46 ระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 97

ระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

Computer Service Management System

ปรียา นาคนุ
Preeya Naknu

สารนิพนธ์นีเป็นส่วนหนึงของการศึกษา
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปีการศึกษา 2557
หัวข้อโครงงาน ระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ชือนักศึกษา ปรียา นาคนุ
รหัสนักศึกษา 5617670011
หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปี การศึกษา 2557
อาจารย์ทีปรึกษา ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พนม เพชรจตุพร
อาจารย์ทีปรึกษาร่วม อาจารย์พชั วรัทย์ พิพฒ
ั น์ธนอุดมดี

บทคัดย่อ

โครงงานนีเป็ นการพัฒนาระบบการจัดการการแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ผ่านระบบ


Web Application ของบริษทั บีดเี อสเวอร์คอน จํากัด เพืออํานวยความสะดวกให้กบั พนักงานที
ต้องการแจ้งซ่อม และติดตามสถานะการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จากเดิมทีใช้การดําเนินงาน
และการจัดเก็บในระบบเอกสาร เป็ นการใช้งานผ่านนระบบ Web Application และการจัดเก็บ
ข้อมูลลงฐานข้อมูลทีมีความปลอดภัย ทังยังสามารถสืบค้น เรียกดูประวัตกิ ารซ่อมบํารุง เพือใช้
อ้างและประกอบพิจารณาในการสังซืออุปกรณ์ใหม่ทดอุปกรณ์ทชํี ารุดบ่อยครัง

I
กิ ตติ กรรมประกาศ

สารนิพนธ์นีได้พฒ
ั นาจนสําเร็จได้ดว้ ยดี ด้วยความกรุณา ความช่วยเหลือ และกําลังใจ
จากหลายๆ ท่าน ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณมา ณ ทีนี
ขอขอบพระคุ ณ ผู้ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.พนม เพชรจตุ พ ร และ อาจารย์พ ชั วรัท ย์
พิพฒั น์ ธนอุดมดี อาจารย์ทปรึ
ี กษาโครงงาน ทีกรุณาเสียสละเวลาคอยให้คําแนะนํ าตรวจสอบ
โครงงานอยูส่ มําเสมอ และยังคอยหาตัวอย่างทีดีๆ มาให้อกี มากมาย
ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกๆ ท่านทีช่วยประสิทธิประสาทวิชาแก่ขา้ พเจ้าตังแต่ขา้ พเจ้า
เข้ามาศึกษาในทีแห่งนี ขอบคุณกําลังใจจากอาจารย์ทุกท่านทีทําให้ขา้ พเจ้าพัฒนาโครงงานนีให้
สําเร็จไปได้ดว้ ยดี
ขอขอบพระคุณพีๆ เพือนๆ และทุกคน ทีช่วยหาวิธแี ก้ไขปญั หาต่ างๆ พร้อมทังเป็ น
กําลังใจทีดีในการพัฒนาโครงงาน

ปรียา นาคนุ
ธันวาคม 2557

II
สารบัญ
หน้ า
บทคัดย่อ .......................................................................................................................... I
กิตติกรรมประกาศ ............................................................................................................ II
สารบัญ .......................................................................................................................... III
สารบัญรูป ......................................................................................................................... V
สารบัญตาราง .................................................................................................................... VII
บทที 1 บทนํา.................................................................................................................... 1
1.1 กล่าวนํา .............................................................................................................. 1
1.2 ภูมหิ ลังขององค์กร............................................................................................... 1
1.3 ปญั หาและแรงจูงใจ.............................................................................................. 1
1.4 แนวทางการแก้ไขปญั หา ..................................................................................... 3
1.5 วัตถุประสงค์ของโครงงาน .................................................................................... 5
1.6 ขอบเขตของโครงงาน .......................................................................................... 5
1.7 ประโยชน์ทคาดว่ ี าจะได้รบั ................................................................................... 5
1.8 สรุปเนือหาในสารนิพนธ์ ...................................................................................... 6
บทที 2 ทฤษฎีและเทคโนโลยีทเกี ี ยวข้อง ............................................................................ 7
2.1 กล่าวนํา .............................................................................................................. 7
2.2 ระบบบริหารจัดการซ่อมบํารุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์............................................... 7
2.3 วงจรชีวติ การพัฒนาระบบงาน.............................................................................. 8
2.4 ระบบอินทราเน็ต ................................................................................................. 14
2.5 เว็บแอพพลิเคชัน (Web Application)................................................................... 16
2.6 ภาษาทีใช้ในการพัฒนาระบบ ............................................................................... 17
2.7 ระบบฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล ......................................................... 20
2.8 แนวทางการออกแบบ เว็บไซต์............................................................................. 23
2.9 แนวทางในการพัฒนาโปรแกรม ........................................................................... 28
บทที 3 วิธกี ารดําเนินงาน .................................................................................................. 32
3.1 กล่าวนํา .............................................................................................................. 32
3.2 กระบวนการทํางานเดิม ....................................................................................... 32
3.3 กระบวนการทํางานใหม่ ....................................................................................... 34
3.4 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ........................................................................... 35
3.5 Data Dictionary .................................................................................................. 41
3.6 การออกแบบฐานข้อมูล ........................................................................................ 42
บทที 4 การดําเนินการ....................................................................................................... 53

III
สารบัญ (ต่อ)
หน้ า
4.1 กล่าวนํา .............................................................................................................. 53
4.2 คุณสมบัตขิ องระบบงาน ....................................................................................... 53
4.3 การใช้งานระบบ .................................................................................................. 53
บทที 5 สรุปผลการดําเนินงาน ........................................................................................... 65
5.1 สรุปผลการดําเนินงานของโครงการ...................................................................... 65
5.2 สรุปผลจากการติดตังและการทดสอบระบบจริง .................................................... 65
5.3 สรุปผลหลังจากใช้งานระบบ................................................................................. 66
5.4 สรุปผลแบบสํารวจความพึงพอใจของผูใ้ ช้............................................................. 67
5.5 ปญั หาและอุปสรรค์ทพบในการดํ ี าเนินโครงงาน .................................................... 68
5.6 ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................ 68
บรรณานุ กรม ..................................................................................................................... 70
ภาคผนวก ก. .................................................................................................................... ก-1
ภาคผนวก ข...................................................................................................................... ข-1

IV
สารบัญรูป
รูปที หน้ า
รูปที 1.1 กระบวนการการแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เดิม ............................................... 3
รูปที 1.2 กระบวนการการแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใหม่............................................... 4
รูปที 2.1 วงจรชีวติ การพัฒนาระบบงาน ............................................................................. 8
รูปที 2.2 การทํางานของเว็บ PHP ..................................................................................... 18
รูปที 2.3 เว็บทีมีโครงสร้างแบบเรียงลําดับ (Sequential Structure) ..................................... 26
รูปที 2.4 เว็บทีมีโครงสร้างแบบลําดับขัน (Hierarchical Structure) ..................................... 26
รูปที 2.5 เว็บทีมีโครงสร้างแบบตาราง (Grid Structure) ..................................................... 27
รูปที 2.6 เว็บทีมีโครงสร้างแบบใยแมงมุม (Web Structure)................................................ 28
รูปที 2.7 ขันตอนการแจ้งซ่อมอุปกรณ์แบบเดิม .................................................................. 29
รูปที 2.8 ขันตอนการแจ้งซ่อมอุปกรณ์ผ่านระบบสารสนเทศ................................................ 31
รูปที 2.9 ผังการทํางานของระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์............................ 32
รูปที 3.1 Context Diagram ระบบ Computer Service Management System ................... 37
รูปที 3.2 Data Flow Diagram ........................................................................................... 38
รูปที 3.3 Process 1.0 ....................................................................................................... 39
รูปที 3.4 Process 2.0 ....................................................................................................... 39
รูปที 3.5 Process 3.0 ....................................................................................................... 40
รูปที 3.6 Process 4.0 ....................................................................................................... 41
รูปที 3.7 ER Diagram....................................................................................................... 43
รูปที 3.8 Mapping-Relational Database Schema ............................................................ 38
รูปที 4.1 หน้าจอการเข้าใช้งานระบบ.................................................................................. 55
รูปที 4.2 หน้าจอสําหรับปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว ................................................................... 56
รูปที 4.3 หน้าจอหลักสําหรับผูด้ แู ลระบบ ............................................................................ 56
รูปที 4.4 หน้าจอสําหรับจัดการผูใ้ ช้งาน .............................................................................. 57
รูปที 4.5 หน้าจอสําหรับเพิมผูใ้ ช้งานใหม่............................................................................ 57
รูปที 4.6 หน้าจอเมือเพิมผูใ้ ช้งานสําเร็จ .............................................................................. 58
รูปที 4.7 หน้าจอสําหรับจัดการอุปกรณ์ .............................................................................. 58
รูปที 4.8 หน้าจอสําหรับเพิมอุปกรณ์ใหม............................................................................ 59
รูปที 4.9 หน้าจอหลังบันทึกอุปกรณ์เสร็จ............................................................................ 59
รูปที 4.10 หน้าจอแรกหลังลงชือเข้าใช้สาํ เร็จสิทธิระดับพนักงาน ......................................... 60
รูปที 4.11 หน้าจอสําหรับบันทึกข้อมูลแจ้งซ่อม................................................................... 61
รูปที 4.12 หน้าจอแจ้งซ่อมเมือกรอกข้อมูล ......................................................................... 61
รูปที 4.13 หน้าแสดงผลการแจ้งซ่อมเมือบันทึกข้อมูลแล้ว .................................................. 62

