Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

บทที่ 6 กายวิภาคศาสตร2ของร6างแหประสาทแขน

(Anatomy of brachial plexus)

อาจารย' กบ.ศิรินันท' ไชยพันธ'โก5

ร#างแหประสาทแขน (Brachial plexus) เป=นร#างแหประสาทที่รวมใยประสาทรับความรูHสึกทางกาย


(Somatic sense nerve fibers) ใยประสาทสั ่ ง การ (Motor nerve fibers) และใยประสาทซิ ม พาเธติ ค
(Sympathetic nerve fibers) ที่มารวมตัวกัน โดยร#างแหประสาทแขนเกิดจากการรวมตัวกันของขาหนHาของ
เสHนประสาทไขสันหลังระดับคอเสHนที่ 5 – 8 และระดับอกเสHนที่ 1 (Anterior rami of C5 – T1 spinal nerves)
บริเวณฐานของลำคอ (Root of the neck) บริเวณหลังต#อ Subclavian artery และทอดตัวผ#านบริเวณยอดของ
รักแรH (Axilla) บริเวณที่ตรงกันกับกระดูกซี่โครงที่ 1 ออกมาจากแนวกลางลำตัวไปทางดHานขHางและเฉียงลงเรื่อยมา
ยังฐานของรักแรHเขHาสู#แขนในที่สุด (รูปที่ 1) โดยในขณะที่ทอดตัวอยู#ภายในรักแรHนี้ร#างแหประสาทจะไปวางตัวอยู#
ลHอมรอบ Axillary artery (Drake, Vogl et al. 2009, Tank and Grant 2012)

รูปที่ 1 แสดงตำแหน#งและการวางตัวของร#างแหประสาทแขน (Drake, Vogl et al. 2009)


การทอดตัวของร#างแหประสาทแขนจากส#วนตHน (proximal) ไปสู#ส#วนปลาย (distal) เขHาสู#รักแรHจะมีการ
แยกตัว และรวมกลุ#มกันเรื่อยไปเสมือนตHนไมHโดยเริ่มจาก ราก (Root), ลำตHน (Trunk), สาขา (Division) และ สาย
(Cord) (รูปที่ 2) ซึ่งเสHนประสาทที่เลี้ยงโครงสรHางทั้งหมดภายในแขนส#วนใหญ#จะเป=นแขนงที่มาจากระดับ cord
ของร#างแหประสาทแขน หรือ Brachial plexus นี้เอง (Drake, Vogl et al. 2009) โดยในแต#ะละระดับของร#างแห
ประสาทแขนจะมีรายละเอียดการรวมตัวและแขนงต#างๆ ดังต#อไปนี้

ราก (Roots)
ส#วนราก หรือรากประสาทของร#างแหประสาทจะเป=นส#วนที่ขาหนHา (anterior rami) ของเสHนประสาทไข
สั น หลั ง โดยส# ว นนี ้ จ ะไดH ร ั บ gray rami communicants ที่ เ ป= น เสH น ใยประสาทของระบบประสาทอั ต โนวั ติ
(Autonomic nervous system) จาก sympathetic trunk ที่วางตัวอยู#หนHาต#อลำกระดูกสันหลัง (Vertebral
column) โดยรากของร#างแหประสาทแขนนี้จะวางตัวอยู#ในสามารถเหลี่ยมดHานหลังของคอ (Posterior triangle
of the neck) ดHานหลังต#อหลอดเลือดแดง Subclavian

รูปที่ 2 แสดงการรวมตัวกันของใยประสาทภายในร#างแหประสาทแขนในแต#ละระดับ (Drake, Vogl et al. 2009)


