Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

Articles from Ramamental

ั ตัวผด
ภาวะการปรบ ิ ปกต ิ (Adjustment Disorder)
2011-12-07 07:12:48 admin

ั คงสกนธ์
รณชย

ภาวะการปรับตัวผด ิ ปกต ิ (adjustment disorder) มส ี าเหตุชัดเจนจากภาวะความกดดัน กอให ่ ้


ู ว่ ยเกด
ผ้ ป ิ ความเครยี ด จนไมสามารถปร
่ ั บตัวได้อยางเหมาะสม
่ เกดิ อาการทางคลนิ ก
ิ ตามมา
โดยมอ ี าการนานไมเก ิ 6 เดอ ื น จัดอยในกล ็
ิ เวชทเี ปนแบบ non-psychotic ซงึ่

่ น ู่ มโรคทางจ
ุ่ ต
สามารถหายเป็นปกตไิ ด้ โดยทอ ่ี าการทางจต ิ เวชมักจะเกด ิ ภายในเวลา 3 เดอื นหลังจากมภ ี าวะ
ความกดดันมากระทบ

ิ จฉ
การวน ิ ัย

A. มก ่ี นแปลงทางด้านอารมณ์และพฤตก
ี ารเปลย ิ รรมตอบสนองตอบตอภาวะความกดด
่ ัน
ทป่ ่
ี รากฏชัดเจน (หนงึ อยางหร
่ อื มากกวา่ ) ภายใน 3 เดอ
ื น นับแตเร
่ มิ่ ต้นของภาวะความ
กดดัน

ื พฤตก
B. อาการหรอ ี ั กษณะใดลักษณะหนงึ่ ดังน้ ี
ิ รรมมล

1) อาการตงึ เครยี ดมากเกน


ิ กวาการตอบสนองต
่ อภาวะความกดด
่ ิ ั ย ทเ่ี ป็นท ่ี
ั นตามปกตวิ ส
ยอมรับกันทัว่ ไป

ี วามบกพรองในหน
2) มค ่ ี่ ารงาน การเรย
้ าทก ี น การเข้าสังคม

C. ความผด ิ ปกตท ่ี อบสนองตอภาวะความกดด


ิ ต ่ ั นไมเข ิ จิ ฉัยโรคทางจต
่ ้ าเกณฑ์วน ิ เวชใน

Axis I อน ื ๆ และไมใช ่ การเพ
่ ้
ิ่มขนของความผ
ึ ดิ ปกตใิ น Axis I และ Axis II

D. อาการไมใช ่ ็นการตอบสนองทัว่ ไปตอการส


่ เป ่ ญ ี ค
ู เสยบ ี่ นรัก
ุ คลทต
่ื ภาวะความกดดันหายไป อาการจะไมคงอย
E. เมอ ่ เก ิ กวา่ 6 เดอ
ู่ น ื น

สาเหตความกดด
ุ ั นอาจมเี พี ยงอย่างเดย
ี ว หรอ
ื หลายอย่างประกอบกัน ก็ได้

ความกดดันอาจเกดิ จากครอบครัว ทำให้เป็นปัญหากับบุคคลใดบุคคลหนง่ึ ในครอบครัว หรอ ื กับ


ทุกคนในครอบครัวก็ได้ หรอ ็ ั
ื อาจเปนปญหาของชม ่ ี บสถานการณ์รวมก
ุ ชน โดยกลมคนท
ุ่ พ ่ ัน

ิ ปญหาการปรับตัวได้เชนก
อาจเกด ่ ั น เชน่ ภาวะสงคราม การอพยพย้ายถน ่
ิ่ ทอ ็
ี ยู ่ เปนต้น

ความรนแรงของเหต
ุ การณ
ุ ์ ไม่สามารถทำนายความรนแรงของปฏ
ุ ิกิริยายาตอบสนองได้ ผ้ ท ี่ ี
ู ม
ิ ใจออนแออาจจะม
จต ่ ี วามผด
ค ิ ปกตอ ิ ยางมากต
่ อความกดด
่ ั นในระดับตำหร่ อื ระดับปานกลางใน
ขณะทผ ี่ ้ อ ื่ อาจเกด
ู น ิ ความผด ิ ปกตเิ พ ียงเล็กน้อยทั้งทไี่ ด้รับความกดดันอยางร ่ ุนแรงและตอเน
่ อ ื่ ง

