23 ระบบบริหารจัดการ Syslog

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 62

ระบบบริหารจัดการ Syslog

(My Syslog Management)

พัชรินธร รืน่ ราตรี

สารนิพนธ์น้เี ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปีการศึกษา 2557
หัวข้อโครงงาน ระบบบริหารจัดการ Syslog
นักศึกษา นางสาว พัชรินธร รื่นราตรี
รหัสนักศึกษา 5517670013
หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปีการศึกษา 2557
อาจารย์ผคู้ วบคุมโครงงาน ผศ.ดร.วรพล ลีลาเกียรติสกุล

บทคัดย่อ
สารนิพนธ์ระบบบริหารจัดการ Syslog มีวตั ถุประสงค์เพื่อบริห ารจัดการข้อมูลล็อก ที่
ได้ม าจากการทางานต่างๆ ของเครื่อ งในระบบที่ทางานบนเครือข่าย ช่วยให้การทางานของ
ผูด้ ู แ ลระบบและผู้ท่ี ม ีส่ว นเกี่ย วข้องกับ ระบบสามารถท างานได้ง่ าย ถู ก ต้อ ง สะดวกและมี
ประสิทธิภาพ มีการจัดการกับรูปแบบของ Syslog message ใหม่ให้ง่ายต่อการนาไปใช้ แจ้ง
เตือ นการท างานหากพบว่าข้อมูลล็อก(Log) นัน้ พบความผิดปกติ ตามเงื่อนไขที่ผู้ดูแ ลระบบ
กาหนดไว้ ข้อมูลล็อกจะถูกบันทึกไว้ในฐานข้อมูลสามารถนาเสนอออกมาเป็ นรายงาน เพือ่ เป็ น
ตัวช่วยในการวิเคราะห์ ตัดสินใจในการดูแ ล พัฒนาระบบ ลดข้อผิดพลาดในการทางานของ
ระบบให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

I
กิ ตติ กรรมประกาศ
สารนิ พ นธ์ น้ี ส าเร็จ ลุล่ว งได้ด้ วยดี ด้ว ยค วามกรุณ าจากบุ ค คลหลายฝ่า ยที่เ ป็ น ผู้ ม ี
อุปการะคุณให้คาแนะ ให้คาปรึกษา และให้ความช่วยเหลือ ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณมา ณ ที่น้ี
ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.วรพล ลีลาเกียรติสกุ ล อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงาน ที่
กรุณาแนะนา และตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์ ต่อการทาสารนิพนธ์ ทา
ให้สารนิพนธ์มคี วามถูกต้องสมบูรณ์ ครบถ้วน และเกิดประโยชน์สูงสุด
ข้าพเจ้าขอขอบพระคุ ณ อาจารย์พ งษ์ สุรี ลิ้ม มณี ว ิจิต ร ที่ก รุณ าให้คาปรึกษา ชี้แ นะ
แนะนา ดูแล ด้วยความเอาใจใส่เป็ นอย่างดี จนสามารถทาให้ เกิดแนวคิดในการทาสารนิพนธ์
ฉบับนี้
ข้า พเจ้า ขอขอบพระคุณ ครูอ าจารย์ทุ ก ๆท่ านที่ อบรมสัง่ สอนวิช าการต่ างๆ ให้แ ก่
ข้าพเจ้า จนทาข้าพเจ้าได้นาวิชาการ และความรูม้ าพัฒนาโครงงานนี้ ให้เป็นประโยชน์ แก่ผอู้ ่นื
และตัวข้าพเจ้าเอง
ขอขอบคุณเพื่อนๆ พี่ๆ น้อ งๆ และผูท้ ่มี คี วามเกี่ยวข้องทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือ ให้
กาลังใจ และหวังดีกบั ข้าพเจ้ามาโดยตลอด

พัชรินธร รื่นราตรี
ธันวาคม 2557

II
สารบัญ
หน้า

บทคัดย่อ I
กิตติกรรมประกาศ II
สารบัญ III
สารบัญตาราง V
สารบัญรูป VI
บทที่ 1 บทนา 1

1.1 ปญหาและแรงจู งใจ 1
1.2 สารนิพนธ์ท่นี าเสนอ 1
1.3 วัตถุประสงค์ 1
1.4 ขอบเขตสารนิพนธ์ 2
1.5 โครงสร้างของสารนิพนธ์ 2
บทที่ 2 พืน้ ฐานและทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง 3
2.1 ทฤษฎีการทางานของระบบ 3
2.2 Syslog 3
2.3 การคานวณหาค่า Facility และ Severity จากค่า Priority 6
2.4 การแจ้งเตือนเหตุการณ์ผา่ นทาง SMS (Google Calendar API) 7
บทที่ 3 การออกแบบและวิธดี าเนินการ 9
3.1 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 9
3.2 การทางานของระบบ 10
3.3 ER Diagram ของระบบ MyBase 12
3.4 การออกแบบกระบวนการรับส่งข้อมูลและ Flow การทางาน 13
3.5 โครงสร้างฐานข้อมูล 24
บทที่ 4 การทดลองและผลการทดลอง 29
4.1 ขัน้ ตอนการทางานและเครื่องมือที่ใช้ในการทดลองระบบ 29
4.2 การทางานของเซิร์ฟเวอร์ 30
4.3 การทางานของโปรแกรม 32

III
สารบัญ(ต่ อ)
หน้า

บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน 45
5.1 ผลการดาเนินงาน 45

5.2 ปญหาและอุ ปสรรค 45
5.3 แนวทางการแก้ไข 45
5.4 แนวทางการพัฒนาในอนาคต 45
เอกสารอ้างอิง 46
ภาคผนวก ก ก-1

IV
สารบัญตาราง
หน้ า

ตารางที่ 2.1 ส่วนประกอบของ syslog message 3


ตารางที่ 2.2 ตารางแสดงค่า Facility และคาอธิบาย 4
ตารางที่ 2.3 ตารางแสดงค่า Severity และคาอธิบาย 5
ตารางที่ 3.1 ตารางผูใ้ ช้งานระบบ 24
ตารางที่ 3.2 ตารางสถานะผูใ้ ช้งาน 24
ตารางที่ 3.3 ตารางข้อมูล Syslog 25
ตารางที่ 3.4 ตารางข้อมูล Facility 25
ตารางที่ 3.5 ตารางข้อมูล Severity 26
ตารางที่ 3.6 ตารางข้อมูล Device 26
ตารางที่ 3.7 ตารางข้อมูล RecLog 27
ตารางที่ 3.8 ตารางข้อมูล AlertLog 27
ตารางที่ 3.9 ตารางข้อมูล NotifyStatus 28
ตารางที่ 3.10 ตารางข้อมูล Userdevice 28
ตารางที่ 3.11 ตารางข้อมูล Notifiedlog 28

V
สารบัญรูป
หน้ า

รูปที่ 3.1 แผนภาพแสดงภาพรวมการทางานของระบบ 10


รูปที่ 3.2 แผนภาพแสดงการรับข้อมูลล็อกจาก Client 11
รูปที่ 3.3 ER Diagram ของระบบ MyBase 12
รูปที่ 3.4 แผนผังแสดงภาพรวมการทางาน Server 13
รูปที่ 3.5 แผนผังแสดงภาพรวมการทางาน MyManagement 14
รูปที่ 3.6 แผนผังแสดงการเพิม่ ข้อมูลผูใ้ ช้งาน 15
รูปที่ 3.7 แผนผังแสดงการ Login เข้าใช้งานระบบ 16
รูปที่ 3.8 แผนผังแสดงการแสดงข้อมูลล็อก 17
รูปที่ 3.9 แผนผังแสดงการค้นหาข้อมูลล็อก 18
รูปที่ 3.10 แผนผังแสดงการเพิม่ ข้อมูลค่า Facility 19
รูปที่ 3.11 แผนผังแสดงการเพิม่ ข้อมูลค่า Severity 20
รูปที่ 3.12 แผนผังแสดงการกาหนดไอพีเครือ่ งที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลล็อกลงฐาน
ข้อมูล 21
รูปที่ 3.13 แผนผังแสดงการกาหนดเงือ่ นไขในการเก็บข้อมูลล็อกลงฐานข้อมูล 22
รูปที่ 3.14 แผนผังแสดงการกาหนดเงือ่ นไขและช่องทางการแจ้งเตือน
เมือ่ เกิดเหตุการณ์ผดิ ปกติ 23
รูปที่ 4.1 ขัน้ ตอนการทางานของระบบ 29
รูปที่ 4.2 ตัวอย่างข้อมูลล็อกที่ถูกเก็บลงฐานข้อมูล 30
รูปที่ 4.3 ตัวอย่าง SMS ที่ถูกส่งมาระบบแจ้งเตือน 31
รูปที่ 4.4 ตัวอย่าง Email ที่ถูกส่งจากระบบแจ้งเตือน 31
รูปที่ 4.5 หน้าจอการเข้าสู่ระบบ 32
รูปที่ 4.6 หน้าจอแสดง error หากไม่สามารถเข้าสู่ระบบ 32
รูปที่ 4.7 หน้าจอเพิม่ ผูใ้ ช้งานระบบ 33
รูปที่ 4.8 หน้าจอแสดงข้อมูลผูใ้ ช้งาน 33
รูปที่ 4.9 หน้าจอกาหนดสิทธิผใู้ ช้งาน 34
รูปที่ 4.10 หน้าจอ Preview เพือ่ ทาการแก้ไขข้อมูลผูใ้ ช้งาน 34
รูปที่ 4.11 หน้าจอเพิม่ ข้อมูลผูใ้ ช้งาน 35