แขนงประสาทจากรากประสาทของร#างแหประสาทแขน (Branches from roots of brachial plexus)
- Dorsal scapular n. เป= นแขนงที ่ เกิ ดจากแขนงย# อยที ่ แยกมาจากขาหนH า หรื อรากประสาทของ
เสHนประสาทไขสันหลังระดับคอที่ 5 แลHวทอดไปทางดHานหลังแทงทะลุกลHามเนื้อ Middle scalene
และไปวางตัวอยู#ขอบดHานในของกระดูก Scapula เป=นเสHนประสาทสั่งการที่ส#งแขนงย#อยไปเลี้ยง
กลHามเนื้อ Rhomboid major และ minor รวมถึงกลHามเนื้อ levator scapulae ดHวย
- Contribution to phrenic n. แขนงประสาทเสHนนี้จะเป=นแขนงเล็กๆ ที่แยกมาจากรากประสาทของ
เสHนประสาทไขสันหลังระดับคอที่ 5 แลHวไปรวมตัวกับแขนงที่แยกมาจากขาหนHาของเสHนประสาทไข
สันหลังระดับคอที่ 3 และ 4 เพื่อไปควบคุมการหดตัวของกลHามเนื้อกระบังลม (Diaphragm)
- Long thoracic n. เป=นแขนงที่เกิดจากแขนงย#อยที่แยกมาจากขาหนHา ของเสHนประสาทไขสันหลัง
ระดับคอที่ 5 – 7 ทำหนHาที่ควบคุมการทำงานของกลHามเนื้อ Serratus anterior

ลำต?น (Trunks)
ส#วนลำตHนของร#างแหประสาทแขนเกิดจากการรวมตัวกันของรากที่มาจากเสHนประสาทไขสันหลัง โดยเป=น
ส#วนที่อยู#ระหว#างกระดูกซี่โครงที่ 1 และเขHาสู#รักแรH โดยร#างแหประสาทแขนจะประกอบดHวยลำตHน 3 ส#วน ไดHแก#
- ลำตHนส#วนบน (Upper trunk) เกิดจากการรวมตัวกันของรากประสาทไขสันหลังระดับคอที่ 5 และ 6
(Anterior rami of C5 – 6)
- ลำตันส#วนกลาง (Middle trunk) เป=นการทอดยาวต#อเนื่องมากจากรากประสาทไขสันหลังระดับคอที่
7 (C7 root)
- ลำตHนส#วนล#าง (Lower trunk) เกิดจากการรวมตัวกันของรากประสาทไขสันหลังระดับคอที่ 8 และ
ระดับอกที่ 1 (C8 & T1 roots)

แขนงประสาทจากลำตHนของร#างแหประสาทแขน (Branches from trunks of brachial plexus) เป=น


แขนงที่แยกออกมาจากลำตHนส#วนบนของร#างแหประสาททั้งหมด ประกอบดHวย
- Suprascapular n. เป=นเสHนประสาทที่ทอดผ#าน Suprascapular foramen ที่ขอบบนของกระดูก
Scapula เพื่อเขHามาเลี้ยงโครงสรHางที่อยู#ทางดHานหลังของกระดูก Scapula โดยไปสิ้นสุดยังกลHามเนื้อ
Infraspinatus ที่อยู#ภายใน Infraspinous fossa ตลอดเสHนทางเดินของเสHนประสาทจะทอดควบคู#ไป
กั บ หลอดเลื อ ดแดง Suprascapular โดยเสH น ประสาทนี ้ จ ะทำหนH า ที ่ ใ หH แ ขนงไปเลี ้ ย งกลH า มเนื้ อ
Supraspinatus, Infraspinatus และขHอต#อ Glenohumeral (Shoulder) joint
- Nerve to subclavius m. เป=นแขนงเล็กๆ ที่แยกตัวออกมาจากร#างแหประสาทแขนขHามหลอดเลือด
แดง Subclavian บริเวณฐานลำคอมาทางดHานหนHา เพื่อไปเลี้ยงกลHามเนื้อ Subclavius เพิ่งกลHามเนื้อ
เดียว

