Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน (ชุด สื่อสัมฤทธิ์มาตรฐาน)

ภูมิศาสตร์ ม.3
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

คณะผู้เรียบเรียง
ฝ่ายวิชาการ
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด

บรรณาธิการ

สุคนธ์ สินธพานนท์
จิราภรณ์ นวลมี

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
คานา
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการ
เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถานศึกษา
นาไปใช้เปนนกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนััดการเรียนการสอนและััดกิักรรมการเรียนรูเ้ พื่อพัฒนาผู้เรียน
ให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดให้ พร้อมทั้งดาเนินการวัด
ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามหลักการของหลักสูตร เพื่อให้เกิดผลสาเร็ัตามเัตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา
ไทย ดังนั้น ขั้นตอนการนาหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติัริงในชั้นเรียนของครูผู้สอน ัึงััดเปนนหัวใัสาคัญของการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนให้บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร

บริษัท อักษรเัริญทัศน์ อัท. ัากัด ัึงได้ััดทา แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน (ชุดสื่อสัมฤทธิ์ มาตรฐาน)


ภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เปนนแนวทางวางแผนััดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยััดทาเปนนหน่วยการเรียนรู้อิง
มาตรฐานและออกแบบกิักรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ที่มุ่งเน้นกระบวนการคิดและการ
ประกันคุณภาพผู้เรียน ช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมั่นใัในผลการเรียนรู้
และคุณภาพของผู้เรียนที่มีหลักฐานตรวัสอบผลการเรียนรู้อย่างเปนนระบบ

คณะผู้ััดทาหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ได้ดาเนินการออกแบบการััดการเรียนรู้ตามรูปแบบที่สานักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา (สวก.) กาหนดขึ้น เพื่อเปนนเอกภาพเดียวกันตามองค์ประกอบต่อไปนี้
4
ภภภภภภภภ 11

องค์ประกอบของหน่ วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน

หน่วยการเรียนรู้ที่
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ระดับชั้น รายวิชา

เวลาเรียน ชั่วโมง

1. ผังมโนทัศน์
2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด

3. สาระการเรียนรู้ (สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี))

4. มโนทัศน์สาคัญ

5. คาถามหลัก

6. การรู้เรื่องภูมิศาสตร์

7. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

8. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

9. การวัดและการประเมินผล
9.1 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
9.2 การประเมินก่อนเรียน (ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้ )
9.3 การประเมินระหว่างการััดกิักรรมการเรียนรู้
9.4 การประเมินหลังเรียน (ทาแบบทดสอบหลังเรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้ )
10. กิักรรมการเรียนรู้
11. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ รายวิชา
ระดับชั้น
เรื่อง เวลา ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้

2. ตัวชี้วัด

3. ัุดประสงค์การเรียนรู้

4. สาระการเรียนรู้ (สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี))

5. มโนทัศน์สาคัญ

6. คาถามหลัก

7. การรู้เรื่องภูมิศาสตร์

8. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

9. กิักรรมการเรียนรู้

10. การวัดและการประเมินผล
10.1 การประเมินก่อนเรียน (ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้ )
10.2 การประเมินระหว่างการััดกิักรรมการเรียนรู้
10.3 การประเมินหลังเรียน (ทาแบบทดสอบหลังเรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้ )
11. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
12. บันทึกหลังแผนการสอน
คานา
ผู้สอนสามารถนาแผนการััดการเรียนรู้เล่มนี้ ไปเปนนแนวทางวางแผนการััดกิักรรมการเรียนรู้ประกอบการใช้หนังสือ
เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ทางบริษัทััดพิมพ์ัาหน่าย โดยทั้งนี้การออกแบบการเรียนรู้ (Instructional
Design) ได้ดาเนินการตามกระบวนการ ดังนี้

1 หลักการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยัะกาหนดผลการเรียนรู้ไว้เปนนเป้าหมายในการััดการเรียนการสอน ผู้สอนัะต้องศึกษาและ
วิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดทุกข้อว่า ระบุให้ผู้เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใัเกี่ยวกับเรื่องอะไร และต้ อง
สามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนัะนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใดแก่ผู้เรียน

มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชี้วัด ผู้เรียนรู้อะไร

ผู้เรียนทาอะไรได้
นาไปสู่

สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

2 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

เมื่อผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และได้กาหนดเป้าหมายการััดการเรียนการสอน
เรียบร้อยแล้ว ัึ งกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการััดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนของ
กิักรรมการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้ันบรรลุมาตรฐานและตัวชี้วัดทุกข้อ

