Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 104

สนามแม่เหล็ก

(Magnetic fields)

ภาควิชาฟิ สกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์


https://apod.nasa.gov/a
pod/ap180410.html วีระชัย สิริพนั ธ์วราภรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประโยชน์ ของสนามแม่เหล็ก
สนามแม่เหล็ก มีบทบาทมากมายต่อสิง่ มีชวี ติ ในหลายๆ ด้าน เช่น คมนาคม แพทย์ คอมพิวเตอร์ ธรรมชาติ ...

ใช้แท่งแม่เหล็กในการรักษา?
แม่เหล็ก (Magnet)

แม่เหล็กมีสองขัว้ เสมอ คือ


• ขัว้ เหนือ (N) และ
• ขัว้ ใต้ (S)
• ขัว้ ชนิดเดียวกันผลักกัน
• ขัว้ ต่างชนิดกันดึงดูดกัน
(คล้ายกับเรือ่ งประจุ)
แม่เหล็ก (Magnet)
ขัว้ ไหนของแม่เหล็กจะดึงดูดวัตถุ (ส่วน แม่เหล็กไม่สามารถมีอยูข่ วั ้ เดียวได้
ใหญ่โลหะ) ทีไ่ ม่มคี วามเป็ นแม่เหล็กได้ (แต่ประจุไฟฟ้ ามีอยูต่ วั เดียวได้)
สนามแม่เหล็ก (Magnetic field)
ใช้ แนวคิดเดียวกับเรือ่ ง สนามไฟฟ้ า การทีแ่ ม่เหล็กออกแรงกระทา
ซึง่ กันได้ แม้จะไม่สมั ผัสกันก็ตาม นัน้ เป็ นเพราะว่า
• แม่เหล็กมีสนามแม่เหล็ก (magnetic field) อยูร่ อบๆ
• เราสามารถแสดงทิศทางของสนามแม่เหล็กได้ดว้ ยเส้น
สนามแม่เหล็ก (magnetic field lines) (ซึง่ สามารถพิสจู น์ได้
จากทิศของเข็มทิศทีว่ างอยูร่ อบๆ)
• ข้อตกลง: เส้นสนามแมเหล็ก จะมีทศิ ชีอ้ อกจากขัว้ เหนือ และชี้
เข้าหาขัว้ ใต้
• บริเวณทีม่ คี วามหนาแน่นของเส้นสนามแม่เหล็กมาก (เช่น
บริเวณขัว้ ) แสดงว่าสนามแม่เหล็กมีขนาดมาก
สนามแม่เหล็ก (Magnetic field)
สนามแม่เหล็ก (Magnetic field)
หน่วยของสนามแม่เหล็ก B ตามระบบ SI คือ เทสลา (Tesla; T)
อีกหน่วยทีใ่ ช้กนั บ่อย คือ เกาส์ (Gauss; G) โดยที่ 1 T = 104 G

สนามแม่เหล็กโลกวัดทีส่ ถานีวดั
สนามแม่เหล็กโลกแห่งเดียวของ
ประเทศไทยทีม่ หาวิทยาลัยมหิดล
วิทยาเขตกาญจนบุรี อ.ไทรโยค ได้
50000 nT
ประมาณ 42,000 nT
สนามแม่เหล็กโลก (Earth’s Magnetic field)

ขัว้ เหนือ
ภูมศิ าสตร์
เข็มทิศชีไ้ ปทิศเหนือ
(ภูมศิ าสตร์) เสมอ

โลกเป็ นแท่ง ขัว้ เหนือ


แม่เหล็กใหญ่ แม่เหล็ก
สนามแม่เหล็กโลก : เข็มทิศ - inclination
เข็มทิศชีไ้ ปทิศเหนือ (ภูมศิ าสตร์) เสมอ
เข็มทิศวางตัวสมดุล ถ้าอยูใ่ กล้เส้นศูนย์สตู ร

ทิศเหนือเข็มทิศชูหวั ขึน้ ในขัว้ โลกใต้ (ภูมศิ าสตร์)

ทิศเหนือเข็มทิศกดหัวลง ในขัว้ โลกเหนือ (ภูมศิ าสตร์)


สนามแม่เหล็กโลก : เข็มทิศ - declination
สนามแม่เหล็กโลก :
เข็มทิศ
สนามไฟฟ้ า (Electric field) กับประจุ
𝐸
𝐹റ𝑞 = q𝐸
+ 𝐹റ𝑞
ถ้า q เป็ นบวก ทิศของแรง Fq 𝐹റ𝑞
จะตามทิศของสนามไฟฟ้ า E -

ถ้า q เป็ นลบ ทิศของแรง Fq จะ สาหรับสมการนี้ เมือ่ ต้องการหาทิศของแรงทีก่ ระทากับ


สวนทิศของสนามไฟฟ้ า E ประจุ q จากสนามไฟฟ้ า E
สามารถใส่ เครือ่ งหมายประจุ (บวก/ลบ) ได้เลย ถ้า E
ทีใ่ ช้คานวณเป็ นเวกเตอร์ทบ่ี ่งบอกทิศทางชัดเจน
สนามแม่เหล็กกับประจุ
เมือ่ ประจุอยูใ่ นสนามไฟฟ้ า จะมีแรงจากสนามไฟฟ้ ากระทากับประจุ
เช่นเดียวกัน ถ้ามีประจุอยูใ่ นสนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กจะออกแรงกระทากับประจุ เช่นกัน แต่สลับซับซ้อนกว่ามาก

x คือ vector cross product

อ่านว่า – แรงแม่เหล็ก (magnetic force) FB จาก


สนามแม่เหล็ก B ทีก่ ระทากับประจุ q ที่
เคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็ว v
• แรงแม่เหล็ก FB จะตัง้ ฉากกับทัง้ v และ B
แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อประจุที่เคลื่อนที่
• แรงแม่เหล็ก FB จะตัง้ ฉากกับทัง้ v และ B (หรือ ระนาบของ v และ B )

แรงแม่เหล็กทีก่ ระทาต่อประจุบวกจะมี
ทิศตรงข้ามกับทีก่ ระทาต่อประจุลบ
แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อประจุที่
เคลื่อนที่

• แรง FB ทีก่ ระทาต่อประจุแปรผันตาม q, v และ B


• ถ้าประจุหยุดนิ่ง (v = 0) จะไม่มแี รงใดๆ กระทากับมัน
• เมือ่ v ขนานไปกับ B แรง FB เป็ นศูนย์
• แรงจะมากสุดเมือ่ ทัง้ v และ B ตัง้ ฉาก
แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อประจุที่เคลื่อนที่
วิธหี าแรงแม่เหล็ก ถ้า v และ B เขียนในรูปเวกเตอร์หนึ่งหน่วย