VI
สารบัญรูป(ต่ อ)
หน้า

รูปที่ 4.12 หน้าจอเลือกเงื่อนไขในการแจ้งเตือน 35


รูปที่ 4.13 หน้าจอกาหนดข้อมูลของเซิร์ฟเวอร์ท่ตี อ้ งการเก็บข้อมูลล็อก 36
รูปที่ 4.14 หน้าจอเพิม่ ค่า Facility 37
รูปที่ 4.15 หน้าจอแก้ไขค่า Facility 37
รูปที่ 4.16 หน้าจอเพิม่ ค่า Severity 38
รูปที่ 4.17 หน้าจอแก้ไขค่า Severity 38
รูปที่ 4.18 หน้าจอกาหนดค่าเครื่องที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลล็อก 39
รูปที่ 4.19 หน้าจอแก้ไขค่าเครื่องที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลล็อก 39
รูปที่ 4.20 หน้าจอกาหนดความเกี่ยวข้องระหว่างผูใ้ ช้งานกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ 40
รูปที่ 4.21 หน้าจอแสดง แก้ไข ลบการตัง้ ค่าทัง้ หมดของโปรแกรม 40
รูปที่ 4.22 หน้าจอ Show 41
รูปที่ 4.23 หน้าจอ Event 41
รูปที่ 4.24 หน้าจอ Report 42
รูปที่ 4.25 หน้าจอ Show(User) 42
รูปที่ 4.26 หน้าจอ Event(User) 43
รูปที่ 4.27 หน้าจอ Report(User) 43
รูปที่ 4.28 หน้าจอเลือกเมนู เพือ่ การแก้ไขข้อมูลส้วนตัวผูใ้ ช้งาน 44
รูปที่ 4.29 หน้าจอสาหรับการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวผูใ้ ช้งาน 44

VII
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ปัญหำและแรงจูงใจ
เนื่องจากปจั จุบนั มีการจัดเก็บข้อมูลล็อก(Log)บนเครือข่าย แต่ขอ้ มูลล็อกนัน้ ไม่มกี าร
จัดการหรือมีการวิเคราะห์ใดๆกับข้อมูลที่เก็บไว้ ซึ่งข้อมูลล็อกที่เก็บไว้นัน้ สามารถนามาเป็ น
ข้อมูลในการวิเคราะห์การใช้งานทรัพยากร นามาเป็ นข้อมูล ในการตัดสินใจต่างๆบนเครือข่าย
แจ้งเตือนความผิดปกติของเครือข่าย เพือ่ ทาให้เครือข่ายมีประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด
จึง เป็ นที่มาในการทาระบบมอนิ เตอร์เครือข่าย มีการท าระบบจัดการข้อมูล ล็อกเพื่อ
นามาใช้แ จ้งเตือนการทางานของระบบเครือข่ายเพือ่ ให้สามารถทราบถึงความผิดปกติของระบบ
เครือข่าย หรือเพื่อช่วยในการตัดสินใจต่างๆบนระบบเครือข่าย โดยมีรูปแบบและการจัดการ
ตรวจสอบที่ง่ายขึน้

1.2 สำรนิ พนธ์ที่นำเสนอ


ระบบมอนิเตอร์เครือข่าย จะช่วยจัดการข้อมูลและเหตุการณ์ ต่างๆที่เกิดขึ้น บนระบบ
เครือข่าย ระบบจะรายงานข้อผิดพลาด แจ้ง เตือนตามการระบุ facility, severity หรือ content
ที่มาจากการวิเคราะห์ขอ้ มูลล็อก สามารถออกรายงานสรุปข้อมูลล็อก เป็ นรายวัน เดือน ปี ตาม
กาหนดได้

1.3 วัตถุประสงค์
1.3.1 เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการทางานของผูด้ ูแ ลระบบให้ทางานได้อย่างรวดเร็ว
และมีความแม่นยาถูกต้อง
1.3.2 เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการทางานของระบบ
1.3.3 เพือ่ ให้เกิดความรวดเร็วในการติดตามและแก้ไขระบบ
1.3.4 เพือ่ ลดภาระและข้อผิดพลาดของผูด้ ูแลระบบ

1
1.4 ขอบเขตสำรนิ พนธ์
1.4.1 ระบบสามารถจัดการข้อมูลภายในระบบ ได้แก่
1.4.1.1 การเพิม่ ลบ แก้ไข ข้อมูลผูใ้ ช้งานระบบ
1.4.1.2 การเพิม่ ลบ แก้ไข เงื่อนไขในการเก็บข้อมูลล็อก
1.4.1.3 การเพิม่ ลบ แก้ไข การตัง้ ค่าการแจ้งเตือนของระบบ
1.4.2 ระบบสามารถแสดงเหตุการณ์ขอ้ มูล แบ่งเป็น
1.4.2.1 แสดงเหตุการณ์จากค่า Facility
1.4.2.2 แสดงเหตุการณ์จากค่า Severity
1.4.2.3 แสดงเหตูการณ์จากค่า Content
1.4.3 ระบบสามารถแจ้งเตือนเหตุการณ์ผดิ ปกติผา่ นทางอีเมล์ได้
1.4.4 ระบบสามารถแจ้งเตือนเหตุการณ์ผดิ ปกติผา่ นทาง SMS
1.4.5 ระบบสามารถออกรายงานสรุปข้อมูลล็อกได้ตามค่าที่กาหนด

1.5 โครงสร้ำงของสำรนิ พนธ์


ั แรงจูงใจ วัตถุประสงค์และขอบเขตของสารนิพนธ์
บทที่ 1 กล่าวถึงความเป็นมา ปญหา
บทที่ 2 กล่าวถึงกล่าวถึงทฤษฏีของระบบที่เกี่ยวข้อง ที่ได้นามาใช้ในการพัฒนาระบบ
บทที่ 3 กล่าวถึงการออกแบบระบบ ภาพรวมโครงสร้างของระบบ อธิบายลาดับขัน้ ตอน
การทางานและข้อมูลต่างๆระบบที่เก็บลงฐานข้อมูล
บทที่ 4 กล่าวถึงภาพรวมการทางาน โครงสร้างการใช้งาน และการทดลองใช้งานระบบ
บทที่ 5 กล่าวถึง ผลสรุปผลการดาเนินงานของระบบ ปญั หาและอุปสรรคที่พบ วิธีการ
แก้ไข และแนวทางในการพัฒนาต่อไปในอนาคต

2
บทที่ 2
พื้นฐำนและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1 ทฤษฎีกำรทำงำนของระบบ
วัต ถุป ระสงค์ ของสารนิ พ นธ์เล่มนี้ เพื่อ ศึกษาและพัฒ นาระบบมอนิ เตอร์ก ารใช้ง าน
เครือข่าย โดยมีการจัดการข้อมูลล็อกให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ซึ่งระบบจะเกี่ยวข้องกับทฤษฏี
องค์ความรู้ ประกอบการศึกษาและพัฒนาระบบซึ่งจะมีหวั ข้อที่ศกึ ษาดังนี้
2.1.1 Syslog
2.1.2 การคานวณหาค่า Facility และ Severity จากค่า Priority
2.1.3 การส่งการแจ้งเตือนล็อกผ่านทาง SMS (Google Calendar API)

2.2 Syslog [1]


Syslog เป็ น โปรโตคอล Client / Server รับ ส่ ง ข้อ มู ล ผ่ า นทาง UDP (port 514) ใช้
จัดเก็บข้อมูลจราจร หรือ log file เหตุการณ์ต่าง ๆ ทาเป็นประวัตกิ ารใช้งานในระบบ
2.2.1 รู ป แบบ Syslog message format ที่อ้างอิง ตามมาตรฐาน RFC3164 โดยแบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน ซึ่งความยาวโดยรวมของแพ็คเก็ตจะต้องไม่เกิน 1024 ไบต์ ดัง ตารางที่ 2.1

ตำรำงที่ 2.1 ส่วนประกอบของ syslog message


PRIORITY HEADER MESSAGE
<PRI>
TIMESTAMP HOSTNAME TAG CONTENT
FACILITY,SEVERITY
8 Bits
1024 Bits

3
2.2.1.1 PRIORITY
เป็นเลข 8 บิตที่แ สดงอยู่ภายใต้เครื่องหมาย “<>” ซึ่งเป็นค่าที่ได้มาจากการคานวณค่า
Facility กับ Severity
 Facility ค่าและชื่อของกระบวนการที่ถูกกาหนดไว้ตาม RFC3164
ซึ่งมีค่าต่างๆดังตารางที่ 2.2

ตำรำงที่ 2.2 ตารางแสดงค่า Facility และคาอธิบาย


Facility Number Keyword คาอธิบาย
0 Kern kernel messages
1 User user-level messages
2 Mail sendmail และ ซอฟแวร์อ่นื ๆที่เกี่ยวกับเมล์
3 Deamon system daemons
4 Auth เกี่ยวข้องกับการทา security/authorization
5 Syslog ข้อมูลล็อกภายในของ syslogd
6 Lpr line printer subsystem
7 News network news subsystem
8 Uucp UUCP subsystem
9 clock daemon
10 Authpriv เกี่ยวข้องกับการทา private authorization
11 ftp FTP deamon
12 - NTP subsystem
13 - log audit
14 - log alert
15 Cron clock deamon
16-23 local0-7 local user (local0-local7)

4
 Severity หรือ เรีย กอีกอย่างว่า Level คือระดับ ของความรุนแรง
ของความผิดปกติการแจ้งเตือนข้อผิดพลาด ซึ่งมีค่าต่างๆดังตาราง
ที่ 2.3