สาขา (Divisions)
เมื่อรากประสาทแต#ละรากรวมตัวกันกลายเป=นลำตHนของร#างแหประสาทเรียบรHอยแลHว จากนั้นแต#ละลำ
ตHนของร#างแหประสาทแขนจะแยกตัวออกเป=นสาขาส#วนหนHา (Anterior divisions) และสาขาส#วนหลัง (Posterior
divisions) โดยสาขาส#วนหนHาจะทอดใยประสาทไปเลี้ยงโครงสรHางต#างๆ ที่อยู#ดHานหนHาของแขน หรือ รยางคŽ
ส#วนบน (Anterior compartment of upper extremities) ส#วนใยประสาทของสาขาส#วนหลังก็จะส#งใยประสาท
ไปสัมพันธŽอยู#กับโครงสรHางที่อยู#ดHานหลังของแขนนั้นเอง ทั้งนี้ไม#มีเสHนประสาทส#วนปลายใดๆ ที่แยกแขนงย#อย
ออกมาจากร#างแหประสาทแขนส#วนสาขา

สาย (Cords)
สายของร#างแหประสาทแขนจะประกอบดHวย 3 สาย เกิดจากการรวมตัวกันของสาขาของร#างแหประสาท
ในระดับที่สัมพันธŽกับหลอดเลือดแดง Axillary ช#วงที่ 2 โดยการรวมตัวของสาขาเพื่อใหHเกิดเป=นสายของร#างแห
ประสาทแขน โดยชื่อของแต#ละสายจะสัมพันธŽกับตำแหน#งที่ตัวเสHนประสาทนั้นวางตัวสัมพันธŽกับหลอดเลือดแดง
Axillary ช#วงที่ 2 โดยในแต#ะละสายมีรายละเอียดดังต#อไปนี้
- สายดHานขHาง (Lateral cord) เกิดจากการรวมตัวกันของสาขาส#วนหนHา (Anterior division) ของลำ
ตH น ส# ว นบนและส# ว นกลาง (Upper & Middle trunks) วางตั ว อยู # ด H า นขH า งของหลอดเลื อ ดแดง
Axillary ช#วงที่ 2 ซึ่งสายดHานขHางจะประกอบดHวยใยประสาทที่มาจากเสHนประสาทไขสันหลังระดับคอ
ที่ 5 – 7
- สายดHานใน (Medial cord) วางตัวอยู#ดHานในต#อหลอดเลือดแดง Axillary ช#วงที่ 2 เป=นสายที่ยาวต#อ
เนื ่ อ งมาจากสาขาส# ว นหนH า ของลำตH น ส# ว นล# า ง (continuation of anterior division of lower
trunk) ซึ่งจะประกอบดHวยใยประสาทจากเสHนประสาทไขสันหลังระดับคอที่ 8 และระดับอกที่ 1
- สายดHานหลัง (Posterior cord) วางตัวอยู#หลังต#อหลอดเลือดแดง Axillary ช#วงที่ 2 โดยเกิดจากการ
รวมตัวกันของสาขาส#วนหลังของแต#ละลำตHนของร#างแหประสาทแขน

แขนงประสาทจากสายของร#างแหประสาทแขน (Branches from cords of brachial plexus)


