Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 51

การเกิดลมฟ้ า อากาศภ ู ม อ

ิ ากาศ
(Formation of weather and climate)
การเกิดลมฟ้ าอากาศภูมอิ ากาศ

2
ลมฟ้าอากาศ (Weather)
ลมฟ้าอากาศ คือ สภาวะของบนพืน้ ที่ใด ๆ ในช่ วงเวลาหนึ่ง
ภูมิอากาศ (Climate)
ภูมอิ ากาศ คือ สภาวะโดยทั่วไปของลมฟ้าอากาศบนพืน้ ที่ใด ๆ
ในช่ วงเวลานานมากกว่ า 30 ปี ขึน้ ไป
ปัจจัยสาคัญที่ส่งผลกระทบต่ อการรับรังสี ดวงอาทิตย์ ของ
พืน้ ผิวโลก
1. สั ณฐานโลกและการเอียงของแกนโลก
2. เมฆและละอองลอย
3. ลักษณะของพืน้ ผิวโลก
6
อัตราส่ วนรังสี สะท้ อน (albedo)
ความเข้มรังสี ที่สะท้อนจากพื้นผิววัตถุ
อัตราส่ วนรังสี สะท้ อน =
ความเข้มรังสี ท้ งั หมดที่ตกกระทบพื้นผิววัตถุ

ค่ า albedo
มักแสดงด้วยตัวเลขทศนิยมระหว่าง 0 - 1 กล่าวคือ
วัตถุที่มีการดูดกลืนรังสี อย่างสมบูรณ์ ไม่มีการสะท้อนรังสี กลับคืน
เลยจะมีอลั บีโด = 0
ส่ วนวัตถุที่มีการสะท้อนแสง 100% และไม่มีการดูดกลืนรังสี เลย
มีอลั บีโด = 1
ตารางแสดงค่า albedo
ประเภทของสิ่ งปกคลุมพืน้ ผิว อัลบีโด
เมฆ 0.7 - 0.8
หิมะและนา้ แข็ง 0.8 - 0.85
ทราย 0.2 - 0.3
ทุ่งหญ้ า 0.20 - 0.25
ป่ าไม้ 0.05 - 0.1
นา้ (เวลาเที่ยง) 0.03 - 0.05
นา้ (เวลาเช้ าหรื อเย็น) 0.5 - 0.8
8
การหมุนเวียนของอากาศ
ความกดอากาศของ 2 บริเวณทีไ่ ม่ เท่ ากันส่ งผลให้ อากาศมี
เคลื่อนทีแ่ ละเกิดการหมุนเวียนของอากาศ

- บริ เวณพื้นผิวโลกที่อุณหภูมิสูง จะมีความกดอากาศต่า


- บริ เวณพื้นผิวโลกที่อุณหภูมิต่า จะมีความกดอากาศสู ง
แรงที่เกิดจากความแตกต่ างของความกดอากาศ
(pressure gradient force)
• เป็ นแรงที่ทาให้ อากาศ 2 บริเวณเคลื่อนทีไ่ ด้
โดยอากาศจะเคลื่อนที่จากบริ เวณที่มี
ความกดอากาศสู ง ความกดอากาศตา่
(อุณหภูมติ า่ ) (อุณหภูมสิ ูง)
เกิดเป็ นการหมุนเวียนของอากาศ
ผลของการเคลื่อนที่ของอากาศ

ลมมรสุมฤดูรอ้ น ลมมรสุมฤดูหนาว
ลมมรสุ มฤดูหนาว (มรสุ มตะวันออกเฉียงเหนือ)

- พัดจากประเทศจีนและไซบีเรียผ่านภาคเหนือและ
ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมาจนถึงบริเวณ
อ่าวไทยตอนใต้
- พัดผ่านไทยตัง้ แต่ต้นเดือนพฤศจิกายนไปจนถึง
กลางเดือนกุมภาพันธ์
- ขณะพัดผ่านประเทศไทยจะทาให้อากาศมีความ
หนาวเย็น
ลมมรสุ มฤดูร้อน (มรสุ มตะวันตกเฉียงใต้ )