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด หลักการจัดการเรียนรู้
เป้าหมาย
การเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
และการพัฒนา
คุณภาพ เน้นพัฒนาการทางสมอง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน กระตุ้นการคิด
ของผู้เรียน เน้นความรู้คคู่ ุณธรรม
3 หลักการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้สู่ผลการเรียนรู้

เมื่อผู้สอนกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการััดกิักรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว ัึงกาหนดรูปแบบการเรียน


การสอนและกระบวนการเรีย นรู้ ที่ัะฝึก ฝนให้ผู้เ รีย นเกิ ดการเรียนรู้ บรรลุต ามมาตรฐานการเรี ยนรู้และตั วชี้วั ด โดยเลือ กใช้
กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เปนนเป้าหมายในหน่วยนั้น ๆ เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณา
การ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้
ัากประสบการณ์ ั ริ ง กระบวนการพั ฒ นาลั ก ษณะนิ สั ย กระบวนการปฏิ บั ติ กระบวนการคิ ด วิ เ คราะห์ อ ย่ า งมี วิ ั ารณญาณ
กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้ที่มอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัตินั้นัะต้องนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้

4 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

การัั ด กิ ั กรรมการเรี ย นการสอน และกิ ั กรรมการเรี ย นรู้ ใ นแต่ ล ะหน่ ว ย ผู้ ส อนต้ อ งก าหนดขั้ น ตอนและ
วิธีปฏิบัติให้ชัดเัน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือฝึกฝนและฝึกปฏิบัติมากที่สุด ตามแนวคิดและวิธีการสาคัญ คือ
1) การเรี ย นรู้ เปน น กระบวนการทางสติ ปั ญ ญา ที่ ผู้ เ รี ย นทุ ก คนต้ อ งใช้ ส มองในการคิ ดและท าความเข้ า ใั
ในสิ่ ง ต่ า งๆ ร่ ว มกั บ การลงมื อ ปฏิ บั ติ ทดลองค้ น คว้ า ันสามารถสรุ ป เปน น ความรู้ ไ ด้ ด้ ว ยตนเอง และ
สามารถนาเสนอผลงาน แสดงองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ได้
2) การสอน เปนนการเลือกวิธีการหรือกิักรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยนั้น ๆ และที่สาคัญ คือ ต้องเปนนวิธีการที่
สอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนัึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน เทคนิคการสอน และรูปแบบการสอนอย่างหลากหลาย เพื่อ
ช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิักรรมการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่นันบรรลุตัวชี้วัดทุกข้อ
3) รูปแบบการสอน ควรเปนนวิธีการและขั้นตอนฝึ กปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่างเปนนระบบ เช่น
รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) กระบวนการทางภูมิศาสตร์
4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใั และสภาพปัญหาของ
ผู้เรียน วิธีสอนที่ดีัะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามในระดับผลสัมฤทธิ์ที่สูง เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย
การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้กรณีตัวอย่าง
5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการสอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใัเนื้อหาในบทเรียนได้ง่าย
ขึ้น สามารถกระตุ้นความสนใัและัูงใัให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิักรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้
ผังกราฟิก (Graphic Organizers) การเล่นเกม เทคนิคการใช้คาถาม การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้สื่อการเรียนรู้
ที่น่าสนใั เปนนต้น
6) สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใั และทาความกระั่างให้เนื้อหาสอดคล้องกับสาระ
การเรียนรู้ และเปนนเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวชี้วัดอย่างราบรื่น เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการ
สอน คลิป แผนที่ ลูกโลก
5 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบย้อนกลับตรวจสอบ

เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการััดการเรียนรู้ รวมถึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว ัึงนาเทคนิควิธีการ


สอน วิธีััดกิักรรมการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ไปลงมือััดการเรียนการสอน ซึ่งัะนาผู้เรียนไปสู่ การสร้างชิ้นงานหรือภาระงาน
เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสาคัญตามธรรมชาติวิชา รวมทั้งคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดที่เปนนเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามลาดับขั้นตอนการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ดังนี้

จากเป้าหมายและ
หลักฐาน คิดย้อนกลับ เป้าหมายการเรียนรู้ของหน่วย
สู่จุดเริ่มต้น
ของกิจกรรมการเรียนรู้ หลักฐานชิ้นงาน/ภาระงาน
แสดงผลการเรียนรู้ของหน่วย
แสดงผลการเรียนรู้ของหน่วย
4 กิจกรรม คาถามชวนคิด