เสHนประสาทส#วนปลายส#วนใหญ#ที่เลี้ยงโครงสรHางต#างๆ ภายในแขนจะเป=นแขนงที่แยกตัวออกมาจาก
ร#างแหประสาทแขนระดับสายนี้เอง กล#าวคือเสHนประสาทที่เลี้ยงโครงสรHางทางดHานหนHาของแขนมักจะเป=นแขนง
ที่มาจากสายดHานขHางและดHานใน ส#วนเสHนประสาทที่เลี้ยงโครงสรHางทางดHานหลังของแขนมักจะเป=นแขนงที่แยกมา
จากสายทางดHานหลังของร#างแหประสาทแขนนั่นเอง ในแต#ละสายจะมีแขนงต#างๆ ดังต#อไปนี้
แขนงประสาทจากสายด/านใน (Branches from medial cord)
- Medial pectoral n. เสH นประสาทนี ้ แยกมาจากสายดH านในแลH วแทงทะลุ กลH ามเนื ้ อ Pectoralis
minor มาทางดH า นหนH า มาสิ ้ น สุ ด ยั ง กลH า มเนื ้ อ Pectoralis major ดั ง นั ้ น เสH น ประสาทนี ้ จึ ง เป= น
เสHนประสาทหลักที่เลี้ยงกลHามเนื้อหนHาอกทั้ง 2 มัดที่ทอดผ#าน
- Medial cutaneous n. of arm (Medial brachial cutaneous n.) เสHนประสาทนีเ้ ป=นเสHนประสาท
หลักที่รับความรูHสึกบริเวณดHานในของแขนท#อนบน และส#วนฐานพื้นของรักแรH
- Medial cutaneous n. of forearm (Medial antebrachial cutaneous n.) เสH น ประสาทนี ้ จ ะ
แยกออกจากสายดHานในบริเวณดHานในของกลHามเนื้อ Biceps brachii เพื่อทำหนHาที่รับความรูHสึก
บริเวณดHานในของแขนท#อนล#าง
- Medial root of median n. แขนงนี ้ จ ะแยกออกจากสายดH า นในไปทางดH า นขH า งเพื ่ อ รวมตั วกั บ
Lateral root of median n. บริเวณหนHาต#อหลอดเลือดแดง axillary
- Ulnar n. เสHนประสาทนี้เป=นแขนงปลายสุดของสายดHานใน ทอดผ#านทางดHานในของแขนท#อนล#างเขHา
สู#ฝ‘ามือและเลี้ยงกลHามเนื้อมัดเล็กในมือ (Intrinsic muscles of the hand) ยกเวHนกลHามเนื้อกลุ#มเนิน
นิ ้ ว โป’ ง หรื อ Thenar muscles group และกลH า มเนื ้ อ Lumbrical 2 มั ด ทางดH า นขH า ง และรั บ
ความรู H ส ึ ก บริ เ วณมื อ ทั ้ ง ทางดH า นฝ‘ า มื อ และดH า นหลั ง ของมื อ ที ่ ส ั ม พั น ธŽ ก ั บ เนิ น นิ ้ ว กH อ ย หรื อ
Hypothenar eminence นิ้วกHอยและนิ้วกลางครึ่งนิ้วทางดHานใน นอกจากนี้ในระหว#างทางที่ทอด
ผ# า นแขนท# อ นล# า ง Ulnar n. จะแยกแขนงออกไปเลี ้ ย งกลH า มเนื ้ อ ภายในแขนท# อ นล# า งๆ ไดH แ ก#
กลHามเนื้อ Flexor carpi ulnaris และครึ่งทางดHานในของกลHามเนื้อ Flexor digitorum profundus
แขนงประสาทจากสายด/านข/าง (Branches from lateral cord)
- Lateral pectoral n. เป=นเสHนประสาทที่แยกออกสายดHานขHางเป=นเสHนแรก แลHวทอดคู#มากับหลอด
เลือดแดง Thoracoacromial แลHวแทงทะลุ clavipectoral fascia มาอยู#ในส#วนที่ตื้นขึ้นแลHวมาแทง
เขHากลHามเนื้อ Pectoralis major เพื่อทำหนHาที่หลักเลี้ยงกลHามเนื้อมัดนี้
- Musculocutaneous n. เป=นแขนงปลายสุดของสายดHานขHางของร#างแหประสาทแขน แทงทะลุ