ตำรำงที่ 2.3 ตารางแสดงค่า Severity และคาอธิบาย


Code Severity Keyword คาอธิบาย
0 Emergency emerg(panic) ภาวะฉุกเฉินเร่งด่วน
1 Alert alert ภาวะที่ ค วรได้รับ การแก้ ไขตามระยะเวลาที่
กาหนด
2 Critical crit ั
ภาวะที่ควรได้รบั การแก้ไข บ่งบอกปญหาก่ อน
การ alert
3 Error err ภาวะเกิดข้อผิดพลาด
4 Warning warning คาเตือน ยังไม่เกิดข้อผิดพลาดแต่มกี ารบ่ง ชี้ว่า
อาจจะเกิดข้อผิดพลาด
5 Notice notice ข้อสังเกต เกิดเหตุการณ์ผดิ ปกติ อาจจะไม่ตอ้ ง
ดาเนินการแก้ไข
6 Information info ข้อมูลทัวไป

7 Debug debug ดีบกั แก้ไขจุดบกพร่องของนักพัฒนาระบบ

2.2.1.2 HEADER เป็นส่วนที่ต่อจากค่า Priority แสดงอยูห่ ลังเครื่องหมาย “>”


ประกอบด้วย Timestamp และ Hostname
 Timestamp เวลาที่ เกิ ด การเก็ บ ล็อ ก มีรู ป แบบดั ง นี้ "Mmm dd
hh:mm:ss" Mmm เป็นชื่อย่อเดือนภาษาอังกฤษ 3 ตัวอักษร เช่น
“JAN”,”FEB” เป็ น ต้น dd เป็ น วัน ที่มคี ่ าตัวเลขขนาด 2 ตัว อัก ษร
และ hh:mm:ss เป็นเวลา ชัวโมง
่ นาที และ วินาที ตามลาดับ
 Hostname ชื่อโฮสต์ หรือที่อยู่ IP ของอุปกรณ์ท่เี ก็บข้อมูลล็อก

5
2.2.1.3 MESSAGE ชุดข้อมูลทีอธิบายข้อมูลล็อค
 Tag เป็นชื่อของโปรแกรมหรือชื่อของ โปรเซสที่สร้างล็อก เนื้อหามี
รายละเอียด เป็นข้อความ ในบางครัง้ อาจจะปรากฏหมายเลขของ
โปรเซส pid ซึ่งจะอยูใ่ นเครื่องหมาย [ ] แล้วตามด้วยเครื่องหมาย
“:”
 Content เป็ น ส่วนของข้อมูลรายละเอีย ดล็อกซึ่ง ไม่ม ีรูปแบบหรือ
ข้อกาหนดในการแสดงผล
การประมวลผลข้อความ syslog อ้างอิงตามมาตรฐาน RFC3164 โดยระบุไว้วา่ รูปแบบ
ข้อความ syslog จะมี 2 แบบคือ
<PRI>TIMESTAMP HOSTNAME TAG: CONTENT และ
<PRI>TIMESTAMP HOSTNAME TAG[PID]: CONTENT

ตัวอย่าง Syslog
<34>Oct 11 22:14:15 mymachine su: 'su root' failed for lonvick on /dev/pts/8

2.3 กำรคำนวณหำค่ำ Facility และ Severity จำกค่ำ Priority


ค่า priority เป็ นตัวเลขภายในเครื่องหมาย ‘<’ และ ‘>’ ซึ่ง ค่า priority มีจานวน 8 bits
ตัวอย่างเช่น priority มีค่าเท่ากับ 34
 แปลงค่า priority เป็นเลขฐาน 2 ขนาด 8 bits
0 0 1 0 0 0 1 0
 โดยแบ่งเลข 8 bits เป็น 5 bits ทางซ้าย คือค่า Facility(F) และ3 bitsทางขวาเป็น
ค่า Severity(L) ดังนี้ FFFFFLLL
0 0 1 0 0 0 1 0
 จะได้ค่า Facility และค่า Severity ดังนี้
Facility  000FFFFF
Severity  FFFFFLLL & 00000111 = LLL
Faciliry = 4
0 0 0 0 0 1 0 0

Severity = 2
0 0 0 0 0 0 1 0

6
 หรือคานวณจาก
Priority = (Facility * 8) + Severity
Facility = priority >> 3
และค่า Severity = priority & 7 (0000111)
ดังนัน้ ค่า Priority 27 มีค่า Facility 3 และค่า Severity Level 3

2.4 กำรแจ้งเตือนเหตุกำรณ์ ผ่ำนทำง SMS (Google Calendar API v.3) [2][3]


การท างานของการ แจ้ ง เตื อ นผ่ า น SMS มี ห ลากห ลายวิธี ใ นการใช้ ส่ ง โด ย
MyManagement เลือกช่องทางการส่ง SMS โดยผ่าน Google Calendar ซึ่ง สามารถนา API
มาใช้เพือ่ ให้สามารถส่งข้อความผ่านมือถือได้ฟรี เพียงได้รบั การ Verify จาก Google ดังนี้
2.4.1 Google Calendar APIs
พัฒ นาให้โ ปรแกรมสามารถ สร้าง แก้ไข หรือ ลบกิจกรรม รวมถึง การค้นหา โดยใช้
โครงสร้างการทางานแบบ REST และไลบารี่ มาใช้การในการพัฒนาโปรแกรมในภาษาต่างๆ
(Java, Phython, PHP, .NET และ Ruby) ให้เราสามารถเชื่อมต่อ Google Calendar กับงาน
ของเราได้สะดวกขึน้
2.4.2 Google APIs Client Library for PHP(beta)
APIs ที่ถูกออกแบบมาสาหรับการพัฒ นาด้วย PHP ให้ส ามารถเข้าถึง การใช้ง านได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
 Setup สร้างการเชื่อ มต่อ โดยการ “Sign up” กับ บัญชี Google แล้วสร้าง
โปรเจคใน Google Developers Console และติดตัง้ ไลบารี่
 Authentication and authorization APIs
o Simple API access (API keys) จะไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลส่วนตัว
ได้ไม่ได้มกี ารเชื่อมต่อกับ Google Developers Console
o Authorized API access (OAuth 2.0) API ที่ จ ะ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล
ส่ว นตัว แต่ผู้ใช้ง านจะต้องท าการให้สิท ธิ ์เข้าถึง โปรแกรมก่ อ น
ดัง นั ้น โปรแกรมของเราจะต้อ งได้รับ การยืน ยัน สิท ธิก์ ่ อ นจึง จะ
สามารถเข้าถึง ไลบารี่และ OAuth 2.0
o Building and calling a service ประกอบด้วยการ
- Building the Client object

7
$client= new Google_Client();
$client->setApplicationName("MyApplication");
$client->setDeveloperKey(MY_SIMPLE_API_KEY);
- Building the Service object
$service = new Google_Service_Books($client);
- Calling an API
$optParams = array('filter' => 'free-ebooks');
$results = $service->volumes->listVolumes('Henry
David Thoreau', $optParams);
- Handling the result
foreach ($results as $item) {
echo $item['volumeInfo']['title'], "<br /> \n";
}

8
บทที่ 3
กำรออกแบบและวิธีกำรดำเนิ นกำร

3.1 กำรวิเครำะห์และออกแบบระบบ
โครงสร้างของระบบ
1. Server
2. MyManagement
3. MyBase
มีรายละเอียดของโครงสร้างส่วนต่างๆดังนี้
3.1.1 Server
เป็ น ส่ ว นประมวลผลหลัก ที่ท างานในอยู่เบื้อ งหลัง ที่ใช้ในการรับ ค่ าและตรวจสอบ
แหล่ง ที่ม าของข้อมูลล็อ กจากเครื่อ ง Client แล้ว นามาวิเคราะห์ จัดรูป แบบ และดาเนิ น การ
จัด เก็บข้อมูลล็อก ตามข้อกาหนดที่ ได้กาหนดเงื่อนไขไว้ เพื่อเก็บลงใน MyBase เมื่อพบว่ามี
ข้อมูลล็อกแสดงเหตุการณ์ ผดิ ปกติ มีค่า facility และ severity ที่กาหนดให้มกี ารแจ้งเตือน โดย
แจ้งเตือนผ่านทางหน้าเว็บ MyManagement อีเมลล์ หรือ SMS
3.1.2 MyManagement
เป็ นส่วนที่ใช้ในการบริหารจัดการ สร้าง ลบ แก้ไข ตัง้ ค่าข้อมูลต่างๆ ทางานร่วมกับ
Server ในการกาหนดค่า Facility, Severity, กาหนดช่องทางการแจ้ง เตือนความผิดปกติ การ
สร้างผูใ้ ช้งานระบบ การกาหนดสิทธิการใช้งาน การระบุเครื่องที่ตอ้ งการรับข้อมูลล็อก การแสดง
ข้อมูลล็อก การออกรายงานสรุป ฯลฯ
3.1.3 MyBase
เป็นส่วน Data Base ที่เป็นพืน้ ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ที่ได้รบั มาจาก Server ซึ่งจะแบ่งแยก
การจัด เก็บ ข้อ มูล ต่ า งๆ ตามความเหมาะสม โดยที่ Server และ MyManagement จะเป็ น
กาหนดการทางาน ประมวลผลและวิเคราะห์วา่ จะต้องเก็บข้อมูลใดบ้าง ไว้ท่ตี ารางใดบ้าง

9
3.2 กำรทำงำนของระบบ

log Email
MyManagement

Client User

Switch

MyBase

log SMS

Mobile Phone
Client

รูปที่ 3.1 แผนภาพแสดงภาพรวมการทางานของระบบ

จากรูปที่ 3.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ ฝงั ่ Client มีการส่งข้อมูลล็อก โดยผ่าน switch มายัง