- พัดจากมหาสมุทรอินเดียผ่านอ่าวไทย ละ
ปะทะขอบฝั่ งตะวันออกของอ่าวไทย
- พัดผ่านไทยตัง้ แต่กลางเดือนพฤษภาคม
จนถึงกลางเดือน ตุลาคม
- ขณะพัดผ่านประเทศไทยจะพัดพาไอนา้ จาก
มหาสมุทร มาด้วยจานวนมาก ทาให้มีฝนตกชุก
การหมุนเวียนของอากาศบนโลก
รู ปแบบการหมุนเวียนของลมเนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของโลก

Source:
http://apollo.lsc.vsc.edu/classes/met130/notes/chapter11/three_cell.html
17
แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์ เดียว
(Single-cell model)

แฮดลีย์เซลล์ (Hadley cell)


แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบทัว่ ไป
(General circulation)
ทาให้แบบจาลองการหมุนเวียนของอากาศแบบเซลล์เดียวแตก
ออกเป็ น 3 ส่ วน คือ แฮดลียเ์ ซลล์ (Hadley cell)
• เฟอร์เรลเซลล์ (Ferrel cell) และโพลาร์ เซลล์ (Polar cell)
ทิศทางการพัดของลมบนโลก
ร่ องความกดอากาศตา่
(Intertropic convergence zone; ITCZ)
ที่บริ เวณเส้นศูนย์สูตร เป็ นบริ เวณที่ลมสิ นค้าจากซี กโลกเหนือและ
ซีกโลกใต้มาปะทะกัน ทาให้เกิดร่ องความกดอากาศต่า (Intertropic
convergence zone; ITCZ)
ในบริ เวณนี้มีความแตกต่างของอุณหภูมิและความกดอากาศเพียง
เล็กน้อย ทาให้มีลมค่อนข้างสงบเรี ยกว่า
แถบลมสงบบริ เวณศูนย์สูตร (Doldrums)
โพลาร์เซลล์ (Polar cell)
ที่บริ เวณขั้วโลกจะมีความกดอากาศสู ง ทาให้ลมเคลื่อนที่จากขั้วโลกไปยัง
บริ เวณที่มีความกดอากาศต่าที่เรี ยกว่า Subpolar low ซึ่งอยูท่ ี่ละติจูดประมาณ 60
องศา
ที่บริ เวณละติจูดประมาณ 60 องศา เป็ นบริ เวณที่มีความกดอากาศต่า
(Subpolar low) ทาให้ลมตะวันออกจากขั้วโลก (Polar easterlies) เคลื่อนที่เข้า
ปะทะกับลมตะวันตกในบริ เวณดังกล่าว เกิดเป็ นแนวปะทะอากาศ (Polar front)
ทาให้อากาศในบริ เวณนี้มีความแปรปรวน และมีหยาดน้าฟ้าเกิดขึ้นมาก
การหมุนเวียนของลมระหว่าง
ขั้วโลกกับ Subpolar low
เรี ยกว่า โพลาร์เซลล์ (Polar cell)
ละติจูดม้า (Horse latitude)
ที่บริ เวณละติจูดประมาณ 30 องศา เป็ นบริ เวณที่มีความกดอากาศ
สู ง (Subtropical high) ทาให้บริ เวณนี้มีทอ้ งฟ้าแจ่มใส แต่พ้นื ดินมี
ความแห้งแล้ง ส่ วนพื้นน้ าก็มีลมพัดเบา จึงเป็ นอุปสรรคต่อการเดินเรื อใน
สมัยโบราณ กว่าจะแล่นเรื อผ่านออกไปได้กท็ าให้มา้ ที่บรรทุกไปในเรื อ
ต้องเสี ยชีวติ ไปมาก บริ เวณนี้จึงมีชื่อเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า
ละติจูดม้า (Horse latitude)
ลมสิ นค้า (Trade winds)
ลมตะวันออกจากขัว้ โลก (Polar easterlies) เคลื่อนที่มาจากบริเวณที่มีความ
กดอากาศสูง (Polar high) เช่นเดียวกับลมตะวันตก (Westerlies) ที่เคลื่อนที่มา
จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง (Subtropical high) และกระแสลมทัง้ สองก็
เคลื่อนที่มาสูบ่ ริเวณที่มีความกดอากาศต่า (Subpolar low) เช่นเดียวกัน
ลมที่พดั ออกมาจากบริเวณละติจดู ประมาณ 30 องศา (Subtropical high) มี
อยูด่ ว้ ยกัน 2 ชนิด คือ ลมที่พดั มาจากทิศตะวันตก (Westerlies) ไปยัง Subpolar
low และอีกชนิดหนึ่งคือ ลมที่พดั มาจากทิศตะวันออก ไปยังบริเวณร่องความกดอากาศ
ต่า (Intertropic convergence zone; ITCZ) ลมชนิดนีใ้ ช้ในการเดินเรือ
สินค้าในสมัยโบราณ จึงมีอีกชื่อหนึ่งว่า
ลมสินค้า (Trade winds)
เฟอร์เรลเซลล์ (Ferrel cell)
การหมุนเวียนของลมระหว่าง Subpolar low กับ
Subtropical high เรี ยกว่า เฟอร์เรลเซลล์ (Ferrel cell)
การหมุนรอบตัวเองของโลกกับการหมุนเวียนของอากาศ
• การหมุนรอบตัวเองของโลกทาให้ เกิดแรงทีเ่ รียกว่ า
แรงคอริออลิส (coriolis force) ส่ งผลให้ การเคลื่อนที่ของอากาศเบนไป
จากเดิม
การหมุนเวียนของนา้ ผิวหน้ าสมุทร
(surface current circulation)
การหมุนเวียนของนา้ ผิวหน้ าสมุทร
(surface current circulation)
การหมุนเวียนของนา้ ผิวหน้ าสมุทร
(surface current circulation)