V
สารบัญรูป(ต่อ)
รูปที หน้ า
รูปที 4.14 หน้าจอหลักเมือมีการแจ้งซ่อมอุปกรณ์ ............................................................... 62
รูปที 4.15 หน้าจอหลักเมือทําการลงชือเข้าใช้งาน สิทธิหัวหน้างาน ..................................... 63
รูปที 4.16 หน้าจอหลักสิทธิหัวหน้างานกรณีมเี อกสารรอการอนุ มตั ิ ..................................... 63
รูปที 4.17 หน้าจอสําหรับดูรายละเอียดการแจ้งซ่อมและอนุ มตั ............................................
ิ 64
รูปที 4.18 หน้าจอสําหรับดูรายละเอียดการแจ้งซ่อมหลังการอนุ มตั ิ ..................................... 64
รูปที 4.19 หน้าจอการติดตามรายการแจ้งซ่อม ................................................................... 65
รูปที ก.1 การลงชือเข้าใช้งานระบบ .................................................................................... ก-2
รูปที ก.2 การเรียกดูขอ้ มูลผูใ้ ช้งาน ..................................................................................... ก-3
รูปที ก.3 รายชือผูใ้ ช้งาน.................................................................................................... ก-3
รูปที ก. หน้าจอสําหรับดูรายละเอียดส่วนตัวของผูใ้ ช้งาน .................................................. ก-4
รูปที ก.5 การกดปุม่ Add New User เพือเพิมข้อมูลผูใ้ ช้งาน............................................... ก-4
รูปที ก. หน้าจอสําหรับกรอกข้อมูลผูใ้ ช้งานใหม่ ................................................................ ก-5
รูปที ก.7 หน้าจอแสดงผลเมือบันทึกข้อมูลสําเร็จ ................................................................ ก-6
รูปที ก.8 การเลือกเมนูการจัดการอุปกรณ์ .......................................................................... ก-6
รูปที ก.9 ดูขอ้ มูลเพิมเติมของอุปกรณ์ ................................................................................ ก-7
รูปที ก.10 ส่วนค้นหาอุปกรณ์ ............................................................................................ ก-7
รูปที ก.11 หน้าจอการจัดการอุปกรณ์ ................................................................................. ก-8
รูปที ก.12 หน้าจอบันทึกข้อมูลอุปกรณืคอมพิวเตอร์ ........................................................... ก-8
รูปที ก.13 หน้าจอแสดงรายละเอียดหลังบันทึกข้อมูล ......................................................... ก-9
รูปที ก.14 หน้าจอปรับปรุงข้อมูลอุปกรณ์ ........................................................................... ก-9
รูปที ก.15 หน้าจอการเรียกดูรายการแจ้งซ่อม .................................................................... ก-9
รูปที ก.16 รายละเอียดข้อมูลแจ้งซ่อม ............................................................................. ก-10
รูปที ก.17 การปิดการแจ้งซ่อม ....................................................................................... ก-12
รูปที ก.18 การปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว .............................................................................. ก-14
รูปที ก.19 การเลือกเมนูแจ้งซ่อมอุปกรณ์ ........................................................................ ก-14
รูปที ก.20 การบันทึกเอกสารแจ้งซ่อม............................................................................. ก-15
รูปที ก.21 การบันทึกเอกสารแจ้งซ่อม............................................................................. ก-15
รูปที ก.22 เอกสารรอการอนุ มตั ิ ...................................................................................... ก-16
รูปที ก.23 รายละเอียดเอกสารรอการอนุ มตั ิ .................................................................... ก-16

VI
สารบัญตาราง
ตารางที หน้ า
ตารางที 1.2 อธิบายกระบวนการการแจ้งซ่อมแบบใหม่....................................................... 4
ตารางที 2.1 การเข้าใจปญั หา ............................................................................................ 9
ตารางที 2.2 การศึกษาความเป็ นไปได้ ............................................................................... 9
ตารางที 2.3 การวิเคราะห์ (Analysis) ................................................................................ 10
ตารางที 2.4 การออกแบบ (Design) .................................................................................. 12
ตารางที 2.5 การพัฒนาระบบ (Construction) .................................................................... 13
ตารางที 2.6 อธิบายคําสัง ภาษา HTML ............................................................................. 19
ตารางที 3.1 คําอธิบายรายละเอียด Process 1.0................................................................ 38
ตารางที 3.2 คําอธิบายรายละเอียด Process 2.0................................................................ 39
ตารางที 3.3 คําอธิบายรายละเอียด Process 3.0................................................................ 40
ตารางที 3.4 คําอธิบายรายละเอียด Process 4.0................................................................ 44
ตารางที 3.5 Data Dictionary of Data Flow ...................................................................... 43
ตารางที 3.6 คําอธิบายการ Normalization ตาราง User Login ........................................... 44
ตารางที 3.7 คําอธิบายการ Normalization ตาราง Employee ............................................ 45
ตารางที 3.8 คําอธิบายการ Normalization ตาราง Borrow ................................................. 46
ตารางที 3.9 คําอธิบายการ Normalization ตาราง Device.................................................. 47
ตารางที 3.10 คําอธิบายการ Normalization ตาราง Maintenance ...................................... 48
ตารางที 3.11 โครงสร้างฐานข้อมูลผูใ้ ช้งาน (UserLogin) .................................................... 49
ตารางที 3.12 ตัวอย่างข้อมูลตารางผูใ้ ช้งาน (UserLogin).................................................... 49
ตารางที 3.13 โครงสร้างฐานข้อมูลพนักงาน (Employee) ................................................... 49
ตารางที 3.14 ตัวอย่างข้อมูลตารางพนักงาน (Employee)................................................... 49
ตารางที 3.15 โครงสร้างฐานข้อมูลตําแหน่ ง (Position) ....................................................... 50
ตารางที 3.16 ตัวอย่างข้อมูลตารางตําแหน่ ง (Position) ...................................................... 50
ตารางที 3.17 โครงสร้างฐานข้อมูลแผนก (Department) ..................................................... 50
ตารางที 3.18 ตัวอย่างข้อมูลตารางแผนก (Department) .................................................... 50
ตารางที 3.19 โครงสร้างฐานข้อมูลการยืมอุปกรณ์ (Borrow) ............................................... 50
ตารางที 3.20 ตัวอย่างข้อมูลตารางการยืมอุปกรณ์ (Borrow) .............................................. 51
ตารางที 3.21 โครงสร้างฐานข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Device)....................................... 51
ตารางที 3.22 ตัวอย่างข้อมูลตารางอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Device) ...................................... 51
ตารางที 3.23 โครงสร้างฐานข้อมูลการซ่อมอุปกรณ์ (Maintenance) ................................... 52
ตารางที 3.24 ตัวอย่างข้อมูลตารางการซ่อมอุปกรณ์ (Maintenance) .................................. 53
ตารางที 5.1 ระดับความความคิดเห็นของผูใ้ ช้บริการ .......................................................... 62

VII
สารบัญตาราง(ต่อ)
ตารางที หน้ า
ตารางที 5.2 สรุปผลความพึงพอใจในการใช้งานระบบของพนักงาน .................................... 63

VIII
บทที 1
บทนํา

1.1 กล่าวนํา
ปจั จุบนั นีองค์กรต่ างๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ และ
การใช้เวลาในการปฏิบตั งิ านน้ อยลง ดังนันจึงได้มกี ารนํ าเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วย
สนับสนุ นการปฏิบตั งิ านเพือเพิมประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านจึงถือได้ว่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
และอุ ปกรณ์ อิเ ล็กทรอนิก ส์ต่างๆ เป็ นปจั จัยพืนฐาน และเป็ นเครืองมือทีสําคัญ ในการให้การ
สนับสนุ นการปฏิบตั งิ าน โดยมีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นผู้ดูแลรับผิดชอบ มีหน้ าทีในการ
ช่ว ยเหลือ และอํ า นวยความสะดวกในการจัด เตรียมอุ ปกรณ์ ค อมพิว เตอร์ใ ห้ก ับบุค ลากรใน
องค์กร และยังมีหน้าทีคอยดูแลตรวจสอบประสิทธิภาพในการทํางานของอุปกรณ์เพือให้อุปกรณ์
เหล่านันมีความพร้อมให้บริการ สามารถใช้งานได้อยู่เสมอ ทังนีรวมถึงทําการซ่อมบํารุงเมือ
ั หาจนไม่ ส ามารถใช้ง านได้อีก ต่ อ ไป ตลอดจนทํ า การจัด หาอุ ป กรณ์ ใ ห้
อุ ป กรณ์ นั นเกิด ป ญ
แผนปฏิบตั ิง านใช้ท ดแทนในระหว่ า งการรอซ่อ มแซมอุ ป กรณ์ เพือให้อ งค์ก ร และบุ ค ลากร
สามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างต่อเนือง ไม่ส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานต่างๆ ซึงการให้บริการ
ของฝ่ายเทคโนโลยีส ารสนเทศนันจําเป็ นต้องดําเนินงานด้ว ยความถูกต้องเหมาะสมรวดเร็ว
นอกจากนันผูใ้ ช้งานจะต้องสามารถตรวจสอบ ติดตามสถานะการณ์ดาํ เนินงานได้