ส่วนของ Server จะทาการรับข้อมูล ตรวจสอบหมายเลขไอพีเครื่องที่เป็น แหล่งที่มาของล็อกซึ่ง
ถู ก ก าหนดค่ า ผ่ า นทาง MyManagement และค านวณหาค่ า facility และ severity จากค่ า
priority ที่พบใน syslog message format หากตรงตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ก็จะทาการจัดเก็บ
ข้อมูลลง MyBase โดยผู้ดูแ ลระบบสามารถกาหนดการแจ้ง เตือ นเมื่อได้รับ ข้อมูลที่ตรงตาม
เงื่อนไขโดยการระบุ facility และ severity หรือข้อมูลที่พบในล็อกผ่านทางจะแสดงในส่วนของ
MyManagement หรือแจ้งเตือนผ่านอีเมลล์ รวมถึง แจ้ง เตือนผ่านทางข้อความ SMS โดยการ
ทางานทัง้ หมดผูด้ ูแ ลระบบสามารถบริห ารจัดการผ่านทางเว็บบราวเซอร์ผ่านส่ วนที่เรียกว่า
MyManagement

10
3.2.1 การรับข้อมูลล็อก จากเครื่อง Client แล้วบันทึกลงฐานข้อมูล
Server ทาหน้าที่รบั ข้อมูลล็อกจากเครื่อง Client ซึ่ง Server ทางานอยู่บนโปรโตคอล
UDP พอร์ต 514 ตามมาตรฐานของการรับส่งข้อมูลของโปรโตคอล syslog ดังรูปที่ 3.2

Client Server MyBase


ส่งข้อมูลล็อก

ค้ น ห า ข้ อ มู ล ว่ า เป็ น ไอ พี ที่
ต้องการ
ส่งไอพีทตี่ อ้ งการ

ตรวจสอบว่า เป็นไอพีท ี่
ต้องการ แล้วประมวลผลข้อมูล
ล็อก
บันทึกข้อมูลล็อก

รูปที่ 3.2 แผนภาพแสดงการรับข้อมูลล็อกจาก Client

อธิ บำยกำรทำงำน
จากรูปที่ 3.2 เมื่อ Client ส่งข้อมูลล็อกมาที่ Server ข้อมูลล็อกนัน้ จะต้องถูกตรวจสอบ
ไอพีเครื่องก่อนว่าเป็ นเครื่องที่ถูกระบุไว้ในฐานข้อมูล หากตรงตามที่ระบุไว้ Server จะทาการ
ประมวลผลและวิเคราะห์แยกข้อมูลล็อก แล้วบันทึกลงฐานข้อมูล

11
IP Device Descrition
1

has
N

UserDevice ID
NN SourseIP Content

has Time
GPassword
LogID
o LogStore
Hostname
Gmail has has Date 11
1
Tag
Password N
AlertLog ID o
1
1
UserID
User has ID has has SID

1 1
NotifyStatus
Status 1 1
NotifiedLog Sname
3.3 ER Diagram ของระบบ MyBase มีข้อมูลดังต่อไปนี้

Facility Severity
has
Username
1 1 Snickname
FID
1
has has SDecription

รูปที่ 3.3 ER Diagram ของฐานข้อมูล MyBase


StatusID Status Fname

Fnickname FDescription 11
Statusname 1 RecLog ProfileName
has

ID

12
3.4 กำรออกแบบกระบวนกำรรับส่งข้อมูลและ Flow กำรทำงำน
3.4.1 ภาพรวมการทางาน Server

facility severity

facility severity

facility severity

รูปที่ 3.4 แผนผังแสดงภาพรวมการทางาน Server

จากรูปที่ 3.4 เป็นขัน้ ตอนการทางานแบบภาพรวมการทางาน โดยเมื่อเครื่อง Client มี


การส่ง ข้อมูลล็อกมา Server จะทาการตรวจสอบก่อนว่าเครื่อง Client มีไอพีเครื่องตรงกับข้อมูล
ที่แ อดมินกาหนดไว้หรือไม่ ถ้าตรงตามที่แ อดมินกาหนดไว้ Server ก็จะทาการประมวลผลและ
วิเคราะห์หาค่า Facility ,Severity เพื่อตรวจสอบต่อไปว่าข้อมูลล็อต่อไปนี้เป็ นล็อกที่เราสนใจนา
เก็บลงในฐานข้อมูลหรือไม่ ถ้าใช่กจ็ ะนาเก็บลง MyBase แล้วทาการแจ้งเตือนต่อไป

13
3.4.2 ภาพรวมการทางาน MyManagement

Username,Password

Login

รูปที่ 3.5 แผนผังแสดงภาพรวมการทางาน MyManagement

จากรู ป ที่ 3.5 เมื่อ ผูใ้ ข้ง านเปิ ด เว็บ แอฟลิเคชัน่ MyManagement ขึ้น มา ต้อ งท าการ
login เพื่อเข้าใช้ง านระบบ โดยเมื่อทาการกรอกข้อมูล Username และ Password ระบบจะทา
การตรวจสอบจากฐานข้อมูล เพือ่ ตรวจสอบสิทธิในการเข้าใช้งาน หลังจากการทางานเสร็จสิ้น
logout เพือ่ ทาการสิ้นสุดการใช้งาน

14
3.4.3 ภาพการเพิม่ ข้อมูลผูใ้ ช้งานระบบ

Username, Password

Login

Status Admin

รูปที่ 3.6 แผนผังแสดงการเพิม่ ข้อมูลผูใ้ ช้งาน

จากรูป ที่ 3.6 เมื่อผู้ใช้ง าน MyManagement มีการ login เข้ามาในระบบ ระบบจะท า


การตวรจสอบผูใ้ ช้ง านจากฐานข้อ มูล โดยดู ว่า ผูใ้ ช้ง านนัน้ มีสิท ธิเป็ น แอดมิน ใช่ห รือ ไม่ ถ้า
ผูใ้ ช้งานเป็ นแอดมินจะสามารถทาการเพิม่ ลบ แก้ไขผูใ้ ช้งานในระบบได้ทงั ้ หมด เมื่อกดบันทึก
ข้อมูลจะถูกเก็บลงฐานข้อมูล หลังจากการทางานเสร็จสิ้น logout เพือ่ ทาการสิ้นสุดการใช้งาน

15
3.4.4 ภาพการ Login เพือ่ เข้าสู่ระบบ

Username, Password

Login

Status Admin

รูปที่ 3.7 แผนผังแสดงการ Login เข้าใช้งานระบบ

จากรูปที่ 3.7 เมื่อมีการ login เข้าสู่ระบบ ระบบจะตรวจสอบว่าถ้าผูใ้ ช้งานมีสถานะเป็ น


แอดมิน จะสามารถใช้ง านระบบได้ทุก เมนู เช่ น การเพิ่ม ผู้ใช้ง าน การเพิ่ม เครื่อง Client ที่
ต้องการรับข้อมูลล็อก การกาหนดค่าให้การเก็บข้อมูลล็อกลงใน MyBase การกาหนดเงื่อนไขใน
การแจ้ง เตือ นและช่ องทางการแจ้ง เตือ นเมื่อ เกิด สภาวะผิด ปกติกับ ล็อ ก ฯลฯ แต่ ถ้า ระบบ
ตรวจสอบสิทธิแล้วผูใ้ ช้ง านนัน้ เป็นเพียงผูใ้ ช้งานทัวไป
่ จะสามารถดูขอ้ มูลล็อกและข้อมูลที่มกี าร
เตือนล็อกเท่านัน้ หลังจากการทางานเสร็จสิ้น logout เพือ่ ทาการสิ้นสุดการใช้งาน

16
3.4.5 ภาพการแสดงข้อมูลล็อก

Login

รูปที่ 3.8 แผนผังแสดงการแสดงข้อมูลล็อก

จากรูปที่ 3.8 เมือ่ มีการ login ระบบเข้ามาแล้วจะสามารถแสดงข้อมูลล็อก โดยดึงข้อมูล


จากฐานข้อมูลมาแสดง ซึ่ง สามารถมองเห็นได้ทงั ้ แอดมินและผูใ้ ช้งานทัวไป
่ แต่จะมีเงื่อนไขการ
แสดงข้อมูลล็อกที่แตกต่างกัน หลังจากการทางานเสร็จสิ้น logout เพือ่ ทาการสิ้นสุดการใช้งาน

17
3.4.6 ภาพการค้นหาข้อมูลล็อก

Login

Facility Facility

Severity Severity

Content Content

Date Date

รูปที่ 3.9 แผนผังแสดงการค้นหาข้อมูลล็อก

จากรูปที่ 3.9 เมือ่ login ผ่านแล้ว ไม่วา่ จะเป็ นแอดมิน หรือ ผูใ้ ช้ง านทัว่ ไปจะสามารถ
ค้นหาข้อมูลล็อก โดยมีการคัดกรองจากการเลือกดูขอ้ มูลล็อกจาก Facility, Severity, Content
และ Date หลังจากการทางานเสร็จสิ้น logout เพือ่ ทาการสิ้นสุดการใช้งาน

18
3.4.7 ภาพการเพิม่ ข้อมูลค่า Facility

Login

Status Admin

Facility

รูปที่ 3.10 แผนผังแสดงการเพิม่ ข้อมูลค่า Facility

จากรูปที่ 3.10 เมื่อมีการ login แล้วมีสถานะเป็ นแอดมิน สามารถเพิม่ ข้อมูลค่า Facility


ได้ โดยค่าค่า Facility จะอ้างอิงตามมาตรฐาน RFC3164 หลัง จากการทางานเสร็จสิ้น logout
เพือ่ ทาการสิ้นสุดการใช้งาน

19
3.4.8 ภาพการเพิม่ ข้อมูลค่า Severity

Login

Status Admin

Severity

รูปที่ 3.11 แผนผังแสดงการเพิม่ ข้อมูลค่า Severity

จากรู ป ที่ 3.11 เมื่อ มีก าร login แล้ว มีส ถานะเป็ น แอดมิน สามารถเพิ่ม ข้อ มู ล ค่ า
Severity ได้ โดยค่าค่า Severity จะอ้างอิงตามมาตรฐาน RFC3164 หลังจากการทางานเสร็จสิน้
logout เพือ่ ทาการสิ้นสุดการใช้งาน

