2คู่มือการทำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุม แบบฟอร์มกู้

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 96

คู่มือ

การท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้าน
และชุมชนเมือง
หนังสือ
คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้าน
และชุมชนเมือง

บรรณาธิการ
นายศักดิ์ชัย อัศวินอานันท์ อธิบดีอัยการ
ส�ำนักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๖๐


อนุญาตในกรณีใช้ในทางวิชาการโดยมิได้หารายได้หรือค้าก�ำไร
การพิมพ์ซ�้ำ คัดลอก หรือดัดแปลงส่วนหนึ่งส่วนใด
ของหนังสือเล่มนี้ให้ขออนุญาตจาก นายศักดิ์ชัย อัศวินอานันท์ หรือ
อธิบดีอัยการ ส�ำนักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน

พิมพ์ที่
ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์
โทร. ๐ ๒๕๘๗ ๓๑๓๗ ต่อ ๑๑๗ โทรสาร ๐ ๒๕๘๗ ๓๒๙๕
ค�ำน�ำ
ส�ำหรับผู้ขอกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 1
ส�ำหรับผู้ขอกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๓ หน้า

2 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ขอกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๓ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 3
ส�ำหรับการกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๓ หน้า

4 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับการกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 5
ส�ำหรับการกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๓ จากทั้งหมด ๓ หน้า

6 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 7
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกัน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

และ

8 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกัน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

ลงชื่อ.......................................ผู้ค�้ำประกัน ลงชื่อ.........................................ผู้ค�้ำประกัน
(......................................) (........................................)

ลงชือ่ ..................................คูส่ มรสผูใ้ ห้ความยินยอม ลงชื่อ..................................คู่สมรสผู้ให้ความยินยอม


(.................................) (กรณีมีคู่สมรส) (..................................) (กรณีมีคู่สมรส)

ลงชื่อ...................................................ผู้ให้กู้ ลงชื่อ...................................................ผู้ให้กู้
(..................................................) (..................................................)
ต�ำแหน่ง............................................... ต�ำแหน่ง...............................................

ลงชื่อ...................................................พยาน ลงชื่อ...................................................พยาน
(..................................................) (..................................................)

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 9
10 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 11
ที่...............................................

12 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๒๒๔ หนี้เงินนั้น ท่านให้คิดดอกเบี้ยในระหว่างเวลาผิดนัดร้อยละเจ็ดกึ่งต่อปีถ้าเจ้าหนี้
อาจจะเรียกดอกเบีย้ ได้สงู กว่านัน้ โดยอาศัยเหตุอย่างอืน่ อันชอบด้วยกฎหมายก็ให้คงส่งดอกเบีย้ ต่อไปตามนัน้
ท่านห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระหว่างผิดนัด
การพิสูจน์ค่าเสียหายอย่างอื่นนอกกว่านั้นท่านอนุญาตให้พิสูจน์ได้

มาตรา ๖๕๕ ท่านห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่ค้างช�ำระ แต่ทว่าเมื่อดอกเบี้ยค้างช�ำระ


ไม่ น ้ อ ยกว่ า ปี ห นึ่ ง คู ่ สั ญ ญากู ้ ยื ม จะตกลงกั น ให้ เ อาดอกเบี้ ย นั้ น ทบเข้ า กั บ ต้ น เงิ น แล้ ว ให้ คิ ด ดอกเบี้ ย
ในจ�ำนวนเงินที่ทบเข้ากันนั้นก็ได้แต่การตกลงเช่นนั้นต้องท�ำเป็นหนังสือ

พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. ๒๕๕๘


มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ผู้ทวงถามหนี้” หมายความว่าเจ้าหนี้ซึ่งเป็นผู้ให้สินเชื่อผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วย
การคุ้มครองผู้บริโภค ผู้จัดให้มีการเล่นการพนันเป็นปกติธุระตามกฎหมายว่าด้วยการพนันและเจ้าหนี้อื่น
ซึง่ มีสทิ ธิรบั ช�ำระหนีอ้ นั เกิดจากการกระท�ำทีเ่ ป็นทางการค้าปกติหรือเป็นปกติธรุ ะของเจ้าหนี้ ทัง้ นีไ้ ม่วา่ หนี้
ดังกล่าวจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ก็ตามและให้หมายความรวมถึงผู้รับมอบอ�ำนาจจากเจ้าหนี้ดังกล่าว
ผู้รับมอบอ�ำนาจช่วงในการทวงถามหนี้ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้และผู้รับมอบอ�ำนาจจากผู้ประกอบ
ธุรกิจทวงถามหนี้ด้วย

มาตรา ๘ ห้ามผู้ทวงถามหนี้ติดต่อกับบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ลูกหนี้เพื่อการทวงถามหนี้ เว้นแต่บุคคล


ซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการดังกล่าว
การติ ด ต่ อ กั บ บุ ค คลอื่ น นอกจากบุ ค คลตามวรรคหนึ่ ง ให้ ก ระท� ำ ได้ เ พื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการ
สอบถามหรือยืนยันข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้
เท่านั้นโดยผู้ทวงถามหนี้ต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑) แจ้งให้ทราบชื่อตัวชื่อสกุลและแสดงเจตนาว่าต้องการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อ
ลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้
(๒) ห้ามแจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้ เว้นแต่ในกรณีที่บุคคลอื่นนั้นเป็นสามี ภริยา บุพการี
หรือผู้สืบสันดานของลูกหนี้และบุคคลอื่นดังกล่าวได้สอบถามผู้ทวงถามหนี้ถึงสาเหตุของการติดต่อ
ให้ผู้ทวงถามหนี้ชี้แจงข้อมูลเกี่ยวกับหนี้ได้เท่าที่จ�ำเป็นและตามความเหมาะสม
(๓) ห้ามใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย
ในหนังสือหรือในสื่ออื่นใดที่ใช้ในการติดต่อสอบถามซึ่งท�ำให้เข้าใจได้ว่าเป็นการติดต่อเพื่อทวงถามหนี้
ของลูกหนี้
(๔) ห้ า มติ ด ต่ อ หรื อ แสดงตนที่ ท� ำ ให้ เข้ า ใจผิ ด เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข ้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ สถานที่ ติ ด ต่ อ ลู ก หนี้
หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 13
มาตรา ๙ การทวงถามหนี้ให้ผู้ทวงถามหนี้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑) สถานที่ติดต่อในกรณีที่ติดต่อโดยบุคคลหรือทางไปรษณีย์ให้ติดต่อตามสถานที่ที่ลูกหนี้
หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ได้แจ้งให้เป็นสถานที่ติดต่อในกรณีที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้
แจ้งไว้ลว่ งหน้าหรือสถานทีท่ ไี่ ด้แจ้งไว้ไม่สามารถติดต่อได้โดยผูท้ วงถามหนีไ้ ด้พยายามติดต่อตามสมควรแล้ว
ให้ติดต่อตามภูมิล�ำเนาถิ่นที่อยู่หรือสถานที่ท�ำงานของบุคคลดังกล่าวหรือสถานที่อื่นตามที่คณะกรรมการ
ประกาศก�ำหนด
(๒) เวลาในการติ ด ต่ อ การติ ด ต่ อ โดยบุ ค คลโทรศั พ ท์ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ห รื อ สื่ อ เทคโนโลยี
สารสนเทศประเภทอืน่ ในวันจันทร์ถงึ วันศุกร์ให้ตดิ ต่อได้ตงั้ แต่เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกาถึงเวลา ๒๐.๐๐ นาฬิกา
และในวันหยุดราชการเวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกาถึงเวลา ๑๘.๐๐ นาฬิกา หากไม่สามารถติดต่อตามเวลา
ดังกล่าวได้หรือช่วงเวลาดังกล่าวไม่เหมาะสม ให้ติดต่อได้ในช่วงเวลาอื่นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
ที่คณะกรรมการประกาศก�ำหนด
(๓) จ�ำนวนครัง้ ทีต่ ดิ ต่อในช่วงเวลาตาม (๒) ให้ตดิ ต่อตามจ�ำนวนครัง้ ทีเ่ หมาะสมและคณะกรรมการ
อาจประกาศก�ำหนดจ�ำนวนครั้งด้วยก็ได้
(๔) ในกรณีที่เป็นผู้รับมอบอ�ำนาจจากเจ้าหนี้ผู้รับมอบอ�ำนาจช่วงในการทวงถามหนี้ผู้ประกอบ
ธุรกิจทวงถามหนี้หรือผู้รับมอบอ�ำนาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ให้ผู้ทวงถามหนี้แจ้งให้ทราบถึง
ชื่อตัวและชื่อสกุลหรือชื่อหน่วยงานของตนและของเจ้าหนี้และจ�ำนวนหนี้ และถ้าผู้รับมอบอ�ำนาจดังกล่าว
ทวงถามหนี้ต่อหน้าให้แสดงหลักฐานการมอบอ�ำนาจให้ทวงถามหนี้ด้วย

มาตรา ๑๐ ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ขอรับช�ำระหนี้ ผู้ทวงถามหนี้ต้องแสดงหลักฐานการรับมอบ


อ�ำนาจให้รับช�ำระหนี้จากเจ้าหนี้ต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ด้วยและเมื่อ
ลูกหนี้ได้ช�ำระหนี้แก่ผู้ทวงถามหนี้แล้ว ให้ผู้ทวงถามหนี้ออกหลักฐานการช�ำระหนี้แก่ลูกหนี้ด้วย
หากลูกหนี้ได้ช�ำระหนี้แก่ผู้ทวงถามหนี้โดยสุจริต ให้ถือว่าเป็นการช�ำระหนี้แก่เจ้าหนี้โดยชอบ ทั้งนี้
ไม่ว่าผู้ทวงถามหนี้จะได้รับมอบอ�ำนาจให้รับช�ำระหนี้จากเจ้าหนี้หรือไม่ก็ตาม