ถ้าประจุเป็ นลบ
ทิศทีไ่ ด้จะกลับทิศกับทีไ่ ด้จากการทา
cross product ของ v และ B
แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อประจุที่เคลื่อนที่
นิ้วโป้ งชีท้ ศิ ของ v และนิ้วทัง้ สีค่ อื B
ฝ่ ามือชีท้ ศิ แรง

ขนาดของแรง

 คือมุมระหว่าง v และ B
สีน่ ้วิ ชีไ้ ปในทิศของ v
ฝ่ ามือคือ B
ทิศของแรง หาจาก วนนิ้วทัง้ สีไ่ ปทาง B
กฏมือขวา นิ้วโป้ งชีท้ ศิ แรง ประจุลบจะมีทศิ ของแรงตรงกันข้ามกับในรูป
ข้อแตกต่างระหว่างแรงไฟฟ้ าและแรงแม่เหล็ก
แรงไฟฟ้ า 𝐹റ𝑞 = q𝐸 แรงแม่เหล็ก
• แรงไฟฟ้ ากระทาตามทิศของสนามไฟฟ้ า • แรงแม่เหล็กกระทาในทิศทีต่ งั ้ ฉากกับ
• แรงไฟฟ้ ากระทากับประจุไม่วา่ มันจะหยุด สนามแม่เหล็ก
นิ่งหรือเคลื่อนที่ • แรงแม่เหล็กกระทาต่อประจุเฉพาะเมือ่ ประจุ
• แรงไฟฟ้ าทางานเพราะทาให้ประจุมรี ะยะ เคลื่อนทีเ่ ท่านัน้
กระจัด • แรงแม่เหล็กไม่ทางานเพราะแรงกับระยะกระ
จัดตัง้ ฉากกันเสมอ นันคื
่ อ แรงแม่เหล็กสามารถ
ทาให้ v เปลีย่ นทิศได้อย่างเดียว แต่ไม่สามารถ
เปลีย่ นขนาด (อัตราเร็ว) และพลังงานจลน์ได้
ตัวอย่าง

อิเล็กตรอนเคลื่อนทีไ่ ปทางด้านบนของจอใน พุ่งออกจากจอ


v ระนาบจอ ส่วนสนามแม่เหล็กอยูใ่ นระนาบ ใช้กฎมือขวา
B เดียวกัน (คือจอ) แต่มที ศิ ไปทางขวามือ ทิศของ และเพราะเป็ นประจุ
แรงแม่เหล็กทีก่ ระทาต่ออิเล็กตรอนอยูใ่ นทิศใด ลบจึงมีทิศตรงข้ามกับ
ที่ได้จากกฎมือขวา
ตัวอย่าง

อิเล็กตรอนในจอทีวเี คลือ่ นทีเ่ ข้าหาหน้าจอด้วยอัตราเร็ว 8.0 x 106 m/s


ตามแนวแกน x ดังรูป สิง่ ทีล่ อ้ มรอบจอคือเส้นลวดทีพ่ นั กันอยูเ่ ป็ นลูปที่
สร้างสนามแม่เหล็กทีม่ ขี นาด 0.025 T ในทิศทามุม 60 องศากับแกน x
และวางตัวอยูใ่ นระนาบ xy หาแรงแม่เหล็กทีก่ ระทาต่ออิเล็กตรอน
ทิศในแนวแกน ลบ z ขนาด 2.8E-14 N
ตัวอย่าง
หรือ หาโดยใช้การคูณแบบเวกเตอร์ (ลองทาดู โดยเฉพาะ นศ. ฟิ สกิ ส์)
แบบฝึ กหัด

โปรตรอนเคลือ่ นทีด่ ว้ ยอัตราเร็ว 3.0 x 105 m/s ในพืน้ ทีส่ นามแม่เหล็ก


สม่าเสมอขนาด 2 T ตามแกน z บวก (ดังรูป) ความเร็วอยูใ่ นระนาบ xz
และมีทศิ 30 องศากับแกน +z หาแรงทีก่ ระทาต่อโปรตอน

ทิศตามแกน ลบ y ขนาด 4.8E-14 N


การเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็กที่สมา่ เสมอ

สัญลักษณ์ของ B

สนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็ก
พุง่ ออก พุง่ เข้า
การเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็กที่สมา่ เสมอ
ประจุบวก q เคลื่อนทีต่ งั ้ ฉากในสนามแม่เหล็กที่
สม่าเสมอทีม่ ที ศิ พุง่ เข้า แรงแม่เหล็กกระทาในทิศทีต่ งั ้
ฉากกับ v อนุภาคจึงเคลื่อนทีเ่ ป็ นวงกลมรัศมี r
โดยสนามแม่เหล็กออกแรงกระทาต่ออนุภาคด้วย
ขนาดคงที่ qvB

รัศมีของเส้นทางการเคลื่อนที่
แปรผันตรงกับโมเมนตัม mv
และแปรผกผันกับ q และ B
ถ้าเป็ นประจุลบเคลื่อนทีอ่ ย่างไร?
การเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็กที่สมา่ เสมอ

แต่ถา้ ประจุ q เคลื่อนที่


โดย v ทามุมกับ B (คือ
ไม่ได้ตงั ้ ฉาก) เส้นทาง
การเคลื่อนทีจ่ ะเป็ นแบบ
Helix
การเคลื่อนที่ของประจุใน
สนามแม่เหล็ก

อนุภาคพวกอิเล็กตรอนและโปรตอน (cosmic rays) ติดอยูใ่ นสนามแม่เหล็ก


โลกเคลือ่ นตัวเป็ นวงล้อมรอบเส้นสนามแม่เหล็กโลก ทีเ่ รียกว่า Van Allen
belts ในบางครัง้ ทีข่ วั ้ โลก มันจะหลุดออกจาก belts แล้วชนกับอะตอมของ
บรรยากาศทาให้เปล่งแสงออกมาเป็ นแสงเหนือ (aurora borealis)
ตัวอย่าง

โปรตรอนเคลือ่ นทีเ่ ป็ นวงกลมด้วยรัศมี 14 cm ในพืน้ ทีส่ นามแม่เหล็ก


สม่าเสมอขนาด 0.35 T ตัง้ ฉากกับความเร็วของโปรตอน หาอัตราเร็ว
ของโปรตอน

4.7E+6 m/s
ตัวอย่าง

ในการทดลองเพือ่ วัดขนาดของสนามแม่เหล็กทีส่ ม่าเสมอ อิเล็กตรอนถูกเร่ง


จากหยุดนิ่งด้วยความต่างศักย์ 350 V ให้เดินทางเป็ นเส้นโค้ง รัศมีความโค้ง
วัดได้ 7.5 cm (ดังรูป) ถ้าสนามแม่เหล็กตัง้ ฉากกับทิศการเคลือ่ นทีข่ อง
อิเล็กตรอน ก) ให้หาขนาดของสนามแม่เหล็ก ข) อัตราเร็วเชิงมุมของ
อิเล็กตรอน
8.4E-4 T; 1.5E8 rad/s
Applications
ประจุเคลื่อนทีใ่ นบริเวณทีม่ ที งั ้
สนามไฟฟ้ าและสนามแม่เหล็ก