3 กิจกรรม คาถามชวนคิด จากกิจกรรมการเรียนรู้


2 กิจกรรม คาถามชวนคิด
ทีละขั้นบันได
สู่หลักฐานและ
1 กิจกรรม คาถามชวนคิด เป้าหมายการเรียนรู้

การััดกิักรรมการเรียนรู้ที่มปี ระสิทธิภาพ นอกัากัะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติัริงแล้ว ัะต้องฝึกฝนกระบวนการ


คิดทุกขั้นตอน โดยใช้เทคนิคการตั้งคาถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคาถามให้สัมพันธ์กับเนื้อหาการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับความรู้
ความัา ความเข้าใั การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และการสร้างสรรค์ และในแต่ละแผนการเรียนรู้ัึงมีการระบุคาถาม
เพื่อกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิักรรม ทั้งนี้ การออกแบบกิักรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยัะครอบคลุมกิ ักรรม
การเรียนรู้ และการประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใั (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) พร้อมทั้งออกแบบเครื่องมือการวัดและประเมินผล
ตลอดันแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลด้านการคิด
วิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร เปนนต้น ผู้สอนสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการััดทารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) ัึง
มั่นใัอย่างยิ่งว่า การนาแผนการััดการเรียนรู้เล่มนี้ไปเปนนแนวทางััดการเรียนการสอนัะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนให้สูงขึ้นตามมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุกประการ

คณะผู้ััดทา
สารบัญ

สรุปหลักสูตรฯ สาระภูมิศาสตร์ Geography


มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง และการรู้เรื่องภูมิศาสตร์
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน (ชุดสือ่ สัมฤทธิม์ าตรฐาน) ภูมิศาสตร์ ม.3
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน (ชุดสือ่ สัมฤทธิม์ าตรฐาน) ภูมิศาสตร์ ม.3
Pedagogy
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน (ชุดสื่อสัมฤทธิ์มาตรฐาน) ภูมิศาสตร์ ม.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนที่เฉพาะเรื่องและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 1 แผนที่เฉพาะเรื่อง
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 1 ลักษณะทั่วไปของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะภูมิประเทศของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 3 ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณทางธรรมชาติ
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 5 ลักษณะทางเศรษฐกิัของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 6 ลักษณะประชากร สังคมและวัฒนธรรม
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 7 ภัยพิบัติและแนวทางการััดการของทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 8 การััดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ทวีปอเมริกาใต้

แผนการััดการเรียนรู้ที่ 1 ทาเลที่ตั้ง อาณาเขตและลักษณะภูมิประเทศ


แผนการััดการเรียนรู้ที่ 2 ลักษณะภูมิอากาศและพืชพรรณทางธรรมชาติ
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 3 ทรัพยากรธรรมชาติในทวีปอเมริกาเหนือ
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 4 ลักษณะทางเศรษฐกิัของทวีปอเมริกาใต้
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 5 ลักษณะประชากร สังคมและวัฒนธรรม
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 6 ภัยพิบัติและแนวทางการััดการของทวีปอเมริกาใต้
แผนการััดการเรียนรู้ที่ 7 การััดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้
สรุปหลักสูตรฯ สาระภูมิศาสตร์ Geography*

ปัััุบันประเทศไทย และพื้นที่ต่าง ๆ ของโลกเกิดภาวะวิกฤตด้านกายภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม และมีผลกระทบอย่างรุนแรง


มากขึ้นเรื่อย ๆ นอกัากนั้น กระแสโลกาภิวัตน์ ความทันสมัยของวิทยาการและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่เปนนเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางภูมิศาสตร์มีมากขึ้น ตลอดันการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อการสร้างความยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพียง
สาระสาคัญของสาระภูมิศาสตร์ไม่เพียงพอต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และบางครั้งเกิดขึ้นโดยคาดการณ์ไม่ได้ ผู้เรียน
ัึงต้องมีทักษะ กระบวนการ และความสามารถทางภูมิศาสตร์ เพื่อเปนนเครื่องมือในการเรียนรู้ประกอบกัน ดังนั้น ัึงัาเปนนที่ัะต้องมี
การทบทวนและปรับปรุงสาระภูมิศาสตร์

สาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน


พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ยังคงยึดหลักการพัฒนาการเรียนรู้ตามธรรมชาติของกลุ่มสาระและพัฒนาการในการ
เรียนรู้สาหรับผู้เรียน ซึ่งได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับระดับความรู้ความสามารถของผู้เรียน

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อกิจกรรมของ


มนุษย์ อันจะนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับสาระภูมิศาสตร์ที่มีความลุ่มลึกและทันสมัยต่อการ
เปลี่ยนแปลงของโลก

สาระภูมิศาสตร์ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใัลักษณะทางกายภาพของโลก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดการ


สร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต เพื่อให้รู้เท่าทัน ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ตลอดันสามารถใช้ทักษะ กระบวนการ
ความสามารถทางภูมิศาสตร์ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ััดการทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมตามสาเหตุและปััััย อันัะนาไปสู่การ
ปรับใช้ในการดาเนินชีวิต*

* สรุปและลดทอนัาก สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ,


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560), หน้า 2.

1
2
3
4
มาตรฐาน / ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง และการรู้เรื่องภูมิศาสตร์
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลก และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์
และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
สาระการเรียนรู้ Geo-literacy
ชั้น ตัวชี้วัด มโนทัศน์สาคัญ คาถามหลัก
แกนกลาง ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ
ม.3 1. วิเคราะห์ลักษณะทาง • ที่ตั้ง ขนาด และอาณาเขต เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ จากแผนที่เฉพาะเรื่องและ การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ 1. การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. การสังเกต
กายภาพของทวีปอเมริกา ของทวีปอเมราเหนือและ สามารถนาไปใช้ในการ การสืบค้นโดยใช้เครื่องมือ 2. การรวบรวมข้อมูล 2. การแปลความข้อมูลทาง
เหนือและทวีปอเมริกาใต้ ทวีปอเมริกาใต้ สืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ ทางภูมิศาสตร์ ทวีปอเมริกา 3. การจัดการข้อมูล ภูมิศาสตร์
โดยเลือกใช้แผนที่เฉพาะ • การเลือกใช้แผนที่เฉพาะเรื่อง ลักษณะภูมิประเทศ เหนือและทวีปอเมริกาใต้มี 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
เรื่องและเครื่องมือทาง และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ และ ลักษณะภูมิประเทศ 5. การสรุปเพื่อตอบคาถาม 4. การคิดแบบองค์รวม
ภูมิศาสตร์สืบค้นข้อมูล สืบค้นข้อมูลลักษณะทาง ทรัพยากรธรรมชาติของ ภูมิอากาศ และ 5. การใช้เทคโนโลยี
กายภาพของทวีปอเมริกา ทวีปอเมริกาเหนือและทวีป ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไร
เหนือและทวีปอเมริกาใต้ อเมริกาใต้
2. วิเคราะห์การเกิดภัยพิบัติ • สาเหตุการเกิดภัยพิบัตแิ ละ ลักษณะทางกายภาพของ การเกิดภัยพิบัติของทวีป 1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ 1. การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. การแปลความข้อมูลทาง
และผลกระทบในทวีป ผลกระทบในทวีปปอเมริกา ทวีปอเมริกาเหนือและทวีป อเมริกาเหนือและทวีป และมนุษย์ 2. การรวบรวมข้อมูล ภูมิศาสตร์
อเมริกาเหนือและทวีป เหนือและทวีปอเมริกาใต้ อเมริกาใต้ ส่งผลต่อการเกิด อเมริกาใต้มีอะไรบ้าง และ 2. การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 2. การคิดเชิงพื้นที่
อเมริกาใต้ ภัยพิบัตแิ ละผลกระทบที่ เกิดจากสาเหตุใด 3. การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
แตกต่างกัน 5. การสรุปเพื่อตอบคาถาม
-