20
3.4.9 ภาพการกาหนดไอพีเครื่องที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลล็อกลงฐานข้อมูล

Login

Status Admin

รูปที่ 3.12 แผนผังแสดงการกาหนดไอพีเครื่องที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลล็อกลงฐานข้อมูล

จากรูปที่ 3.12 เมือ่ มีการ login แล้วมีสถานะเป็นแอดมิน สามารถเพิม่ ข้อมูลไอพีเครื่อง


Client ที่เราต้องการรับ ล็อ กได้ เพื่อให้ Server รับเฉพาะล็อกของเครื่อ งที่กาหนดไว้เท่ านั ้น
หลังจากการทางานเสร็จสิ้น logout เพือ่ ทาการสิ้นสุดการใช้งาน

21
3.4.10 ภาพแสดงการกาหนดเงื่อนไขในการเก็บข้อมูลล็อกลงฐานข้อมูล

Login

Status Admin

Facility Facility

Severity Severity

Content Content

รูปที่ 3.13 แผนผังแสดงการกาหนดเงื่อนไขในการเก็บข้อมูลล็อกลงฐานข้อมูล

จากรู ป ที่ 3.13 เมื่อ มีก าร login แล้ว มีส ถานะเป็ น แอดมิน สามารถท าการก าหนด
เงื่อนไขในการเก็บข้อมูลล็อกลงฐานข้อมูล โดยมีการกาหนดเงื่อนไขจากค่า Facility, Severity
และ Content เพื่อ ก าหนดค่ า เก็ บ ลงฐานข้อ มู ล เมื่อ มีก ารส่ ง ข้อ มู ล ล็อ กมายัง Server จะ
ตรวจสอบว่าข้อ มูลล็อกที่เข้ามานั ้น ตรงตามค่าที่กาหนดไว้ห รือไม่ถ้าตรงตามเงื่อนไขจะเก็บ
ข้อมูลล็อกนัน้ ลงฐานข้อมูลต่อไป หลังจากการทางานเสร็จสิ้น logout เพื่อทาการสิ้นสุดการใช้
งาน

22
3.4.11 ภาพการกาหนดเงื่อนไขและช่องทางการแจ้งเตือนเมือ่ เกิดเหตุการณ์ผดิ ปกติ

Login

Status Admin

Facility

Severity

Content

E-mail

SMS

รูปที่ 3.14 แผนผังแสดงการกาหนดเงื่อนไขและช่องทางการแจ้งเตือนเมือ่ เกิดเหตุการณ์

จากรู ป ที่ 3.14 เมื่อ มีก าร login แล้ว มีส ถานะเป็ น แอดมิน สามารถท าการก าหนด
เงื่อนไขและช่องทางการแจ้ง เตือนได้โดยเลือกค่า Facility, Severity และ Content เมื่อกาหนด
เงื่อนไขเสร็จก็เลือกช่องทางในการส่งการแจ้ง เตือนว่าจะส่งทาง Email หรือ SMS ก็ได้ แล้วจึง
กาหนดว่าจะทาการแจ้งเตือนไปยังผูใ้ ช้งานคนใดบ้าง และ logout เพือ่ สิ้นสุดการทางาน

23
3.4 โครงสร้ำงฐำนข้อมูล
ข้อมูลต่างๆ ของการใช้ง านในระบบจะถูกเก็บไว้ในระบบฐานข้อมูล โดยฐานข้อมูลจะถูก
แบ่งส่วนในการจัดเก็บข้อมูลดังนี้
3.4.1 ตารางผูใ้ ช้งานระบบ (User)
ตารางที่ใช้เก็บข้อมูลของผูใ้ ช้งานระบบ โดยระบุขอ้ มูลต่างๆ ชื่อ รหัสผ่าน อีเมล์ท่จี ะใช้
แจ้งเตือนเมื่อเกิดปญหา ั สิทธ์ในการใช้งาน เป็ นผูด้ ูแ ลระบบ ที่สามารถจัดการ เพิม่ ลบ แก้ไข
ข้อมูลผูใ้ ช้งานได้ และสิทธิ ์เป็นผูใ้ ช้งานทัวไป
่ ดังตารางที่ 3.1

ตำรำงที่ 3.1 ตารางผูใ้ ช้งานระบบ


Attribute Description Type Key Constrain Remark
UserID คียผ์ ใู้ ช้งาน Int(3) PK Auto_Increment
UserName ชื่อผูใ้ ช้งาน varchar(100) Not Null
Password รหัสผูใ้ ช้งาน varchar(100) Not Null
StatusID คียส์ ถานะผูใ้ ช้งาน Int(1) FK Not Null
Gmail อีเมล์ผใู้ ช้งาน varchar(100) Not Null
การเลือกสถานะใน
NotifyStatus ก า ร ส่ ง ก า ร แ จ้ ง Int(1) Not Null
เตือน

3.4.2 ตารางสถานะผูใ้ ช้งาน (Status)


ตารางที่เก็บข้อมูลหลักของสิทธิ ์ผูใ้ ช้งานในระบบ เมือ่ มีการเพิม่ ลบ แก้ไข ข้อมูลต้องมี
การตรวจสอบสิทธิ ์ โดยอ้างอิงกับตารางผูใ้ ช้งาน ดังตารางที่ 3.2

ตำรำงที่ 3.2 ตารางสถานะผูใ้ ช้งาน


Attribute Description Type Key Constrain Remark
0=Administrator
StatusID คียส์ ถานะผูใ้ ช้งาน int(3) PK Not Null
1=User
StatusName ชื่อสถานะผูใ้ ช้งาน varchar(100) Not Null

24
3.4.3 ตารางข้อมูลเก็บข้อมูลล็อก (LogStore)
ตารางที่เก็บข้อมูล syslog เก็บรายละเอียดของ syslog โดยจะอ้างอิงกับตาราง Facility
และ Severity เพือ่ นามาเป็นข้อมูลในการแจ้งเตือน ดังตารางที่ 3.3

ตำรำงที่ 3.3 ตารางข้อมูล Syslog


Attribute Description Type Key Constrain Remark
LogID คียข์ องlog Int(3) PK Auto_Increment
SourceIP ไอพี syslog client varchar(30) Default Null
Date วันเดือนปีของ log Date Default Null
Time เวลาของlog Time Default Null
Hostname ชื่อโฮสของ log varchar(30) Default Null
FID ไอดี facility varchar(3) FK Default Null
SID ไอดี severity varchar(3) FK Default Null
Tag ชื่อโปรเซส varchar(100) Default Null
Content ข้อความของ log varchar(100) Default Null

3.4.4 ตารางข้อมูล Facility


ตารางที่เก็บค่า หมายเลข Facility และชื่อ Facility เพื่อนาไปอ้างอิง กับตาราง syslog
ดังตารางที่ 3.4

ตำรำงที่ 3.4 ตารางข้อมูล Facility


Attribute Description Type Key Constrain Remark
FID หมายเลข Facility int(3) PK Not Null
FName ชื่อ Facility varchar(100) Not Null
FNickname ชื่อย่อ Facility varchar(10)
FDescription คาอธิบาย Facility text

25
3.4.5 ตารางข้อมูล Severity
ตารางที่เก็บค่าหมายเลข Severity และชื่อ Severity เพื่อนาไปอ้างอิงกับตาราง syslog
ดังตารางที่ 3.5

ตำรำงที่ 3.5 ตารางข้อมูล Severity


Attribute Description Type Key Constrain Remark
SID หมายเลข Severity int(3) PK Not Null
SName ชื่อ Severity varchar(100) Not Null
SNickName ชื่อย่อ Severity varchar(10)
SDescription คาอธิบาย Severity text

3.4.6 ตารางข้อมูล Device


ตารางที่เก็บหมายเลขไอพีเครื่องClient ที่ตอ้ งการรับข้อมูลล็อก ดังตารางที่ 3.6

ตำรำงที่ 3.6 ตารางข้อมูล Device


Attribute Description Type Key Constrain Remark
ไอพี เ ครื่ อ ง Client
IP ที่ ต้ อ ง ก า ร เ ก็ บ varchar(20) PK Not Null
ข้อมูลล็อก
รายละเอีย ดเครื่อ ง
Description varchar(100)
Client

26
3.4.7 ตารางข้อมูล RecLog
ตารางที่เก็บค่าตัวเลขของ Facility และ Severity เพือ่ เป็นเงื่อนไขในการเก็บข้อมูลล็อก
โดยการวิเคราะห์ของ Server ดังตารางที่ 3.7

ตำรำงที่ 3.7 ตารางข้อมูล RecLog


Attribute Description Type Key Constrain Remark
ID ลาดับข้อมูล int(11) PK Auto_Increment
FID หมายเลข Facility varchar(3) FK Not Null
SID หมายเลข Severity varchar(3) FK Not Null
Content ข้อความของ log varchar(100) Default Null
IP หมายเลข IP varchar(20) Not Null
ชื่อเรียกของ
ProfileName Varchar(100) Not Null
เงื่อนไข

3.4.8 ตารางข้อมูล AlertLog


ตารางที่เก็บเงื่อนไขในการแจ้งถึงผูใ้ ช้งานระบบ ดังตารางที่ 3.8

ตำรำงที่ 3.8 ตารางข้อมูล AlertLog


Attribute Description Type Key Constrain Remark
ID ลาดับข้อมูล int(10) PK Auto_Increment
ReclogID คียเ์ งื่อนไขล็อก Int(11) Not Null