ต้องการประจุทเ่ี คลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็วเท่ากัน


สนามแม่เหล็ก พุง่ เข้า สนามไฟฟ้ า ไปทางขวา
แรงจากทัง้ สองจะพยุงกันให้ประจุทค่ี วามเร็วทีต่ อ้ งการ
เคลือ่ นทีต่ รงไปได้ ประจุทค่ี วามเร็วมากกว่าจะไป
ทางซ้าย และทีน่ ้อยกว่าจะไปทางขวา
Applications

ต้องการแยกไอออนตามอัตราส่วนมวลต่อประจุ
ทาโดย ให้ประจุผา่ นเข้าไปใน velocity selector แล้วค่อยเข้าไป
ในพืน้ ทีส่ นามแม่เหล็กสม่าเสมอทีม่ ที ศิ เดียวกับสนามแม่เหล็กใน
velocity selector ทาให้มนั เคลือ่ นทีเ่ ป็ นวงกลม ประจุบวกจะ
เคลือ่ นทีไ่ ปทางซ้าย ประจุลบไปทางขวา
แรงแม่เหล็กที่กระทา
ต่อลวดตัวนาที่มี
กระแสไฟฟ้ าไหล
ถ้าเป็ นประจุตวั เดียว

ถ้ามีประจุทเ่ี คลือ่ นทีอ่ ยูใ่ นบริเวณทีม่ สี นามแม่เหล็กจะมี


แรงแม่เหล็กกระทา
กระแสไฟฟ้ าคือประจุทเ่ี คลือ่ นที่ ดังนัน้ เกิดอะไรขึน้
เมือ่ มีกระแสไฟฟ้ าไหลในบริเวณทีม่ สี นามแม่เหล็ก กระแสไหลขึน้ กระแสไหลลง
ไม่มกี ระแส ลวดเบนซ้าย ลวดเบนขวา
แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มี
กระแสไฟฟ้ าไหล
ถ้าเป็ นประจุตวั เดียว

ถ้าเป็ นทัง้ ลวดยาว L พืน้ ทีห่ น้าตัด


A และมีจานวนประจุ n ต่อหน่วย
ปริมาตร ซึง่ บริเวณนี้จะมี
กระแสไฟฟ้ าเท่ากับ

เมือ่ เป็ นเวกเตอร์ทม่ี ที ศิ ตาม


กระแส I และมีขนาด L

สมการนี้ใช้ได้เฉพาะเมือ่ ลวดตัวนาเป็ นเส้นตรงและอยูใ่ นสนามแม่เหล็กทีส่ ม่าเสมอ


แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้ า
ไหล

ขนาดของแรง ขนาดของแรง
𝐹𝐵 = 𝐼𝐿𝐵𝑠𝑖𝑛𝜃 (I)
 คือมุมระหว่าง v และ B
 คือมุมระหว่าง L และ B

ทิศของแรง สีน่ ้วิ ชีไ้ ปในทิศของ v


หาจากกฏ ฝ่ ามือคือ B
มือขวา วนนิ้วทัง้ สีไ่ ปทาง B
นิ้วโป้ งชีท้ ศิ แรง
แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้ าไหล

ในกรณีทล่ี วดตัวนาไม่ได้เป็ นเส้นตรง

(แรงแม่เหล็กทิศพุง่ ออกจากจอ)
แรงแม่เหล็กทัง้ หมดทีก่ ระทาต่อลวดจาก a ไป b
แรงแม่เหล็กที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้ าไหล

ในกรณีทล่ี วดตัวนาไม่ได้เป็ นเส้นตรง

(แรงแม่เหล็กทิศพุง่ ออกจากจอ)
แรงแม่เหล็กทัง้ หมดทีก่ ระทาต่อลวดจาก a ไป b
ตัวอย่าง

ลวดตัวนาดังรูปวางอยูใ่ นระนาบ xy ในสนามแม่เหล็กทีส่ ม่าเสมอมีทศิ


ไปตามแกน y ให้หาขนาดและทิศของแรงแม่เหล็กทีก่ ระทาต่อลวดส่วน
ทีเ่ ป็ นเส้นตรง และส่วนทีส่ ว่ นโค้ง
ส่วนตรง 2IRB พุง่ ออกจากกระดาษ
ส่วนโค้ง -2IRB พุง่ เข้าหากระดาษ
แบบฝึ กหัด
หาทิศทีป่ ระจุเคลือ่ นทีเ่ มือ่ ประจุเข้ามาใน
สนามแม่เหล็ก

a) ขึน้ b) พุง่ ออก c) ไม่เปลีย่ นทิศ d) พุง่ เข้า


แบบฝึ กหัด
หาทิศสนามแม่เหล็กทีก่ ระทากับประจุบวก
ทีเ่ คลือ่ นทีใ่ นทิศต่างๆ ดังรูป พร้อมกับทิศ
ของแรงแม่เหล็ก

a) พุง่ เข้า b) ทางขวา c) ทิศลง


แบบฝึ กหัด
โปรตอนเคลือ่ นทีด่ ว้ ยอัตราเร็ว (ตามโจทย์)
ผ่านสนามแม่เหล็กขนาด 1.7 T มีแรง
แม่เหล็กขนาดตามโจทย์กระทา หามุม
ระหว่างความเร็วและสนามแม่เหล็ก

48.9 องศา
แบบฝึ กหัด

โปรตอนเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็ว (ตามโจทย์) ผ่านสนามแม่เหล็กตามโจทย์ หาขนาดของ


แรงแม่เหล็กทีก่ ระทาต่อโปรตอนนี้
(โจทย์ขอ้ นี้เฉพาะเด็กฟิ สกิ ส์ หรือคนสนใจ ไม่ออกสอบ)

13.2E-19 N
แบบฝึ กหัด

โปรตอนเคลือ่ นทีด่ ว้ ยความเร็ว (ตามโจทย์) ในทิศ 60 องศา กับทิศของสนามแม่เหล็กที่


มีขนาด 0.18 T ในทิศ +x a) หาขนาดของแรงแม่เหล็กทีก่ ระทาต่อโปรตอนนี้ b)
ความเร่งของโปรตอน
1.25E-13 N;
7.5E13 m/s^2
แบบฝึ กหัด