5
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สาระการเรียนรู้ Geo-literacy
ชั้น ตัวชี้วัด มโนทัศน์สาคัญ คาถามหลัก
แกนกลาง ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ
ม.3 1. สารวจและระบุทาเลที่ตั้ง • ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทาง ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทาง ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทาง 1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ - 1. การสังเกต
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจและสังคม เช่น เศรษฐกิจและสังคมใน เศรษฐกิจและสังคมในทวีป และมนุษย์ 2. การแปลความข้อมูลทาง
และสังคมในทวีปอเมริกา พื้นที่เพาะปลูกและ ทวีปอเมริกาเหนือและทวีป อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกา 2. การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์
เหนือและทวีปอเมริกาใต้ เลี้ยงสัตว์ แหล่งประมง อเมริกาใต้มีความสัมพันธ์กับ ใต้อยู่บริเวณใดบ้าง และมี 3. การใช้เทคนิคและเครื่องมือ
การกระจายของภาษาและ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ลักษณะอย่างไร ทางภูมิศาสตร์
ศาสนาในทวีปอเมริกา และทรัพยากรธรรมชาติ 4. การใช้เทคโนโลยี
เหนือและทวีปอเมริกาใต้
2. วิเคราะห์ปัจจัยทาง • ปัจจัยทางกายภาพและ ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัย ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัย 1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ 1. การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. การสังเกต
กายภาพและปัจจัยทาง ปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อ ทางสังคมมีผลต่อการ ทางสังคมส่งผลต่อทาเลที่ตั้งของ และมนุษย์ 2. การรวบรวมข้อมูล 2. การแปลความข้อมูลทาง
สังคมที่ส่งผลต่อทาเลที่ตั้ง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง เปลี่ยนแปลงทางประชากร กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และ 2. การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล ภูมิศาสตร์
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทางประชากร สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และ สังคมในทวีปอเมริกาเหนือและ 3. การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 3. การใช้เทคนิคและเครื่องมือ
และสังคมในทวีปอเมริกา เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรมในทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้อย่างไร 5. การสรุปเพื่อตอบคาถาม ทางภูมิศาสตร์
เหนือและทวีปอเมริกาใต้ วัฒนธรรมในทวีปอเมริกา และทวีปอเมริกาใต้ 4. การคิดเชิงพื้นที่
เหนือและทวีปอเมริกาใต้ 5. การคิดแบบองค์รวม
3. สืบค้น อภิปรายประเด็น • ประเด็นปัญหาจาก สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ปัญหาที่เกิดจากการปฏิสัมพันธ์ 1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ 1. การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. การสังเกต
ปัญหาจากปฏิสัมพันธ์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง มีอิทธิพลต่อกิจกรรมของมนุษย์ ระหว่างสิ่งแวดล้อมทาง และมนุษย์ 2. การรวบรวมข้อมูล 2. การแปลความข้อมูลทาง
ระหว่างสิ่งแวดล้อม สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ ขณะเดียวกันกิจกรรมของมนุษย์ กายภาพกับมนุษย์ที่เกิดขึ้นใน 2. การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล ภูมิศาสตร์
ทางกายภาพกับมนุษย์ที่ กับมนุษย์ที่เกิดขึ้น ก็ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมทาง ทวีปอเมริกาเหนือและทวีป 3. การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 3. การใช้เทคนิคและเครื่องมือ
เกิดขึ้นในทวีปอเมริกา ในทวีปอเมริกาเหนือและ กายภาพ และก่อให้เกิดปัญหา อเมริกาใต้ มีอะไรบ้าง มีสาเหตุ 5. การสรุปเพื่อตอบคาถาม ทางภูมิศาสตร์
เหนือและทวีปอเมริกาใต้ ทวีปอเมริกาใต้ การทาลายสิง่ แวดล้อมใน จากอะไร และส่งผลกระทบ - 4. การคิดเชิงพื้นที่
ทวีปอเมริกาเหนือและทวีป อย่างไรบ้าง 5. การคิดแบบองค์รวม
อเมริกาใต้ 6. การใช้เทคโนโลยี