1.2 ภูมิหลังขององค์กร
บริษัท บีดเี อสเวอร์คอน (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นบริษัททีดําเนินธุรกิจเกียวกับการ
ออกแบบ โดยให้บริการออกแบบโครงสร้างเหล็ก และเขียนแบบให้รายละเอียดแบบเพือให้
โรงงานนํ า ไปผลิต ชินส่ ว นสํ า หรับ การก่ อ สร้า ง เนื องจากในการปฏิบ ัติง านจํ า เป็ น ต้ อ งใช้
คอมพิวเตอร์ในการออกแบบและเขียนแบบ คอมพิวเตอร์ถอื เป็ นอุปกรณ์สําคัญสําหรับพนักงาน
ทุกคน และพนักงานมีหน้ าทีดูแลคอมพิวเตอร์ของตนให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ หากมีการชํารุด
ต้องแจ้งฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือทําการตรวสอบ หรือรับอุปกรณ์ทดแทนเพือให้สามารถ
ปฏิบตั งิ านได้อย่างไม่ตดิ ขัด

1.3 ปัญหาและแรงจูงใจ
การนําอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสนับสนุ นการปฏิบตั งิ านนัน มีความจําเป็ นต้องมี
การตรวจสอบ ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณ์ อยู่เสมอ เพือให้อุปกรณ์คงประสิทธิภาพและพร้อมใช้
งานอยูเ่ สมอ แต่เมืออายุการใช้งานเริมมากขึน อาจทําให้อุปกรณ์มกี ารเสือมสภาพ ทํางานได้ชา้
ลง หรืออุปกรณ์ บางส่วนเกิดการชํารุดเสียหายทําให้ไม่สามารถใช้งานได้ จากการเกิดปญั หา
ดัง กล่าวส่ งผลกระทบต่ อ การดําเนินงานในส่ วนของผู้ปฏิบตั ิง าน ซึงทําให้ไม่ส ามารถใช้ง าน
อุปกรณ์ ได้ ดังนันผู้ปฏิบตั ติ ้องทําการติดต่อส่งอุปกรณ์ให้กบั ทางฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ดําเนินการตรวจสอบเพือหาสาเหตุ แ ละทําการแก้ไ ขปญั หาโดยมีขนตอนในการแจ้
ั ง ให้ฝ่า ย
เทคโนโลยีสารสนเทศทราบนันมีกระบวนการดังต่อไปแสดงไว้ในตารางที 1.1

ตารางที 1.1 อธิบายกระบวนการการแจ้งซ่อมแบบเดิม


ลําดับที กระบวนการ อธิบายกระบวนการ
1 กรอกเอกสาร ผู้ ป ฏิ บ ั ติ ง านทํ า การกรอกข้ อ มู ล แจ้ ง ซ่ อ มลงใน
แบบฟอร์ม
2 ขออนุ มตั ิ ผูป้ ฏิบตั งิ านส่งให้ผบู้ งั คับบัญชาในหน่ วยงานทําการ
ลงชือเพืออนุ มตั ิ
3 รับเอกสารใบแจ้งซ่อม ผูป้ ฏิบตั งิ านรับใบแจ้งซ่อมทีผ่านการอนุ มตั แิ ล้ว เพือ
นําส่งฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศดําเนินการต่อไป
4 ส่งเอกสารพร้อมอุปกรณ์ ส่ ง เอกสารพร้ อ มอุ ป กรณ์ ใ ห้ ก ั บ ฝ่ า ยเทคโนโลยี
สารสนเทศดําเนินการต่อไป
5 รับเอกสารและอุปกรณ์ ฝ่ายเทคโนโลยีส ารสนเทศ ทําการรับเอกสารและ
อุปกรณ์
6 ตรวจสอบและแก้ไขปญั หา ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนินงานตรวจสอบและ
แก้ไขปญั หาตามลําดับการการส่งเอกสาร
7 รายงานผลการดําเนินงาน เมือฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศทําการตรวจสอบหรือ
ซ่อมเสร็จแล้วจะดําเนินการแจ้งไปยังผูส้ ่งซ่อมเพือให้
มารับอุปกรณ์
8 นําส่งอุปกรณ์ ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศนําส่งอุปกณ์

2
จากทีกล่าวมาข้างต้น สามารถเขียนเป็ นผังกระบวนการได้ดงั รูปที 1.1

รูปที 1.1 กระบวนการการแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เดิม

ในบางกรณีอาจมีระยะเวลาในการดําเนินงานนาน ทําให้ผู้ส่งซ่อมเกิดการติดตามขึน
เนืองจากไม่ทราบความเคลือนไหวของสถานะของการดําเนินงานทําให้เกิดความเสียเวลาในการ
งานทังในส่วนของผูป้ ฏิบตั งิ านเองทีต้องทําการติดตามและทางฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศทีต้อง
ตอบคําถามความคืบหน้าของการดําเนินงาน

1.4 แนวทางการแก้ไขปัญหา
จากปญั หาระบบการส่ งซ่อมอุ ปกรณ์ คอมพิว เตอร์ ทีจัดทําในรูปแบบเอกสาร และไม่
สามารถตรวจติ ด ตามผลได้ จึง ควรมีก ารพัฒ นาระบบบริห ารจัด การซ่ อ มบํ า รุ ง อุ ป กรณ์
คอมพิวเตอร์ เพือใช้ในการส่งเรืองแจ้งซ่อม และการตรวจติดตามสถานะการดําเนินงาน ผ่าน
ระบบอินทราเน็ตภายในองค์กร เพืออํานวยความสะดวกแก่บุคลากรในองค์กร และ ผูด้ ําเนินงาน
ตรวจสอบและซ่อมบํารุงอุปกรณ์ เพือโดยมีระบบการทํางานดังรูปที 1.2

3
รูปที 1.2 กระบวนการการแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใหม่

จากผังกระบวนการรูปที 1.2 สามารถนํามาอธิบายระบบการทํางานได้ดงั ต่อไปนี

ตารางที 1.2 อธิบายกระบวนการการแจ้งซ่อมแบบใหม่


ลําดับ
กระบวนการ อธิบายกระบวนการ
ที
1 บันทึกข้อมูล ผูป้ ฏิบตั งิ านทําการลงชือเข้าใช้ในระบบ บันทึกข้อมูล
เข้าสู่ระบบเพือทําเรืองขอแจ้งซ่อมอุปกรณ์ผ่านทาง
Web Application
อนุ มตั ิ ผูบ้ งั คับบัญชาทําการอนุ มตั ิ
ตรวจสอบและแก้ไขปญั หา ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเข้าสู่ระบบเพือรับงานแจ้งซ่อม
ทําการติดต่อรับอุปกรณ์ และดําเนินการตรวจสอบ
แก้ไขปญั หา อัพเดทข้อมูลการตรวจสอบ ผ่านทาง
Web Application รวมถึงการปิดการแจ้งซ่อม และ
นําส่งคืนอุปกรณ์
ติดตามสถานะการซ่อม ผูแ้ จ้งซ่อมติดตามสถานะการดําเนินงานผ่านระบบ
Web Application

4
1.5 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
วัตถุประสงค์ของการจัดทําโครงงาน เพือทําการศึกษาและพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ซ่อมบํารุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มาช่วยสนับสนุ นในการทํางานของฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศให้
มีประสิทธิภาพมากขึน ด้วยการทํางานทีเป็ นระบบ ไม่มกี ารสูญหายของอุปกรณ์และรายงานการ
ส่งซ่อม มีบนั ทึก การแจ้งซ่อ มของอุ ปกรณ์ เพือใช้ประกอบการพิจารณาสังอุ ปกรณ์ ใ หม่ กรณี
อุปกรณ์มอี ายุการใช้งานมากแล้ว หรืออุปกรณ์ชาํ รุดจนไม่สามารถซ่อมแซมได้ เพือแสดงให้เห็น
ถึงจํานวนในการรอซ่อมอุปกรณ์ แสดงให้เห็นถึงจํานวนงานในแต่ละวัน เพือให้ฝ่ายเทคโนโลยี
สารสนเทศสามารถบริหารจัดการลําดับในการซ่อ มอุ ปกรณ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพือ
อํานวยความสะดวกในการติดตามผลการดําเนินงานของฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ จากมุมมอง
ของผูส้ ่งซ่อมอุปกรณ์