โปรตอนเคลือ่ นทีต่ งั ้ ฉากกับสนามแม่เหล็กด้วยอัตราเร็ว (ตามโจทย์) และมีความเร่ง


(ตามโจทย์) ในทิศ +x เมือ่ ความเร็วอยูใ่ นทิศ +z หาขนาดและทิศทางสนามแม่เหล็ก

20.9E-3 T;
ทิศ -y
แบบฝึ กหัด
4.27 cm;
1.8E-8 s

อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีเ่ ป็ นวงกลมตัง้ ฉากกับสนามแม่เหล็กทีส่ ม่าเสมอและมีขนาด 2mT ถ้า


อัตราเร็วอิเล็กตรอนเป็ น (ตามโจทย์) หา a) รัศมีของวงกลม b) เวลาทีใ่ ช้ในการเคลือ่ นที่
ครบหนึ่งรอบ
แบบฝึ กหัด

อนุภาคทีม่ ปี ระจุ q และพลังงานจลน์ K เดินทางในบริเวณสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ B ถ้า


อนุภาคเคลือ่ นทีเ่ ป็ นวงกลมรัศมี R หา ก) อัตราเร็ว และ ข) มวล
(ตอบติดตัวแปรเฉพาะทีโ่ จทย์ให้มา)

v = 2K/qBR
m = (qBR)^2 /2K
แบบฝึ กหัด
บริเวณทางขวามีสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ 1 mT
แต่ทางซ้ายมีสนามแม่เหล็กเป็ นศูนย์ ดังรูป
อิเล็กตรอนเดินทางเข้ามาตัง้ ฉากกับขอบของ
สนามแม่เหล็ก (สมมติขอบไม่มคี วามหนา) ผ่าน
เข้าไปในสนามแม่เหล็ก ก) หาเวลาทีท่ าให้
อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีอ่ อกจากสนามแม่เหล็ก
(เคลือ่ นทีเ่ ป็ นครึง่ วงกลม) ข) สมมติให้ความลึก
มากสุดทีอ่ เิ ล็กตรอนเข้าไปในสนามได้คอื 2 cm
1.79E-8 s; หาพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอน
5.62E-18J (35.1eV)
แบบฝึ กหัด
ไอออนมีประจุตวั หนึ่งมีมวล m เร่ง
จากหยุดนิ่งภายในพืน้ ทีค่ วามต่าง
ศักย์ V มันจะถูกแรงแม่เหล็กทาให้
มันเคลือ่ นทีค่ รึง่ วงกลมรัศมี R โดย
สนามแม่เหล็กมีตงั ้ ฉากกับทิศ
ความเร็ว ต่อมา ไอออนทีม่ ปี ระจุ
8 เพิม่ ขึน้ สองเท่า มีมวล m’ เร่งด้วย
ความต่างศักย์เท่ากัน ผ่านไปใน
สนามแม่เหล็กเดียวกัน วิง่ เป็ นครึง่
วงกลมเช่นกันแต่มรี ศั มี R’ = 2R หา
อัตราส่วนของมวลของไอออนทัง้ สอง
แบบฝึ กหัด
ตัวนามีกระแส I = 15 A ไหลตาม
แกน +x และตัง้ ฉากกับ
สนามแม่เหล็กทีส่ ม่าเสมอ แรง
แม่เหล็กต่อความยาว 0.12 N/m
กระทากับตัวนาในทิศ –y หา (ก)
ขนาด และ ข) ทิศของสนามแม่เหล็ก
ในบริเวณทีก่ ระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน

8E-3 T; ทิศ +z
แบบฝึ กหัด
ลวดยาว 2.8 m มีกระแส 5A ไหลใน
บริเวณมีสนามแม่เหล็กทีม่ ขี นาด
0.39 T หา ขนาดของสนามแมเหล็ก
บนเส้นลวด สมมติให้มมุ ระหว่าง
สนามแม่เหล็กและกระแสไฟฟ้ าเป็ น
ก) 60 องศา ข) 90 องศา และ ค)
120 องศา

4.73 N; 5.46 N; 4.73 N


แหล่งกาเนิดสนามแม่เหล็ก
(Sources of the Magnetic fields)

https://edition.cnn.com/t
ravel/article/southern-
lights-new- ภาควิชาฟิ สกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์
zealand/index.html
วีระชัย สิริพนั ธ์วราภรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ประจุไฟฟ้ าที่เคลื่อนที่ก่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก

จากการทดลองโดยบังเอิญ
ของ Oersted วางเข็มทิศ
ใกล้สายไฟ เขาพบว่าเมือ่ มี
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน เข็ม
ทิศจะเบีย่ งเบนไปจากเดิม
ทิศของกระแสก็สง่ ผลต่อ
การหมุนของเข็มทิศ

ประจุไฟฟ้ าที่เคลื่อนที่ก่อให้เกิดสนามแม่เหล็ก
สนามไฟฟ้ า VS สนามแม่เหล็ก เนื่ องจากประจุ
สนามไฟฟ้ า สนามแม่เหล็ก
• ประจุจะสร้างสนามไฟฟ้ าขึน้ มารอบๆ • ประจุทเ่ี คลื่อนที่ หรือกระแสไฟฟ้ า สร้าง
ประจุ (ทัง้ หยุดนิ่งและเคลื่อนที)่ สนามแม่เหล็กขึน้ มารอบๆ (และสนามไฟฟ้ า
• เมือ่ ใดก็ตามทีม่ ปี ระจุแปลกปลอมหลุดเข้า ด้วย)
มาในสนามไฟฟ้ าของมัน จะมีแรงจาก • ประจุทห่ี ยุดนิ่งไม่สามารถสร้างสนามแม่เหล็กได้
สนามไฟฟ้ ากระทา • เมือ่ ใดก็ตามทีม่ ปี ระจุแปลกปลอมทีเ่ คลื่อนทีห่ ลุด
เข้ามาในสนามแม่เหล็กของมัน จะมีแรงจาก
𝐹റ𝑞 = q𝐸
สนามแม่เหล็กไปกระทา (ถ้าประจุแปลกปลอม
หยุดนิ่ง ก็ไม่เกิดแรง)
สังเกตว่าทิศ
Biot-Savart Law
ของ Biot กับ Savart ทาการทดลองวัดสนามแม่เหล็กทีเ่ กิดจากกระแสไฟฟ้ า พบว่า
สนามแม่เหล็ก
ทีจ่ ุด P และ P’ • เวกเตอร์ dB ตัง้ ฉากกับทัง้ ds (ทิศตามทิศกระแส) และ
ตรงกันข้ามกัน เวกเตอร์หนึ่งหน่วย r (ทิศพุง่ จาก ds ไปยัง P)
• ขนาด dB แปรผกผันกับ r2 และ แปรผันตรง กับ I และ
ขนาดของ ds และ sin (เมือ่  คือมุมระหว่าง ds และ r)