27
3.4.9 ตารางสถานะการแจ้งเตือน (NotifyStatus)
ตารางที่เก็บข้อมูลหลักของสิทธิ ์ผูใ้ ช้งานในระบบ เมือ่ มีการเพิม่ ลบ แก้ไข ข้อมูลต้องมี
การตรวจสอบสิทธิ ์ โดยอ้างอิงกับตารางผูใ้ ช้งาน ดังตารางที่ 3.9

ตำรำงที่ 3.9 ตารางข้อมูล NotifyStatus


Attribute Description Type Key Constrain Remark
0=Email
NotifyID คียส์ ถานะผูใ้ ช้งาน int(3) PK Not Null 1=SMS
2=all
NotifyName ชื่อสถานะผูใ้ ช้งาน varchar(100) Not Null

3.4.10 ตารางแสดงความเกี่ยวข้องของผูใ้ ช้งานกับเครื่องในระบบ (Userdevice)


ตารางที่เก็บข้อมูลผู้ใช้งานกับไอพีเครื่องในระบบ ว่าเครื่องใดมีผใู้ ดดู แ ลหรือมีค วาม
เกี่ยวข้องอยูบ่ า้ ง ดังตารางที่ 3.10

ตำรำงที่ 3.10 ตารางข้อมูล Userdevice


Attribute Description Type Key Constrain Remark
ID คียผ์ ดู้ ูแลเครื่อง Int(3) PK Not Null
UserID คียผ์ ใู้ ช้งาน int(3) Not Null
DeviceIP หมายเลขIP varchar(100) Not Null

3.4.11 ตารางแสดงสถานะการแจ้งเตือนข้อมูลล็อก (Notifiedlog)


ตารางที่แสดงสถานะเมือ่ การแจ้งเตือนส่งไปยังผูใ้ ช้ผใู้ ช้งานแล้วหรือไม่ ดังตารางที่ 3.11

ตำรำงที่ 3.11 ตารางข้อมูล Notifiedlog


Attribute Description Type Key Constrain Remark
คี ย์ส ถานะการแจ้ ง
ID Int(3) PK Not Null
เตือน
LogID คียข์ อ้ มูลล็อก int(3) Not Null
0=False
Status สถานะการแจ้งเตือน Int(1) Not Null
1=True

28
บทที่ 4
กำรทดลองและผลกำรทดลอง

4.1 ขัน้ ตอนกำรทำงำนและเครื่องมือที่ใช้ในกำรทดลองระบบ


ขัน้ ตอนการทางานของระบบ

log Email
MyManagement
5
2
Client User
1
4
Switch
3

MyBase

log SMS

Mobile Phone
Client

รูปที่ 4.1 ขัน้ ตอนการทางานของระบบ

จากรูปที่ 4.1 มีขนั ้ ตอนการทางานของระบบดังนี้


1. client ทาการส่งข้อมูลล็อกผ่าน switch
2. เซิร์ฟเวอร์จะทารับข้อมูลล็อ ก มาทาการประมวลผลตรวจสอบและคัดกรองข้อมูลว่า
ตรงตามเงื่อนไข IP Device, Facility, Severity, Content ที่ผดู้ ูแลระบบได้กาหนดไว้หรือไม่
3. เซิร์ฟเวอร์จะทาการเก็บข้อมูลที่ตรงตามเงื่อนไขลงสู่ฐานข้อมูล
4. MyManagement จะประมวลผลดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลมาดูเงื่อนไข ในการจัดการว่า
IP Device มีความเกี่ยวข้องกับผูใ้ ช้ง านคนใด แล้วจะทาการดึงข้อมูล ล็อกจากฐานข้อมูลมาทา
การแจ้งเตือนผูใ้ ช้งาน
5. เมื่อ MyManagement ได้ประมวลผลเงื่อนไขแล้วก็ก็จะทาการส่งการแจ้งเตือนไปยัง
ผูท้ ่มี คี วามเกี่ยวข้องกับข้อมูลล็อกทาง SMS, Email หรือทัง้ 2ช่องทาง

29
เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
1. เครื่อง Client
2. Switch Cisco 2900 Series
3. Syslog และ Web Server
 OS : Windows 7
 Web Server : apache
 Database : MySQL

4.2 กำรทำงำนของเซิ รฟ์ เวอร์


เซิร์ฟเวอร์เป็ นส่วนที่ทางานอยูเ่ บือ้ งหลัง ที่จะทาการคัดกรองข้อมูลล็อกที่เข้ามาสู่ระบบ
โดยที่ผดู้ ูแ ลระบบจะเป็ นผูท้ ่กี าหนดเงื่อนไขในการจัดเก็บข้อมูลล็อก โดยผ่านหน้าการจัดการ
โปรแกรม ซึ่ง มีการตัง้ ค่าเครื่องและเงื่อนไขที่ต้องการเก็บข้อมูลล็อก การจัดการการแจ้ง เตือน
ผูใ้ ช้งานผ่านทาง SMS, Email
4.2.1 การคัดกรองข้อมูลล็อก และจัดเก็บข้อมูลล็อกลงฐานข้อมูล
เมือ่ เซิร์ฟเวอร์มกี ารรับข้อมูลล็อกเข้ามาจะทาการตรวจสอบตามเงื่อนไขที่ถูกกาหนดไว้ในส่วน
ของการจัดการ หากข้อมูลนัน้ ตรงเงื่อนไขจะถูกบันทึกลงฐานข้อมูล ดังรูปที่ 4.2

รูปที่ 4.2 ตัวอย่างข้อมูลล็อกที่ถูกเก็บลงฐานข้อมูล

30
4.2.2 การส่งการแจ้งเตือนทาง SMS ผ่าน Google Calendar
เมือ่ เกิดเหตุการณ์ ผดิ ปกติตามเงื่อนไขที่ผดู้ ูแลระบบกาหนดค่าต่างๆ ไว้ ระบบจะทาการ
แจ้ง เตือนไปยัง ผูใ้ ช้ง านระบบที่มคี วามเกี่ยวข้อง โดยผ่านทาง SMS หมายเลขโทรศัพท์ท่ีได้
เชื่อมโยงกับ Google ไว้ ดังรูปที่ 4.3

รูปที่ 4.3 ตัวอย่าง SMS ที่ถูกส่งมาระบบแจ้งเตือน

4.2.3 การส่งการแจ้งเตือนทาง Email


เมือ่ เกิดเหตุการณ์ ผดิ ปกติตามเงื่อนไขที่ผดู้ ูแลระบบกาหนดค่าต่างๆ ไว้ ระบบจะทาการ
แจ้งเตือนไปยังผูใ้ ช้งานระบบที่มคี วามเกี่ยวข้อง โดยผ่านทาง Email ดังรูปที่ 4.4

31
รูปที่ 4.4 ตัวอย่าง Email ที่ถูกส่งจากระบบแจ้งเตือน
4.3 กำรทำงำนของโปรแกรม
เมือ่ เริม่ การทางานในส่วนของโปรแกรม จะต้องมีการทาการยืนยันตัวตนเพือ่ เข้าสู่ระบบ
โดยผูใ้ ช้ง านจะต้องกรอกข้อ มูล username และ password เพื่อ ตรวจสอบสิท ธิว่าผู้ใช้ง านมี
สถานะเป็ น ผูด้ ูแ ลระบบ หรือ ผูใ้ ช้งาน ซึ่ง มีการกาหนดการใช้ง านที่แตกต่างกัน ดัง รูปที่ 4.5
และหากเมือ่ การยืนยันตัวตนไม่ผา่ นจะแสดงหน้าจอ ดังรูปที่ 4.6

รูปที่ 4.5 หน้าจอการเข้าสู่ระบบ

รูปที่ 4.6 หน้าจอแสดง error หากไม่สามารถเข้าสู่ระบบ

32
เมือ่ ทาการยืนยันตัวตนเข้าสู่ระบบเรียบร้อย หากผูใ้ ช้งานมีสถานะเป็ น “Administrator”
จะมีสทิ ธิในการกาหนดค่าข้อมูลและเงื่อนไขต่างๆดังนี้
4.3.1 เพิม่ ลบ แก้ไข ผูใ้ ช้งานระบบ
หน้าจอเพิม่ ข้อมูลผูใ้ ช้งานระบบ กาหนดค่าข้อมูลดังนี้
 Username คือ ชื่อผูใ้ ช้งานเพือ่ เข้าสู่โปรแกรม
 Password คือ รหัสผ่านเพือ่ เข้าสู่การใช้งานโปรแกรม
 Re-Enter Password คือ ยืนยันรหัสผ่านเข้าสู่ระบบอีกครัง้
 Group คือ กาหนดสิทธิให้กบั ผูใ้ ช้งานว่าเป็น “Administrator”(ผูด้ ูแลระบบ)
หรือ “User”(ผูใ้ ช้งานระบบ) ดังรูปที่ 4.7

รูปที่ 4.7 หน้าจอเพิม่ ผูใ้ ช้งานระบบ

เมือ่ กดปุม่ “Submit” ระบบจะทาการบันทึกข้อมูล และเมือ่ กดปุ่ม “Edit” จะสามารถทา


การแก้ไขการกาหนดสิทธิการเข้าใช้งานระบบเท่านัน้ ดังรูปที่ 4.8 และรูปที่ 4.9 ตามลาดับ