ลักษณะอาการทางคลน
ิ ก

ิ ก
อาการทางคลน ิ ของภาวะความผด ิ ้ ี มไี ด้หลายแบบ DSM IV ได้จำแนกออกเป็น 6 กลม
ิ ปกตน ุ่
ยอย ั
่ ดงตอไปน
่ ้ ี

1.Adjustment disorder with anxiety อาการเดนค


่ อื วต
ิ กกังวลหงุดหงด
ิ ตงึ เครย
ี ด และ
่ื เต้น
ตน

2. Adjustment disorder with depressed mood อาการทเี่ ดนเป็ ี


่ น อารมณเ์ ศร้า เสยใจ
และร้ ส ึ ้นหว
ู กส ิ ัง

3. Adjustment disorder with disturbance of conduct อาการเดนได ่ ้ แ ก ่ มค ี วาม


ประพฤตท ่
ิ ล ี ะเมด ิ ข
ิ สทธ ์ ิ องผ้ อ ่
ู น ื ละเมด
ิ ตอผ
่ ้ ใู หญ ่ หรอื ละเมด
ิ ตอกฎเกณฑ
่ ์ ตางๆ
่ ตัวอยาง่
เชน่ หนโี รงเรย ี น ไมร่ ั บผด ิ ชอบ แสดงความปา่ เถอ ่ ื น ขับรถอยางบ
่ ้ าระห ำ
่ ใช ก
้ ำลั งเข าตอส
้ ่ ู้
ละเลยความรับผด ิ ชอบตามกฎหมาย

4. Adjustment disorder with mixed disturbance of emotions and conduct อาการ


ท ี่ เดนเป็ ิ กกังวล และความแปรปรวนของ
่ นอาการตางๆ
่ ทางอารมณ์ เชน่ อารมณ์เศร้า วต
ความประพฤต ิ

5. Adjustment disorder with mixed anxiety and depress mood อาการเดนเป็


่ น
่ ั นของอารมณเ์ ศร้าและอาการวต
อาการรวมก ิ กกังวล

6. Adjustment disorder unspecified คอื ความผด


ิ ปกตต ิ างๆ
่ ึ่ ็นปฏก
ซงเป ิ ริ ย
ิ าในการปรับ
ตัวทไ่ี มเหมาะสมต
่ อ ึ่ ไิ ด้จัดระบบไว้เป็น adjustment
่ psychosocial stressors ซงม
disorder อยางเฉพาะเจาะจง

ิ ยา
ระบาดวท

เป็นโรคทพ ่ี บได้บอย
่ พบได้ในทุกอายุ โดยเฉพาะในกลมว ุ ่ ั ยรน
ุ ่ จำนวนวัยรนชายใกล
ุ่ ี งกับ
้ เคย
วัยรนหญ
ุ่ งิ สวนในกล
่ มผ
ุ ่ ้ ใู หญจะเป็ นเพศหญงิ มากกวาเพศชายถ งึ 2 เทา่
่ ่
กลมวุ ่ ั ยรนม
ุ ่ ั กมค
ี วามผด
ิ ปกตท
ิ างด้านพฤตก
ิ รรมและการแสดงออก สวนในกล
่ มผ
ุ ่ ้ ใู หญและผ
่ ู ี่
้ท
ปว่ ยโรคทางกายจะพบลักษณะของอารมณซ ึ
์ มเศร ็
้ าเปนลักษณะเดน

สาเหตุ

สาเหตโุ ดยตรงของโรคน้ ี ก็คอ ื ภาวะความกดดัน ลักษณะความกดดันจากภาวะจต ิ สังคมทพ ี่ บ


บอย ั ิ จากในครอบครัว หน้าทก ี่ ารงาน ความสัมพั นธ์ระหวางบ ั
่ ได้แก ่ ปญหาเกด ่ คุ คล ปญหาทาง
ด้านการเงน ิ ความเจ็บปว่ ยทางกาย หรอ ื ทางจต
ิ ใจ ตลอดจนการเปลย ี่ นแปลงของวงจรชวี ต ิ คน
เรา เชน่ วัยรน ิ่ มป
ุ ่ การเรม ี ระจำเดอื นครั้งแรก การแตงงาน ็
เปนต้น หรอ ื ความกดดันอยางอ ื่ เชน่
่ ่ น
ภัยทางธรรมชาต ิ ระเบด ิ สงคราม