กระแสไหล I และ ds คือความยาวส่วนเล็กๆ ของลวดมีทศิ สัมผัสกับลวดในทิศของกระแส


dB คือสนามแม่เหล็ก B ทีจ่ ุด P ทีเ่ กิดจาก Ids (Current Element)
Biot-Savart Law
Biot กับ Savart ทาการทดลองวัดสนามแม่เหล็กทีเ่ กิดจากกระแสไฟฟ้ า พบว่า

สนามแม่เหล็กลัพธ์ทจ่ี ุด P
สนามไฟฟ้ า VS สนามแม่เหล็ก เนื่ องจากประจุ
สนามไฟฟ้ า สนามแม่เหล็ก
• ขนาดเป็ น inverse square law • ขนาดเป็ น inverse square law
• มีทศิ radial • มีทศิ ตัง้ ฉากกับ ds และ r
• สนามไฟฟ้ าเกิดจากประจุ q เดีย่ วๆ ได้ • สนามแม่เหล็กเกิดจาก Ids แต่ Ids ไม่สามารถ
แยกเดีย่ วๆ ได้ ต้องอยูเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของวงจรทีม่ ี
กระแสไหล
สนามแม่เหล็กที่เกิดจากลวดตัวนา
ตรงมีกระแส

ลวดยาวขนาดหนึ่ง มีกระแสคงที่ I ไหลผ่าน วางตัวตามแกน x หาขนาดและ


ทิศทางของสนามแม่เหล็กทีจ่ ุด P เนื่องจากกระแส

พิจารณา ds ทีท่ าให้เกิดสนามแม่เหล็กทีจ่ ุด P สนามแม่เหล็ก dB จะมีทศิ พุง่ ออก


จากจอ แต่เนื่องจาก current element Ids ในลวดมีทศิ เดียวกันหมด ดังนัน้
สนามแม่เหล็ก B ทีจ่ ุด P เนื่องจากแต่ละส่วนของเส้นลวดจึงมีทศิ เดียวกันด้วยคือ
คือ พุง่ ออกจากจอ ดังนัน้ จึงหาแต่ขนาด
สนามแม่เหล็กที่เกิดจากลวดตัวนา
ตรงมีกระแส
สนามแม่เหล็กที่เกิดจากลวดตัวนา
ตรงมีกระแส
สาหรับเส้นลวดตรงทีม่ ขี นาดจากัด จาก1 ถึง 2

สาหรับลวดทีย่ าวมากๆ 1 = /2 (x = -) และ 2 = -/2 (x = )

ขนาดสนามแม่เหล็กแปรผันตามกระแส I และแปรผกผันกับระยะห่าง
ออกไปจากลวด a (คล้ายคลึงกับสนามไฟฟ้ าเนื่องจากลวดประจุยาว)
ทิศของสนามแม่เหล็กที่เกิดจากลวดตัวนาตรงมีกระแส
สนามแม่เหล็กทีเ่ กิดจากลวดตัวนายาวทีม่ ี หาทิศทางของสนามแม่เหล็กได้จาก กฏมือขวา
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน จะแปรผันกับ ขนาด
ของกระแส และแปรผกผันกับระยะห่าง และ
มีความสมมาตรรอบๆ ลวดตัวนา วางตัวอยู่
ในระนาบทีต่ งั ้ ฉากกับลวดตัวนา และมี
ขนาด
ตัวอย่าง
ลวดตัวนาตรงยาวมีกระแสไหล 1 A ทีร่ ะยะ
เท่าไรจากแกนของลวดจะมีสนามแม่เหล็ก
ขนาด (ตามโจทย์)

4E-3 m
แบบฝึ กหัด
ลวดยาวตรงสองเส้นขนานกันตัง้ ฉากกับระนาบ
xy ดังรูป ทัง้ คูม่ กี ระแส I ไหลผ่าน แต่ทศิ
ตรงกันข้าม ก) หา B ทีต่ าแหน่ง P1, P2, P3
่ ไปของ B ทีต่ าแหน่งใดๆ บน
ข) หารูปทัวๆ
แกน x ทางขวาของลวดเส้นที่ 2

-I/8d j at P1;
I/d j at P2;
-I/3d j at P3;
-Id/(x^2 – d^2) j when x > d
สนามแม่เหล็กเนื่ องจากลวดตัวนาสองเส้นที่ขนานกัน
ลวด 1 และ 2 วางขนานกันห่างกัน
เป็ นระยะ a มีกระแส I1 และ I2 ใน
ทิศเดียวกัน

ลวดสองเส้นดูดกัน เมือ่ กระแสไหลทางเดียวกัน

(I)
สนามแม่เหล็กเนื่ องจากลวดตัวนาสองเส้นที่ขนานกัน
ลวด 1 และ 2 วางขนานกันห่างกัน
เป็ นระยะ a มีกระแส I1 และ I2 ใน
ทิศสวนทางกัน

ถ้ากระแสไหลสวนทางกัน ลวดทัง้ สองจะผลักกัน

(I)
สนามแม่เหล็กเนื่ องจากลวดตัวนาสองเส้นที่ขนานกัน
ลวด 1 และ 2 วางขนานกันห่างกัน
เป็ นระยะ a มีกระแส I1 และ I2 ใน
ทิศเดียวกัน

เส้นลวด l ตัง้ ฉากกับ B2


สนามแม่เหล็กเนื่ องจากลวดตัวนาสองเส้นที่ขนานกัน
ขนาดของแรงจากลวดทัง้ สองเท่ากัน

สิง่ ทีไ่ ด้จากตรงนี้ คือ นิยามขนาดของ แอมแปร์ (A)


ตัวอย่าง

ลวดตรงสองเส้นห่างกัน 4.5 mm มีกระแสไหล


เท่ากัน 15,000 A ในทิศตรงกันข้าม หาแรงต่อ
หน่วยความยาวจากลวดแต่ละเส้นกระทากับอีก
เส้น

= 1E4 N/m
แบบฝึ กหัด

ลวดยาวสองเส้นวางขนานกันบนพืน้ มีระยะห่าง a = 1 m ดัง


รูป เอาลวดเส้นทีส่ ามยาว 10 m มาวางทีม่ มี วล 400 g มี
กระแส I1 = 100 A และลอยตัวอยูเ่ หนือลวดสองเส้นแรก ตรง
กึง่ กลางระหว่างทัง้ สองเส้น ลวดทัง้ สองมีกระแสไหล I2 ในทิศ
เดียวกัน แต่ตรงกันข้ามกับลวดเส้นทีส่ ามทีล่ อยอยูข่ า้ งบน
กระแสไฟฟ้ า I2 จะต้องมีคา่ เท่าไรถึงจะทาให้ลวดเส้นทีส่ าม
ลอยเป็ นสามเหลีย่ มด้านเท่าได้ 113A
สนามแม่เหล็กที่เกิดจากขดลวดตัวนาวงกลมมี
กระแส