การหมุนเวียนของน้ าในมหาสมุทรจะขึ้นอยูก่ บั หลายปัจจัย


เช่น กระแสลม อุณหภูมิ ความเค็ม
การหมุนเวียนของน้ าจะแบ่งได้ 2 รู ปแบบ คือ
- การหมุนเวียนของน้ าในแนวราบ
- การหมุนเวียนของน้ าในแนวดิ่ง
การหมุนเวียนของนา้ ในแนวราบ
เป็ นการหมุนเวียนของกระแสน้ าผิวหน้า (Surface
currents) ซึ่ งเกิดจากอิทธิพลของลมที่พดั เหนือผิวน้ า ได้แก่ ลมสิ นค้า
ลมตะวันตก และแรงคอริ ออลิส ส่ งผลให้
น้ าในมหาสมุทรไหลวนไปเป็ นวงตามเข็มนาฬิกาในซี กโลกเหนือ
และไหลวนไปเป็ นวงทวนเข็มนาฬิกา
ในซีกโลกใต้
กระแสนา้ อุ่น กระแสนา้ เย็น
ที่บริ เวณเส้นศูนย์สูตร ลมสิ นค้าจะพัดน้ าผิวหน้าให้ไหลไปยังทิศ
ตะวันตก เมื่อปะทะกับแผ่นดิน จะทาให้มวลน้ าบางส่ วนเกิดการไหลย้อน
บริ เวณเส้นศูนย์สูตร (Equatorial counter current) และมวลน้ า
ส่ วนใหญ่กลายเป็ นกระแสน้ าอุ่นไหลไปยังบริ เวณอื่น
ที่บริ เวณแนวละติจูด 30 องศา ลมตะวันตกจะพัดพาผิวน้ าให้ไหล
ไปยังทิศตะวันออก เมื่อปะทะกับแผ่นดิน จะทาให้มวลน้ าบางส่ วนจะเป็ น
กระแสน้ าเย็นไหลกลับไปที่เส้นศูนย์สูตรดังเดิม
การหมุนเวียนของนา้ ผิวหน้ าสมุทร
(surface current circulation)