6
สาระการเรียนรู้ Geo-literacy
ชั้น ตัวชี้วัด มโนทัศน์สาคัญ คาถามหลัก
แกนกลาง ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ
ม.3 4. วิเคราะห์แนวทาง • แนวทางการจัดการ การจัดการภัยพิบัติและ - การจัดการภัยพิบัติที่เกิดขึ้นใน 1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ 1. การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. การแปลความข้อมูลทาง
การจัดการภัยพิบัตแิ ละ ภัยพิบัติและการจัดการ การจัดการทรัพยากรและ ทวีปอเมริกาเหนือและทวีป และมนุษย์ 2. การรวบรวมข้อมูล ภูมิศาสตร์
การจัดการทรัพยากรและ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกาใต้มีแนวทางอย่างไร 2. การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 2. การคิดเชิงพื้นที่
สิ่งแวดล้อมในทวีป ในทวีปอเมริกาเหนือและ และทวีปอเมริกาใต้จะช่วยให้ - การจัดการทรัพยากรและ 3. การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 3. การคิดแบบองค์รวม
อเมริกาเหนือและทวีป ทวีปอเมริกาใต้ที่ยั่งยืน มนุษย์อาศัยอยู่รว่ มกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกา 5. การสรุปเพื่อตอบคาถาม 4. การใช้เทคโนโลยี
อเมริกาใต้ที่ยั่งยืน ได้อย่างยั่งยืน เหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่ 5. การใช้สถิติพื้นฐาน
ยั่งยืนมีแนวทางอย่างไร
5. ระบุความร่วมมือระหว่าง • เป้าหมายการพัฒนาที่ วิกฤตการณ์ทรัพยากรและ - เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน 1. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ 1. การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. การแปลความข้อมูลทาง
ประเทศที่มีผลต่อการ ยั่งยืนของโลก สิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบต่อ ของโลกมีอะไรบ้าง และมนุษย์ 2. การรวบรวมข้อมูล ภูมิศาสตร์
จัดการทรัพยากร • ความร่วมมือระหว่าง ภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก การ - ความร่วมมือระหว่างประเทศ 2. การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 2. การคิดเชิงพื้นที่
และสิ่งแวดล้อม ประเทศที่มีผลต่อการ จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อการจัดการทรัพยากร 3. การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ 4. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 3. การคิดแบบองค์รวม
จัดการทรัพยากรและ จึงต้องอาศัยความร่วมมือระหว่าง และสิ่งแวดล้อมมีในรูปแบบ 5. การสรุปเพื่อตอบคาถาม 4. การใช้เทคโนโลยี
สิ่งแวดล้อม ประเทศ เพื่อการพัฒนาทีย่ ั่งยืน ใดบ้าง อย่างไร 5. การใช้สถิติพื้นฐาน

7
คาอธิบายรายวิชา ภูมิศาสตร์
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษาการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์สารวจ สืบค้น แผนที่เฉพาะเรื่องและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพ


ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึ งปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจและสังคมในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ สาเหตุการเกิดภัยพิบัติ ประเด็นปัญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ รวมถึงแนวทางการจัดการภัยพิบัติ การจัดการทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมในทวีปอเมริกา
เหนือและทวีปอเมริกาใต้
โดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการสืบค้น วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ ใช้ทักษะทางภูมิศาสตร์ด้านการสังเกต การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงพื้นที่ การคิดแบบองค์
รวม การใช้เทคโนโลยี การใช้เทคนิคและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงภูมิสัมพันธ์ การใช้สถิติพื้นฐาน รวมถึงทักษะด้าน
การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะทางภูมิศาสตร์ และมี
ทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้านการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ความสามารถในการคิดและแก้ปัญหา มีคุณลักษณะด้าน
จิตสาธารณะ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีส่วนร่วมในการจัดการ ภัยพิบัติและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรปและ
ทวีปแอฟริกา

ตัวชี้วัด
ส 5.1 ม.3/1 ม.3/2
ส 5.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
รวม 7 ตัวชี้วัด

8
โครงสร้างรายวิชาภูมิศาสตร์ ชั้น ม.3

ลาดับ มาตรฐาน เวลา น้าหนัก


ชื่อหน่วยการเรียนรู้ การเรียนรู้ มโนทัศน์สาคัญ
ที่ (ชม.) คะแนน
/ ตัวชี้วัด
1 แผนที่เฉพาะเรื่องและ ส 5.1 แผนที่เฉพาะเรื่องเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ 4
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ม.3/1 สาคัญในการศึกษาข้อมูลหรือปรากฏการหนึ่งที่
เกิดขึ้นบนพื้นที่หนึ่ง การเลือกใช้แผนที่เฉพาะเรื่อง
การอ่านและแปลความหมายของแผนที่เฉพาะเรื่อง
อย่างถูกต้อง รวมทั้งการเลือกใช้เครื่องมือทาง
ภูมิศาสตร์อื่นๆในการสืบค้นข้อมูลจะทาให้สามารถ
วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ได้อย่างถูกต้อง
2 ทวีปอเมริกาเหนือ ส 5.1 เครื่ อ งมื อ ทางภู มิ ศ าสตร์ ส ามารถน าไปใช้ ใ นการ 18
ม.3/1 สื บ ค้ น ข้ อ มู ล เพื่ อ วิ เ คราะห์ ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศ
ม.3/2 ภู มิ อ ากาศ และทรั พ ยากรธรรมชาติ ข องทวี ป
ส 5.2
ม.3/1
อเมริกาเหนือ ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ม.3/2 และสั งคมในทวีปอเมริก าเหนือมีความสั มพันธ์กั บ
ม.3/3 ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ภู มิ อ า ก า ศ แ ล ะ
ม.3/4 ทรัพยากรธรรมชาติ . ปัจจัยทางกายภาพและปัจจัย
ม.3/5 ทางสั ง คมมี ผ ลต่ อการเปลี่ ย นแปลงทางประชากร
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในทวีปอเมริกาเหนือ
3 ทวีปอเมริกาใต้ ส 5.1 ทวีปอเมริกาใต้มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ทางซีกโลก 18
ม.3/1 ใต้ ลักษณะทางกายภาพมีความหลากหลาย มี
ส 5.2
ม.3/1 ทะเลและมหาสมุทรอยู่โดยรอบ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น
ม.3/2 ภูเขาและที่ราบสูง มีที่ราบเฉพาะเขตชายฝั่งและลุ่ม
ม.3/3 แม่น้า ภูมิอากาศมีทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น มี
ม.3/4
ม.3/5 ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การ
ดารงชีวิต จึงเป็นทวีปที่มีประชากรอาศัยอยู่มาก
และมีความหลากหลายทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
ลักษณะทางกายภาพเป็นปัจจัยสาคัญทาให้ ต้อง
เผชิญกับภัยพิบัติที่ส่งผลกระทบต่อประชากร