มาตรา ๑๑ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระท�ำการทวงถามหนี้ในลักษณะดังต่อไปนี้
(๑) การข่มขูก่ ารใช้ความรุนแรงหรือการกระท�ำอืน่ ใดทีท่ ำ� ให้เกิดความเสียหายแก่รา่ งกาย ชือ่ เสียง
หรือทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น
(๒) การใช้วาจาหรือภาษาที่เป็นการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น
(๓) การแจ้งหรือเปิดเผยเกี่ยวกับความเป็นหนี้ของลูกหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถาม
หนี้ เว้นแต่เป็นกรณีตามมาตรา ๘ วรรคสอง (๒)
(๔) การติดต่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตรเอกสารเปิดผนึก โทรสารหรือสิ่งอื่นใดที่สื่อให้ทราบว่า
เป็นการทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณีการบอกกล่าวบังคับจ�ำนองด้วยวิธีการประกาศหนังสือพิมพ์
ซึ่งเจ้าหนี้ไม่สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่นหรือกรณีอื่นใดตามที่คณะกรรมการประกาศก�ำหนด
(๕) การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้บนซองจดหมาย
ในการติดต่อลูกหนีท้ ที่ ำ� ให้เข้าใจได้วา่ เป็นการติดต่อเพือ่ การทวงถามหนี้ เว้นแต่ชอื่ ทางธุรกิจของผูท้ วงถามหนี้
ไม่ได้สื่อให้ทราบได้ว่าเป็นผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
(๖) การทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศก�ำหนด
ความใน (๕) มิให้น�ำมาใช้บังคับกับการทวงถามหนี้เป็นหนังสือเพื่อจะใช้สิทธิฟ้องคดีต่อศาล

14 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
มาตรา ๑๒ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระท�ำการทวงถามหนี้ในลักษณะที่เป็นเท็จ หรือท�ำให้เกิดความ
เข้าใจผิดดังต่อไปนี้
(๑) การแสดงหรือการใช้ข้อความเครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือเครื่องแบบที่ท�ำให้เข้าใจว่าเป็นการ
กระท�ำของศาลเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ
(๒) การแสดงหรื อ มี ข ้ อ ความที่ ท� ำ ให้ เชื่ อ ว่ า การทวงถามหนี้ เ ป็ น การกระท� ำ โดยทนายความ
ส�ำนักงานทนายความหรือส�ำนักงานกฎหมาย
(๓) การแสดงหรือมีข้อความที่ท�ำให้เชื่อว่าจะถูกด�ำเนินคดีหรือจะถูกยึดหรืออายัดทรัพย์หรือ
เงินเดือน
(๔) การติดต่อหรือการแสดงตนให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ด�ำเนินการให้แก่บริษัทข้อมูลเครดิตหรือ
รับจ้างบริษัทข้อมูลเครดิต

มาตรา ๑๓ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระท�ำการทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรมดังต่อไปนี้
(๑) การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายใดๆเกินกว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศก�ำหนด
(๒) การเสนอหรือจูงใจให้ลูกหนี้ออกเช็คทั้งที่รู้อยู่ว่าลูกหนี้อยู่ในฐานะที่ไม่สามารถช�ำระหนี้ได้

โทษทางปกครอง
มาตรา ๓๔ ในกรณี ที่ ป รากฏแก่ ค ณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ ว่ า ผู ้ ท วงถามหนี้ ฝ ่ า ฝื น
หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘ วรรคสอง (๑) หรือ (๔) มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๑ (๖)
หรือมาตรา ๑๓ (๑) ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอ�ำนาจสั่งให้ระงับการกระท�ำที่ฝ่าฝืนหรือปฏิบัติ
ให้ถูกต้องหรือเหมาะสมภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด
หากผู้ทวงถามหนี้ไม่ปฏิบัติตามค�ำสั่งของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่งให้คณะกรรมการตาม
มาตรา ๒๗ พิจารณามีค�ำสั่งลงโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท

มาตรา ๓๕ ในการพิจารณาออกค�ำสั่งลงโทษปรับทางปกครองให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗
ค�ำนึงถึงความร้ายแรงแห่งพฤติกรรมที่กระท�ำผิด
ในกรณีที่ผู้ถูกลงโทษปรับทางปกครองไม่ยอมช�ำระค่าปรับทางปกครองให้น�ำบทบัญญัติเกี่ยวกับ
การบั ง คั บ ทางปกครองตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยวิ ธี ป ฏิ บั ติ ร าชการทางปกครองมาใช้ บั ง คั บ โดยอนุ โ ลม
และในกรณีที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ด�ำเนินการบังคับตามค�ำสั่งหรือมีแต่ไม่สามารถด�ำเนินการบังคับทางปกครอง
ได้ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอ�ำนาจฟ้องคดีต่อศาลปกครองเพื่อบังคับช�ำระค่าปรับในการนี้
ถ้าศาลปกครองเห็นว่าค�ำสัง่ ให้ชำ� ระค่าปรับนัน้ ชอบด้วยกฎหมายให้ศาลปกครองมีอำ� นาจพิจารณาพิพากษา
และบังคับให้มีการยึดหรืออายัดทรัพย์สินขายทอดตลาดเพื่อช�ำระค่าปรับได้

มาตรา ๓๖ ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลต้องรับโทษปรับทางปกครองถ้าการกระท�ำ
ความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือไม่สั่งการหรือการกระท�ำการหรือไม่กระท�ำการอันเป็น
หน้าที่ที่ต้องกระท�ำของกรรมการผู้จัดการหรือผู้มีอ�ำนาจในการจัดการแทนนิติบุคคลนั้นบุคคลดังกล่าว
ต้องรับโทษปรับทางปกครองตามที่บัญญัติไว้ส�ำหรับความผิดนั้นๆ ด้วย

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 15
16 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ที่...............................................