บริเวณที่ บริเวณที่
กระแสน้ าอุน่ ไหลผ่าน กระแสน้ าเย็นไหลผ่าน

นาความชื้น + ไม่หนาวจัดในฤดูหนาว นาความหนาวเย็นมาให้ + แห้งแล้ง


การหมุนเวียนของนา้ ในแนวดิง่
เป็ นการหมุนเวียนของกระแสน้ าลึก (Deep currents) เกิด
จากความแตกต่างของอุณหภูมิและความเค็ม (Thermohaline
circulation) ความเค็มของน้ าทะเลในแต่ละบริ เวณจะไม่เท่ากัน น้า
ทะเลที่อยูบ่ ริ เวณเส้นศูนย์สูตรจะถูกความร้อนจากแสงอาทิตย์และระเหย
ได้ง่าย ทาให้เหลือแร่ ธาตุไว้ในทะเลเยอะ น้ าทะเลบริ เวณเส้นศูนย์สูตรจึงมี
ความเค็มสู ง และมีความหนาแน่นสู ง แต่น้ าทะเลบริ เวณขั้วโลกจะมีความ
เค็มน้อย และมีความหนาแน่นต่า
ปรากฏการณ์ เอลนีโญ ลานีญา
เอลนีโญ (El Nino)

เอลนิโญ (El Nino) มาจากภาษาสเปญ ทีแ่ ปลว่า "เด็กชาย"

ชาวเปรูอาศัยอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ซึ่งอยู่ติดกับชายฝั่ง
มหาสมุทรแปซิฟิกตอนใกล้ๆเส้ นศูนย์ สูตร
ภาวะปกติ

• บริ เวณเส้นศูนย์สูตรเหนือมหาสมุทรแปซิฟิก ลมสิ นค้าตะวันออกจะพัดจาก


ประเทศเปรู (ชายฝั่ งทวีปอเมริ กาใต้) ไปทางตะวันตกของมหาสมุทร
แปซิฟิก
• แล้วยกตัวขึ้นบริ เวณเหนื อประเทศอินโดนี เซี ย ทาให้มีฝนตกมากในเอเชี ย
ตะวันออกเฉียงใต้และทวีปออสเตรเลียตอนเหนือ
• กระแสลมสิ นค้า พัดให้กระแสน้ าอุ่น บนพื้นผิวมหาสมุทรแปซิ ฟิกไปกอง
รวมกันทางตะวันตก จนมีระดับสู งกว่าระดับน้ าทะเลปกติ ประมาณ 60 –
70 เซนติเมตร แล้วจมตัวลง
• กระแสน้ าเย็นใต้มหาสมุทรซีกเบื้องล่างเข้ามาแทนที่กระแสน้ าอุ่นพื้นผิวซีก
ตะวันออก
• นาพาธาตุอาหารจากก้นมหาสมุทรขึ้นมา ทาให้ปลาชุกชุม เป็ นประโยชน์
ต่อนกทะเลและการทาประมงชายฝั่งของประเทศเปรู
เอลนีโญ คือภาวะทีผ่ วิ นา้ บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกฝั่งตะวันออกใกล้
บริเวณเส้ นศูนย์ สูตรมีอุณหภูมิสูงขึน้ ผิดปกติ
เอลนีโญ