9
Pedagogy

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน (ชุดสื่อสัมฤทธิ์มาตรฐาน) ภูมิศาสตร์ ม.3 ผู้ััดทาได้ออกแบบการััดการเรียนรู้ และเทคนิคการสอน ตาม


รูปแบบการััดการเรียนการสอนสาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิักรรมการเรียนรู้ (Instructional Design) ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใั
ความสามารถ และทักษะกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ที่สะท้อนแนวทางการััดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือทา รู้ัักการโต้ตอบ ตลอดันการ
วิเคราะห์ปัญหา อันเปนนการััดการเรียนรู้แบบ Active Learning ตลอดันสะท้อนถึงสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่
หลักสูตรกาหนดไว้ โดยครูสามารถนาไปใช้ััดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ได้นารูปแบบการสอนการรู้เรื่อง
ภูมิศาสตร์ (Geo-Literacy) และรูปแบบการสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) มาใช้เปนนหลักในการออกแบบการ
สอน ดังนี้

10
11
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน (ชุดสื่อสัมฤทธิ์มาตรฐาน) ภูมิศาสตร์ ม.3
เวลา 40 ชั่วโมง
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ การรู้เรื่องภูมิศาสตร์ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/เทคนิค ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ (ชั่วโมง)
1. แผนที่เฉพาะเรื่องและ แผนฯ ที่ 1 แผนที่เฉพาะเรื่อง กระบวนการกลุ่ม 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม
แผนฯ ที่ 2 ระบบสารสนเทศ กระบวนการกลุ่ม 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
ภูมิศาสตร์ ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม 6 การใช้เทคนิคและ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
2. ทวีปอเมริกาเหนือ แผนฯ ที่ 1 ลักษณะทั่วไปของทวีป กระบวนการกลุ่ม การให้เหตุผลทาง 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 1
อเมริกาเหนือ ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี

12
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ การรู้เรื่องภูมิศาสตร์ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/เทคนิค ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ (ชั่วโมง)
คาถาม
แผนฯ ที่ 2 ลักษณะภูมิประเทศของ แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ การให้เหตุผลทาง 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
ทวีปอเมริกาเหนือ (Geographic Inquiry Process) ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
3. การจัดการข้อมูล 3. การใช้เทคนิคและ
4. การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
5. การสรุปเพื่อตอบ 4. การคิดแบบองค์รวม
คาถาม 5. การคิดเชิงพื้นที่
แผนฯ ที่ 3 ลักษณะภูมิอากาศและพืช กระบวนการกลุ่ม การให้เหตุผลทาง 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
พรรณธรรมชาติ ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
3. การจัดการข้อมูล 3. การใช้เทคนิคและ
4. การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
5. การสรุปเพื่อตอบ 4. การคิดเชิงพื้นที่
คาถาม 5. การคิดแบบองค์รวม
6. การใช้เทคโนโลยี

แผนฯ ที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติใน แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ การให้เหตุผลทาง 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2


ทวีปอเมริกาเหนือ (Geographic Inquiry Process) ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม

13
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ การรู้เรื่องภูมิศาสตร์ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/เทคนิค ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ (ชั่วโมง)
แผนฯ ที่ 5 ลักษณะทางเศรษฐกิจใน แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 4
ทวีปอเมริกาเหนือ (Geographic Inquiry Process) ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
3. การตัดสินใจอย่าง 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
เป็นระบบ 5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม
แผนฯ ที่ 6 ลักษณะประชากร สังคม แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 3
และ วัฒนธรรม (Geographic Inquiry Process) ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
3. การตัดสินใจอย่าง 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
เป็นระบบ 5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม 6. การใช้เทคนิคและ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนฯ ที่ 7 ภัยพิบัติและแนวทางการ แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
จัดการของทวีปอเมริกาเหนือ (Geographic Inquiry Process) ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การใช้เทคนิคและ
3. การตัดสินใจอย่าง 4. การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เป็นระบบ 5. การสรุปเพื่อตอบ 4. การคิดเชิงพื้นที่
คาถาม 5. การคิดแบบองค์รวม
6. การใช้เทคโนโลยี
7. การใช้สถิติพื้นฐาน

14
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ การรู้เรื่องภูมิศาสตร์ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/เทคนิค ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ (ชั่วโมง)
แผนฯ ที่ 8 การจัดการ แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน (Geographic Inquiry Process) ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
ทวีปอเมริกาเหนือ 2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การใช้เทคนิคและ
3. การตัดสินใจอย่าง 4. การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เป็นระบบ 5. การสรุปเพื่อตอบ 4. การคิดเชิงพื้นที่
คาถาม 5. การคิดแบบองค์รวม
6. การใช้เทคโนโลยี
7. การใช้สถิติพื้นฐาน

3. ทวีปอเมริกาใต้ แผนฯ ที่ 1 ทาเลที่ตั้ง อาณาเขตและ แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ การให้เหตุผลทาง 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 3


ลักษณะภูมิประเทศ (Geographic Inquiry Process) ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม
แผนฯ ที่ 2 ลักษณะภูมิอากาศและพืช แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ การให้เหตุผลทาง 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
พรรณธรรมชาติ (Geographic Inquiry Process) ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม

15
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ การรู้เรื่องภูมิศาสตร์ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/เทคนิค ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ (ชั่วโมง)
แผนฯ ที่ 3 ทรัพยากรธรรมชาติใน กระบวนการกลุ่ม การให้เหตุผลทาง 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
ทวีปอเมริกาเหนือ ภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม
แผนฯ ที่ 4 ลักษณะทางเศรษฐกิจใน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 4
ทวีปอเมริกาเหนือ Instructional Model) ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
3. การตัดสินใจอย่าง 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
เป็นระบบ 5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม
แผนฯ ที่ 5 ลักษณะประชากร สังคม แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 3
และ วัฒนธรรม Instructional Model) ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การคิดเชิงพื้นที่
3. การตัดสินใจอย่าง 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4. การคิดแบบองค์รวม
เป็นระบบ 5. การสรุปเพื่อตอบ 5. การใช้เทคโนโลยี
คาถาม 6.การใช้เทคนิคและ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

16
แนวคิด/รูปแบบการสอน/ การรู้เรื่องภูมิศาสตร์ เวลา
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
วิธีสอน/เทคนิค ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ (ชั่วโมง)
แผนฯ ที่ 6 ภัยพิบัติและแนวทางการ แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
จัดการของทวีปอเมริกาเหนือ (Geographic Inquiry Process) ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การใช้เทคนิคและ
3. การตัดสินใจอย่าง 4. การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เป็นระบบ 5. การสรุปเพื่อตอบ 4. การคิดเชิงพื้นที่
คาถาม 5. การคิดแบบองค์รวม
6. การใช้เทคโนโลยี
7. การใช้สถิติพื้นฐาน
แผนฯ ที่ 7 การจัดการ แบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ 1. ความเข้าใจระบบ 1. การตั้งคาถามเชิง 1. การสังเกต 2
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน (Geographic Inquiry Process) ธรรมชาติและมนุษย์ ภูมิศาสตร์ 2. การแปลความข้อมูล
ทวีปอเมริกาเหนือ 2. การให้เหตุผลทาง 2. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ 3. การจัดการข้อมูล 3. การใช้เทคนิคและ
3. การตัดสินใจอย่าง 4. การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เป็นระบบ 5. การสรุปเพื่อตอบ 4. การคิดเชิงพื้นที่
คาถาม 5. การคิดแบบองค์รวม
6. การใช้เทคโนโลยี
7. การใช้สถิติพื้นฐาน

17

You might also like