ศก รัตนโกสินทร์ตอนต้น

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

1/29/2024

เศรษฐกิจเป็นแบบ “ยังชีพ”
ข้อเสียของการผลิตแบบยังชีพ
ผลิตพอกินพอใช้ เหลือก็เอาไปขาย ชาวบ้านไม่ถนัดทาการค้า
ผลผลิตที่เหลือขายให้รัฐ คือ พระคลังสินค้า เศรษฐกิจในประเทศไม่ขยายตัว
สินค้าสาคัญ เช่น ข้าว ของป่า เครื่องเทศ
ชาวจีนและต่างชาติเข้ามาในไทย ไม่ต้องถูกเกณฑ์
ต่างชาติไม่สามารถขายกับชาวบ้านได้โดยตรง
แรงงาน ทาให้มีบทบาทเป็นพ่อค้าแทนชาวสยาม
พระคลังสินค้า ผูกขาดการค้าสาคัญไว้คนเดียว

1
1/29/2024

กิจกรรมเศรษฐกิจที่สาคัญ การเกษตรกรรม
ข้าวเป็นพืชหลักทางการเกษตร

มีการผลิตพืชชนิดอื่นๆ ด้วย
เช่น พริกไทย ยาสูบ
มีการปลูกอ้อยเยอะ
เพื่อใช้เป็นวัถตุดิบแทนนาตาลทราย

การเกษตรกรรม
ในสมัยรัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าให้ขุดคลองต่าง ๆ มากมาย เช่น คลองบางลาพู คลองโอ่งอ่าง คลองมหานาค เป็นต้น

คลองมหานาค คลองบางลาพู เป็นส่วนหนึ่งของคลองรอบกรุง


ที่มี : https://www.silpa-mag.com/ ที่มี : https://alisuasaming.org/

2
1/29/2024

การเกษตรกรรม
ในสมัยรัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าให้ขุดคลองต่าง ๆ เช่น คลองสาโรง คลองบางขุนเทียน คลองแสนแสบ เป็นต้น

การที่ให้ขุดคลอง เป็นการส่งเสริม
ให้ราษฎรอพยพมาตังถิ่นฐาน ทาให้เกิดการขยาย
พืนที่ทานาเพิ่มขึน
และส่งเสริมการคมนาคมให้สะดวกขึน
คลองสาโรง
ที่มี : https://www.silpa-mag.com/

อุตสาหกรรม
ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนเป็นหลัก มีอุตสาหกรรมที่สาคัญได้แก่ โรงงานทานาตาลทราย

มีการทานาตาลทรายในสมัยรัชกาลที่ 2
มีเขตปลูกอ้อย และตังโรงงานนาตาล คือ
ลุ่มแม่นาท่าจีน เช่น นครปฐม นครชัยศรี
ลุ่มแม่นาบางประกง เช่น ฉะเชิงเทรา
โรงงานนาตาล
ที่มี : https://www.silpa-mag.com/
6

3
1/29/2024

4
1/29/2024

การค้าขาย
การค้ากับจีน การค้ากับจีนครึกครักมาก และยังคงเป็นแบบ “จิมก้อง หรือ บรรณาการ”
สินค้าส่งออก ข้าว นาตาล พริกไทย ของป่า ข้าว ไม้ รัฐจึงส่งเสริมให้ปลูกข้าว อ้อย พริกไทย
สินค้านาเข้า ผ้าแพร ผ้าไหม
และในสมัยรัชกาลที2่ เรื่อยมา มีคนจีนจานวนมาก
อพยพมาอยู่ที่ไทย ส่วนหนึ่งมาเป็นแรงงาน
ส่วนหนึ่งก็เป็นพนักงงานในพระคลังสินค้า เป็นต้น
การค้ากับจีนระบบบรรณการสินสุดลงในสมัยรัชกาลที่ 4

10

5
1/29/2024

11

การค้ากับประเทศตะวันตก
บทบาทของพ่อค้าและชาวตะวันตกที่เคยมีมากในสมัยอยุธยา
จนยุติลงนับตังแต่ราชวงศ์บ้านพูลหลวง สมัยสมเด็จพระเพทราชา
สยามไม่ไว้วางใจชาวตะวันตก
เพราะกลัวจะเข้ามาหาประโยชน์และก่อความไม่สงบอีก

12

6
1/29/2024

การค้ากับประเทศตะวันตก
การค้ากับอังกฤษ
สมัย ร.3
พ.ศ.2368 รัฐบาลอังกฤษได้ส่ง เฮนรี่ เบอร์นมี าเจรจาทางการค้า
และในวันที่ 20 มิถุนายน 2369 สามารถตกลงทาสนธิสัญญา
“เบอร์น”ี ถือว่าเป็นสนธิสัญญาทางพระราชไมตรี
และพาณิชย์ฉบับแรกของไทนที่ทากับชาติตะวันตก