ค�ำเตือน: กองทุนหมูบ่ า้ นจะเรียกให้ผคู้ ำ�้ ประกันช�ำระหนีไ้ ด้ตอ้ งมีหนังสือบอกกล่าวถึงผูค้ ำ�้ ประกันก่อนเสมอ

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 17
18 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ทางแห่ง
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 19
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ทางแห่ง
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๓ หน้า

ลงชือ่ .......................................ลูกหนีผ้ รู้ บั สภาพหนี้ ลงชื่อ.........................................คู่สมรสผู้ให้ความยินยอม


(......................................) (........................................) (กรณีมีคู่สมรส)

ลงชื่อ...................................................เจ้าหนี้ ลงชื่อ...................................................เจ้าหนี้
(..................................................) (..................................................)
ต�ำแหน่ง............................................... ต�ำแหน่ง...............................................

ลงชื่อ...................................................พยาน ลงชื่อ...................................................พยาน
(..................................................) (..................................................)

20 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ทางแห่ง
หน้าที่ ๓ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 21
22 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 23
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการรับสภาพหนี้ทางแพ่ง
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

และ

24 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการรับสภาพหนี้ทางแพ่ง
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

ลงชื่อ.......................................ผู้ค�้ำประกัน ลงชื่อ.........................................ผู้ค�้ำประกัน
(......................................) (........................................)

ลงชือ่ ..................................คูส่ มรสผูใ้ ห้ความยินยอม ลงชื่อ..................................คู่สมรสผู้ให้ความยินยอม


(.................................) (กรณีมีคู่สมรส) (..................................) (กรณีมีคู่สมรส)

ลงชื่อ...................................................เจ้าหนี้ ลงชื่อ...................................................เจ้าหนี้
(..................................................) (..................................................)
ต�ำแหน่ง............................................... ต�ำแหน่ง...............................................

ลงชื่อ...................................................พยาน ลงชื่อ...................................................พยาน
(..................................................) (..................................................)

ค�ำเตือน:
๑. เมือ่ ลูกหนีผ้ ดิ นัด เจ้าหนีต้ อ้ งมีหนังสือบอกกล่าวไปยังผูค้ ำ�้ ประกันภายใน ๖๐ วัน นับแต่วนั ทีล่ กู หนีผ้ ดิ นัด เพือ่ ให้
ผู้ค�้ำประกันช�ำระหนี้แทนลูกหนี้ตามสัญญาหากเจ้าหนี้มิได้มีหนังสือบอกกล่าวภายในเวลาดังกล่าวผู้ค�้ำประกันจะหลุดพ้น
ความรับผิดในดอกเบี้ยและค่าสินไหมทดแทนตลอดจนค่าภาระติดพันอันเป็นอุปกรณ์แห่งหนี้นั้นบรรดาที่เกิดขึ้นภายหลัง
จากพ้นก�ำหนดเวลาดังกล่าว
๒. หากเจ้าหนีจ้ ะท�ำการผ่อนเวลาการช�ำระหนีใ้ ห้กบั ลูกหนี้ จะต้องได้รบั ความยินยอมจากผูค้ ำ�้ ประกันด้วยทุกครัง้
(ให้จดั ท�ำบันทึกหลักฐานเป็นหนังสือให้ผคู้ ำ�้ ประกันลงนาม) และห้ามตกลงยินยอมให้มกี ารผ่อนเวลาไว้ลว่ งหน้าโดยเด็ดขาด
ซึ่งไม่มีผลบังคับตามกฎหมาย มิฉะนั้น ผู้ค�้ำประกันจะหลุดพ้นจากความรับผิด ข้อตกลงที่ท�ำขึ้นภายหลังที่ลูกหนี้ผิดนัด
ช�ำระหนี้แล้ว หากในข้อตกลงนั้นมีการขยายเวลาช�ำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ มิให้ถือว่าเป็นการผ่อนเวลาตามมาตรา ๗๐๐ แห่ง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
๓. การลดหนีใ้ ห้ลกู หนีโ้ ดยพลการเป็นการท�ำให้เกิดความเสียหายแก่กองทุนหมูบ่ า้ น และต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 25
ที่...............................................

26 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 27
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ฯ ทางอาญา
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

28 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ฯ ทางอาญา
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 29
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันรับสภาพหนี้ฯ ทางอาญา
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

สัญญาค�้ำประกันการรับสภาพหนี้ในความเสียหายที่เกิดจากการกระท�ำความผิดทางอาญา

30 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันรับสภาพหนี้ฯ ทางอาญา
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

ลงชื่อ.......................................ผู้ค�้ำประกัน ลงชื่อ.........................................ผู้ค�้ำประกัน
(......................................) (........................................)

ลงชือ่ ..................................คูส่ มรสผูใ้ ห้ความยินยอม ลงชื่อ..................................คู่สมรสผู้ให้ความยินยอม


(.................................) (กรณีมีคู่สมรส) (..................................) (กรณีมีคู่สมรส)

ลงชื่อ.....................................ผู้แทนกองทุนหมู่บ้าน ลงชือ่ .....................................ผูแ้ ทนกองทุนหมูบ่ า้ น


(....................................) (....................................)
ต�ำแหน่ง................................ ต�ำแหน่ง................................