รูปที่ 4.8 หน้าจอแสดงข้อมูลผูใ้ ช้งาน

33
รูปที่ 4.9 หน้าจอกาหนดสิทธิผใู้ ช้งาน

แล้วผูใ้ ช้งานต้องทาการเพิม่ ข้อมูล Email และรหัสผ่านเข้าสู่ Email โดยการกดปุม่


“Edit” เพือ่ กาหนดค่าข้อมูล จากการเลือกแก้ไขข้อมูลจากเมนู Preview กาหนดค่าต่างๆ ดังนี้
 E-mail to Notify(Only Gmail) คือ อีเมลของ Gmail เท่านัน้
 Password(Gmail) คือ รหัสผ่านเข้าสู่บญ
ั ชี Gmail เนื่องจากมีการแจ้งเตือน
SMS ที่ตอ้ งทางานผ่านบัญชี Gmail
 Notify Type คือ การกาหนดรูปแบบการแจ้งเตือนเมือ่ เกิดความผิดปกติกบั
ข้อมูลล็อก ที่ผดู้ ูแลระบบเป็ นผูก้ าหนดการแจ้งเตือน โดยแจ้งเตือนผ่านทาง
Email,SMS หรือ Both ดังรูปที่ 4.10 และรูปที่ 4.11 ตามลาดับ

รูปที่ 4.10 หน้าจอ Preview เพือ่ ทาการแก้ไขข้อมูลผูใ้ ช้งาน

34
รูปที่ 4.11 หน้าจอเพิม่ ข้อมูลผูใ้ ช้งาน

4.3.2 เพิม่ และลบการเลือกเงื่อนไขในการแจ้งเตือนข้อมูลล็อก


หน้าจอที่เลือกเงือนไขในการแจ้งเตือน โดยอ้างอิงกับข้อมูลระหว่างผูใ้ ช้ง านกับเครื่อง
เซิร์ฟเวอร์ และข้อมูลดังรูปที่ 4.12

รูปที่ 4.12 หน้าจอเลือกเงื่อนไขในการแจ้งเตือน

35
4.3.3 เพิม่ ลบ แก้ไขข้อมูลของที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลล็อก
หน้ า จอก าหนดเงื่อ นไขในการเก็ บ ข้อ มูล ล็อ ก คัด กรองข้อ มู ล ล็อ กที่ จ ะจัด เก็ บ ลง
ฐานข้อมูล เพือ่ นามาใช้ในการแจ้งเตือนผูท้ ่มี คี วามเกี่ยวข้องกับเซิร์ฟเวอร์นนั ้ ๆ กาหนดค่าข้อมูล
ดังนี้
 IP คือ หมายเลข IP เครื่องที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลล็อก
 Facility คือ กาหนดเงื่อนไขค่า Facility
 Severity คือ กาหนดเงื่อนไขค่า Severity
 Content คือ กาหนดเงื่อนไขค่า Content ดังรูปที่ 4.13

รูปที่ 4.13 หน้าจอกาหนดข้อมูลของเซิร์ฟเวอร์ท่ตี อ้ งการเก็บข้อมูลล็อก

36
4.3.4 เพิม่ ลบ แก้ไขค่า Facility
หน้าจอเพิม่ ข้อมูลค่า Facility ตามมาตรฐาน RFC3164 กาหนดค่าข้อมูลดังนี้
 Facility Number คือ หมายเลขค่า Facility
 Facility Name คือ ชื่อของค่า Facility
 Facility Nickname คือ ชื่อย่อของค่า Facility
 Facility Description คือ คาอธิบายค่า Facility ดังรูปที่ 4.14

รูปที่ 4.14 หน้าจอเพิม่ ค่า Facility

หน้าจอแก้ไขค่า Facility เมือ่ ต้องการแก้ไขข้อมูล ดังรูปที่ 4.15

รูปที่ 4.15 หน้าจอแก้ไขค่า Facility

37
4.3.5 เพิม่ ลบ แก้ไขค่า Severity
หน้าจอเพิม่ ข้อมูลค่า Severity หรือ Level ตามมาตรฐาน RFC 3164 กาหนดค่าข้อมูล
ดังนี้
 Severity Number คือ หมายเลขค่า Severity
 Severity Name คือ ชื่อของค่า Severity
 Severity Nickname คือ ชื่อย่อของค่า Severity
 Severity Description คือ คาอธิบายค่า Severity ดังรูปที่ 4.16

รูปที่ 4.16 หน้าจอเพิม่ ค่า Severity

หน้าจอแก้ไขค่า Severity เมือ่ ต้องการแก้ไขข้อมูล ดังรูปที่ 4.17

รูปที่ 4.17 หน้าจอแก้ไขค่า Severity

38
4.3.6 เพิม่ ลบ แก้ไขข้อมูลเครื่องในระบบ
หน้าจอเพิม่ ข้อมูลเครื่องในระบบ กาหนดค่าข้อมูลดังนี้
 Device’s IP Number คือ หมายเลข IP ของเครื่องที่เราต้องการเก็บข้อมูล
ล็อก
 Device Description คือ รายละเอียดต่างๆ ของเครื่องที่เราต้องการเก็บ
ข้อมูลล็อก ดังรูปที่ 4.18

รูปที่ 4.18 หน้าจอกาหนดค่าเครื่องที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลล็อก

หน้าจอแก้ไขข้อมูลเครื่องในระบบ เมือ่ ต้องการแก้ไขข้อมูล ดังรูปที่ 4.19

รูปที่ 4.19 หน้าจอแก้ไขค่าเครื่องที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลล็อก

39
4.3.7 เพิม่ ลบ แก้ไขข้อมูลความเกี่ยวข้องระหว่างผูใ้ ช้งานกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์
หน้าจอกาหนดข้อมูลความเกี่ยวข้องระหว่างผูใ้ ช้งานกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ท่เี ก็บข้อมูล
ล็อก เพื่อแจ้ง เตือนผูใ้ ช้ง านที่รบั ผิดชอบเครื่องเซิร์ฟเวอร์นัน้ ๆเมื่อเกิดความผิดปกติ ดังรูป ที่
4.20

รูปที่ 4.20 หน้าจอกาหนดความเกี่ยวข้องระหว่างผูใ้ ช้งานกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์

4.3.8 แก้ไข ลบข้อมูลทัง้ หมดที่ตงั ้ ค่าเกี่ยวกับโปรแกรม


หน้าจอที่แ สดงข้อมูลการตัง้ ค่าทัง้ หมดของโปรแกรม สามารถทาการลบและแก้ไขค่า
ต่างๆ ในหน้าจอนี้ ดังรูปที่ 4.21

รูปที่ 4.21 หน้าจอแสดง แก้ไข ลบการตัง้ ค่าทัง้ หมดของโปรแกรม

40
4.3.9 แสดงข้อมูลล็อกผ่านโปรแกรม
หน้าจอการแสดงผลข้อมูลล็อกที่ผ่านเงื่อนไขการเก็บ ข้อมูล ล็อกทัง้ หมดที่ถู กเก็บลง
ฐานข้อมูล จะแสดงในหน้านี้ โดยผูด้ ูแลระบบสามารถทาการกรองดูเฉพาะข้อมูลที่ตอ้ งการได้ ดัง
รูปที่ 4.22

รูปที่ 4.22 หน้าจอ Show

4.3.10 แสดงข้อมูลล็อกที่มกี ารแจ้งเตือน


หน้าจอการแสดงผลข้อมูลล็อกที่ผา่ นเงื่อนไขการแจ้งเตือนไปยังผูใ้ ช้ง านระบบ ซึ่ง ได้ม ี
การตัง้ ค่าไว้แล้วในส่วนการจัดการ จะถูกแสดงในหน้านี้ โดยผูด้ ูแลระบบสามารถทาการกรองดู
เฉพาะข้อมูลที่ตอ้ งการได้ ดังรูปที่ 4.23

รูปที่ 4.23 หน้าจอ Event

41
4.3.11 ออกรายงาน
หน้าจอการออกรายงาน โดยที่สามารถกาหนดช่วงเวลาและเงื่อนไขในการออกรายงาน
ได้มากกว่า 1 เงื่อนไข ดังรูปที่ 4.24

รูปที่ 4.24 หน้าจอ Report

แต่หากเมื่อทาการยืนยันตัวตนเข้าสู่ระบบเรียบร้อย และผูใ้ ช้ง านมีสถานะเป็ น “User”


จะมีสทิ ธิในเข้าถงข้อมูต่างๆดังนี้
4.3.12 แสดงผลข้อมูลล็อกของผูใ้ ช้งานระบบ
หน้าจอการแสดงผลข้อมูลล็อกสาหรับผูใ้ ช่งานระบบที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ผดู้ ูแลระบบ
เป็นผูก้ าหนดไว้ และผูใ้ ช้งานสามารถกรองดูเฉพาะข้อมูลที่ตอ้ งการได้ ดังรูปที่ 4.25

รูปที่ 4.25 หน้าจอ Show(User)

42
4.3.13 แสดงข้อมูลล็อกที่มกี ารแจ้งเตือนของผูใ้ ช้งานระบบ
หน้าจอการแสดงผลข้อมูลล็อกที่ผา่ นเงื่อนไขการแจ้งเตือนไปยังผูใ้ ช้งานระบบ ซึ่งผูด้ ูแ ล
ระบบได้มกี ารตัง้ ค่าไว้แ ล้วในส่วนการจัดการ ว่าถ้าเครื่องใดมีความผิดปกติ ให้แ จ้ง เตือนไปยัง
ผูใ้ ช้งานคนใด ทางช่องทางการแจ้งเตือนใดบ้าง โดยผูใ้ ช้งานระบบสามารถทาการกรองดูเฉพาะ
ข้อมูลที่ตอ้ งการได้ ดังรูปที่ 4.26

รูปที่ 4.26 หน้าจอ Event(User)

4.3.14 ออกรายงานของผูใ้ ช้งานระบบ


หน้าจอการออกรายงาน ซึ่งผูใ้ ช้ง านระบบจะสามารถออกรายงานได้เฉพาะข้อมูลล็อกที่
เกี่ยวข้องกับผูใ้ ช้งานระบบเท่านัน้ โดยสามารถกาหนดช่วงเวลาและเงื่อนไขในการออกรายงาน
ได้มากกว่า 1 เงื่อนไข ดังรูปที่ 4.27