• กระแสลมสิ นค้าตะวันออกอ่อนกาลังลง กระแสลมพื้นผิวเปลี่ยนทิศทาง


• พัดจากประเทศอินโดนี เซี ยและออสเตรเลียตอนเหนื อไปทางตะวันออก
แล้วยกตัวขึ้นเหนือชายฝั่งทวีปอเมริ กาใต้
• ก่อให้เกิดฝนตกหนักและแผ่นดินถล่มในประเทศเปรู และเอกวาดอร์
กระแสลมพัดกระแสน้ าอุ่นบนพื้นผิวมหาสมุทรแปซิฟิกไปกองรวมกัน
บริ เวณชายฝั่งประเทศเปรู
ทาให้กระแสน้ าเย็นใต้มหาสมุทรไม่สามารถลอยตัวขึ้นมาได้
ส่ งผลกระทบให้บริ เวณชายฝั่งมีธาตุอาหารสาหรับปลาและนกทะเล
ชาวประมงจึงขาดรายได้
ภาพแสดงความเสี ยหายจากภัยแล้งในประเทศไทย
ลานีญา

ลานีญา (สเปน: La Niña ความผันแปรของระบบอากาศใน


ซี ก โลกใต้ ในช่ ว งที่ เ กิ ด ลานี ญ า อุ ณ หภู มิ พ้ื น ผิ ว น้ าทะเลตลอด
มหาสมุทรแแปซิ ฟิกตอนกลางตะวันออกแถบเส้นศูนย์สูตรจะต่า กว่า
ปกติ 3-5 °C
การเกิดลานีญา
ลมสิ นค้าตะวันออกเฉี ยงใต้ที่พดั ปกคลุมเหนื อมหาสมุทรแปซิ ฟิกเขต
ร้อนมีกาลังแรงมากกว่าปกติและพัดพาผิวน้ าทะเลที่อุ่นจากตะวันออกไปสะสม
อยูท่ างตะวันตกมากยิง่ ขึ้น
ทาให้บริ เวณแปซิฟิกตะวันตก รวมทั้งบริ เวณตะวันออกและตะวันออก
เฉี ยงใต้ของเอเชีย ซึ่ งเดิมมีอุณหภูมิผวิ น้ าทะเลสู งกว่าทางตะวันออกอยูแ่ ล้วยิง่ มี
อุณหภูมิน้ าทะเลสู งขึ้นไปอีก
อุ ณ หภู มิ ผิ ว น้ าทะเลที่ สู ง ขึ้ นส่ ง ผลให้ อ ากาศเหนื อ บริ เวณ
ดังกล่าวมีการลอยตัวขึ้นและกลัน่ ตัวเป็ นเมฆและฝน
ส่ วนแปซิ ฟิกตะวันออกนอกฝั่งประเทศเปรู และเอกวาดอร์ น้ นั
การไหลขึ้นของน้ าเย็นระดับล่างไปสู่ ผิวน้ าจะเป็ นไปอย่างต่อเนื่ องและ
รุ นแรง อุณหภูมิที่ผวิ น้ าทะเลจึงลดลงต่ากว่าปกติ
ผลกระทบของลานีญา
• ประเทศแถบเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ และออสเตรเลี ยจะมี ฝน
โดยเฉลี่ยมากขึ้น
• บริ เวณตะวันออกของแอฟริ กาและตอนใต้ของอเมริ กาใต้มีฝ น
น้อยและเสี่ ยงต่อการเกิดความแห้งแล้ง
• ประเทศสหรัฐอเมริ กาและหมู่เกาะแคริ บเบียนมีโอกาสประสบ
กับพายุเฮอร์ ริเคนมากขึ้น
• ปริ มาณฝนของประเทศไทยส่ วนใหญ่สูงกว่าปกติ
ผลกระทบของลานีญา

ภาพแสดงนา้ ท่ วมกรุงเทพมหานครเกิดจากผลกระทบของลานีญา
ผลกระทบของลานีญา

ภาพแสดงนา้ ท่ วมโรงงานผลิตรถยนต์ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา


เอลนีโญ

ลานีญา

You might also like