1.6 ขอบเขตของโครงงาน
ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการซ่อมบํารุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เป็ นการพัฒนาระบบ
สําหรับแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ผ่าน Web Application เพือส่งข้อมูลให้ฝ่ายเทคโนโลยี
สารสนเทศรับทราบและดําเนินการตรวจสอบและซ่อมอุปกรณ์เมือมีความจําเป็ น โดยใช้ภาษา
PHP ในการพัฒนาระบบ และ MySQL เป็ น Database สําหรับจัดเก็บข้อมูล โดยใช้โปรแกรม
AppServ สําหรับสร้าง Server โดยมีรายละเอียดดังนี
1.6.1 สามารถบันทึกข้อมูลการแจ้งซ่อมผ่านทาง Web Browser ได้

1.6.2 สามารถแสดงรายการแจ้งซ่อมคงค้างทังหมดได้ในฝงของฝ า่ ยเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.6.3 สามารถทําการบันทึกผลการซ่อมได้
1.6.4 สามารถแสดงสถานะการดําเนินงานของการซ่อมได้

1.7 ประโยชน์ ทีคาดว่าจะได้รบั


1.7.1 เพือช่วยให้ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเห็นรายการแจ้งซ่อมคงค้างทังหมดทียัง
ดําเนินการไม่สําเร็จ และสามารถจัดลําดับความสําคัญ ของการดําเนินงานได้ กรณีทีมี
ความสําคัญมากควรได้รบั การแก้ไขก่อน
1.7.2 เพือเป็ นข้อ มูลประกอบการตัดสินใจในการสังซืออุ ปกรณ์ ทดแทนกรณีซ่อ ม
อุ ปกรณ์ ห ลายครังแต่ ยงั เกิดปญั หาเดิมซํา หรือเพือเป็ นหลักฐานในการขอซืออะไหล่ หรือ
อุปกรณ์เสริม กรณี อุปกรณ์ชาํ รุดจนไม่สามารถซ่อมแซมได้
1.7.3 เพือให้ผสู้ ่งซ่อมอุปกรณ์สามารถตรวจติดตามความคืบหน้าของอุปกรณ์ได้โดยไม่
ต้องโทรไปสอบถามไปยังฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ

5
1.8 สรุปเนื อหาในสารนิ พนธ์
สารนิพนธ์ฉบับนีได้แบ่งเนือหาออกเป็ น 5 บท โดยมีเนือหาสรุปดังนี
บทที 1 บทนํ า กล่าวถึงปญั หาและแรงจูงทีทําให้เกิดการพัฒนาระบบเพือแก้ปญั าหาที
พบในการดําเนินงานในปจั จุบนั อธิบายถึงขอบเขตในการดําเนินงานและประโยชน์ทได้ ี รบั จาก
การพัฒนาระบบ
บทที 2 ทฤษฎีแ ละเทคโนโลยีทีเกียวข้อ ง กล่ า วถึง ทฤษฎีแ ละหลัก การทีใช้ใ นการ
วิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาโครงงานประกอบด้วย
- วงจรชีวติ การพัฒนาระบบงาน
- ระบบอินทราเน็ต
- เว็บแอพพลิเคชัน (Web Application)
- ภาษาทีใช้ในการพัฒนาระบบ
- ระบบฐานข้อมูลและระบบจัดการฐานข้อมูล
- แนวทางการออกแบบเว็บไซต์
บทที การออกแบบและพัฒนาระบบ กล่าวถึงขันตอนการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
สารสนเทศ โดยการวิเคราะห์กระบวนการทํางานแบบเดิม ออกมาเป็ นกระบวนแบบใหม่ทใช้ ี
ระบบสารสนเทศเข้ามาช่วยลดขันตอนในการทํางานแบบเดิม เครืองมือทีใช้ในการวิเคราะห์คอื
แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram: DFD) และใช้หลักการนอร์มลั ไลเซชัน
(Normalization) ในการออกแบบฐานข้อมูล
บทที ผลการดําเนินโครงงาน กล่าวถึงผลงานทีได้จากการพัฒนาโปรแกรมตามทีได้
วิเคราะห์และออกแบบแล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์และขอบเขตโครงงาน
บทที สรุปผลการดําเนินโครงงาน กล่าวถึงภาพรวมของผลการดําเนินงานและสรุปผล
การดําเนินงานทีได้จากบทที กล่าวถึงประโยชน์ทได้ ี รบั ปญั หาและอุปสรรค์ทเกิ
ี ดระหว่างการ
ดําเนินโครงการ

6
บทที 2
ทฤษฎีและเทคโนโลยีทีเกียวข้อง

2.1 กล่าวนํา
ฝ่ายเทคโนโลยีส ารสนเทศ เป็ นหน่ ว ยงานทีช่ว ยขับเคลือนองค์ก รด้ว ยการให้ค วาม
ช่วยเหลือผูป้ ฏิบตั งิ านในการนํ าเอาเทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุ น หรือช่วยลดภาระขันตอนในการ
ทํางานลง เช่นการนํ าเอาอุ ปกรณ์ คอมพิว เตอร์เ ข้ามาใช้ง านปฏิบตั ิง าน หรือ จะเป็ นทางด้าน
ซอฟต์แวร์ โดยการจัดหาโปรแกรมมาช่วยให้การปฏิบตั งิ านมีประสิทธิภาพ ลดข้อผิดพลาด และ
ใช้เวลาน้อยลง ระบบบริหารจัดการซ่อมบํารุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นัน เป็ นระบบทีออกแบบมา
เพือช่วยอํานวยความสะดวกสําหรับผูป้ ฏิบตั งิ านในองค์กร เมืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทตนเองใช้ี
งานเกิ ด การชํ า รุ ด โดยระบบสามารถบัน ทึก ข้อ มู ล ขอแจ้ ง ซ่ อ มและส่ ง ให้ ฝ่ า ยเทคโนโลยี
สารสนเทศดําเนินการได้ทนั ที ทีได้รบั การอนุ มตั จิ ากผูบ้ งั คับบัญชา โดยการพัฒนาระบบบริหาร
จัดการซ่อมบํารุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นนมี ั หลักการทีเกียวข้องดังนี

2.2 ระบบบริหารจัดการซ่อมบํารุงอุปกรณ์ คอมพิ วเตอร์


ระบบบริหารจัดการซ่อมบํารุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็ นระบบทีทํางานแบบไคล์แอนต์
เซิฟเวอร์ โดยมีเครืองแม่ข่ายทําหน้ าทีให้บริการข้อมูลเว็บเพจและบริการจัดเก็บข้อมูลเข้าสู่
ฐานข้อ มูล โดยระบบมีห น้ าทีให้บริการบันทึก ข้อ มูลแจ้งซ่อ มจากพนัก งาน และจัดเก็บลงใน
ฐานข้อมูล และสามารถเรียกดูประวัตกิ ารแจ้งซ่อมได้ ผ่านเว็บไซต์ ประกอบด้วย ส่วนดังนี
2.2.1 ส่วนการจัดการข้อมูลผูใ้ ช้งาน โดยผูด้ ูแลระบบมีหน้าเพิมข้อมูลผูใ้ ช้งานทีต้องการ
ใช้งานระบบรวมทังการกําหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลด้วย
2.2.2 ส่วนการจัดการข้อมูลอุ ปกรณ์ ผู้ดูแลระบบมีหน้ าทีในการบันทึกข้อมูลอุ ปกรณ์
คอมพิวเตอร์ทเป็ ี นทรัพย์สนิ ของบริษทั ทังอุปกรณ์ทมีี อยู่ก่อนหน้ าการใช้ระบบ และอุปกรณ์ที
จัดซือใหม่หลังการใช้ระบบ เป็ นการลงทะเบียนอุปกรณ์ และนําข้อมูลไปใช้สาํ หรับการแจ้งซ่อม
2.2.3 ส่วนการจัดการเอกสารแจ้งซ่อม ประกอบด้วย ผู้ใช้งาน ระดับ คือ ผู้ใช้ระดับ
พนักงาน ผูใ้ ช้งานระดับผูจ้ ดั การ และผูใ้ ช้งานระดับผูด้ แู ลระบบ โดยมีขนตอนดั
ั งนี
2.2.3.1 เมือต้องการแจ้งปญั หาเกียวกับอุปกรณ์ โดยพนักงานทีดูแลอุปกรณ์
นันๆจะต้องทําการสร้างเอกสารใบแจ้งซ่อมผ่านระบบบริการจัดการซ่อมอุ ปกรณ์คอมพิวเตอร์
โดยระบุหมายเลขอุปกรณ์ และอาการเสียทีเกิดขึน โดยขันตอนนีถูกพัฒนาขึนเพือทํางานแทน
การเขียนใบแจ้งซ่อมเป็ นเอกสารในรูปแบบกระดาษ หรือการแจ้งปญั หาปากเปล่า เพือเก็บเป็ น
ประวัติ และป้องกันการสูญหาย และสามารถจัดลําดับก่อนหลังในการแจ้งปญั หา
2.2.3.2 หลังจากทําการบันทึกข้อมูล ข้อมูลจะเข้าสู่สถานะรอการอนุ มตั ิ หัวหน้า
งานจะต้องเป็ นผู้ทําการอนุ มตั ิเอกสาร สาเหตุ ทหัี วหน้ างานต้องทําการอนุ มตั ิก่อ นส่ งให้ฝ่าย
เทคโนโลยีส ารสนเทศ นั น เพือเป็ น การรายงานถึง ป ญ ั หาทีเกิด ในหน่ ว ยงานทีรับ ผิด ชอบ
ขันตอนนีทดแทนการลงชือผูอ้ นุ มตั ใิ นการะดาษ เป็ นการลงชือรับทราบผ่านระบบ
2.2.3.3 รายการแจ้งซ่อมทีผ่านการอนุ มตั แิ ล้วจะได้รบั การพิจารณาจากฝ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศตามลําดับ เมือทําการซ่อมแล้ว ผู้ดําเนินการซ่อมจะต้องทําการบันทึกผล
การซ่อม และปิ ดการแจ้งซ่อมผ่านระบบ ข้อมูลถูกจัดเก็บลงฐานข้อมูล แทนการบันทึกผลลง
กระดาษและจัดเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม

2.3 วงจรชีวิตการพัฒนาระบบงาน
วงจรชีวติ การพัฒนาระบบงานคือขันตอนตังแต่ เ ริมต้นจนเสร็จเรียบร้อ ยเป็ นระบบที
สามารถใช้งานได้ ซึงนักวิเคราะห์ระบบต้องศึกษาขันตอนในแต่ละขันมีการทํางานอย่างไร และ
ผลลัพธ์ทได้
ี ในแต่ละขันตอน โดยประกอบ7 ขัน ดังต่อไปนี
1. การเข้าใจปญั หา (Problem Recognition)
2. ศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study)
3. วิเคราะห์ (Analysis)
4. ออกแบบ (Design)
5. สร้างหรือพัฒนาระบบ (Construction)
6. การปรับเปลียน (Conversion)
7. บํารุงรักษา (Maintenance)

ซึงสามารถเขียนเป็ นผังขันตอนดังรูปที 2.1

1. Problem 2. Feasibility
3. Analysis 4. Design
Recognition Study

7. 6. 5.
Maintenance Conversion Construction

รูปที 2.1 วงจรชีวติ การพัฒนาระบบงาน

8
รายละเอียดของแต่ละขันตอนสามารถอธิบายได้ดงั นี
2.3.1 การเข้าใจปญั หา (Problem Recognition) ระบบสารสนเทศจะเกิดขึนได้กต็ ่อเมือ
ผูบ้ ริหารหรือผู้ใช้ตระหนักว่าต้องการระบบสารสนเทศหรือระบบจัดการเดิม ไม่มปี ระสิทธิภาพ
เพียงพอทีตอบสนองความต้องการในปจั จุบนั ปจั จุบนั ผูบ้ ริหารตืนตัวกันมากทีจะให้มกี ารพัฒนา
ระบบสารสนเทศมาใช้ในหน่ วยงานของ

ตารางที 2.1 การเข้าใจปญั หา


หน้าที ตระหนักว่ามีปญั หาในระบบ
ผลลัพธ์ อนุ มตั กิ ารศึกษาความเป็ นไปได้
เครืองมือ ไม่ม ี
บุ ค ลากรและความ ผูใ้ ช้หรือผูบ้ ริหารชีแจงปญั หาต่อนักวิเคราะห์ระบบ
รับผิดชอบ

2.3.2 การศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) จุดประสงค์ของการศึกษาความ


เป็ นไปได้ก็คอื การกําหนดว่าปญั หาและตัดสินใจว่าการพัฒนาสร้างระบบสารสนเทศ หรือการ
แก้ไขระบบสารสนเทศเดิมมีความเป็ นไปได้หรือไม่ โดยคํานึงถึงปจั จัยเรืองค่าใช้จ่าย เวลา และ
ผลทีได้

ตารางที 2.2 การศึกษาความเป็ นไปได้


หน้าที กําหนดปญั หา และศึกษาว่าเป็ นไปได้หรือไม่ทจะเปลี
ี ยนแปลงระบบ
ผลลัพธ์ - รายงานความสรุปผลความเป็ นไปได้
- เก็บรวบรวมข้อมูลของระบบ
- คาดคะเนความต้องการของระบบ
เครืองมือ ไม่ม ี
บุ ค ลากรและความ - นัก วิเ คราะห์ร ะบบทํา การเก็บ รวบรวมข้อ มูล ทังหมดทีจํา เป็ น
รับผิดชอบ ทังหมดเกียวกับปญั หา
- คาดคะเนความต้องการของระบบและแนวทางการแก้ปญั หา
- กํ า หนดความต้ อ งการที แน่ ช ั ด ซึ งจะใช้ สํ า หรับ ขันตอนการ
วิเคราะห์
- ผูบ้ ริหารตัดสินใจว่าจะดําเนินโครงการต่อไปหรือไม่

2.3.3 การวิเ คราะห์ (Analysis) เริมเข้าสู่ก ารวิเ คราะห์ระบบ การวิเ คราะห์ระบบเริม


ตังแต่การศึกษาระบบการทํางานของธุรกิจนัน ในกรณีทระบบศึ ี กษานันเป็ นระบบสารสนเทศอยู่

9
แล้วจะต้องศึกษาว่าทํางานอย่างไร เพราะเป็ นการยากทีจะออกแบบระบบใหม่โดยทีไม่ทราบว่า
ระบบเดิมทํางานอย่างไร หรือธุรกิจดําเนินการอย่างไร หลังจากนันกําหนดความต้องการของ
ระบบใหม่ ซึ งนั ก วิ เ คราะห์ ร ะบบจะต้ อ งใช้ เ ทคนิ ค ในการเก็ บ ข้ อ มู ล (Fact-Gathering
Techniques) ได้แก่
2.3.3.1 ศึกษาเอกสารทีมีอยู่ ตรวจสอบวิธกี ารทํางานในปจั จุบนั สัมภาษณ์ผใู้ ช้
และผูจ้ ดั การทีมีส่วนเกียวข้องกับระบบ เอกสารทีมีอยู่ได้แก่ คู่มอื การใช้งาน แผนผังใช้งานของ
องค์ ก ร รายงานต่ า งๆที หมุ น เวี ย นในระบบการศึ ก ษาวิ ธ ีก ารทํ า งานในป จั จุ บ ัน จะทํ า ให้
นักวิเคราะห์ระบบรูว้ ่าระบบจริงๆทํางานอย่างไร ซึงบางครังค้นพบข้อผิดพลาดได้
2.3.3.2 เฝ้าสังเกตการทํางานของผู้เกียวข้อง เพือให้เข้าใจและเห็นจริงๆ ว่า
ขันตอนการทํางานเป็ นอย่างไร ซึงจะทําให้นักวิเคราะห์ระบบค้นพบจุดสําคัญของระบบว่าอยู่ที
ใด
2.3.3.3 การสัมภาษณ์เป็ นทักษะอีกอย่างหนึงทีนักวิเคราะห์ระบบควรจะต้องมี
เพือเข้ากับผูใ้ ช้ได้ง่ายและสามารถดึงสิงทีต้องการจากผูใ้ ช้ได้ เพราะว่าความต้องการของระบบ
คือ สิงสําคัญทีจะใช้ในการออกแบบต่อไป ถ้าเราสามารถกําหนดความต้องการได้ถูกต้อง การ
พัฒนาระบบในขันตอนต่ อ ไปก็จะง่ายขึน เมือเก็บรวบรวมข้อ มูล แล้ว จะนํ ามาเขียนรวมเป็ น
รายงานการทํางานของระบบซึงควรแสดงหรือเขียนออกมาเป็ นรูปแทนทีตัวหนังสือ การแสดง
แผนภาพจะทําให้เราเข้าใจได้ดแี ละง่ายขึน หลังจากนันนักวิเคราะห์ระบบ อาจจะนํ าข้อมูล ที
รวบรวมได้นํามาเขียนเป็ น "แบบทดลอง" (Prototype) หรือตัวต้นแบบ ดังนันแบบทดลองจึงช่วย
ลดข้อผิดพลาดทีอาจจะเกิดขึนได้ เมือจบขันตอนการวิเคราะห์แล้ว นักวิเคราะห์ระบบจะต้อง
เขียนรายงานสรุปออกมาเป็ น ข้อ มูล เฉพาะของปญั หา (Problem Specification) ซึงมี
รายละเอียดดังนี รายละเอียดของระบบเดิม ซึงควรจะเขียนมาเป็ นรูปภาพแสดงการทํางานของ
ระบบพร้อมคําบรรยาย, กําหนดความต้องการของระบบใหม่รวมทังรูปภาพแสดงการทํางาน
พร้อ มคําบรรยายข้อมูลและไฟล์ทีจําเป็ น, คําอธิบายวิธกี ารทํางาน และสิงทีจะต้อ งแก้ไข.
รายงานข้ อ มู ล เฉพาะของป ญ ั หาของระบบขนาดกลางควรจะมี ข นาดไม่ เ กิ น 100-200
หน้ากระดาษ

