Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 136

ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบนํ้าเหลือง

การลำเลียงสารในร-างกายของสัตว3

ลิขสิทธิ์ของ สสวท. ใชเพื่อการศึกษาเทานั้นโดยอางอิงผูจัดทํา หามนําสวนหนึ่งสวนใดของไฟลนําเสนอนี้ไปใชเพื่อการพาณิชย โดยเด็ดขาด


สืบคนขอมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปดและระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
จากภาพสิ่งมีชีวิตแต1ละชนิดมีการลำเลียงสารไปสู1ส1วนต1าง ๆ ของ
ร1างกายเหมือนหรือแตกต1างกัน อย1างไร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
! สิ่งมีชีวิตแต+ละชนิดมีการลำเลียงสารไปสู+ส+วนต+าง ๆ ของร+างกายแตกต+างกัน
ขึ้นอยู+กับโครงสรCางของร+างกาย
บางชนิดลำเลียงสารโดยการแพร+ระหว+างเซลลGกับสิ่งแวดลCอมโดยตรง เช+น
อะมีบา พารามีเซียม พลานาเรีย
บางชนิดมีการลำเลียงสารโดยระบบหมุนเวียนเลือด เช+น
สัตวGมีกระดูกสันหลัง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การลำเลียงสารของสัตวGที่มีโครงสรCางร+างกายไม+ซับซCอน
• เปCนสัตวDขนาดเล็ก • เซลลDบริเวณผิวสัมผัสกับสิ่งแวดลJอมโดยตรง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การลำเลียงสารของสัตวGที่มีโครงสรCางร+างกายไม+ซับซCอน

O2

CO2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การลำเลียงสารของสัตวGที่มีโครงสรCางร+างกายไม+ซับซCอน

O2 O2
CO2
CO2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การลำเลียงสารของสัตวGที่มีโครงสรCางร+างกายไม+ซับซCอน

O2
CO2

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สัตวDที่มีโครงสรJางซับซJอนและมีขนาดใหญ1 เซลลDที่อยู1ภายในร1างกายไม1ไดJสัมผัสกับ
สิ่งแวดลJอมโดยตรงจะมีการลำเลียงสารไปสู1ส1วนต1าง ๆ ของร1างกายไดJอย1างไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
! สัตวที่มีโครงสรางของรางกายขนาดใหญและซับซอน
• การแลกเปลี่ยนสารกับสิ่งแวดลอมและการลําเลียงสารภายในรางกายมี
วิธีการที่ซับซอนกวาการแพรโดยตรง
• สารตาง ๆ ของรางกาย เชน แกสออกซิเจนจะตองใชเวลานานในการแพร
จากภายนอกไปยังสวนตาง ๆ ของรางกายอยางทั่วถึง
• ตองมีระบบหมุนเวียนเลือดชวยในการลําเลียงสารไปยังสวนตาง ๆ ของ
รางกายเพื่อใหทั่วถึงและรวดเร็ว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สัตวGมีระบบหมุนเวียนเลือด 2 แบบ

ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปSด ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปSด
(open circulatory system) (closed circulatory system)
หลอดเลือด

หัวใจ

หัวใจ

หลอดเลือด
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปLด (open circulatory system)

• เลือดไม+ไดCไหลเวียนอยู+ในหลอดเลือดตลอดเวลา
• การแลกเปลี่ยนสาร เลือดสัมผัสกับเนื้อเยื่อโดยตรง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปLด (open circulatory system)

หอย แมลง

กุ*ง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดของแมลง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แมลงจำเป*นต-องใช-ระบบหมุนเวียนเลือดเพื่อลำเลียงแก>สออกซิเจนหรือไมC
เพราะเหตุใด

10
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แมลงจำเป*นต-องใช-ระบบหมุนเวียนเลือดเพื่อลำเลียงแก>สออกซิเจนหรือไมC
เพราะเหตุใด

! ไม+10
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
จำเป`น เพราะแมลงมีการลำเลียงแกaสออกซิเจนผ+านระบบท+อลมซึ่งแตก
แขนงเป`นท+อลมฝอยนำแกaสออกซิเจนไปยังเซลลGโดยตรง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดของไสCเดือนดิน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หอย แมลง ไส-เดือนดิน ปลา และหนู มีการลำเลียงสารเหมือนหรือ
แตกตCางกัน อยCางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หอย แมลง ไส-เดือนดิน ปลา และหนู มีการลำเลียงสารเหมือนหรือ
แตกตCางกัน อยCางไร

! แตกต+างกัน หอยและแมลง มีการลำเลียงสารโดยอาศัยระบบหมุนเวียน


เลือดแบบเปLด ส+วนไสCเดือนดิน ปลา และหนูมีการลำเลียงสารโดยอาศัย
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปLด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ความรูCเพิ่มเติม

การหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเดียว การหมุนเวียนเลือดแบบ 2 วงจร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน

สัตวGมีระบบหมุนเวียนเลือด 2 แบบ คือ


• ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปLด
• ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปLด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน

ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปLด
เลือดไม+ไดCไหลเวียนอยู+ในหลอดเลือดตลอดเวลา
การแลกเปลี่ยนสารเลือดสัมผัสกับเนื้อเยื่อโดยตรง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน

ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปLด เลือดจะไหลอยู+ในหลอดเลือดตลอดเวลา
การแลกเปลี่ยนสารระหว+างเลือดกับเนื้อเยื่อจะผ+านทางผนังหลอดเลือดฝอย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบนํ้าเหลือง

]หลอดเลือด

ลิขสิทธิ์ของ สสวท. ใชเพื่อการศึกษาเทานั้นโดยอางอิงผูจัดทํา หามนําสวนหนึ่งสวนใดของไฟลนําเสนอนี้ไปใชเพื่อการพาณิชย โดยเด็ดขาด


1. อธิบายโครงสรางและการทํางานของหลอดเลือดในมนุษย
2. สังเกตและอธิบายทิศทางการไหลของเลือดและการเคลื่อนที่ของ
เซลลเม็ดเลือดในหางปลา
3. สรุปความสัมพันธระหวางชนิดและขนาดของหลอดเลือดกับ
ความเร็วในการไหลของเลือด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย3

หัวใจ
หลอดเลือดและเลือด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดเลือด

หลอดเลือด (blood vessel)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชนิดของหลอดเลือด
หลอดเลือดฝอย
(blood capillary)