กลHามเนื้อ Coracobrachialis ในส#วนตHน หรือโคนของแขนท#อนบน (Arm) ขHางต#อรักแรH แลHวทอด
ต# อ ไปอยู # ร ะหว# า งกลH า มเนื ้ อ Biceps brachii และ Brachioradialis ซึ ่ ง กลH า มเนื ้ อ ทั ้ ง 3 มั ด ที่
เสHนประสาทนี้ทอดผ#านก็จะถูกเลี้ยงโดยเสHนประสาทนี้เช#นกันซึ่งเป=นกลHามเนื้อที่อยู#ภายในช#องทาง
ดHานหนHาของแขน (Anterior compartment of the arm) ซึ่งเสHนประสาท Musculocutaneous นี้
จะถือเป=นเสHนประสาทประจำช#องดHานหนHาของแขนเช#นกัน หลังจากทอดผ#านช#องทางดHานหนHาของ
แขนแลHวเสHนประสาท Musculocutaneous นี้จะทอดเฉียงลงมาทางดHานขHางแลHวสิ้นสุดกลายเป=น
เสHนประสาท Lateral cutaneous n. of forearm เพื่อทำหนHาที่รับความรูHสึกดHานขHางของแขนท#อน
ล#าง (Lateral side of forearm)
- Lateral root of median n. แขนงนี้จะแยกออกมาจากสายดHานขHางแลHวทอดเขHามาทางดHานในของ
แขนเพื่อไปรวมตัวกับ Medial root of median n. ที่เป=นแขนงมาสายดHานในแลHวกลายเป=น Median
n. ในที่สุด โดย Median n. นี้เองจะมีหนHาที่เลี้ยงโครงสรHางต#างๆ ทางดHานหนHาของแขนท#อนล#าง และ
ฝ‘ามือ
แขนงประสาทจากสายด/านหลัง (Branches from posterior cord)
- Upper subscapular n. แยกจากสายดHานหลังของร#างแหประสาทแขนไปยังผนังดHานหลังของรักแรH
ทำหนHาที่เลี้ยงกลHามเนื้อ Subscapularis
- Thoracodorsal n. เสH น ประสาทนี้ จ ะทอดตั ว ดิ ่ ง มายั ง ดH า นหลั ง ของรั ก แรH เพื ่ อ เลี ้ ย งกลH า มเนื้ อ
Latissimus dorsi
- Lower subscapular n. ทอดดิ่งลงมาทางดHานหลังรักแรHเพื่อเลี้ยงกลHามเนื้อ Subscapularis และ
Teres major
- Axillary n. เสH น ประสาทนี ้ จ ะแยกตั ว และทอดผ# า น Quadriangular space เพื ่ อ เขH า สู # พ ี ้ น ที ่ ท าง
ดHานหลังของกระดูกสะบัก แลHวทอดอHอมทางดHานหลังของ Surgical neck ของกระดูก Humerus คู#
ไปกับหลอดเลือดแดง Posterior circumflex humeral เสHนประสาทนี้จะทำหนHาที่เลี้ยงกลHามเนื้อ
Deltoid และ Teres minor นอกจากนี้แลHวเสHนประสาท Axillary นี้จะใหHแขนง Superior lateral
cutaneous n. of arm เพื่อรับความรูHสึกดHานขHางของหัวไหล#
- Radial n. เป=นแขนงปลายสุดของสายดHานหลังของร#างแหประสาทแขนเขHาสู#ดHานหลังของแขน เพื่อ
เลี้ยงกลHามเนื้อทั้งหมดทางดHานหลังของแขน และแขนท#อนล#าง และรับความรูHสึกดHานหลังของแขน
และแขนท#อนล#าง รวมไปถึงดHานขHางของแขนท#อนล#าง และดHานหลังของมือ (โดยแขนง Posterior
cutaneous n. of arm)

เอกสารอ?างอิง
1. Drake, R., et al. (2009). Gray's Anatomy for Students E-Book, Elsevier Health Sciences.
2. Tank, P. W. and J. C. B. Grant (2012). Grant's Dissector, Wolters Kluwer Health/Lippincott
Williams & Wilkins.

You might also like