ตารางที 2.3 การวิเคราะห์ (Analysis)


หน้าที กําหนดความต้องการของระบบใหม่
ผลลัพธ์ รายงานข้อมูลเฉพาะของปญั หา
เครืองมือ เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล
- Data Dictionary
- Data Flow Diagram
- Process Specification
- Data Model

10
- System Model
- Prototype
- System Flowcharts
บุ ค ลากรและความ - วิเคราะห์ระบบ ศึกษาเอกสารทีมีอยู่ และศึกษาระบบเดิมเพือให้
รับผิดชอบ เข้าใจถึงขันตอนการทํางานและทราบว่าจุดสําคัญของระบบอยู่ที
ไหน
- นักวิเคราะห์ระบบ เตรียมรายงานความต้องการของระบบใหม่
- นักวิเคราะห์ระบบ เขียนแผนภาพการทํางาน (Diagram) ของ
ระบบใหม่โดยไม่ต้องบอกว่าหน้ าทีใหม่ในระบบจะพัฒนาขึนมา
ได้อย่างไร
- นักวิเคราะห์ระบบ เขียนสรุปรายงานข้อมูลเฉพาะของปญั หา
- ถ้าเป็ นไปได้นกั วิเคราะห์ระบบอาจจะเตรียมแบบทดลองด้วย

2.3.4 การออกแบบ (Design) ในระยะแรกของการออกแบบ นักวิเคราะห์ระบบจะนํ า


การตัดสินใจของฝ่ายบริหารทีได้จากขันตอนการวิเคราะห์การเลือกซือคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์
และซอฟต์แวร์ดว้ ย (ถ้ามีหรือเป็ นไปได้) หลังจากนันนักวิเคราะห์ระบบจะนํ าแผนภาพต่างๆ ที
เขียนขึนในขันตอนการวิเคราะห์มาแปลงเป็ นแผนภาพลําดับขัน (แบบต้นไม้) เพือให้มองเห็น
ภาพลัก ษณ์ ทีแน่ นอนของโปรแกรมว่ า มีค วามสัมพันธ์ก ัน อย่างไร และโปรแกรมอะไรบ้างที
จะต้องเขียนในระบบ หลังจากนันก็เริมตัดสินใจว่าควรจะจัดโครงสร้างจากโปรแกรมอย่างไร การ
เชือมระหว่างโปรแกรมควรจะทําอย่างไร ในขันตอนการวิเคราะห์นักวิเคราะห์ระบบต้องหาว่า
"จะต้องทําอะไร (What)" แต่ในขันตอนการออกแบบต้องรูว้ ่า " จะต้องทําอย่างไร(How)" ในการ
ออกแบบโปรแกรมต้องคํานึงถึงความปลอดภัย (Security) ของระบบด้วย เพือป้องกันการ
ผิด พลาดทีอาจจะเกิด ขึน เช่น "รหัส " สําหรับผู้ใ ช้ทีมีส ิทธิสํารองไฟล์ข้อ มูล ทังหมด เป็ นต้น
นักวิเคราะห์ระบบจะต้องออกแบบฟอร์มสําหรับข้อมูลขาเข้า (Input Format) ออกแบบรายงาน
(Report Format) และการแสดงผลบนจอภาพ (Screen Format) หลักการการออกแบบฟอร์ม
ข้อมูลขาเข้าคือ ง่ายต่อการใช้งาน และป้องกันข้อผิดพลาดทีอาจจะเกิดขึน ถัดมาระบบจะต้อง
ออกแบบวิธ ีก ารใช้ง าน เช่น กํ าหนดว่ าการป้อ นข้อ มูล จะต้อ งทําอย่างไร จํานวนบุค ลากรที
ต้องการในหน้ าทีต่างๆ แต่ถ้านักวิเคราะห์ระบบตัดสินใจว่าการซือซอฟต์แวร์ดกี ว่าการเขียน
โปรแกรม ขันตอนการออกแบบก็ไม่จาํ เป็ นเลย เพราะสามารถนํ าซอฟต์แวร์สําเร็จรูปมาใช้งาน
ได้ทนั ที สิงทีนักวิเคราะห์ระบบออกแบบมาทังหมดในขันตอนทีกล่าวมาทังหมดจะนํ ามาเขียน
รวมเป็ นเอกสารชุด หนึงเรียกว่า "ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบระบบ " (System Design
Specification) เมือสําเร็จแล้วโปรแกรมเมอร์สามารถใช้เป็ นแบบในการเขียนโปรแกรมได้ทนั ที
สํ า คัญ ก่ อ นทีจะส่ ง ถึง มือ โปรแกรมเมอร์เ ราควรจะตรวจสอบกับ ผู้ ใ ช้ ว่ า พอใจหรือ ไม่ และ
ตรวจสอบกับทุกคนในทีมว่าถูกต้องสมบูรณ์หรือไม่ และแน่ นอนทีสุดต้องส่งให้ฝ่ายบริหารเพือ

11
ตัดสินใจว่าจะดําเนินการ ต่อไปหรือไม่ ถ้าอนุ มตั กิ ็ผ่านเข้าสู่ขนตอนการสร้
ั างหรือพัฒนาระบบ
(Construction)

ตารางที 2.4 การออกแบบ (Design)


หน้าที ออกแบบระบบใหม่เพือให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้และฝ่าย
บริหาร
ผลลัพธ์ ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ(System Design Specification)
เครืองมือ - พจนานุ กรมข้อมูล Data Dictionary
- แผนภาพการไหลของข้อมูล (Data Flow Diagram)
- ข้อมูลเฉพาะการประมวลผล (Process Specification )
- รูปแบบข้อมูล (Data Model), รูปแบบระบบ (System Model)
- ผังงานระบบ (System Flow Charts)
- ผังงานโครงสร้าง (Structure Charts)
- ผังงาน HIPO (HIPO Chart)
- แบบฟอร์มข้อมูลขาเข้าและรายงาน
บุ ค ลากรและหน้ า ที - นัก วิเ คราะห์ร ะบบ ตัด สิน ใจเลือ กคอมพิว เตอร์ฮ าร์ด แวร์แ ละ
ความรับผิดชอบ ซอฟต์แวร์
- นัก วิเ คราะห์ระบบ เปลียนแผนภาพทังหลายทีได้จากขันตอน
การวิเคราะห์มาเป็ นแผนภาพลําดับขัน
- นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบความปลอดภัยของระบบ
- นักวิเคราะห์ระบบ ออกแบบฟอร์มข้อมูลขาเข้า รายงาน และการ
แสดงภาพบนจอ
- นักวิเคราะห์ระบบ กําหนดจํานวนบุคลากรในหน้ าทีต่ างๆและ
การทํางานของระบบ
- ผูใ้ ช้ ฝ่ายบริหาร และนักวิเคราะห์ระบบ ทบทวน เอกสารข้อมูล
เฉพาะของการออกแบบเพือความถูกต้องและสมบูรณ์แบบของ
ระบบ

2.3.5 การพัฒนาระบบ (Construction) ในขันตอนนีโปรแกรมเมอร์จ ะเริมเขีย นและ


ทดสอบโปรแกรมว่า ทํางานถูกต้องหรือไม่ ต้องมีการทดสอบกับข้อมูลจริงทีเลือกแล้ว ถ้าทุก
อย่างเรียบร้อย เราจะได้โปรแกรมทีพร้อมทีจะนํ าไปใช้งานจริงต่ อไป หลังจากนันต้องเตรียม
คู่มอื การใช้และการฝึกอบรมผูใ้ ช้งานจริงของระบบ
ระยะแรกในขันตอนนีนักวิเคราะห์ระบบต้องเตรียมสถานทีสําหรับเครืองคอมพิวเตอร์
แล้วจะต้องตรวจสอบว่าคอมพิวเตอร์ทาํ งานเรียบร้อยดี โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมตามข้อมูล