หลอดเลือดเวน หลอดเลือดอารGเทอรี
(venous blood vessel) (arterial blood vessel)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
โครงสรGางของหลอดเลือด
หลอดเลือดฝอย
(blood capillary)
เนื้อเยื่อบุผิว
ลิ้น
เนื้อเยื่อบุผิวชั้นใน เนื้อเยื่อบุผิวชั้นใน
เนื้อเยื่อกล*ามเนื้อ เนื้อเยื่อกล*ามเนื้อ
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
หลอดเลือดเวน หลอดเลือดอารGเทอรี
(venous blood vessel) (arterial blood vessel)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดเลือดอาร3เทอรี
อาร?เทอริโอล (arteriole)

อาร?เทอรี (artery)

เอออร?ตา (aorta)
• นำเลือดออกจากหัวใจ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดฝอย
เนื้อเยื่อบุผิว

อาร?เทอริโอล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดเลือดเวน
เวนูล (venule)
เวน (vein)

เวนาคาวา (vena cava)


• นำเลือดเขJาสู1หัวใจ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
จากรูปโครงสรCางของหลอดเลือดอารGเทอรี หลอดเลือดฝอย และ
หลอดเลือดเวนเหมือนหรือแตกต+างกัน อย+างไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
จากรูปโครงสร*างของหลอดเลือดอาร?เทอรี หลอดเลือดฝอย และหลอดเลือดเวน
เหมือนหรือแตกตXางกัน อยXางไร

หลอดเลือดฝอย
(blood capillary)
เนื้อเยื่อบุผิว
ลิ้น
เนื้อเยื่อบุผิวชั้นใน เนื้อเยื่อบุผิวชั้นใน
เนื้อเยื่อกล*ามเนื้อ เนื้อเยื่อกล*ามเนื้อ
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
หลอดเลือดเวน หลอดเลือดอารGเทอรี
(venous blood vessel) (arterial blood vessel)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เลือดในหลอดเลือดอาร?เทอรีสXวนใหญXจะเป[นเลือดที่มีแก\สออกซิเจนมาก และเลือดในหลอด
เลือดเวนสXวนใหญXจะเป[นเลือดที่มีแก\สออกซิเจนน*อย เลือดในหลอดเลือดใดที่
ไมXเป[นไปตามนี้ เพราะเหตุใด

พัลโมนารีอาร3เทอรี
พัลโมนารีเวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เลือดในหลอดเลือดอาร?เทอรีสXวนใหญXจะเป[นเลือดที่มีแก\สออกซิเจนมาก และเลือดในหลอด
เลือดเวนสXวนใหญXจะเป[นเลือดที่มีแก\สออกซิเจนน*อย เลือดในหลอดเลือดใดที่
ไมXเป[นไปตามนี้ เพราะเหตุใด

! เลือดในพัลโมนารีอารGเทอรีและพัลโมนารีเวน เพราะพัลโมนารีอารGเทอรีเป`น
พัลโมนารีอาร3เทอรี
หลอดเลือดที่นำเลือดที่มีแกaสออกซิเจนนCอย แต+มีแกaสคารGบอนไดออกไซดG
มากออกจากหัวใจไปยังปอด ส+วนพัพัลลโมนารี
โมนารีเวนนำเลื
เวน อดที่มีแกaสออกซิเจน
มากแต+มีแกaสคารGบอนไดออกไซดGนCอยออกจากปอดเขCาสูห+ ัวใจ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดเลือดที่นำเลือดมาเลี้ยงกลGามเนื้อหัวใจ

โคโรนารีอาร?เทอรี
(coronary artery)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดเลือดที่นำเลือดมาเลี้ยงกลGามเนื้อหัวใจ

• มี 2 หลอด ดJานซJายและขวา
• แยกออกจากโคนของเอออรDตา
โคโรนารีอาร?เทอรีขวา
(right coronary artery)
โคโรนารีอาร?เทอรีซ*าย
(left coronary artery)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ถCาเกิดความผิดปกติบริเวณโคโรนารีอารGเทอรีจะส+งผลต+อกลCามเนื้อหัวใจ
อย+างไร
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
!ความผิดปกติของหลอดเลือดที่นำเลือดมาเลี้ยงหัวใจ สXวนใหญXเกิดจากการตีบหรืออุดตัน
ของโคโรนารีอาร?เทอรีทำให*กล*ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจไมXสามารถทำงานได*ตามปกติ
แนวทางการรักษาวิธีหนึ่ง คือ การผXาตัดบายพาส เป[นการผXาตัดโคโรนารีอาร?เทอรี เพื่อ
ทำทางเบี่ยงเสริมหลอดเลือดบริเวณที่ตีบหรือตัน สXงผลให*เลือดไปเลี้ยงกล*ามเนื้อหัวใจได*

การผ%าตัดบายพาส หรือการผ%าตัดหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ
(coronary artery bypass grafting; CABG)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ทิศทางและความเร็วของการไหลของเลือดในหลอดเลือดต+างชนิดกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การไหลของเลือดในหลอดเลือดฝอย ขนาดหลอดเลือดฝอย
และขนาดเซลล3เม็ดเลือดแดงมีความสัมพันธ3กันอยTางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การไหลของเลือดในหลอดเลือดฝอย ขนาดหลอดเลือดฝอย
และขนาดเซลล3เม็ดเลือดแดงมีความสัมพันธ3กันอยTางไร

! เซลลGเม็ดเลือดแดงจะมีขนาดใกลCเคียงกับเสCนผ+านศูนยGกลางของ
หลอดเลือดฝอย จึงเห็นเซลลGเม็ดเลือดแดงเรียงเป`นแถวเดียว
ขณะที่ไหลชCา ๆ อยู+ในหลอดเลือดฝอย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชีพจร
• ประมาณ 60-100 ครั้งตTอนาที

การวัดอัตราการเตCนของหัวใจ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บริเวณที่วัดชีพจร

บริเวณขGอมือ

บริเวณคอ

บริเวณขGอพับ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การวัดการทำงานของหัวใจ

เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟlาหัวใจ

คลื่นไฟฟlาหัวใจ
(electrocardiogram; ECG หรือ EKG)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ความดันเลือด (blood pressure)
ในหลอดเลือดต+าง ๆ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ความดันซิสโทลิก (systolic pressure)
ค+าความดันเลือด
120/80 มิลลิเมตรปรอท

ความดันไดแอสโทลิก (diastolic pressure)

• ความดันซิสโทลิก คือค1าความดันเลือดสูงสุด
ขณะที่กลJามเนื้อหัวใจหดตัว
• ความดันไดแอสโทลิก คือค1าความดันเลือด
ความดั นมเลืการสอนวิ
สถาบันสงเสริ อดในหลอดเลื อดต1าง ๆ
ทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ขณะที่กลJามเนื้อหัวใจคลายตัว
การวัดความดันเลือด