พิจารณา ds ทีท่ าให้เกิดสนามแม่เหล็กทีจ่ ุด P สนามแม่เหล็ก dB


จะมีทงั ้ แกน x และ ตัง้ ฉาก แต่ทว่า แนวตัง้ ฉากจะหักล้าง จึงเหลือ
เฉพาะในแนวแกน x เท่านัน้
สนามแม่เหล็กที่เกิด
จากขดลวดตัวนา
วงกลมมีกระแส
สนามแม่เหล็กที่เกิดจากขดลวดตัวนาวงกลมมีกระแส

สนามแม่เหล็กทีเ่ กิดจาก current loop และ


ความคล้ายคลึงกับทีเ่ กิดจากแท่งแม่เหล็ก
ทิศของสนามแม่เหล็กที่เกิดจากขดลวดวงกลมตัวนามี
กระแส

ทาได้ดว้ ยกฏมือขวา ทาได้ทงั ้


สองแบบ สาหรับสนามแม่เหล็ก
ภายในขดลวดวงกลม ภายนอก
ก็ตรงกันข้าม
สนามแม่เหล็กที่เกิดจากขดลวดตัวนาวงกลมมีกระแส

ถ้ามีจานวนลูปเท่ากับ N ทีม่ รี ศั มีเท่ากัน วางติดๆ กัน จะ


ทาให้ได้สนามแม่เหล็กทีม่ ขี นาดมากขึน้ ตามจานวน N
ตัวอย่าง

ขดลวดกลมพันกัน 100 รอบแต่ละรอบมีรศั มี 0.6 m มีกระแสไฟฟ้ า


ไหล 5 A (ก) หาสนามแม่เหล็กทีจ่ ดุ บนแกนกลางของขดลวด ห่าง
ออกไป 0.8 จากกึง่ กลาง (ข) ทีร่ ะยะใดตามแกนกลางของขดลวดที่ 1.1E-4 T; 1.04 m
มีขนาดของสนามเป็ น 1/8 เท่าของทีก่ ง่ึ กลาง
กฏของแอมแปร์ (Ampere’s Law)
พิจารณา เมือ่ ds เป็ นระยะเล็กๆ ตามทิศสนามแม่เหล็ก ดังนัน้

(เพราะ B กับ ds อยูใ่ นทิศเดียวกัน)

ผลรวมของ B และ
ds รอบวง

Amperian loop คือ closed loop ใดๆ ทีล่ ากให้


ล้อมรอบกระแสและผ่านจุดทีจ่ ะหาสนามแม่เหล็ก
กฏของแอมแปร์ (Ampere’s Law)

กฎของแอมแปร์กล่าวว่า “line integral รอบ Amperian loop ของ B กับ ds จะ


เท่ากับผลคูณของ กับกระแสสุทธิภายในทีผ่ า่ น loop”
กฎของแอมแปร์เหมาะกับการนามาใช้เมือ่ การกระจายของกระแสมีความ
สมมาตรสูง (เหมือนกับการใช้กฎของเกาส์หาสนามไฟฟ้ า)
ถึงแม้กฎของแอมแปร์จะเป็ นจริงสาหรับ Amperian loop รูปร่างใดๆ แต่เราควรสร้าง
ให้มสี มมาตรเหมือนการกระจายของกระแส จึงจะมีประโยชน์
กฏของแอมแปร์ (Ampere’s Law)
ตัวอย่าง

แนะนา: พิจารณาทิศทางของกระแสด้วย

เรียงลาดับขนาด สาหรับ amperian loop ปิ ดใดๆ ในรูป โดยเรียงจากมากไปน้อย


c>a>d>a
ตัวอย่าง

a=c=d>b=0

เรียงลาดับขนาด สาหรับ amperian loop ปิ ดใดๆ ในรูป โดยเรียงจากมากไปน้อย


ตัวอย่าง

ลวดตรงยาว มีรศั มี R มีกระแส I กระจายสม่าเสมอตลอด


พืน้ ทีห่ น้าตัดขวางของลวด จงหาสนามแม่เหล็กภายนอก
และภายในลวด
ตัวอย่าง
เราควรสร้าง Amperian loop เป็ นวงกลมรอบลวด เพือ่ ให้ B มีทศิ
เดียวกับ ds
สาหรับสนามแม่เหล็กภายนอก

ได้ผลเช่นเดียวกับการใช้กฎ biot-savart

สาหรับสนามแม่เหล็กภายใน r < R
I’ คือกระแสภายในรัศมี r
ตัวอย่าง
กฏของเกาส์ในเรื่องแม่เหล็ก
เช่นเดียวกับ ฟลักซ์ไฟฟ้ า ฟลักซ์แม่เหล็กของสนามแม่เหล็ก B ทีผ่ า่ น
พืน้ ที่ dA (เวกเตอร์ตงั ้ ฉากกับพืน้ ผิวทีม่ ขี นาด dA) คือ

หน่วยของฟลักซ์แม่เหล็กคือ Tm2 หรือ เวเบอร์ (Weber; Wb)


กฏของเกาส์ในเรื่องแม่เหล็ก

B = 0 B = BA
กฏของเกาส์ในเรื่องแม่เหล็ก
เส้นสนามไฟฟ้ า
เส้นแม่เหล็กไม่มเี ริม่ ต้นและ เริม่ ต้นทีป่ ระจุบวก
สิน้ สุด ต่อเนื่องกันตลอด สิน้ สุดทีป่ ระจุลบ