12
ทีได้จากเอกสารข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ (Design Specification) ปกติแล้วนักวิเคราะห์
ระบบไม่มหี น้ าทีเกียวข้องในการเขียนโปรแกรม แต่ถ้าโปรแกรมเมอร์คดิ ว่าการเขียนอย่างอืน
ดีกว่าจะต้องปรึกษานักวิเคราะห์ระบบเสียก่อน เพือทีว่านักวิเคราะห์จะบอกได้ว่าโปรแกรมทีจะ
แก้ไขนันมีผลกระทบกับระบบทังหมดหรือไม่ โปรแกรมเมอร์เขียนเสร็จแล้วต้องมีการทบทวน
กับ นั ก วิเ คราะห์ ร ะบบและผู้ ใ ช้ ง าน เพือค้ น หาข้ อ ผิด พลาด วิธ ี ก ารนี เรีย กว่ า "Structure
Walkthrough " การทดสอบโปรแกรมจะต้องทดสอบกับข้อมูลทีเลือกแล้วชุดหนึง ซึงอาจจะเลือก
โดยผูใ้ ช้ การทดสอบเป็ นหน้าทีของโปรแกรมเมอร์ แต่นักวิเคราะห์ระบบต้องแน่ ใจว่า โปรแกรม
ทังหมดจะต้อ งไม่มขี ้อผิด พลาด หลังจากนันต้องควบคุมดูแลการเขียนคู่มอื ซึงประกอบด้ว ย
ข้อมูลการใช้งานสารบัญการอ้างอิง "Help" บนจอภาพ เป็ นต้น นอกจากข้อมูลการใช้งานแล้ว
ต้องมีการฝึ กอบรมพนักงานทีจะเป็ นผู้ใช้งานจริงของระบบเพือให้เข้าใจและทํางานได้โดยไม่ม ี
ปญั หาอาจจะอบรมตัวต่อตัวหรือเป็ นกลุ่ม

ตารางที 2.5 การพัฒนาระบบ (Construction)


หน้าที เขียนและทดสอบโปรแกรม
ผลลัพธ์ โปรแกรมทีทดสอบเรียบร้อยแล้วเอกสารคู่มอื การใช้ และการฝึกอบรม
เครืองมือ - เครืองมือของโปรแกรมเมอร์
- Editor
- Compiler
- Structure
- Walkthrough
- วิธกี ารทดสอบโปรแกรม
- การเขียนเอกสารประกอบการใช้งาน
บุคลากรและ - นั ก วิ เ คราะห์ ร ะบบ ดู แ ลการเตรีย มสถานที และติ ด ตั งเครือง
ความรับผิดชอบ คอมพิวเตอร์ (ถ้าซือใหม่) นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนและดูแลการ
เขียนโปรแกรม ทดสอบโปรแกรม
- โปรแกรมเมอร์เขียนและทดสอบโปรแกรม หรือแก้ไขโปรแกรม ถ้า
ซือโปรแกรมสําเร็จรูป
- นักวิเคราะห์ระบบ วางแผนทดสอบโปรแกรม
- ทีมทีทํางานร่วมกันทดสอบโปรแกรม
- ผูใ้ ช้ตรวจสอบให้แน่ ใจว่า โปรแกรมทํางานตามต้องการ
- นักวิเคราะห์ระบบ ดูแลการเขียนคู่มอื การใช้งานและการฝึกอบรม

2.3.6 การปรับเปลียน (Construction) ขันตอนนีบริษทั นํ าระบบใหม่มาใช้แทนของเก่า


ภายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ การป้อนข้อมูลต้องทําให้เรียบร้อย และในทีสุดบริษัท

13
เริมต้นใช้งานระบบใหม่นีได้ การนํ าระบบเข้ามาควรจะทําอย่างค่อยเป็ นค่อยไปทีละน้ อย ทีดี
ทีสุ ด คือ ใช้ ร ะบบใหม่ ค วบคู่ ไ ปกับ ระบบเก่ า ไปสัก ระยะหนึ ง โดยใช้ ข้อ มูล ชุ ด เดีย วกัน แล้ ว
เปรียบเทียบผลลัพธ์ว่าตรงกันหรือไม่ ถ้าเรียบร้อยก็เอาระบบเก่าออกได้ แล้วใช้ระบบใหม่ต่อไป
2.3.7 บํารุงรักษา (Maintenance) การบํารุงรักษาได้แก่ การแก้ไขโปรแกรมหลังจาก
การใช้งานแล้ว สาเหตุ ทต้ี องแก้ไขโปรแกรมหลังจากใช้งานแล้ว สาเหตุทต้ี องแก้ไขระบบส่วน
ใหญ่ม ี 2 ข้อ คือ มีปญั หาในโปรแกรม (Bug) และการดําเนินงานในองค์กรหรือธุรกิจเปลียนไป
จากสถิติของระบบทีพัฒนาแล้ว ทังหมดประมาณ 40% ของค่ าใช้จ่ายในการแก้ไขโปรแกรม
เนืองจากมีปญั หาในโปรแกรม ดังนันนักวิเคราะห์ระบบควรให้ความสําคัญกับการบํารุงรักษา ซึง
ปกติจะคิดว่าไม่มคี วามสําคัญมากนัก เมือธุรกิจขยายตัวมากขึน ความต้องการของระบบอาจจะ
เพิมมากขึน เช่น ต้องการรายงานเพิมขึน ระบบทีดีควรจะแก้ไขเพิมเติมสิงทีต้องการได้ การ
บํารุงรักษาระบบ ควรจะอยู่ภายใต้การดูแลของนักวิเคราะห์ระบบ เมือผู้บริหารต้องการแก้ไข
ส่ว นใดนักวิเ คราะห์ระบบต้อ งเตรียมแผนภาพต่ าง ๆ และศึก ษาผลกระทบต่ อระบบ และให้
ผูบ้ ริหารตัดสินใจต่อไปว่าควรจะแก้ไขหรือไม่

2.4. ระบบอิ นทราเน็ต


เทคโนโลยีอนิ ทราเน็ตได้ถูกนํ ามาประยุกต์ใช้ในส่วนเฉพาะของหน่ วยงานหรือองค์กร
โดยสิงทีแตกต่างจากระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตคือ กลุ่มผู้ใช้จะจํากัดในส่วนของบุคลากรใน
องค์กรโดยมีโปรแกรมหรือบริการต่างๆ ติดตังไว้กบั เครืองเซิรฟ์ เวอร์ และใช้โปรแกรมเบราเซอร์
ของเครืองคอมพิวเตอร์ลกู ข่ายต่างๆ เรียกดูขอ้ มูล และใช้ประโยชน์จากข้อมูลนันในการประกาศ
เผยแพร่ขอ้ มูลทีเป็ นประโยชน์ภายในองค์กร
2.4.1 แนวคิด เกียวกับ ระบบอินทราเน็ ต อิน ทราเน็ ต สามารถทีจะรวมเอาระบบ
คอมพิวเตอร์ระบบต่ างๆ ให้ทํางานร่วมกันได้ ไม่ว่าจะเป็ นระบบ Unix, Linux, Windows,
Macintosh หรือ OS2 โดยจะใช้ระบบเครือข่ายทีมีอยู่แล้วในทุกระบบการทํางานพูดคุยกันได้
โดยผ่านสือกลางทีเป็ นมาตรฐานเดียวกันคือโปรโตคอล TCP/IP อินทราเน็ตจะใช้โปรโตคอล
TCP/IP ในการสือสารข้อมูล นอกจากนียังอาจมีมาตรฐานของบริการอืนๆ ทีเกียวข้องอีกด้วย
ยกตัวอย่างเช่น
- HTML (Hyper Text Markup Language) เป็ นภาษาทีใช้ในการผลิตเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ หรือเว็บเพจนันเอง
- SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) เป็ นมาตรฐานในการส่งเมล์
- POP3 (Post Office Protocol) เป็ นมาตรฐานในการรับเมล์
โดยระบบอินทราเน็ ต จะมีร ะบบรัก ษาความปลอดภัยของข้อ มูล จากบุค คลภายนอก
องค์กรทีเรียกว่า Firewall หรือก็คอื โปรแกรมรักษาความปลอดภัยของระบบทีป้องกันการเข้ามา
กระทําการต่างๆ ทีไม่พงึ ประสงค์จากบุคคลภายนอกอีกด้วย จากลักษณะโดยรวมดังกล่าวของ
ระบบอินทราเน็ต มักจะถูกนํามาใช้ในหลายลักษณะดังนี