• วัดจากหลอดเลือดอารDเทอรี
ที่อยู1ใกลJหัวใจ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ป0จจัยที่มีผลต6อค6าความดันเลือด

• อายุ
• เพศ
• น้ำหนัก
• สภาพร6างกาย
• อารมณE
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การวัดชีพจรสามารถวัดจากหลอดเลือดเวนไดGหรือไมT
เพราะเหตุใด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การวัดชีพจรสามารถวัดจากหลอดเลือดเวนไดGหรือไมT
เพราะเหตุใด

!ไมTไดG เนื่องจากความดันเลือดในหลอดเลือดเวนต่ำมากมีผลทำใหG
กลGามเนื้อของหลอดเลือดเวนหดตัวและคลายตัวนGอย จึงไมTสามารถ
วัดชีพจรไดG

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ถGารTางกายไดGรับอุบัติเหตุแลGวเสียเลือดมาก การไหลเวียนของ
เลือดในรTางกายจะเป_นอยTางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ถGารTางกายไดGรับอุบัติเหตุแลGวเสียเลือดมาก การไหลเวียนของ
เลือดในรTางกายจะเป_นอยTางไร

!การไหลเวียนของเลือดจะชGาลง เนื่องจากเลือดที่มีปริมาณนGอยลง
สTงผลตTอความดันเลือดลดลง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การทำงานของลิ้นในหลอดเลือดเวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดเลือดขอด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
โรคที่เกิดจากระบบหมุนเวียนเลือดผิดปกติ

โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
(atherosclerosis)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
โรคที่เกิดจากระบบหมุนเวียนเลือดผิดปกติ

โรคหลอดเลือดสมอง

• หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (ischemic stroke)


• หลอดเลือดสมองปริแตกหรือฉีกขาด (hemorrhagic stroke)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
โรคที่เกิดจากระบบหมุนเวียนเลือดผิดปกติ

โรคหัวใจ
• ลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบ
• หลอดเลือดหัวใจตีบ
• หลอดเลือดหัวใจอุดตัน
• หัวใจโต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน

หลอดเลือด
• หลอดเลือดอารGเทอรี
• หลอดเลือดฝอย
• หลอดเลือดเวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน

หัวใจนำเลือดไปยังส+วนต+าง ๆ ของร+างกายทางเอออรGตา
แลCวลำเลียงไปตามอารGเทอรี อารGเทอริโอล หลอดเลือดฝอย
และนำเลือดกลับเขCาสู+หัวใจทาง เวนูล เวน และเวนาคาวา

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน

ขณะที่หัวใจบีบตัวสูบฉีดเลือด ทำใหCเกิดความดันเลือดและชีพจร
ปzจจัยที่มีผลต+อความดันเลือดและชีพจร เช+น อายุ เพศ และ
สภาพของร+างกาย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สรุปเนื้อหาภายในบทเรียน

โรคที่เกิดจากระบบหมุนเวียนเลือดผิดปกติ

§ โรคหลอดเลือดสมอง
§ โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
§ โรคหัวใจ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบนํ้าเหลือง

เลือด

ลิขสิทธิ์ของ สสวท. ใชเพื่อการศึกษาเทานั้นโดยอางอิงผูจัดทํา หามนําสวนหนึ่งสวนใดของไฟลนําเสนอนี้ไปใชเพื่อการพาณิชย โดยเด็ดขาด


จุดประสงคการเรียนรู

• ระบุความแตกตางของเซลลเม็ดเลือดแดง
เซลลเม็ดเลือดขาว เพลตเลต และพลาสมา
• อธิบายหมูเลือดและหลักการใหและรับเลือด
ในหมูเลือดระบบ ABO และระบบ Rh

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย
• หัวใจทําหนาที่สูบฉีดเลือดแลว
ลําเลียงผานหลอดเลือด
ปอด
• เลือดทําหนาที่ลําเลียงสารตาง ๆ
ไปยังปอดและทั่วรางกาย

หลอดเลือด
หัวใจ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย
• รางกายมนุษยมเี ลือดประมาณ
รอยละ 7-8 ของนํ้าหนักตัว

ลองคิด
เลือดมีความสําคัญตอรางกายอยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย
รางกายมนุษยมเี ลือดประมาณรอย
ละ 7-8 ของนํ้าหนักตัว

• ลําเลียงสารอาหารและแกสออกซิเจน
ไปเลี้ยงเซลลตาง ๆ ทั่วรางกาย
• นําของเสียที่เซลลไมตองการและ
แกสคารบอนไดออกไซด ไปกําจัด
ออกนอกรางกาย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สวนประกอบของเลือด
เมื่อนําเลือดที่เติมสาร
ปองกันการแข็งตัวของ
เลือดมาปน
พลาสมา
เพลตเลต (plasma)
(platelet) 55%
เครื่องปนเหวี่ยง เซลลเม็ดเลือดขาว
(leukocyte)
เซลลเม็ดเลือดแดง 45%
(erythrocyte)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สวนประกอบของเลือด
รางกายมนุษยมเี ลือดประมาณ
รอยละ 7-8 ของนํ้าหนักตัว
พลาสมา
เพลตเลต (plasma)
(platelet)
เซลลเม็ดเลือดขาว
เครื่องปนเหวี่ยง (leukocyte)
เซลลเม็ดเลือดแดง
(erythrocyte)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• ทําหนาที่ลําเลียงแกสออกซิเจนและ สวนประกอบของเลือด
แกสคารบอนไดออกไซด
• เมื่อเจริญเต็มที่มีเสนผานศูนยกลาง เซลลเม็ดเลือดแดง
ประมาณ 7-8 ไมโครเมตร
หนาประมาณ 2 ไมโครเมตร 7-8 ไมโครเมตร
• รูปรางกลมแบน ตรงกลางบุม
ไมมนี ิวเคลียสและไมโทคอนเดรีย

2 ไมโครเมตร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• มีสีแดง เพราะมีฮีโมโกลบิน (haemoglobin) สวนประกอบของเลือด
ซึ่งเปนโปรตีนที่มีธาตุเหล็กเปนองคประกอบ
• ทําใหมีความสามารถในการจับกับแกสตาง ๆ เซลลเม็ดเลือดแดง
เชน แกสออกซิเจน แกสคารบอนมอนอกไซด
• เซลลที่สรางขึ้นใหม ๆ มีนิวเคลียส เมื่อเจริญ
เต็มที่นิวเคลียสจะถูกดันหลุดออกไปและออร
แกเนลลสวนใหญจะสลายไป
• แตยังคงมีฮีโมโกลบินและมีเอนไซม
ที่จําเปนตอการทํางานของเซลล