ระดับของการตอบสนองตอความกดด
่ ั นของคนเรามไิ ด้สัมพั นธ์อยางตรงไปตรงมาก
่ ั บระดับ
ความรุนแรงของความกดดัน แตจะเป็ นความสัมพั นธ์รวมก ั ้
่ ่ ั นของปจจัยตอไปน
่ ี

ื ลักษณะของความกดดันทเี่ ป็นสาเหตุให้เกด
1. Stressors คอ ิ ปัญหา

2. Situational context คอ ื สภาวะแวดล้อมขณะนั้นของผ้ ป


ู ว่ ย เชน่ ขณะตั้งครรภ์ใกล้
คลอด ได้ยน ิ ขาวสาม
่ ี ระสบอุบัตเิ หตุ

3. Intrapersonal factors คอ ุ ั จจัยในตัวผ้ ป


ื เหตป ิ ั ย วธิ ก
ู ว่ ยเอง เชน่ นส ี ารปรับตัว

เปนต้น

โดยเฉเพาะในกลมบ ่ี ค
ุ ่ ุคคลทม ี วามผด
ิ ปกตท ิ างบุคลก
ิ ภาพ หรอ ื มค
ี วามผด
ิ ปกตทิ างด้านสมอง
มากอน ี วามต้านทานตอความกดด ั นได้น้อยกวาคนท ั ว่ ไป ทำให้เกด ั
ิ ปญหาภาวะการปรับ
่ จะมค ่ ่
ตัวผด
ิ ปกตไิ ด้บอยกว
่ า่

ิ จฉ
การวน ิ ัยแยกโรค

1. V codes คอ ื ภาวะความผด ิ ไ่ี มจ่ ั ดเป็น mental disorder เมอ


ิ ปกตท ่ื ยังไมพบความผ
่ ดิ
ปกตท ั
ิ างด้านสงคม หน้าทก ่ ี ารงาน และการแสดงออกทม ่ ี ากเกน
ิ ระดับปกต ิ ตัวอยางเช
่ น่

ิ ปกตจิ ากปญหาความขัดแย้งระหวางบ ั ็
ความผด ่ ุคคล ปญหากับคสมรส ู่ เปนต้น

2. Generalized anxiety disorder

3. Major depressive disorder

4. Post-traumatic stress disorder

รายละเอยี ดให้ดูภายใต้หัวข้อของแตละโรค
่ หลักการคอ
ื หากอาการเข้าได้กับโรคข้างต้นมาก

่ ็จะวน
กวาก ิ จิ ฉัยเปนโรคข้างต้น


การดำเนนโรค

บางรายมอ ื 2-3 สัปดาห์ แตจะไม


ี าการเพ ียง 2-3 วัน หรอ ่ นานเก
่ ิ 6 เดอ
น ื น

จากการตด ิ ตามผ้ ป ู ว่ ยทเ่ี คยได้รับการวน


ิ จิ ฉัยวาเป ็ ี
่ น adjustment disorder ไป 3-4 ป พบวา่
ร้อยละ 25 ทก ี่ ลับมาด้วยปัญหาเดม ิ และในกลมน ุ ่ ้ อาจเปล
ี ย ิ จิ ฉัยเป็นความผด
ี่ นแปลงการวน ิ
ปกตอิ ยางอ
่ น ื่ เชน่ personality disorder ร้อยละ 47 และ neurotic disorder ร้อยละ 25

การรักษา

เป้าหมายอันดับแรก : ลดอาการของผ้ ป ู ว่ ยและชวยเหล


่ อื ให้ผ้ ป
ู ว่ ยมก
ี ารปรับตัวทด ี ้ นอย
ี่ ข ึ าง

น้อยก็เทาระดั บเดมิ ก อนท ่
จ ี ะเก ิ
ด ปั ญหา
่ ่
เป้าหมายถัดไป : กอให
่ ี่ นแปลงในวธิ ก
ิ การเปลย
้ เก ด ี ารตอส ู ั ญหาของผ้ ป
่ ้ป ู ว่ ย รวมทั้งเหตุการณ์
และสภาพแวดล้อมถ้าสามารถทำได้