13

สาระสาคัญของสนธิสัญญาเบอร์นี
ให้พ่อค้าคนไทยและพ่อค้าอังกฤษซือขายกันได้อย่างเสรี
แต่สยามจะไม่อนุญาตให้มีการซือขาขข้าวส่งออกนอกประเทศ
กระสุนปืน ดินปืน ปืน ถ้าอังกฤษจะขาย ขายให้รัฐบาลไทยonly

รัฐบาลจะเก็บภาษีจากพ่อค้าชาวอังกฤษอัตราเดียวคือวัดค.กว้างปากเรือ

เรือสินค้าเก็บวาละ 1700 บ. เรือเปล่าเก็บ 1500 บ.

14

7
1/29/2024

สาระสาคัญของสนธิสัญญาเบอร์นี

เรือบรรทุกสินค้าจะต้องทอดสมอนอกสันดอกปากแม่นา

เจ้าพนักงานมีสิทธิลงไปตรวจเรือสินค้า และต้องปลดวุธเรือก่อน

พ่อค้าชาวอังกฤษและลูกเรือ จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายไทยทุกประการ

ทังนีทังนัน การค้าเสรีกับอังกฤษไม่ได้ทาให้บทบาทของกรมพระคลังสินค้าหมดลง ยังมีการเก็บภาษีแพงไป

15

การค้ากับประเทศตะวันตก
การค้ากับสหรัฐอเมริกา

สมัยรัชกาลที่ 3 ประธานาธิบดีแอนดรูว์ แจคสัน (Andrew Jackson)


ได้ส่ง นายเอ็ดมันด์ โรเบิร์ต (Edmund Robert)
เป็นทูตเดินทางเข้ามาขอทาสนธิสัญญาการค้ากับไทย
ซึ่งมีใจความทานองเดียวกับที่ไทยทากับอังกฤษ

16

8
1/29/2024

การคลังของรัฐ
การเก็บภาษีอากร ระบบเจ้าภาษีนายอากร เป็นวิธีที่รัฐให้เอกชนดาเนินการแทน
เพราะสมัยรัชกาลที่ 3 รายได้ลดลง เพราะการค้าผูกขาดของหลวงถูกยกเลิกตามสนธิสัญญสเบอร์นี่

รัฐบาลในสมัยร.3 กาหนดให้มีการผูกขาดการเก็บภาษีสินค้าขาออกประเภทสาคัญ

ช่วยให้รฐั มีรายได้เพิม่ ขึนจานวนมาก เพิ่มจากร.2 เป็น 10 เท่า

17

การคลังของรัฐ
การผูกปี้ข้อมือจีน เป็นภาษีทที่ ากับชาวจีนโดยเฉพาะ
ไม่ยุติธรรมที่ชาวจีนไม่ถูกเกณฑ์แรงงาน แต่คนไทยและชนกลุ่มนน้อยที่อาศัยในไทย ต้องสักข้อมือเป็นไพร่
ทางานให้รัฐ 1 เดือนใน 3 ปี
สมัยร.2 กาหนดให้เกณฑ์แรงงานชาวจีน
หรือเสียเงิน 1 บ 50 สตรางค์
เมื่อชาวจีนเสียเงินแล้วจะได้ใบฎีกาพร้อมผูกปี้
สมัยร.4 เพิ่มให้เสียเงิน 1 ตาลึง 2 สลึง ข้อมือด้วยด้ายแดง พร้อมประทับตราด้วยครั่ง
ที่มีสัญลักษณ์ประจาเมืองแตกต่างกัน

18

9
1/29/2024

การคลังของรัฐ
เงินส่วย หรือ เงินค่าราชการ ตามกฎหมาย ชายทุกคน (ยกเว้นเจ้านาย ขุนนาง พระ และทาส)

ที่อยู่ในฐานะไพร่ จะต้องขึนทะเบียนสังกัดเจ้านาย เพราะทางานเข้าเวรรับราชการสังกัดต่างๆ


หากมาเข้าเวรไม่ได้ ต้องส่งสิ่งของมาแทน หรือจ่ายเงิน “เงินส่วย หรือ เงินค่าราชการ”

ปกติไพร่เข้าเวร 6เดือน/ปี
ต่อมาลดลงเหลือ 3 เดือน สมัยร.3 เก็บค่าราชการเป็นเงิน ปีละ 18 บาท
แทนการเข้าเวร

19

10

You might also like