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• เมื่อรางกายเสียเลือดไมมากจะนําเซลล สวนประกอบของเลือด
เม็ดเลือดแดงที่สะสมไวที่มามออกมาทดแทน
• สรางเซลลเม็ดเลือดแดงใหมเพิ่มขึ้นเพื่อมา เซลลเม็ดเลือดแดง
ทดแทนสวนที่สูญเสียไป
• เซลลที่หมดอายุถูกทําลายที่ตับและมาม

อายุประมาณ 100-120 วัน


สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• ในระยะเอ็มบริโอสรางจากตับ มาม และ สวนประกอบของเลือด
ไขกระดูก
• ในฟตัส (fetus) ระยะใกลคลอดจนเติบโต เซลลเม็ดเลือดแดง
เปนผูใหญจะสรางเฉพาะในไขกระดูก

อายุประมาณ 100-120 วัน

• เพศชายมีประมาณ 5-5.5 ลานเซลลตอเลือด


1 ไมโครลิตรหรือลูกบาศกมิลลิเมตร
• เพศหญิงจะมีจํานวนนอยกวาคือ ประมาณ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4.5-5 ลานเซลลตอเลือด 1 ไมโครลิตร
เซลลเม็ดเลือดแดงในหลอดเลือดไดรับพลังงานมาจาก
ขั้นตอนใดของกระบวนการหายใจระดับเซลล เพราะเหตุใด
C C C C C C P ATP
C C C C C C
√ เซลลเม็ดเลือดแดงไดรับ กลูโคส P
พลังงานมาจากไกลโคไลซิส C C C C C C

เพราะเซลลเม็ดเลือดแดงไมมี ATP G3P กรดไพรูวิก


ไมโทคอนเดรีย NADH

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การที่เซลลเม็ดเลือดแดงไมมีนิวเคลียสและมีลักษณะกลมแบน
ตรงกลางบุมนั้นมีความเหมาะสมตอหนาที่อยางไร

• เซลลเม็ดเลือดแดงสามารถ
O2 เคลื่อนที่ในหลอดเลือดไดงาย
O2 • มีแรงเสียดทานตอผนังหลอด
O2
O2 O2
เลื อดน อ ย
O2 • มีพื้นที่ผิวลําเลียงแกสเขาสู
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เซลล เ ม็ ด เลื อดแดงอย า งทั ว
่ ถึ ง
เซลลเม็ดเลือดแดงเกิดความผิดปกติไดอยางไรบาง
และมีผลตอรางกายอยางไรบาง
ตัวอยางเชน
• กรณีมีความผิดปกติของฮีโมโกลบินในเซลลเม็ดเลือดแดง
ทําใหเซลลเม็ดเลือดแดงถูกทําลาย
ทําใหเกิดโรคทาลัสซีเมีย
• กรณีเซลลเม็ดเลือดแดงรูปรางเปลี่ยนแปลงไป
ทําใหเกิดโรคโลหิตจางชนิดซิกเกิลเซลล
เซลลเม็ดเลือดแดงที่มีรูปรางคลายเคียว
ของโรคโลหิตจางชนิดซิกเกิลเซลล
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• ทำหนJาที่ต1อตJานและทำลายเชื้อโรค หรือ สวนประกอบของเลือด
สิ่งแปลกปลอมในระบบภูมิคุJมกัน
• เมื่อเจริญเต็มที่มีเสJนผ1านศูนยDกลาง เซลลเม็ดเลือดขาว
ประมาณ 8-20 ไมโครเมตร
• จำนวนประมาณ 5,000-10,000 เซลลD
ต1อเลือด 1 ไมโครลิตร
• สรJางและเจริญทีไ่ ขกระดูก แต1บางชนิด
จะเจริญต1อจนสมบูรณDในไทมัส
• ส1วนใหญ1มีอายุประมาณ 2-3 วัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• ทำหนJาที่ต1อตJานและทำลายเชื้อโรค หรือ สวนประกอบของเลือด
สิ่งแปลกปลอมในระบบภูมิคุJมกัน
• เมื่อเจริญเต็มที่มีเสJนผ1านศูนยDกลาง เซลลเม็ดเลือดขาว
ประมาณ 8-20 ไมโครเมตร
• จำนวนประมาณ 5,000-10,000 เซลลD
ต1อเลือด 1 ไมโครลิตร
• สรJางและเจริญทีไ่ ขกระดูก แต1บางชนิด
จะเจริญต1อจนสมบูรณDในไทมัส
• ส1วนใหญ1มีอายุประมาณ 2-3 วัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• ทำหนJาที่ต1อตJานและทำลายเชื้อโรค หรือ สวนประกอบของเลือด
สิ่งแปลกปลอมในระบบภูมิคุJมกัน
• เมื่อเจริญเต็มที่มีเสJนผ1านศูนยDกลาง เซลลเม็ดเลือดขาว
ประมาณ 8-20 ไมโครเมตร

• กลุ1มที่มแี กรนูลเฉพาะเรียกว1า
แกรนูโลไซตD (granulocyte)
• กลุ1มที่ไม1มีแกรนูลเฉพาะเรียกว1า
อะแกรนูโลไซตD (agranulocyte)

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
granulocyte สวนประกอบของเลือด
เซลลเม็ดเลือดขาว
• เซลลDที่นิวเคลียสมีรูปร1างหลายแบบ
• นิวเคลียสมีลักษณะเปCนพู จำนวนมากกว1า 1 พู
• มีไซโทพลาซึมค1อนขJางมาก
• มีแกรนูลเฉพาะกระจายอยู1ในไซโทพลาซึม
เมื่อนำมายJอมสีจะมีลักษณะแตกต1างกัน
• สรJางจากไขกระดูก
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
granulocyte สวนประกอบของเลือด
เซลลเม็ดเลือดขาว

• นิวโทรฟSล (neutrophil)
มีแกรนูลยJอมติดสีม1วงชมพู
• ทำลายเชื้อโรคดJวยวิธี
ฟาโกไซโทซิส

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สวนประกอบของเลือด
granulocyte
เซลลเม็ดเลือดขาว

• เบโซฟSล (basophil)
มีแกรนูลยJอมติดสีน้ำเงิน
• การหลั่งสารเคมีที่ทำใหJ
เกิดอาการแพJ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สวนประกอบของเลือด
granulocyte เซลลเม็ดเลือดขาว