เข้าเท่ากับออก เข้าไม่เท่ากับออก
กฎของฟาราเดย์ของการเหนี่ ยวนา
จากการทดลองง่ายๆ นี้ จะเห็น
ได้วา่ เมือ่ สนามแม่เหล็กมีการ
เปลีย่ นแปลงจะทาให้มกี ารไหล
ของกระแสไฟฟ้ าในวงจร
กระแสทีไ่ หลนี้เรียกว่า กระแส
เหนี่ ยวนา (inducted
current) ทีเ่ กิดจาก emf
เหนี่ ยวนา (induced emf)
นาแม่เหล็กเข้าใกล้ ไม่เคลือ่ นทีแ่ ม่เหล็ก นาแม่เหล็กออก กระแส
กระแสไหลไปทิศหนึ่ง กระแสหยุดไหล ไหลไปอีกทิศหนึ่ง
กฎของฟาราเดย์ของการ
เหนี่ ยวนา
ฟาราเดย์ทาการทดลองคล้ายกัน
ฟาราเดย์พบว่า เมือ่ ปิ ดสวิทซ์ เข็มแอมมิเตอร์เอียงไป
ข้างหนึ่งแล้วกลับคืนสูศ่ นู ย์ทนั ที และเมื่อเปิ ดสวิทซ์
เข็มจะเอียงไปอีกข้างหนึ่งแล้วกลับคืนสูศ่ ูนย์ทนั ที
เช่นกัน
นันแสดงว่
่ า เมือ่ ไม่มกี ระแสไหล หรือมีกระแสไหล
สม่าเสมอ จะไม่มกี ระแสไหลผ่านแอมมิเตอร์ (เพราะ
สนามแม่เหล็กไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง) แต่ในขณะที่
เปิ ดหรือปิ ดสวิทซ์ ให้กระแสไหลหรือหยุดไหล จะทาให้
เกิดการเปลีย่ นแปลงของสนามแม่เหล็ก การ
เปลีย่ นแปลงนี้ก่อให้เกิดกระแสเหนี่ยวนา
กฎของฟาราเดย์ของการเหนี่ ยวนา
ฟาราเดย์จงึ สรุปว่ากระแสไฟฟ้ าสามารถถูกเหนี่ยวนาให้เกิดขึน้ ได้เมือ่ ฟลักซ์แม่เหล็กทีผ่ า่ นวงจร
มีการเปลีย่ นแปลงตามเวลา
emf เหนี่ยวนา () ในวงจรแปรผัน
โดยตรงกับอัตราการเปลีย่ นแปลง เครือ่ งหมายลบจะถูกกล่าวถึงต่อไป
ของ ฟลักซ์แม่เหล็กผ่านวงจร

นอกจากนี้ ฟาราเดย์ยงั พบอีกว่า ถ้ามีขดลวดพันกัน N รอบผ่านพืน้ ทีข่ นาดเท่ากัน ถ้า


B คือ ฟลักซ์แม่เหล็กทีเ่ กิดจากลวดหนึ่งรอบ emf เหนี่ยวนาจะเกิดในทุกรอบ ฉะนัน้
emf ต้องบวกกันเหมือนกับแบตเตอรีท่ ต่ี ่ออนุกรมกัน ดังนัน้ emf เหนี่ยวนาทีเ่ กิดขึน้
สามารถเขียนได้
กฎของฟาราเดย์ของการเหนี่ ยวนา
สมมติวา่ มีพน้ื ที่ A อยูใ่ นสนามแม่เหล็กทีส่ ม่าเสมอ B
ฟลักซ์แม่เหล็กจึงเท่ากับ BA cos

emf สามารถถูกเหนี่ยวนาได้หลายวิธี
-ขนาดของ B เปลีย่ นแปลงตามเวลา
-พืน้ ที่ A เปลีย่ นแปลงตามเวลา
-มุม  (ระหว่าง B และพืน้ ทีท่ ต่ี งั ้ ฉาก) เปลีย่ นแปลงตามเวลา
-หรือทัง้ สามสิง่ รวมๆ กัน
ตัวอย่าง
ขดลวดวงกลมอยูใ่ นบริเวณทีม่ สี นามแม่เหล็กสม่าเสมอ และตัง้ ฉากกับเส้นสนาม
ข้อใดต่อไปนี้ทไ่ี ม่ทาให้เกิดการเหนี่ยวนาของกระแส
ก) บีบขดลวดให้เล็กลง
ข) หมุนขดลวดรอบแกนทีต่ งั ้ ฉากกับเส้นสนาม
ค) ไม่หมุนขดลวด แต่จบั ขดลวดเคลื่อนทีไ่ ปมาตามเส้นสนาม
ง) ดึงขดลวดออกจากสนาม

ค) ข้อนี้ไม่เท่าให้ฟลักซ์แม่เหล็กเปลีย่ นแปลง
การประยุกต์ใช้กฎของฟาราเดย์

สายกีตาร์ไฟฟ้ าจะมีแม่เหล็กเล็กๆ ฝั งอยู่ ใกล้ๆ กับสายกีตาร์จะมี pickup coil ทีม่ ขี ดลวดพันอยู่ ขดลวดพวกนี้จะส่ง
สัญญาณเล็กโทรนิกส์ให้กบั amplifier เพือ่ ขยายเสียงออกทางลาโพง
ตัวอย่าง

ขดลวดพันกัน 200 รอบ เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มจตุรสั แต่ละด้านยาว d = 18 cm และอยูใ่ นสนามแม่เหล็ก
ทีส่ ม่าเสมอทีต่ งั ้ ฉากกับระนาบของขดลวด ถ้าสนามแม่เหล็กเปลีย่ นแปลงแบบเชิงเส้นจาก 0 เป็ น
0.5 T ในเวลา 0.8 s ขนาดของ emf เหนี่ยวนาของขดลวดมีคา่ เป็ นเท่าไร ในขณะทีส่ นามแม่เหล็ก
กาลังเปลีย่ นแปลง พร้อมกับหากระแสเหนี่ยวนาทีเ่ กิดในขดลวดด้วยถ้าสมมติวา่ วงจรนี้ต่อกับตัว
ต้านทาน 2 ohm = 4 V; 2 A
ตัวอย่าง

ขดลวดเป็ นวงได้พน้ื ที่ A วางตัง้ ฉากกับสนามแม่เหล็ก ทีข่ นาดของสนามแม่เหล็กขึน้ กับเวลา (ดูโจทย์) นันคื
่ อที่ t
= 0 สนามแม่เหล็กมีคา่ = Bmax และเมือ่ t > 0 สนามแม่เหล็กจะลดลง exponentially หา emf เหนี่ยวนาทีเ่ กิด
ในขดลวด
= aAB_max e^(-at)
กฎของเลนซ์ (Lenz’s Law)

กระแสเหนี่ยวนาใน closed conducting loop จะปรากฎในทิศทีต่ า้ นการเปลีย่ นแปลงของฟลักซ์แม่เหล็ก


ทีเ่ กิดจากขดลวด

นันคื
่ อ กระแสเหนี่ยวนาจะสร้างสนามแม่เหล็กอันใหม่ขน้ึ มาเพือ่ ต่อต้านการเปลีย่ นแปลงฟลักซ์แม่เหล็กดัง้ เดิมที่
ผ่านวงจร หรือพูดอีกอย่างคือ กระแสเหนี่ยวนาพยายามทีจ่ ะรักษาฟลักซ์แม่เหล็กดัง้ เดิมเอาไว้ไม่ให้เกิดการ
เปลีย่ นแปลง ทัง้ นี้เป็ นผลมาจากกฏการอนุรกั ษ์ของพลังงาน
กฎของเลนซ์ (Lenz’s Law)
สนามแม่เหล็กมีทศิ พุง่ เข้า
เมือ่ มีการเลือ่ นเข้าเลือ่ นออก
เป็ นการเปลีย่ น A ทาให้ฟลักซ์
เปลีย่ น