ลงชื่อ...................................................พยาน ลงชื่อ...................................................พยาน
(..................................................) (..................................................)

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 31
ที่............................................

32 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ที่............................................

ค�ำเตือน: กองทุนหมูบ่ า้ นจะเรียกให้ผคู้ ำ�้ ประกันช�ำระหนีไ้ ด้ตอ้ งมีหนังสือบอกกล่าวถึงผูค้ ำ�้ ประกันก่อนเสมอ

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 33
ส�ำหรับผู้รับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๓ หน้า

และ

ตามสัญญาค�้ำประกันการรับสภาพความรับผิด เลขที่......./........ลงวันที่ .........เดือน................พ.ศ. ............


รายละเอียดปรากฏตามเอกสารแนบท้าย

34 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้รับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 35
ส�ำหรับผู้รับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๓ จากทั้งหมด ๓ หน้า

36 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการรับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 37
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการรับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

ค�ำเตือน
๑. เมื่อผู้รับสภาพความรับผิดผิดนัด เจ้าหนี้ต้องมีหนังสือบอกกล่าวไปยังผู้ค�้ำประกันภายใน
๖๐ วัน นับแต่วันที่ผู้รับสภาพความรับผิดผิดนัด เพื่อให้ผู้ค�้ำประกันช�ำระหนี้แทนผู้รับสภาพความรับผิด
ตามสัญญา หากเจ้าหนี้มิได้มีหนังสือบอกกล่าวภายในเวลาดังกล่าวผู้ค�้ำประกันจะหลุดพ้นความรับผิดใน
ดอกเบี้ ย และค่ า สิ น ไหมทดแทนตลอดจนค่ า ภาระติ ด พั น อั น เป็ น อุ ป กรณ์ แ ห่ ง หนี้ นั้ น บรรดาที่ เ กิ ด ขึ้ น
ภายหลังจากพ้นก�ำหนดเวลาดังกล่าว
๒. หากเจ้าหนี้จะท�ำการผ่อนเวลาการช�ำระหนี้ให้กับลูกหนี้ จะต้องได้รับความยินยอมจาก
ผู้ค�้ำประกันด้วยทุกครั้ง (ให้จัดท�ำบันทึกหลักฐานเป็นหนังสือให้ผู้ค�้ำประกันลงนาม) และห้ามตกลง
ให้มีสิทธิผ่อนเวลาให้ลูกหนี้ไว้ล่วงหน้าโดยเด็ดขาด ซึ่งไม่มีผลบังคับตามกฎหมาย มิฉะนั้น ผู้ค�้ำประกัน
จะหลุดพ้นจากความรับผิด ข้อตกลงที่ท�ำขึ้นภายหลังที่ลูกหนี้ผิดนัดช�ำระหนี้แล้ว หากในข้อตกลงนั้น
มีการขยายเวลาช�ำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ มิให้ถือว่าเป็นการผ่อนเวลาตามมาตรา ๗๐๐ แห่งประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์
๓. กองทุนหมู่บ้านจะเรียกให้ผู้ค�้ำประกันช�ำระหนี้ได้ต้องมีหนังสือบอกกล่าวถึงผู้ค�้ำประกัน
ก่อนเสมอ
๔. การฟ้องร้องผู้ค�้ำประกันให้รับผิดตามหนังสือรับสภาพความรับผิดต้องฟ้องไปพร้อมกับ
ลูกหนี้ชั้นต้น (ผู้รับสภาพความรับผิด) ตามหนังสือรับสภาพความรับผิดนั้น

38 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ที่............................................

ท่านตามกฎหมายต่อไป และท่านอาจจะต้องรับผิดในการช�ำระค่าฤชาธรรมเนียมศาล ค่าทนายความ

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 39
ที่............................................

ตามกฎหมายต่ อ ไป และท่ า นอาจจะต้ อ งรั บ ผิ ด ในการช� ำ ระค่ า ฤชาธรรมเนี ย มศาล ค่ า ทนายความ

40 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ยินยอมช�ำระหนี้แทน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

ครั้งนี้ตามสัญญาค�้ำประกันการช�ำระหนี้แทน เลขที่........../..........ลงวันที่........เดือน.......................พ.ศ..........

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 41
ส�ำหรับผู้ยินยอมช�ำระหนี้แทน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

42 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการช�ำระหนี้แทน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 43
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการช�ำระหนี้แทน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๓ หน้า

ลงชื่อ.......................................ผู้ค�้ำประกัน ลงชื่อ.........................................ผู้ค�้ำประกัน
(......................................) (........................................)

ลงชือ่ ..................................คูส่ มรสผูใ้ ห้ความยินยอม ลงชื่อ..................................คู่สมรสผู้ให้ความยินยอม


(.................................) (กรณีมีคู่สมรส) (..................................) (กรณีมีคู่สมรส)

ลงชื่อ.....................................ผู้แทนกองทุนหมู่บ้าน ลงชือ่ .....................................ผูแ้ ทนกองทุนหมูบ่ า้ น


(....................................) (....................................)
ต�ำแหน่ง................................ ต�ำแหน่ง................................

ลงชื่อ...................................................พยาน ลงชื่อ...................................................พยาน
(..................................................) (..................................................)

44 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการช�ำระหนี้แทน
หน้าที่ ๓ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 45
ที่............................................