• อีโอซิโนฟSล (eosinophil)
มีแกรนูลยJอมติดสีสJมแดง
• การหลั่งเอนไซมDหรือสารเคมี

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สวนประกอบของเลือด
agranulocyte เซลลเม็ดเลือดขาว
• ไม1มีแกรนูลเฉพาะ
• นิวเคลียสมีขนาดใหญ1
• นิวเคลียสมีลักษณะกลมหรือคลJายรูปไต

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สวนประกอบของเลือด
agranulocyte เซลลเม็ดเลือดขาว

• โมโนไซตD (monocyte)
• แมโครฟาจ (macrophage) เมื่อ
แทรกออกจากหลอดเลือดสูเ1 นื้อเยื่อ
• ทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
ดJวยวิธีฟาโกไซโทซิส

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สวนประกอบของเลือด
agranulocyte
เซลลเม็ดเลือดขาว

• ลิมโฟไซตD (lymphocyte)
• ทำหนJาที่เกี่ยวกับภูมิคุJมกัน
ของร1างกายแบบจำเพาะ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• การตรวจหาปริมาณเซลลDเม็ดเลือดขาว สวนประกอบของเลือด
ช1วยในการวินิจฉัยโรคไดJ
• กรณีที่ร1างกายไดJรับเชื้อโรค หรือ เซลลเม็ดเลือดขาว
สิ่งแปลกปลอมจะตรวจพบปริมาณ
เซลลDเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น

• โรคบางชนิดปริมาณ
เซลลDเม็ดเลือดขาวจะลดลง เช1น
โรคเอดสD (AIDS) ที่เกิดจาก HIV
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ไขกระดูก
• ถJาการสรJางเซลลDเม็ดเลือดขาวของ
ไขกระดูกผิดปกติอาจทำใหJเกิดโรค
ส ว นประกอบของเลื อ ด
เกี่ยวกับเลือดไดJ เช1น เซลลเม็ดเลือดขาว
Ø โรคมะเร็งเซลลDเม็ดเลือดขาว
หรือลิวคีเมีย (leukemia) ไขกระดูกแดง
โดย
- เซลลDเม็ดเลือดขาวทำงานไม1ไดJตามปกติ
- เกิดการแบ1งเซลลDเพิ่มจำนวนโดยควบคุมไม1ไดJ
- แพร1กระจายไปตามอวัยวะต1าง ๆ ทำใหJผูJป•วย
เสียชีวิตไดJ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• เพลตเลตหรือเกล็ดเลือด เปCนส1วนสำคัญ สวนประกอบของเลือด
ในกระบวนการแข็งตัวของเลือด
• มีขนาดเล็กมาก รูปร1างไม1แน1นอน เพลตเลต
• เสJนผ1านศูนยDกลาง 1-2 ไมโครเมตร
• มีจำนวน 250,000-400,000 ชิ้นต1อเลือด 1 ไมโครลิตร
• มีอายุประมาณ 10 วัน
• เพลตเลตไม1ใช1เซลลDแต1เปCนชิ้นส1วน
ของไซโทพลาซึมของเซลลDชนิดหนึ่งใน
ไขกระดูกที่หลุดเปCนชิ้น ๆ เขJาสู1หลอด
เลือด
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การแข็งตัวของเลือด (blood clotting)
กลไกการแข็งตัวของเลือด

1. เมื่อเลือดไหลออกจากหลอดเลือด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การแข็งตัวของเลือด (blood clotting)
กลไกการแข็งตัวของเลือด

2. เพลตเลตเคลื่อนที่มาและปลอย
สารบางชนิดทําใหเพลตเลตมารวมตัว
กันอุดผนังหลอดเลือดที่ฉีกขาด และ
วิตามิน K แคลเซียม ประกอบกับปจจัยตาง ๆ ที่ชวยในการ
แข็งตัวของเลือด
เซลลGที่ชำรุด ปzจจัยอื่น ๆ

ปจจัยตาง ๆ ที่ชวยในการแข็งตัวของเลือด
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การแข็งตัวของเลือด (blood clotting)

3. กระตุนโพรทรอมบิน (prothrombin)
เปลี่ยนเปนทรอมบิน (thrombin) ซึ่งเปน
เอนไซมที่เปลี่ยนไฟบริโนเจน (fibrinogen)
เปนไฟบริน (fibrin)
4. ไฟบรินสานกันเปนรางแหโปรตีนโดย
prothrombin
thrombin fibrinogen
fibrin รวมกับเพลตเลตและเซลลเม็ดเลือดแดง
ไปอุดรอยฉีกขาด
5. เลือดหยุดไหล
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
โรคฮีโมฟLเลีย (hemophilia) สวนประกอบของเลือด
• เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะไม1แข็งตัวหรือแข็งตัวไดJชJา
เพลตเลต
• เปCนลักษณะที่ถูกควบคุมโดยยีนบนโครโมโซม X
• ไม1สามารถสรJางสารทีเ่ กี่ยวขJองกับการแข็งตัวของ
เลือดไดJครบหรือเพียงพอ
• โปรตีนและเอนไซมDหลายชนิดที่ช1วย
ในการแข็งตัวของเลือดสรJางจากตับ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สวนประกอบของเลือด
เพลตเลต

• ถารับประทานยาปฏิชีวนะติดตอกันเปนเวลานาน แบคทีเรีย ที่


สังเคราะหวิตามิน K ในลําไสถูกทําลายจะสงผลตอรางกาย
อยางไร
√ รางกายอาจขาดวิตามิน K ทําใหเลือดแข็งตัวชา
เมื่อเกิดบาดแผลอาจทําใหเลือดไหลไมหยุด

E. coli
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• พลาสมาเปCนของเหลวค1อนขJางใส มีสีเหลืองอ1อน สวนประกอบของเลือด
• ประกอบดJวยน้ำประมาณรJอยละ 90
พลาสมา
• สารอื่น ๆ ประมาณรJอยละ 10
• โปรตีนที่พบคือ
พลาสมา
- ไฟบริโนเจน
เพลตเลต
- อัลบูมิน (albumin) 55%
รักษาแรงดันออสโมติกของเลือด เซลลเม็ดเลือดขาว

เซลลเม็ดเลือดแดง 45%

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
• โปรตีนที่พบคือ สวนประกอบของเลือด
- โกลบูลิน (globulin) พลาสมา
- อิมมูโนโกลบูลิน (immunoglobulin) ทําหนาที่
หรือแอนติบอดี (antibody) เช1น • ลําเลียงสารอาหาร ธาตุอาหาร
เอนไซม ฮอรโมน และแอนติบอดี
• ลําเลียงของเสีย เชน ยูเรีย และ
IgA IgG พลาสมา สารที่รางกายไมตองการไปยัง
เพลตเลต แหลงกําจัด