เลือ่ นขดลวดไปทางขวา เกิด emf เลือ่ นขดลวดไปทางซ้าย เกิด emf


current ไหลลง เพือสร้าง B พุง่ ออก current ไหลขึน้ เพือสร้าง B พุง่ เข้า
ตัวอย่าง

จากรูป ขดลวดวงกลมถูกปล่อยให้ตกลงมาสูเ่ ส้นลวดตรงทีม่ กี ระแสไหลไป


ทางซ้าย ทิศของกระแสเหนี่ยวนาทีเ่ กิดในขดลวดกลมจะเป็ นอย่างไร

ทิศทวนเข็มนาฬิกา
ตัวอย่าง

แม่เหล็กถูกวางไว้ใกล้กบั ขดลวดกลม
ก) หาทิศของกระแสเหนี่ยวนาภายในขดลวดกลมเมือ่ ดันแม่เหล็กเข้าหาขดลวด
ข) เช่นกัน แต่เป็ นดึงแม่เหล็กออกห่างจากขดลวดกลม
กระแสเหนี่ยวนาจะสร้างสนามแม่เหล็กอันใหม่ขน้ึ มาเพื่อต่อต้าน
การเปลีย่ นแปลงฟลักซ์แม่เหล็กดัง้ เดิมทีผ่ า่ นวงจร ตัวอย่าง

เส้นสนามแม่เหล็ก เส้นสนามแม่เหล็ก เส้นสนามแม่เหล็ก เส้นสนามแม่เหล็ก


เนื่องจากแท่งแม่เหล็ก เนื่องจากลวดทองแดง เนื่องจากแท่งแม่เหล็ก เนื่องจากลวดทองแดง
แบบฝึ กหัด

จากรูปให้ทศิ สนามแม่เหล็ก หาทิศกระแสไฟฟ้ า

ก) ไปทางซ้าย ข) พุง่ ออก ค) ไปล่างซ้ายไปขวาบน


แบบฝึ กหัด
ก) ลวดตัวนาเอามาทาเป็ นสีเ่ หลีย่ มจตุรสั
มีดา้ นยาวเท่ากัน 0.4 m มีกระแสไหล
I = 10 A ดังรูป หาขนาดและทิศทาง
ของสนามแม่เหล็กทีก่ ง่ึ กลางสีเ่ หลีย่ ม
จตุรสั
ข) ถ้าไม่ได้เป็ นสีเ่ หลีย่ ม แต่เป็ นรูป
วงกลม มีกระแสเท่ากัน ค่า
สนามแม่เหล็กกึง่ กลางวงกลมเป็ น
28.3E-6 T (พุง่ เข้า) เท่าไร
24.7E-6 T (พุง่ เข้า)
แบบฝึ กหัด
ลวดยาวสองเส้นขนานกันมีกระแสไฟฟ้ า
ตัง้ ฉากกับหน้ากระดาษดังรูป เส้นแรกมี
กระแส I1 มีทศิ พุง่ เข้า (ทิศลบ z) และอยูท่ ่ี
ตาแหน่ง x = +a เส้นทีส่ องอยูท่ ่ี x = -2a
มีกระแสไหล I2 (ไม่ทราบค่า) ทัง้ สองเส้น
ทาให้สนามแม่เหล็กที่ origin มีขนาด
(ตามโจทย์) I2 สามารถมีได้สองค่าในกรณี
นี้ (เพราะ B เป็ นได้ทงั ้ บวกและลบ) (ก)
หาค่า I2 ทีน่ ้อย (เขียนในรูปของ I1) และ
2I1 (พุง่ ออก) ทิศทางของมัน (ข) หาค่าทีเ่ ป้ นไปได้ของ
6I1 (พุง่ เข้า) I2 อีกค่า
แบบฝึ กหัด
ลวดยาวสองเส้นขนานกัน ห่างกัน 10
cm มีกระแสในทิศเดียวกัน ลวดเส้น
แรกมีกระแส I1 = 5 A ลวดเส้นสองมี
กระแส I2 = 8 A (ก) ขนาดของ
สนามแม่เหล็กทีเ่ กิดจาก I1 ณ
ตาแหน่ง I2 เป็ นเท่าไร (ข) แรงต่อ
ความยาวทีก่ ระทาโดย I1 ต่อ I2 เป็ น
เท่าไร (ค) และ (ง) เช่นเดียวกับ ก)
ก) 1E-5 T (พุง่ ออก) ค) 1.6E-5 T (พุง่ เข้า) และ ข) แต่เป็ น I2 กระทากับ I1
ข) 8E-5 N (ชีเ้ ข้าหาลวดแรก) ง) 8E-5 N (ชีเ้ ข้าหาลวดสอง)
แบบฝึ กหัด

จากรูป กระแสไหลตามเส้นลวดยาว I1 = 5 A และอยูใ่ นระนาบเดียวกับลวด


สีเหลียมทีมีกระแสไหล I2 ขนาดดูตามโจทยื หาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ที
กระทํากับลวดสีเหลียมทีเกิดจากสนามแม่เหล็กของเส้นลวด
2.7E-5 ทิศไปทางซ้าย
แบบฝึ กหัด
จากรูป ลวดวงกลมมีรศั มี 12 cm อยูใ่ น
สนามแม่เหล็ก 0.15 T ถ้าจับลวดนีทีจุด
A และ B และยืดมันออกอย่างรวดเร็วใช้
เวลา 0.2 วินาทีจนกระทังมันประกบ
ติดกัน (ไม่มพี นที
ื ) หาขนาดของ emf
เหนียวนําเฉลียระหว่างทียืดลวดนี

3.39E-2 V
แบบฝึ กหัด
ลวดวงกลมมีรศั มี 4 cm พันกันอยู่
30 รอบ มีคา่ ความต้านทาน 1 ohm
วางอยูใ่ นสนามแม่เหล็กทีตังฉากกับ
ขดลวด ขนาดของสนามแม่เหล็ก
แปรผันตามเวลา (ดูโจทย์) ในหน่วย
เทสลา หา emf เหนียวนําของ
ขดลวดทีเวลา 5 s
6.18E-2 V
แบบฝึ กหัด
a) หาทิศของกระแสเหนียวนําทีเกิดในตัวต้านทาน
R (รูป a) เมือขยับแท่งแม่เหล็กไปทางซ้าย (b)
หาทิศของกระแสเหนียวนําในตัวต้านทาน R (รูป
b) เมือปิ ดสวิทซ์ S ทันที (c) หาทิศกระแส
เหนียวนําของตัวต้านทาน R เมือกระแส I (รูป c)
ลดลงเข้าใกล้ศนู ย์
a) จาก a ไป b ไปทางขวา
ผ่านตัวต้านทาน b) จาก a
ไป b พุง่ ออกผ่านตัวต้านทาน
c) จาก a ไป b ไปทางขวา
ผ่านตัวต้านทาน

You might also like