วิธีการรักษาเน้นท่ จ ่ ้ ี คอ
ี ิตบำบัดแบบประคับประคอง โดยอาศัยขบวนการเหลาน ื

ิ ข้ น
1. หาสาเหตุของภาวะความกดดันให้ชัดเจน เข้าใจถงึ ผลทเี่ กด ึ รวมทั้งวธิ ก
ี ารตอบ
ู ว่ ย
สนองของผ้ ป

ิ ระดับความรุนแรงและระยะเวลาความผด
2. ประเมน ิ ปกตท ิ ข้ น
ิ เี่ กด ึ

ิ ปกตท
3. หากพบความผด ิ างจต
ิ เวชอน ิ ข้ นให
ื่ ๆ ทเี่ กด ึ ้ ทำการรักษา
4. ประเมน ิ ภาพทั้งหมดของผ้ ป
ิ บุคลก ู ว่ ย

ู ว่ ยเข้าใจและสามารถระบายปัญหาภาวะความกดดันทางจต
5. ให้ผ้ ป ิ ใจออกมาได้

ื กระต้ น
6. ให้คำแนะนำหรอ ี ารแก้ปัญหาทด
ู ว่ ยมวี ธิ ก
ุ ให้ผ้ ป ี ้น
่ี ข ึ

7. สงเสร
่ มิ ให้กำลังใจ เพ ื่อให้ผ้ ป ิ อภาวะความกดด
ู ว่ ยสามารถเผชญต ่ ั นนั้นได้

8. อาจนำเอาขบวนการรักษาอยางอ
่ น ่ื มาประกอบการชวยเหล
่ อื เชน่
ิ ั วรวมก ั
8.1 Family therapy ให้สมาชกในครอบคร ่ ั นแก้ไขปญหา
8.2 Behavior therapy

ี ารทำกลมบำบ
8.3 Self help groups ให้มก ุ่ ั ดรวมก
่ ั นในกลมท
ุ่ ม ี ั ญหาคล้ายกัน
่ี ป

9. กรณผี ้ ป
ู ว่ ยมอ ึ
ี าการซมเศร ิ กกังวลสงู อาจพ ิจารณาให้ยาคลายกังวล หรอ
้ า วต ื ยาแก้
เศร้า ในระยะแรกเพ ื่อลดอาการทเี่ จ็บปว่ ย ชวยให
่ ู ว่ ยมค
้ ผ้ ป ี่ ี
ี วามสามารถในการปรับตัวทด
ข้ น

บรรณานก
ุ รม
1. อำพล สอ ู ำพั น. ภาวะการปรับตัวผด
ิ ปกต.ิ ใน: เกษม ตันตผิ ลาชวะ,ี บรรณาธก ิ าร. ตำรา
จติ เวชศาสตร์ สมาคมจต ิ แพทย์แหงประเทศไทย
่ ฉบับพ ิมพ์ ครั้งท ี่ 2. กรุงเทพมหานคร
: โรงพ ิมพ์ มหาวท ิ ยาลัยธรรมศาสตร์, 2536: 514-20..
2. Kaplan HI, Sadock BJ. Comprehensive textbook of psychiatry. 5th ed.
Baltimore : Williams & Wilkins, 1989: 1141-4.
3. American Psychiatric Association. Diagnostic and statistical manaul of mental
disorders. 4th ed. Washington, DC: American Psychiatric Association, 1994:
623-7.
4. Goldman HH. Review of general psychiatry. 2nd ed. Prentice-Hall
International, 1988: 391-400.
5. Schatzberg AF. Anxiety and adjustment disorder : a treatment approach. J
Clin Psychiatry 1991; 51(Suppl): 20-4.
6. Snyder S, Strain JJ, Wolf D. Diffentiating major depression from adjustment
disorder with depressed mood in the medical setting. Gen Hosp Psychiatry
1990; 12: 159-165.

Tweet

You might also like