เซลลเม็ดเลือดขาว
IgM 45%
เซลลเม็ดเลือดแดง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หมูเลือดและการใหเลือด
หมูเ1 ลือดของมนุษยDมีหลายระบบ แต1ทสี่ ำคัญกับ
การใหJและรับเลือด มี 2 ระบบ คือ หมู1เลือดระบบ ABO
และ หมู1เลือดระบบ Rh
ลองคิด
สวนประกอบใดของเลือด
ที่ใชจําแนกหมูเลือดระบบ ABO
และหมูเลือดระบบ Rh √ ไกลโคโปรตีนหรือ
แอนติเจน (antigen)
ที่ผิวเซลลเม็ดเลือดแดง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หมูเลือดและการใหเลือด
หมูเลือดระบบ ABO
มีแอนติเจนบนผิวเซลลเม็ดเลือดแดง 2 แบบ คือ
Antigen A และ Antigen B ทําใหแบงเลือดหมูไดเปน 4 หมู ดังตาราง
เลือดหมู1 ผิวเซลลDเม็ดเลือดแดง พลาสมา
A Antigen A Antibody B
B Antigen B Antibody A
AB Antigen A และ B ไม1มี Antibody A และ B
O ไม1มี Antigen A และ B Antibody A และ B
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หมูเลือดและการใหเลือด
การใหJและรับเลือดนั้น แอนติเจนบนผิวเซลลDเม็ดเลือดแดง
ของผูJใหJตJองไม1ตรงกับแอนติบอดีในพลาสมาของผูJรับ
ลองคิด
ผูใหมีเลือดหมู AB
ผูที่มีเลือดหมู O สามารถ √ ไมได โดยผูที่มีเลือดหมู
รับเลือดจากผูที่มีเลือดหมู AB ได AB จะมีแอนติเจน A และ
หรือไม อยางไร แอนติเจน B บนผิวเซลลเม็ด
เลือดแดง
antigen A
antigen B
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีตอ
ลองคิด
ผูที่มีเลือดหมู O สามารถรับเลือดจากผูที่มีเลือดหมู AB
ไดหรือไม อยางไร

เลือดหมู O √ สวนผูรับเลือดที่มีเลือดหมู O จะมี


ทั้งแอนติบอดี A และ B ในพลาสมา
พลาสมา
antibody A

antibody B
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีตอ
ลองคิด
ผูที่มีเลือดหมู O สามารถรับเลือดจากผูที่มีเลือดหมู AB
ไดหรือไม อยางไร
(แอนติบอดีของผูรับ)
เลือดหมู O (ผูให) เลือดหมู AB
√ เมื่อผูใหเลือดที่มีเลือดหมู AB
ใหเลือดกับผูรับเลือดที่มีเลือดหมู
O จะทําใหเกิดการรวมกลุมกัน
ของแอนติเจน A และ B กับ
แอนติบอดี A และ B ในตัวผูรับ
เลือดที่มีเลือดหมู O สงผลใหเกิด
อันตรายถึงชีวิตได

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หมูเลือดและการใหเลือด
หมูเลือดระบบ Rh

ลองคิด
แอนติเจนและแอนติบอดีของหมูเลือดระบบ Rh
เหมือนหรือแตกตางจากหมูเลือดระบบ ABO อยางไร

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หมูเลือดและการใหเลือด
หมูเลือดระบบ Rh
คนไทยเลือดหมู Rh+ รอยละ 99.7
พิจารณาจากการมี Rh บนผิวเซลลเม็ดเลือดแดง ทําใหแบงเลือดหมู ไดเปน 2 หมู ดังตาราง
เลือดหมู1 ผิวเซลลDเม็ดเลือดแดง พลาสมา
Rh+ Antigen Rh ไม1มี Antibody Rh
Rh- ไม1มี Antigen Rh ไม1มี Antibody Rh
ลองคิด
การใหเลือดของหมูเลือดระบบ Rh ตองคํานึงถึง
แอนติเจนและแอนติบอดีหรือไม
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ลองคิด
การใหเลือดของหมูเลือดระบบ Rh ตองคํานึงถึง
แอนติเจนและแอนติบอดีหรือไม

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ลองคิด
การใหเลือดของหมูเลือดระบบ Rh ตองคํานึงถึง
แอนติเจนและแอนติบอดีหรือไม
√ ตJองคำนึงถึงเช1นเดียวกัน โดยยังคงใชJหลักการใหJและรับเลือดที่ระบุว1า
แอนติเจนบนผิวเซลลDเม็ดเลือดแดงของผูJใหJตJองไม1ตรงกับแอนติบอดีใน
พลาสมาของผูJรับ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การใหJและรับเลือดในระบบหมู1เลือด Rh
+ -
กรณีที่ผูJใหJเลือดมีเลือดหมู1 Rh ใหJเลือดกับผูJรับที่มีเลือดหมู1 Rh
อาจทำใหJเกิดอันตรายไดJ อธิบายไดJดังนี้
ผูรับมีเลือดหมู Rh- +
ผูใหมีเลือดหมู Rh+ • ผูใหที่มีเลือดหมู Rh
จะมีแอนติเจน Rh อยูบน
ผิวเซลลเม็ดเลือดแดง
-
• ผูรับที่มีเลือดหมู Rh
antigen Rh
ซึ่งไมมีแอนติเจน Rh อยู
บนผิวเซลลเม็ดเลือดแดง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีตอ
การใหJและรับเลือดในระบบหมู1เลือด Rh
+ -
กรณีที่ผูJใหJเลือดมีเลือดหมู1 Rh ใหJเลือดกับผูJรับที่มีเลือดหมู1 Rh
อาจทำใหJเกิดอันตรายไดJ อธิบายไดJดังนี้

