จะได้จาํ นวน
ผลลัพธ์ของเหตุการณ์เป็ น
3 1
ดังนัน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ ทอดลูกเต๋ า ลูก ครัง แล้วแต้มออกเป็ นจํานวนคู่ = หรื อ
6 2
. ตอบ เหตุการณ์ทีทอดลูกเต๋ า และออกแต้มเป็ นจํานวนเฉพาะมีผลลัพธ์คือ , และ จะได้
ผลลัพธ์ของเหตุการณ์เป็ น
3
ดังนัน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ ทอดลูกเต๋ า ลูก ครัง แล้วแต้มออกเป็ นจํานวนเฉพาะ = =
6
1
2
2. ให้ R1, R2, R3 และ R แทนลูกกวาดสีแดง เม็ด และ B1 และ B แทนลูกกวาดสีดาํ เม็ด
R1 R2 R2 R3
R3 R4
R4 B1
B1
B2
B2

R3 R4 R4 B1
B1 B2
B2

B1 B2

ผลลัพธ์ทีเกิดจากการหยิบลูกกวาด เม็ด จากถุงได้แก่


(R1, R2), (R1, R3), ( R1, R4), (R1, B1), (R1, B2), (R2, R3), (R2, R4), (R2, B1), (R2, B2), (R3, R4), (R3, B1), (R3,
B2), (R4, B1), (R4, B2) และ (B2, B2)
221

จํานวนผลลัพธ์ทงหมดเป็
ั น
. ตอบ เหตุการณ์ทีหยิบได้ลกู กวาดสีแดง เม็ด และ สีดาํ เม็ด คือ (R1, B1), (R1, B2), (R2,
B1), (R2, B2), (R3, B1), (R3, B2), (R4, B1) และ (R4, B2)
จะได้ จํานวนผลลัพธ์ทงหมดเป็
ั น
8
ดังนัน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ทีหยิบได้ลกู กวาดสีแดง เม็ด และสีดาํ เม็ด เท่ากับ
15
2.2 ตอบ เหตุการณ์ทีหยิบได้ลกู กวาดสีแดงทังสองเม็ด คือ (R1, R2), (R1, R3), ( R1, R4), (R2, R3),
(R2, R4), (R3, R4)
จะได้ จํานวนผลลัพธ์ทงหมดเป็
ั น
6 2
ดังนัน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ทีหยิบได้ลกู กวาดสีแดงทังสอง เท่ากับ หรื อ
15 5

. โยนเหรี ยญ เหรี ยญ พร้อมกัน ครัง จงหาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ต่อไปนี

เหรี ยญที เหรี ยญที เหรี ยญที ผลลัพธ์ทีอาจจะเกิดขึนจาก


การโยนเหรี ยญ เหรี ยญ
ครัง

H HHH
H T
H HHT
T H HTH
T HTT
H THH
H
T T THT
T H TTH
T TTT

จะได้ จํานวนผลลัพธ์ทงหมดของเหตุ
ั การณ์เป็ น
. ตอบ เหตุการณ์ทีเหรี ยญออกก้อย อย่างน้อง เหรี ยญ คือ HHT, HTH, HTT, THH, THT,
TTH, TTT
222

จะได้ จํานวนผลลัพธ์ทงหมดของเหตุ
ั การณ์เป็ น
7
ดังนัน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ทีเหรี ยญออกก้อยอย่างน้อย เหรี ยญ เท่ากับ
8
. ตอบ เหตุการณ์ทีเหรี ยญออกหัวและก้อย จํานวนเท่ากันคือ นันคือ ไม่มีผลลัพธ์ของ
เหตุการณ์ทีเหรี ยญออกหัวและก้อยจํานวนเท่ากัน
7
ดังนัน ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ทีเหรี ยญออกหัวและก้อยจํานวนเท่ากัน เท่ากับ =0
8
แบบฝึ กหัดที
อันดับของบุตรเขียนเป็ นแผนภาพต้นไม้ได้ดงั นี

คนโต คนกลาง คนสุดท้อง ผล


ช (ช, ช, ช)
ช ญ
ช (ช, ช, ญ)
ญ ช (ช, ญ, ช)
ญ (ช, ญ, ญ)
ช (ญ, ช, ช)

ญ ญ (ญ, ช, ญ)
ญ ช (ญ, ญ, ช)
ญ (ญ, ญ, ญ)

ผลการทดลองสุ่มทังหมด (Sample Space : S) ได้แก่ (ชชช), (ชชญ), (ชญช), (ชญญ),(ญชช), (ญชญ),