รูปที่ 4.27 หน้าจอ Report(User

43
4.3.15 จัดการข้อมูลส่วนตัวของผูใ้ ช้งานระบบ
หน้าจอการจัดการข้อมูลส่วนตัวของผูใ้ ช้งานระบบ โดยทาการกดที่ช่อื ผูใ้ ช้งาน แล้วกดที่
ปุม่ “Edit” สามารถแก้ไขข้อมูลต่างๆ ดังรูปที่ 4.28 และ รูปที่ 4.29 ตามลาดับ

รูปที่ 4.28 หน้าจอเลือกเมนู เพือ่ การแก้ไขข้อมูลส้วนตัวผูใ้ ช้งาน

รูปที่ 4.29 หน้าจอสาหรับการแก้ไขข้อมูลส่วนตัวผูใ้ ช้งาน

44
บทที่ 5
สรุปผลกำรดำเนิ นงำน

5.1 ผลกำรดำเนิ นงำน


ผลการดาเนินงานเมื่อมีการทดสอบการใช้ง านระบบแล้วนัน้ ระบบสามารถทาการดึง
ข้อ มูล ล็อ ก มาจัด การให้อ ยู่ ในรู ป แบบที่เข้าใจง่ าย ช่ ว ยลดภาระในการจัด การระบบ ลด
ข้อผิดพลาดการทางาน ของผูด้ ูแลระบบ ง่ายต่อการกระจายข้อมูลไปยังผูท้ ่มี คี วามเกี่ยวข้องกับ
ระบบ สามารถจัดทารายงานสรุปออกมาได้ระบบมีการใช้งานส่วนใดมากน้อยเพียงใด ส่วนใดมี

ปญหาพบบ่ อย เพือ่ นาไปใช้ในการตัดสินใจ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิการทางานของระบบได้

5.2 ปัญหำและอุปสรรค
5.2.1 ในการส่ง SMS เพือ่ แจ้งเตือนความผิดปกตินนั ้ ระบบใช้การทางานผ่าน Google
Calendar จึง จาเป็ นต้องให้ผใู้ ช้ง านระบบทุกคนมีบญ ั ชีของ Google และต้องแจ้ง รหัสผ่านเข้า
บัญชีกบั ผูด้ ูแลระบบ เพือ่ ให้สามารถส่ง SMS ได้
5.2.2 ในการรับการแจ้งเตือน SMS ผ่าน Google Calendar ได้ใช้มกี ารทางานโดยใช้
API แต่ ตัว เวอร์ ชั น่ เก่ า ปิ ด เซอร์ ว ิส ไปแล้ว ป จั จุ บ ัน ได้ ม ีก ารอั พ เดทเวอร์ ชัน่ API Google
Calendar version3 ใหม่

5.3 แนวทำงกำรแก้ไข
5.3.1 ผูใ้ ช้ง านระบบต้องสร้างบัญชี Google ใหม่ท่ใี ช้สาหรับทางานระบบเท่านัน้ เพื่อ
ป้องกันความเป็นส่วนตัว
5.3.2 ปรับ ปรุ ง โปรแกรมในส่ ว นที่เกี่ยวข้อ งกับ การส่ ง SMS ให้รองรับ การท างาน
ร่วมกับ API Google Calendar เวอร์ชนใหม่
ั่

5.4 แนวทำงกำรพัฒนำในอนำคต
5.4.1 พัฒนาระบบให้สามารถใช้กบั มาตรฐาน Syslog RFC 5424

45
เอกสำรอ้ำงอิง

[1] Syslog [Online]. Available : http://en.wikipedia.org/wiki/Syslog


[2] วัช รเมธน์ ชิษ ณุ คุ ป ต์ ศรีเนธิโ รทั ย . เขีย นโค้ด ส่ ง SMS เข้า มือ ถือ แบบฟรีๆ .[Online].
Available : http://www.select2web.com/php/send-sms-free.html.
[3] Google Calendar API [Online]. Available : https://developers.google.com/google-
apps/calendar

46
วิธีการตัง้ ค่าการแจ้งทาง SMS ผ่านทาง Google Calendar
1. ทำกำร Login เข้ำสู่บญ
ั ชี Gmail www.gmail.com โดยกรอกข้อมูล Username และ
Password แล้วกดปุ่ม “ลงชื่อเข้ำใช้งำน” ดังรูปที่ ก-1

รูปที่ ก-1 หน้ำ Login เว็บไซด์ Gmail

2. คลิกเมำส์เลือกที่รูปเมนูปฏิทนิ เพือ่ เริม่ ทำกำรตัง้ ค่ำ

รูปที่ ก-2 เมนูปฏิทนิ เพือ่ ทำกำรตัง้ ค่ำ

ก-1
3. เลือกเมนู “กำรตัง้ ค่ำ” คลิกเมำส์เลือกที่เมนู “กำรตัง้ ค่ำ” เพือ่ ทำกำรตัง้ ค่ำกำรแจ้งเตือน
ดังรูปที่ ก-3

รูปที่ ก-3 เลือกเมนูตงั ้ ค่ำ

4. หลังจำกเลือกตัง้ ค่ำแล้วจะแสดงหน้ำจอกำรตัง้ ค่ำปฏิทนิ แล้วเลือก “ปฏิทนิ ” ดังรูปที่ ก-4

รูปที่ ก-4 เลือกเมนู ปฏิทนิ

5. กำหนดหมำยเลขโทรศัพท์ท่ตี อ้ งกำรให้ส่ง SMS โดยกำรใส่หมำยเลขโทรศัพท์ท่ี


ต้องกำรให้สง่ SMS แจ้งเตือน แล้วกดปุม่ “ส่งรหัสยืนยัน” ดังรูปที่ ก-5

รูปที่ ก-5 ใส่หมำยเลขโทรศัพท์และกดปุม่ ยืนยัน

ก-2
หลังจำกนัน้ Google จะทำกำรส่งรหัสกำรยืนยันมำ SMS ดังรูปที่ ก-6

รูปที่ ก-6 SMS ยืนยันรหัส

นำรหัสที่ให้มำใส่ลงในช่อง “รหัสกำรยืนยัน” แล้วกดปุม่ “สิ้นสุดกำรตัง้ ค่ำ” ดังรูปที่ ก-7

รูปที่ ก-7 ใส่รหัสผ่ำนที่ได้มำจำก SMS แล้วสิ้นสุดกำรตัง้ ค่ำ

6. จะปรำกฎหน้ำจอ แล้วให้เลือกกำรแจ้งเตือน SMS ต่ำงๆ ดังในรูปที่ ก-8

รูปที่ ก-8 เลือกกำรแจ้งเตือน SMS

ก-3
7. กดปุม่ “บันทึก” กำรตัง้ ค่ำ ดังรูปที่ ก-9

รูปที่ ก-9 บันทึกกำรตัง้ ค่ำ

ก-4
วิธีการตัง้ ค่าการแจ้งทาง SMS ผ่านทาง Google Calendar
1. ทำกำร Login เข้ำสู่บญ
ั ชี Gmail www.gmail.com โดยกรอกข้อมูล Username และ
Password แล้วกดปุ่ม “ลงชื่อเข้ำใช้งำน” ดังรูปที่ ก-1

รูปที่ ก-1 หน้ำ Login เว็บไซด์ Gmail

2. คลิกเมำส์เลือกที่รูปเมนูปฏิทนิ เพือ่ เริม่ ทำกำรตัง้ ค่ำ

รูปที่ ก-2 เมนูปฏิทนิ เพือ่ ทำกำรตัง้ ค่ำ

ก-1
3. เลือกเมนู “กำรตัง้ ค่ำ” คลิกเมำส์เลือกที่เมนู “กำรตัง้ ค่ำ” เพือ่ ทำกำรตัง้ ค่ำกำรแจ้งเตือน
ดังรูปที่ ก-3

รูปที่ ก-3 เลือกเมนูตงั ้ ค่ำ

4. หลังจำกเลือกตัง้ ค่ำแล้วจะแสดงหน้ำจอกำรตัง้ ค่ำปฏิทนิ แล้วเลือก “ปฏิทนิ ” ดังรูปที่ ก-4

รูปที่ ก-4 เลือกเมนู ปฏิทนิ

5. กำหนดหมำยเลขโทรศัพท์ท่ตี อ้ งกำรให้ส่ง SMS โดยกำรใส่หมำยเลขโทรศัพท์ท่ี


ต้องกำรให้สง่ SMS แจ้งเตือน แล้วกดปุม่ “ส่งรหัสยืนยัน” ดังรูปที่ ก-5

รูปที่ ก-5 ใส่หมำยเลขโทรศัพท์และกดปุม่ ยืนยัน

ก-2
หลังจำกนัน้ Google จะทำกำรส่งรหัสกำรยืนยันมำ SMS ดังรูปที่ ก-6

รูปที่ ก-6 SMS ยืนยันรหัส

นำรหัสที่ให้มำใส่ลงในช่อง “รหัสกำรยืนยัน” แล้วกดปุม่ “สิ้นสุดกำรตัง้ ค่ำ” ดังรูปที่ ก-7

รูปที่ ก-7 ใส่รหัสผ่ำนที่ได้มำจำก SMS แล้วสิ้นสุดกำรตัง้ ค่ำ

6. จะปรำกฎหน้ำจอ แล้วให้เลือกกำรแจ้งเตือน SMS ต่ำงๆ ดังในรูปที่ ก-8

รูปที่ ก-8 เลือกกำรแจ้งเตือน SMS

ก-3
7. กดปุม่ “บันทึก” กำรตัง้ ค่ำ ดังรูปที่ ก-9

รูปที่ ก-9 บันทึกกำรตัง้ ค่ำ

ก-4

You might also like