หากท่ า นเพิ ก เฉย กองทุ น หมู ่ บ ้ า นมี ค วามจ� ำ เป็ น จะต้ อ งฟ้ อ งร้ อ งบั ง คั บ คดี กั บ ท่ า น
ตามกฎหมายต่ อ ไป และท่ า นอาจจะต้ อ งรั บ ผิ ด ในการช� ำ ระค่ า ฤชาธรรมเนี ย มศาล ค่ า ทนายความ
และค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการด�ำเนินคดี

46 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ที่............................................

หากท่ า นเพิ ก เฉย กองทุ น หมู ่ บ ้ า นมี ค วามจ� ำ เป็ น จะต้ อ งฟ้ อ งร้ อ งบั ง คั บ คดี กั บ ท่ า น
ตามกฎหมายต่ อ ไป และท่ า นอาจจะต้ อ งรั บ ผิ ด ในการช� ำ ระค่ า ฤชาธรรมเนี ย มศาล ค่ า ทนายความ
และค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการด�ำเนินคดี

ค�ำเตือน: กองทุนหมู่บ้านจะเรียกให้ผู้ค�้ำประกันช�ำระหนี้ได้ต้องมีหนังสือบอกกล่าวถึงผู้ค�้ำประกันก่อนเสมอ

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 47
หนังสือบอกเลิกสัญญา

ที่............................................ ท�ำที่..........................................................
.................................................................

วันที่...............เดือน.................................พ.ศ.............

เรื่อง บอกเลิกสัญญา
เรียน นาย/นาง/นางสาว.........................................................................

ตามที่ท่านได้ท�ำสัญญากู้ยืมเงินกับกองทุน............................................ตามหนังสือสัญญา
กู้ยืมเงินฉบับลงวันที่..........เดือน.................................... พ.ศ.................และต่อมาปรากฏว่า

๑. ท่านในฐานะผู้กู้ไม่ได้เริ่มด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ในการขอกู้ยืมเงินหรือ
๒. ท่านในฐานะผู้กู้น�ำเงินไปใช้นอกกรอบวัตถุประสงค์สัญญากู้ยิืมเงินโดยปราศจาก
เหตุผลอันสมควรหรือ
๓. ท่านในฐานะผู้กู้ไม่ได้ช�ำระหนี้ตามสัญญากู้ยืมเงิน
ซึง่ ท่านจะต้องรับผิดต่อกองทุน.......................................................โดยช�ำระเงินกูพ้ ร้อมดอกเบีย้ และเบีย้ ปรับ
หรือค่าตอบแทนทีค่ า้ งช�ำระคืนแก่กองทุน.........................................................................รวมเป็นเงินทั้งสิ้น
.............................บาท (........................................................................) และกองทุ น
............................................................. ได้ติดตามทวงถามท่านตลอดมา แต่ท่านก็ยังเพิกเฉยท�ำให้
กองทุน........................................................ได้รับความเสียหาย
ฉะนั้น โดยหนังสือฉบับนี้ กองทุน.............................................................................จึงขอ
บอกเลิกสัญญากูย้ มื เงินกับท่าน และให้ทา่ นน�ำเงินดังกล่าวข้างต้นไปช�ำระให้กบั กองทุนฯ ภายใน............วัน
นับแต่วันที่ีท่านได้รับหนังสือบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ หากท่านไม่ช�ำระหนี้ภายในก�ำหนดดังกล่าวขอถือเอา
หนังสือฉบับนี้เป็นการบอกเลิกสัญญา
หากท่านเพิกเฉย กองทุนหมู่บ้านมีความจ�ำเป็นจะต้องฟ้องร้องบังคับคดีกับท่านตาม
กฎหมายต่อไป และท่านอาจจะต้องรับผิดในการช�ำระค่าฤชาธรรมเนียมศาล ค่าทนายความ และค่าใช้จ่าย
ต่างๆ ในการด�ำเนินคดีให้กับกองทุนหมู่บ้าน และท่านอาจจะเสียสิทธิในการกู้ยืมเงินกองทุนหมู่บ้านและ
สถาบันการเงินอื่นๆ อีกด้วย

ขอแสดงความนับถือ

ลงชื่อ.........................................
(........................................)
ต�ำแหน่ง.....................................

48 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 49
ส�ำหรับผู้ขอกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๓ หน้า

๑๒

๑๒๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐
๕๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐
๑๐,๐๐๐
๑๗๐,๐๐๐ ๑๒๐,๐๐๐

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 51
ส�ำหรับผู้ขอกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๓ หน้า

๑/๒๕๕๗....