(ญญช),(ญญญ)
) n(S) = 8
ให้ E1 แทนเหตุการณ์ทีบุตรคนหัวปี เป็ นหญิง
E1 ได้แก่ (ญชช), (ญชญ), (ญญช),(ญญญ)
n(E1) = 4
223

n(E1 )
P(E1) =
n (S)
4
จะได้ = = 0.5
8

2) ให้ E2 แทนเหตุการณ์ทีบุตรคนสุดท้องเป็ นหญิง


E2 ได้แก่ (ชชญ), (ชญญ), (ญชญ), (ญญญ)
n(E2) = 4
n(E 2 )
P(E2) =
n (S)
4
จะได้ = = 0.5
8
3) ให้ E3 แทนเหตุการณ์ทีบุตรทังสามคนเป็ นชาย
E3 ได้แก่ (ชชช)
n(E3) = 1
n(E 3 )
P(E3) =
n (S)
1
จะได้ = = 0.125
8
3) ให้ E4 แทนเหตุการณ์ทีบุตรคนโตเป็ นหญิงและบุตรคนสุดท้องเป็ นชาย
E4 ได้แก่ (ญชช), (ญญช)
n(E4) = 2
n(E 4 )
P(E4) =
n (S)
2
จะได้ = = 0.25
8
224

เฉลย กิจกรรมบทที
แบบฝึ กหัดที
. บัญชีรับจ่ายประจําวันของนายสมพร ซึงประกอบอาชีพเป็ นผูข้ ายกาแฟในเวลา วัน
จํานวนเงิน จํานวนเงิน
วัน เดือน ปี รายการรับ วัน เดือน ปี รายการจ่าย
บาท สต. บาท สต.
ต.ค. - ยอดเงินคงเหลือ , - ต.ค. - ซือวัตถุดิบ 2,500 -
ยกมาจากเดือน - ค่าแก๊สหุงต้ม 350 -
กันยายน - ค่าอาหาร 270 -
- ได้รับเงินจาก , -
การขายกาแฟ
ต.ค. - ได้รับเงินจาก , - ต.ค. - ค่านํา ค่าไฟฟ้ า 840 -
การขายกาแฟ - ค่าอาหาร 320 -
- ค่าถุงพลาสติก 200 -
- ค่าถุงกระดาษ 100 -
ต.ค. - ได้รับเงินจาก , - ต.ค. - จ่ายค่าโทรศัพท์ 430 -
การขายกาแฟ - ค่าอาหาร 290 -
- ค่าหนังสือเรี ยน 950 -
- ค่านําดืม 160 -
ต.ค. - ได้รับเงินจาก , - ต.ค. - จ่ายค่าเสื อผ้า 1,250 -
การขายกาแฟ - ค่าอาหาร 340 -
- ซือวัตถุดิบอืนๆ 2,000 -
ต.ค. - ได้รับเงินจาก , - ต.ค. - ค่าอาหาร 250 -
การขายกาแฟ - ค่านําดืม 120 -
- ค่าหนังสือพิมพ์ 480 -
225

รวมรายรับ 29,200 - รวมรายจ่าย , -


ยอดคงเหลือยกไป , -

. ( ) สมรต้องการซือเตียงนอน ตูเ้ สื อผ้า และโต๊ะ


= ,000 + 8,500 + 5,500 = 20,000
7
เสียภาษีมลู ค่าเพิม = 20,000  = 1,400 บาท
100
สมรต้องจ่ายเงิน = 20,000 + 1,400 = 21,400 บาท
สมรซือเฟอร์นิเจอร์ขา้ งต้นไม่ครบ , บาท ไม่ได้รับส่วนลด
( ) สมรซือทุกรายการจากตาราง , + , + , + , + , = 2 ,800 บาท
7
เสียภาษีมลู ค่าเพิม ,  = 1, 6 บาท
100
ราคาเฟอร์นิเจอร์ทงหมดั ,800 + 1, 6 = 2 , 6 บาท
สมรซือสินค้าเกิน , บาท ได้รับส่วนลด %
10
 ได้รับส่ วนลด ,  = 2,5 บาท
100
สมรต้องจ่ายเงิน = 2 , 6 – 2,5 = 2 , บาท
0.40
. ( ) ดอกเบียออมทรัพย์ = 500,   1 = , บาท
100
1.25 6
( ) ดอกเบียฝากประจํา เดือน = 500,000   = , บาท
100 12
ฝากครบ ปี = ,  = , บาท
15
เสียภาษี = , 0  = . บาท
100
ได้รับดอกเบียจริ ง = , . บาท
500,000
( ) ซือสลากออมสินได้ = = 10,000 ฉบับ
50
ฝากครบ ปี ขอถอนได้รับดอกเบียฉบับละ . บาท
226