ผูรับมีเลือดหมู Rh- antigen Rh • แอนติเจน Rh จากผูใหที่มีเลือด


+
หมู Rh จะกระตุนใหคนที่มีเลือด
-
หมู Rh สรางแอนติบอดีตอ
แอนติเจน Rh ในพลาสมา
antibody Rh
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีตอ
การใหJและรับเลือดในระบบหมู1เลือด Rh
+ -
กรณีที่ผูJใหJเลือดมีเลือดหมู1 Rh ใหJเลือดกับผูJรับที่มีเลือดหมู1 Rh
อาจทำใหJเกิดอันตรายไดJ อธิบายไดJดังนี้
-
• ผูรับที่มีเลือดหมู Rh
ผูรับมีเลือดหมู Rh- ไดรับเลือดจากผูใหที่มี
ผูใหมีเลือดหมู Rh+ +
เลือดหมู Rh เขาไป
• พลาสมาของผูรับที่มีเลือดหมู
-
Rh ที่มีการสรางแอนติบอดี
Rh ไวอยูแลวจะเขาจับกับ
แอนติเจนทําใหเกิดการ
รวมกลุมกันของแอนติบอดี
และแอนติเจน เกิดอันตราย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตอผูรับเลือดได
แมวาคนไทยจะไมพบปญหาเรื่องการใหและรับเลือดของหมูเลือดระบบ Rh
เนื่องจากคนไทยมีเลือดหมู Rh+ รอยละ 99.7 แตก็อาจพบปญหาการเกิด
อีรีโทรลาสโทซิสฟทาลิส (erythroblastosis fetalis) ในหญิงตั้งครรภได
อีรีโทรลาสโทซิสฟทาลิส เกิดจาก
•กรณีที่แมมีเลือดหมู Rh- ตั้งครรภและถาลูกในครรภมีเลือดหมู Rh+
•ขณะคลอดเลือดของลูกที่เปนหมู Rh+ มีโอกาสเขากระแสเลือดของ
แม กระตุนใหแมสรางแอนติบอดีในพลาสมา
•อันตรายตอลูกในครรภ หากลูกคนถัดมามีเลือดหมู Rh+ เพราะ
แอนติบอดีที่อยูในพลาสมาของแมซึ่งสรางไวตั้งแตลูกคนแรกจะไป
รวมกลุมกับแอนติเจนของลูกคนถัดมา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ภาพแสดงการเกิดอีรีโทรบลาสโทซิสฟทาลิส

• แมมีเลือดหมู Rh- ตั้งครรภ


ลูกคนที่ 1 ที่มเี ลือดหมู Rh+

แมเลือดหมู Rh-
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ภาพแสดงการเกิดอีรีโทรบลาสโทซิสฟทาลิส

• แมมีเลือดหมู Rh- ตั้งครรภ


ลูกคนที่ 1 ที่มเี ลือดหมู Rh+
• ขณะคลอดเลือดของลูกมีโอกาส
เขาสูกระแสเลือดของแมเกิดการ
กระตุนใหแมสรางแอนติบอดีใน
พลาสมา

แมเลือดหมู Rh-
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ภาพแสดงการเกิดอีรีโทรบลาสโทซิสฟทาลิส

+
• กรณีเมื่อลูกคนที่ 2 มีเลือดหมู Rh
แอนติบอดีตอแอนติเจน Rh จาก
แมเขาสูลูกคนที่ 2 ผานรกไปจับกับ
แอนติเจน Rh ของลูก
• เซลลเม็ดเลือดแดงของลูกคนที่ 2
ถูกทําลาย และอาจเกิดอันตรายได
แมเลือดหมู Rh-
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
1. เลือดมนุษย.ประกอบด4วยเซลล.เม็ดเลือดแดง เซลล.เม็ดเลือดขาว เพลตเลต และ
พลาสมา ซึ่งทำหน4าที่แตกตEางกัน
2. เลือดมนุษย.จำแนกตามหมูEเลือดระบบ ABO ได4เปNน เลือดหมูE A B AB และ O
ซึ่งจำแนกตามชนิดของแอนติเจนที่ผิวเซลล.เม็ดเลือดแดง และจำแนกตามหมูE
+ -
เลือดระบบ Rh ได4เปNน เลือดหมูE Rh และ Rh
3. หลักการให4และรับเลือด แอนติเจนของผู4ให4ต4องไมEตรงกับแอนติบอดีของผู4รับ
แตEที่เหมาะสมที่สุดคือผู4ให4และผู4รับมีเลือดหมูEตรงกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
บทที่ 15 ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบนํ้าเหลือง

15.3 ระบบนํ้าเหลือง

ลิขสิทธิ์ของ สสวท. ใชเพื่อการศึกษาเทานั้นโดยอางอิงผูจัดทํา หามนําสวนหนึ่งสวนใดของไฟลนําเสนอนี้ไปใชเพื่อการพาณิชย โดยเด็ดขาด


จุดประสงคการเรียนรู

• อธิบายและสรุปเกี่ยวกับสวนประกอบของนํ้าเหลือง
• อธิบายและสรุปเกี่ยวกับโครงสรางและหนาที่ของ
หลอดนํ้าเหลืองและตอมนํ้าเหลือง

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย
• หัวใจ สูบฉีดเลือดลําเลียงผาน
หลอดเลือด
ปอด • เลือด ลําเลียงสารไปยังปอดและ
เซลลทั่วรางกาย

หลอดเลือด
หัวใจ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย
• ของเหลวจากหลอดเลือดฝอยที่
เขาไปอยูบริเวณระหวางเซลล
ปอด เรียกวา ของเหลวระหวางเซลล
(interstitial fluid)

หลอดเลือด
หัวใจ
หลอดเลือดฝอย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ลองคิด
ปอด รางกายนําของเหลวระหวางเซลล
กลับเขาสูระบบหมุนเวียนเลือดเพื่อรักษา
ดุลยภาพของของเหลวอยางไร

หลอดเลือด
หัวใจ
หลอดเลือดฝอย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ตอมนํ้าเหลือง ระบบนํ้าเหลือง
(lymphatic system)
นําของเหลวที่ออกจาก
ตอมนํ้าเหลือง หลอดเลือดฝอยกลับเขาสู
ระบบหมุนเวียนเลือดเพื่อ
หัวใจ
รักษาดุลยภาพของของเหลว
หลอดเลือดเวน
หลอดนํ้าเหลือง
หลอดเลือดฝอย
หลอดนํ้าเหลืองฝอย พบหลอดนํ้าเหลืองและ
หลอดนํ้าเหลือง ตอมนํ้าเหลืองทั่วรางกาย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบนํ้าเหลือง