ลงชื่อ รักษ์ชาติ รักธรรม กรรมการกองทุนหมู่บ้าน


( นายรักษ์ชาติ รักธรรม )
ลงชื่อ สมทรง ยุติธรรม กรรมการกองทุนหมู่บ้าน
( นางสมทรง ยุติธรรม )

52 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ขอกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๓ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 53
ส�ำหรับการกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๗ เป็นจ�ำนวนเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท

๒๕๕๘

54 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับการกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๓ หน้า

กรรมการหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 55
ส�ำหรับการกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๓ จากทั้งหมด ๓ หน้า

56 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

และ นาย/นาง/นางสาว สมทรง ยุติธรรม เป็นผู้มีอ�ำนาจกระท�ำการแทน ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า


“ผู้ให้กู้” โดยทั้งสองฝ่ายตกลงกันดังนี้

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 57
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการกู้ยืมเงิน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

ผู้ค�้ำประกัน

กรรมการหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

58 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

วันที่ ๓ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

วันที่ ๓ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 59
ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

วันที่ ๓ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ตั้งแต่วันที่ ๓ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

60 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ทางแพ่ง
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๓ หน้า

วันที่ ๑๐ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

วันที่ ๑๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘


กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 61
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ทางแพ่ง
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๓ หน้า

ลูกหนี้ผู้รับสภาพหนี้

กรรมการหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

62 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ทางแพ่ง
หน้าที่ ๓ จากทั้งหมด ๓ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 63
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการรับสภาพหนี้ทางแพ่ง
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

วันที่ ๑๐ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

และ

โดย นาย/นาง/นางสาว รักชาติ รักษ์ธรรม และ นาย/นาง/นางสาว สมทรง ยุติธรรม ผู้มีอ�ำนาจ


กระท�ำการแทน ซึ่งต่อไปในสัญญานี้จะเรียกว่า “เจ้าหนี้” อีกฝ่ายหนึ่ง ทั้งสองฝ่ายตกลงกันดังนี้

ตุลาคม

64 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการรับสภาพหนี้ทางแพ่ง
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

กรรมการหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

ค�ำเตือน:
๑. เมื่อลูกหนี้ผิดนัด เจ้าหนี้ต้องมีหนังสือบอกกล่าวไปยังผู้ค�้ำประกันภายใน ๖๐ วัน นับแต่วันที่
ลูกหนี้ผิดนัด เพื่อให้ผู้ค�้ำประกันช�ำระหนี้แทนลูกหนี้ตามสัญญาหากเจ้าหนี้มิได้มีหนังสือบอกกล่าวภายใน
เวลาดังกล่าวผู้ค�้ำประกันจะหลุดพ้นความรับผิดในดอกเบี้ยและค่าสินไหมทดแทนตลอดจนค่าภาระติดพัน
อันเป็นอุปกรณ์แห่งหนี้นั้นบรรดาที่เกิดขึ้นภายหลังจากพ้นก�ำหนดเวลาดังกล่าว
๒. หากเจ้ า หนี้ จ ะท� ำ การผ่ อ นเวลาการช� ำ ระหนี้ ใ ห้ กั บ ลู ก หนี้ จะต้ อ งได้ รั บ ความยิ น ยอมจาก
ผู ้ ค�้ ำ ประกั น ด้ ว ยทุ ก ครั้ ง (ให้ จั ด ท� ำ บั น ทึ ก หลั ก ฐานเป็ น หนั ง สื อ ให้ ผู ้ ค�้ ำ ประกั น ลงนาม) และห้ า มตกลง
ยิ น ยอมให้ มี ก ารผ่ อ นเวลาไว้ ล ่ ว งหน้ า โดยเด็ ด ขาดซึ่ ง ไม่ มี ผ ลบั ง คั บ ตามกฎหมาย มิ ฉ ะนั้ น ผู ้ ค�้ ำ ประกั น
จะหลุดพ้นจากความรับผิด ข้อตกลงที่ท�ำขึ้นภายหลังที่ลูกหนี้ผิดนัดช�ำระหนี้แล้ว หากในข้อตกลงนั้น
มีการขยายเวลาช�ำระหนี้ให้แก่ลูกหนี้ มิให้ถือว่าเป็นการผ่อนเวลาตามมาตรา ๗๐๐ แห่งประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์
๓. การลดหนี้ให้ลูกหนี้โดยพลการเป็นการท�ำให้เกิดความเสียหายแก่กองทุนหมู่บ้าน และต้องรับผิด
เป็นการส่วนตัว

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 65
ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

วันที่ ๑๑ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙

วันที่ ๑๐ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

66 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

วันที่ ๑๑ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙

วันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๘

วันที่ ๑๐ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 67
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ฯ ทางอาญา
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

วันที่ ๑ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

วันที่ ๒ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘


วันที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘

68 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้รับสภาพหนี้ฯ ทางอาญา
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

(กรณีมีคู่สมรส)

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 69
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันรับสภาพหนี้ฯ ทางอาญา
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

และ

โดย และ

70 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันรับสภาพหนี้ฯ ทางอาญา
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 71
ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

วันที่ ๓ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

72 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

วันที่ ๓ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

วันที่ ๒ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 73
ส�ำหรับผู้รับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๓ หน้า

โดย
รักษ์ธรรม และ นาย/นาง/นางสาว สมทรง ยุติธรรม เป็นผู้มีอ�ำนาจกระท�ำการแทน ซึ่งต่อไปเรียกว่า

๙/๒๕๔๗ วันที่ ๙ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗

๒๕๕๘
วันที่ ๒ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

ความรับผิด เลขที่ ๐๐๑/๒๕๕๘

74 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้รับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๓ หน้า

(กรณีมีคู่สมรส)

กรรมการหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 75
ส�ำหรับผู้รับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๓ จากทั้งหมด ๓ หน้า

76 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการรับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

และ

โดย
นาย/นาง/นางสาว สมทรง ยุติธรรม

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 77
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการรับสภาพความรับผิด
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

กรรมการหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

78 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

วันที่ ๓ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 79
ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

วันที่ ๓ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

วันที่ ๒  เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

80 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ยินยอมช�ำระหนี้แทน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

โดย นาย/นาง/นางสาว
นาย/นาง/นางสาว สมทรง ยุติธรรม

วันที่ ๒ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

นางสาว ใจดี มีสุข เข้าผูกพันตนเป็นผู้ค�้ำประกันการช�ำระหนี้นี้ตามสัญญาค�้ำประกันการช�ำระหนี้แทน


ฉบับลงวันที่ ๒ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ รายละเอียดปรากฏตามเอกสารแนบท้าย

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 81
ส�ำหรับผู้ยินยอมช�ำระหนี้แทน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

(กรณีมีคู่สมรส)

กรรมการหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

82 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการช�ำระหนี้แทน
หน้าที่ ๑ จากทั้งหมด ๒ หน้า

และ

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 83
ส�ำหรับผู้ค�้ำประกันการช�ำระหนี้แทน
หน้าที่ ๒ จากทั้งหมด ๒ หน้า

กรรมการหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

84 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

หมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 85
(ตัวอย่าง)

ที่ (เลขที่ออกหนังสือ)

ดอนแจงพัฒนา

ค�ำเตือน : กองทุนหมูบ่ า้ นจะเรียกให้ผคู้ ำ�้ ประกันช�ำระหนีไ้ ด้ตอ้ งมีหนังสือบอกกล่าวถึงผูค้ ำ�้ ประกันก่อนเสมอ

86 คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
(ตััวอย่าง)
หนังสือบอกเลิกสัญญา

ที่(เลขที่ออกหนังสือ) ท�ำที่ กองทุนหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา


เลขที่ ๑๐ หมู่ที่ ๙ ต�ำบล หนองบ่อ
อ�ำเภอ สองพี่น้อง จังหวัด สุพรรณบุรี

วันที่ ๓ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

เรื่อง บอกเลิกสัญญา
เรียน นาย/นาง/นางสาว มานะ รักการดี

ตามที่ท่านได้ท�ำสัญญากู้ยืมเงินกับกองทุน หมู่บ้านดอนแจงพัฒนา ตามหนังสือสัญญา


กู้ยืมเงิน เลขที่ ๐๐๑/๒๕๕๗ ฉบับลงวันที่ ๑ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ และต่อมาปรากฏว่า

๑. ท่านในฐานะผู้กู้ไม่ได้เริ่มด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ในการขอกู้ยืมเงินหรือ
๒. ท่านในฐานะผูก้ นู้ ำ� เงินไปใช้นอกกรอบวัตถุประสงค์สญ ั ญากูย้ มิื เงินโดยปราศจาก
เหตุผลอันสมควรหรือ
๓.  ท่านในฐานะผู้กู้ไม่ได้ช�ำระหนี้ตามสัญญากู้ยืมเงิน
ซึ่งท่านจะต้องรับผิดต่อกองทุน หมู่บ้านดอนแจงพัฒนา โดยช�ำระเงินกู้พร้อมดอกเบี้ยและเบี้ยปรับหรือ
ค่าตอบแทนที่ค้างช�ำระคืนแก่ก องทุ น หมู ่ บ้ า นดอนแจงพั ฒ นา รวมเป็ นเงิ นทั้ ง สิ้ น ๑๑,๙๐๐ บาท
(หนึ่งหมื่นหนึ่งพันเก้าร้อยบาทถ้วน) และกองทุน หมู่บ้านดอนแจงพัฒนา ได้ติดตามทวงถามท่านตลอดมา
แต่ท่านก็ยังเพิกเฉยท�ำให้กองทุน หมู่บ้านดอนแจงพัฒนา ได้รับความเสียหาย
ฉะนั้น โดยหนังสือฉบับนี้ กองทุน หมู่บ้านดอนแจงพัฒนา จึงขอบอกเลิกสัญญากู้ยืมเงิน
กับท่าน และให้ท่านน�ำเงินดังกล่าวข้างต้นไปช�ำระให้กับกองทุนฯ ภายใน ๑๐ วัน นับแต่วันที่ีท่านได้รับ
หนังสือบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ หากท่านไม่ช�ำระหนี้ภายในก�ำหนดดังกล่าวขอถือเอาหนังสือฉบับนี้เป็น
การบอกเลิกสัญญา
หากท่านเพิกเฉย กองทุนหมู่บ้านมีความจ�ำเป็นจะต้องฟ้องร้องบังคับคดีกับท่านตาม
กฎหมายต่อไป และท่านอาจจะต้องรับผิดในการช�ำระค่าฤชาธรรมเนียมศาล ค่าทนายความ และค่าใช้จ่าย
ต่างๆ ในการด�ำเนินคดีให้กับกองทุนหมู่บ้าน และท่านอาจจะเสียสิทธิในการกู้ยืมเงินกองทุนหมู่บ้านและ
สถาบันการเงินอื่นๆ อีกด้วย

ขอแสดงความนับถือ

ลงชื่อ รักชาติ รักษ์ธรรม


(นายรักชาติ รักษ์ธรรม)
ต�ำแหน่ง ประธานกองทุนหมู่บ้านดอนแจงพัฒนา

คู่มือการท�ำสัญญาของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 87

You might also like