500,000
ได้รับดอกเบีย  0.25 = , บาท
50

มีสิทธิถกู รางวัลเลขท้าย ตัว เดือน ๆ ละ รางวัล ๆ ละ บาท


= 12  2  150 = 3,600 บาท
 ได้รับเงินรางวัลและดอกเบียจากการซือสลากออมสิ น
= 2, + , = , บาท
 อมรควรซือสลากออมสิ น จะได้รับผลตอบแทนมากทีสุ ด
. เงินได้พึงประเมินของจํานง ,  = 180, บาท
หัก ค่าใช้จ่าย % ของเงินได้พึงประเมิน แต่ไม่เกิน , บาท
40
= 180,000 = 72, บาท
100
จํานงสามารถหักค่าใช้จ่ายได้แค่ , บาท
หัก ค่าลดหย่อนตนเอง , บาท และค่าเบียประกันชีวิต , บาท
รวมหักค่าลดหย่อน , + , = , บาท
เงินได้สุทธิของจํานง = เงินได้พึงประเมิน – (หักค่าใช้จ่าย + หักค่าลดหย่อน)
= 180, – ( , + , )
= ,000 บาท
ดังนัน จํานงต้องยืนแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด. ) แต่ไม่ตอ้ งชําระเงินเพราะ
ได้รับการยกเว้นภาษี (กรมสรรพากรกําหนดให้ผมู้ ีเงินได้สุทธิตงแต่
ั ถึง , บาท ได้รับการยกเว้น
ภาษี)

. เมือพิจารณาข้อมูลจากกราฟ บริ ษทั แห่งนีจําหน่ายกระเป๋ าได้สูงขึนตามลําดับ


ควรเพิมจํานวนในการสังซือกระเป๋ าเพิมขึน เพือเป็ นสต๊อคในการจําหน่าย

. ค่าจ้างทํางานปกติ =  5 = 1,5 บาท


ค่าล่วงเวลา =  1.5  3 = , บาท
พนักงานคนนี ได้รับค่าจ้าง = 1, + ,
= 2, บาท

10
. วิธีทาํ ป้ ายมีความกว้าง นิว = ฟุต
12
227

21
ยาว นิ ว = ฟุต
12
10 21
พืนทีป้ ายทังหมด =   3 = 4.375 ตารางฟุต
12 12
เสียค่าใช้จ่ายทังหมด = .  = . บาท
228
229
230
231

คณะผู้จดั ทํา
ทีปรึกษา
นายสุรพงษ์ จําจด เลขาธิการ กศน.
นายกิตติศกั ดิ รัตนฉายา รองเลขาธิการ กศน.
นายประเสริ ฐ หอมดี รองเลขาธิการ กศน.

คณะผู้เขียนสรุ ปเนือหา
นายอร่ าม คุม้ ทรัพย์ ข้าราชการบํานาญ
นางสาววรวรรณ เบ็ญจนิรัตน์ ข้าราชการบํานาญ
นางสาวอันน์เกตุ พงศ์เพ็ชร์ วิทยาลัยนาฏศิลป์
นายพิชาญ พรหมสมบัติ วิทยาลัยนาฏศิลป์
นางสาวพจน์วรรณ ชัยประดิษฐ์ วิทยาลัยนาฏศิลป์
นางสาวขจี หวานนุรักษ์ กศน.เขตพญาไท

คณะทํางาน
นายคมกฤช จันทร์ขจร ผูอ้ าํ นวยการสถาบันการศึกษาทางไกล
นางกิตติยา รัศมีพงศ์ รองผูอ้ าํ นวยการสถาบันการศึกษาทางไกล
นางพิชญา นัยนิตย์ สถาบันการศึกษาทางไกล
นางสาวสวรรค์ พลฉกรรณ์ สถาบันการศึกษาทางไกล
นางสาวประภารัช ทิพย์สงเคราะห์ สถาบันการศึกษาทางไกล
นายเกรี ยงไกร มหาโชคดิลก สถาบันการศึกษาทางไกล

ผู้พมิ พ์ต้นฉบับ
นางสาวประภารัช ทิพย์สงเคราะห์ สถาบันการศึกษาทางไกล
นายเกรี ยงไกร มหาโชคดิลก สถาบันการศึกษาทางไกล

ผู้ออกแบบปก
นายศุภโชค ศรี รัตนศิลป์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย
232

You might also like