ตอมนํ้าเหลือง
โครงสรางของระบบนํ้าเหลือง
ประกอบดวย
•นํ้าเหลือง (lymph)
หัวใจ
หลอดเลือดเวน •หลอดนํ้าเหลือง (lymph vessel)
ลิ้น
•ตอมนํ้าเหลือง (lymph node)
หลอดนํ้าเหลือง
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดนํ้าเหลืองฝอย
ระบบนํ้าเหลือง
นํ้าเหลือง
หลอดเลือดฝอย
คือ ของเหลวที่อยูในหลอดนํ้าเหลือง
ตอมนํ้าเหลือง และตอมนํ้าเหลือง
การเกิดนํ้าเหลือง
เกิดจากของเหลวที่ออกจากหลอดเลือดฝอย
หัวใจ
หลอดเลือดเวน มาอยูระหวางเซลลและลําเลียงเขาสู
ลิ้น หลอดนํ้าเหลืองฝอยกอนลําเลียงไป
ยังหลอดนํ้าเหลืองและตอมนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลือง ออกจากหลอดเลือดฝอย
เขาสูหลอดนํ้าเหลืองฝอย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบนํ้าเหลือง
นํ้าเหลือง
คลายพลาสมา
ตอมนํ้าเหลือง สวนประกอบ แตมีโปรตีนนอยกวา
• จากตอมนํ้าเหลือง มีลิมโฟไซตมาก

หลอดเลือดเวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบนํ้าเหลือง
นํ้าเหลือง
สวนประกอบ คลายพลาสมา
• จากตอมนํ้าเหลือง มีลิมโฟไซตมาก แตมีโปรตีนนอยกวา
• จากลําไสเล็ก มีลิพิด (คลายนํ้านม)

หลอดเลือดเวน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดนํ้าเหลือง ระบบนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลือง
โครงสราง
ตอมนํ้าเหลือง • คลายหลอดเลือดเวนมีลิ้นปองกัน
การไหลกลับ
• หลอดนํ้าเหลืองที่มีขนาดเล็กที่สุด
หัวใจ
ลิ้น หลอดเลือดเวน คือ หลอดนํ้าเหลืองฝอยซึ่งเปน
หลอดปลายปด
หลอดนํ้าเหลือง หลอดเลือดฝอย
หลอดนํ้าเหลืองฝอย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หลอดนํ้าเหลือง ระบบนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลือง
ทิศทางการลําเลียง นํ้าเหลือง
ตอมนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลืองฝอย
หลอดนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลือง
ลิ้น หัวใจ
หลอดเลือดเวน ตอมนํ้าเหลือง

หลอดนํ้าเหลือง หลอดเลือดฝอย หลอดนํ้าเหลือง


หลอดนํ้าเหลืองฝอย หลอดเลือดเวน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หัวใจ
หลอดนํ้าเหลือง ระบบนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลือง
ทิศทางการลําเลียง นํ้าเหลือง
ตอมนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลืองฝอย
หลอดนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลือง
ลิ้น หัวใจ
หลอดเลือดเวน ตอมนํ้าเหลือง

หลอดนํ้าเหลือง หลอดเลือดฝอย หลอดนํ้าเหลือง


หลอดนํ้าเหลืองฝอย หลอดเลือดเวน
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หัวใจ
หลอดนํ้าเหลือง
ระบบนํ้าเหลือง
ตอมนํ้าเหลือง
ตอมนํ้าเหลือง
• มีลิมโฟไซตหนาแนน
ทําหนาที่
หัวใจ - กรองนํ้าเหลือง
หลอดเลือดเวน - ทําลายสิ่งแปลกปลอม
ที่มากับนํ้าเหลือง
หลอดนํ้าเหลือง หลอดเลือดฝอย
หลอดนํ้าเหลืองฝอย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระบบนํ้าเหลือง

หนาที่อื่น ๆ ของระบบนํ้าเหลือง
• ลําเลียงสารอาหาร แกสออกซิจน ไปยังเซลลตาง ๆ ทั่วรางกาย
รวมกับระบบหมุนเวียนเลือด
• ตอตานและทําลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมรวมกับระบบ
ภูมิคุมกัน

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เมื่อของเหลวระหวางเซลลมีปริมาตรเพิ่มขึ้น แรงดันของ
ของเหลวที่เพิ่มสูงขึ้นจะสงผลตอรางกายอยางไร
√ ทําใหรางกายเกิดอาการบวม เพราะมีการสะสมของ
ของเหลวมากเกินปกติ ซึ่งอาจจะเกิดจากการใชยาบางชนิด
หรือไตทํางานผิดปกติ

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
plasma
platelet
พลาสมา ของเหลวระหวางเซลล และนํ้าเหลือง leukocyte
มีความสัมพันธกันอยางไร erythrocyte

√ พลาสมาซึ่งเปนสวนหนึ่งของสวนประกอบของเลือดแพรออกจาก
หลอดเลือดฝอยทําใหเกิดเปนของเหลวระหวางเซลล เมื่อของเหลวระหวางเซลล
ลําเลียงเขาไปในหลอดนํ้าเหลืองฝอย จะเรียกวา นํ้าเหลือง นํ้าเหลืองจึงมี
สวนประกอบคลายพลาสมาแตมีโปรตีนขนาดใหญจํานวนนอยกวา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
การไหลเวียนของนํ้าเหลืองในระบบนํ้าเหลืองกับการไหลเวียน
ของเลือดในระบบหมุนเวียนเลือดเหมือนหรือแตกตางกัน อยางไร
√ แตกตางกัน โดยการไหลเวียนของเลือดในระบบ
หมุนเวียนเลือดมีการไหลเขาและออกจากหัวใจ
สวนการไหลเวียนของนํ้าเหลืองในระบบนํ้าเหลือง
มีทิศทางไหลเขาสูหัวใจทิศทางเดียว

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
1. ระบบนํ้าเหลืองประกอบดวย นํ้าเหลือง ตอมนํ้าเหลือง และหลอดนํ้าเหลือง
ทําหนาที่ลําเลียงของเหลวที่ออกจากหลอดเลือดกลับเขาสูระบบหมุนเวียนเลือด
2. นํ้าเหลืองมีสวนประกอบคลายพลาสมาแตมีโปรตีนนอยกวา สวนประกอบของ
นํ้าเหลืองมีความแตกตางกัน ขึ้นอยูกับแหลงที่มาของนํ้าเหลืองวามาจากอวัยวะใด

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
3. หลอดนํ้าเหลืองมีลักษณะคลายกับหลอดเลือดเวน ทําหนาที่ลําเลียงนํ้าเหลือง
และนํานํ้าเหลืองกลับเขาระบบหมุนเวียนเลือด
4. ตอมนํ้าเหลืองเปนบริเวณที่มีการตรวจจับสิ่งแปลกปลอมที่มากับนํ้าเหลืองซึ่ง
พบลิมโฟไซตจํานวนมาก

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

You might also like