14
- ให้บริการการใช้ทรัพยากรต่างๆ ร่วมกันเช่น แฟ้มงาน เครืองพิมพ์ เป็ นต้น
- สนับสนุ นการแลกเปลียนข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ความคิด และข้อมูลต่างๆ
- จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เพือการติดต่อสือสารระหว่างบุคคลในองค์กร ระหว่างกลุ่ม
และระหว่างคู่คา้ ทางธุรกิจ
- ช่วยในการจัดการข้อมูล
- ระบบการค้นหาข้อมูลและสิงทีต้องการของแต่ละหน่ วยงาน
- การจัดการและดูแลระบบเครือข่าย
2.4.2 ความจําเป็ นของการใช้อนิ ทราเน็ตหากยกตัวอย่างถึงบริษทั ธุรกิจซึงมีสาขาย่อย
กระจายอยู่ห ลายสิบสาขาในทีต่ างๆและมีพนักงานภายในหลายพันคนทีทํางานแลกเปลียน
ข้อมูลระหว่างกัน ตัวอย่างของข้อมูลทีไหลเวียนภายในบริษทั โดยทัวไปได้แก่ ข่าวและประกาศ
ในแต่ ละวัน ข้อมูลประจําตัวพนักงาน เบอร์โทรศัพท์ติดต่ อ รายละเอียดสินค้าและราคา การ
กระจายข้อมูลในแบบดังเดิมทีใช้การพิมพ์สําเนาแจกจ่ายไปยังสาขาย่อยเป็ นวิธที ทํี าได้ง่ายและ
ยัง พบเห็น อยู่ใ นหลายองค์ก ร แต่ เ ป็ นวิธ ีทีไม่เ หมาะกับ ข้อ มูล ทีเคลือนไหวเปลียนแปลงอยู่
ตลอดเวลา เนืองจากต้องทําสําเนาใหม่เป็ นประจําทําให้สนเปลื ิ องทังเวลา แรงงานและค่าใช้จ่าย
ตลอดจนกรณีทสาขาย่ ี อยตังอยู่ห่างจากสาขาใหญ่และต้องรอการส่งข้อมูลมาใหม่ก็พบปญั หา
ข้อมูลเก่าไม่ทนั สภาพการณ์ ตัวอย่างข้างต้นเป็ นปญั หาเด่นชัดกับองค์กรขนาดใหญ่ทมีี สาขา
และพนัก งานจํานวนมาก แต่ ใ นขณะเดียวกันก็เ ป็ นสิงทีเกิด ขึนกับบริษัทธุรกิจขนาดเล็ก ทีมี
สถานทีประกอบการแห่งเดียวและมีพนักงานไม่กีสิบคน ตลอดจนองค์กรประเภทอืน ๆ ด้วย
เช่ น กัน การนํ าเทคโนโลยีค อมพิว เตอร์ เข้า มาช่ ว ยจัด การป ญ ั หาในรูป ของระบบสํ า นัก งาน
อัตโนมัติอ าจช่ว ยลดค่าใช้จ่ายบางส่วนลงไปได้หากแต่ พบกับอุ ปสรรคเรืองมาตรฐานการใช้
ซอฟต์แวร์และการฝึกอบรมบุคลากรให้เรียนรูว้ ธิ ใี ช้ซอฟต์แวร์และการลงทุนด้วยระบบไคล์เอ็นต์
เซอร์ฟเวอร์ทต้ี องการเครืองประสิทธิภาพสูงต้องใช้ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลทีมีราคาแพงและต้อง
จ้างผูด้ ูแลระบบทีมีความเชียวชาญ เพือบํารุงรักษาและปรับปรุงข้อมูลให้ทนั สมัยอยู่เสมอ จึงดู
เสมือนว่าเป็ นแก้ปญั หาอย่างหนึงได้แต่กลับสร้างปญั หาใหม่ขนมาทดแทน ึ แต่ เมือเทคโนโลยี
อินทราเน็ตขยายบทบาทเข้าสู่องค์กร การนําอินทราเน็ตเข้ามาประยุกต์ใช้จะช่วยสร้างประโยชน์
ได้ดงั นี
2.4.3 ประโยชน์ของอินทราเน็ต การสือสารแบบสากล ผูใ้ ช้ระบบอินทราเน็ตสามารถส่ง
ข่ า วสารในรู ป ของจดหมายอิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ ทีเป็ น สากลระหว่ า งผู้ ร่ ว มงานภายในและผู้ ใ ช้
อินเตอร์เน็ตภายนอกได้
2.4.3.1 ลงทุนตํา ด้วยความแพร่หลายทางด้านฮาร์ดแวร์เครือข่ายทีมีใช้ใน
อินทราเน็ต ทําให้ค่าใช้จ่ายการวางระบบเครือข่ายตํากว่าเมือเปรียบเทียบกับค่าใช้จ่ายทีต้อง
ลงทุนกับระบบเครือข่ายอืน
2.4.3.2 ความน่ าเชือถือเทคโนโลยีอนิ ทราเน็ต ผ่านการทดลองใช้และปรับปรุง
จนกระทังอยูใ่ นสถานภาพทีมีความเชือถือได้สงู

15
2.4.3.3 สมรรถนะ สามารถสือสารข้อมูลรองรับการส่งข้อมูลทีประกอบด้วย
ข้อความ ภาพและเสียงได้ในขณะเดียวกัน

2.5. เว็บแอพพลิ เคชัน (Web Application)


เป็ นการพัฒนาระบบงานบน WWW (World Wide Web) ภายใต้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
หรืออินทราเน็ต ซึงเป็ นเครือข่ายภายในองค์กร โดยลักษณะการทํางานจะแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน
คือส่วนของผู้ขอใช้บริการ และส่วนผู้ให้บริการ ทีเรียกโดยทัวไปว่า ไคลเอนต์เซิรฟ์ เวอร์ โดย
ส่วนใหญ่และทีเห็นกันทัวไป ไคลเอนต์และเซิรฟ์ เวอร์จะทํางานอยู่บนคอมพิวเตอร์คนละเครือง
ซึงเชือมต่อเข้าด้วยกันภายใต้ระบบเครือข่ายสือสาร ซึงอาจจะเป็ นได้ทงเครื ั อข่ายอินเทอร์เน็ต
และอินทราเน็ตหรือไคลเอนต์เซิรฟ์ เวอร์ วิธกี ารทํางานคือ ไคลเอนต์จะทําการส่งคําร้องขอไปยัง
เซิรฟ์ เวอร์ โดยคําร้องขอดังกล่าวจะถูกส่งผ่านเครือข่าย (กรณีไคลเอนต์ และเซิรฟ์ เวอร์อยู่คนละ
เครือง) ไปยังเซิรฟ์ เวอร์ทให้
ี บริการเซิรฟ์ เวอร์เมือได้รบั คําร้องขอจะทําการประมวลผลและส่งผล
ลัพธ์เข้าสู่เครือข่ายเพือส่งไปให้ไคลเอนต์ต่อไป
2.5.1 สถาปตั ยกรรมของเว็บแอพพลิเคชัน (Web Application Architecture) เว็บ
แอพพลิเ คชันส่ ว นใหญ่ จะให้ก ารทํางานด้า นระบบการรับและแสดงผลข้อ มูล อยู่ใ นส่ ว นของ
ไคลเอนต์ และส่ว นอืนๆทํางานอยู่ใ นเซิร์ฟ เวอร์ทงสิ ั น ในทางปฏิบตั ิห ากมองในมุมมองของ
อุปกรณ์ หรือจํานวนเครืองทีเกียวข้องกับการทํางานหลัก 4 อย่าง สามารถแยกกระจายข้อมูล
และงานดังกล่าวให้ทาํ อยูบ่ นเครืองได้ถงึ 3 เครืองคือ
- เครืองทีหนึงทําหน้าทีด้านระบบการรับและแสดงผลข้อมูล
- เครืองทีสองทํา หน้ า ทีด้านการจัด การและประมวลผลการทํ า งานและระบบการ
ประมวลผลและการเข้าถึงฐานข้อมูล
- เครืองทีสามทําหน้ าทีเก็บข้อมูลและมีระบบการจัดการฐานข้อมูลคอยควบคุมดูแล
การกระจายการทํางานดังกล่าวเป็ นการมองในมุมมองของจํานวนเครือง
2.5.2 ปจั จัยทีควรคํานึงถึงจะเป็ นเรืองของหน้ าทีและการทํางานของระบบโดยรวมและ
เนืองจากเว็บแอพพลิเคชันมีปจั จัยทัง 4 อย่างดังทีกล่าวมานัน ทําให้เว็บแอพพลิเคชันสามารถ
เข้าอยู่ในหลักการการทํางานแบบ 3 ระดับ (3-Tier Architecture) กล่าวคือ สามารถแบ่ง
โครงสร้างการทํางานและหน้าทีความรับผิดชอบออกเป็ น 3 ระดับคือ
- ระดับที 1 (Tier-1) เป็ นส่วนของเว็บไคลเอนต์ ทําหน้าทีส่งคําร้องขอข้อมูลไปยังเว็บ
เซิรฟ์ เวอร์ และคอยรับข้อมูลเพือแสดงผลบนหน้าจอ
- ระดับที 2 (Tier-2) เป็ นส่วนของแอพพลิเคชันเซิรฟ์ เวอร์ (Application Server) ซึง
ภายในประกอบด้วยเว็บเซิรฟ์ เวอร์ (Web Server) ทําหน้าทีติดต่อรับส่งข้อมูลจาก
เว็บไคลเอนต์ และส่วนของเซิรฟ์ เวอร์แอพพลิเคชัน (Server Application) ทีทํางาน
ด้านการประมวลผลและติดต่อข้อมูล

16
- ระดับที 3 (Tier-3) เป็ นระดับบนสุด ทีทําหน้ าทีเป็ นระบบจัด เก็บและจัด การ
ฐานข้อมูล(Database Server)

2.6 ภาษาทีใช้ในการพัฒนาระบบ
2.6.1 ภาษา PHP (Personal Home Page Tool) PHP เป็ นการเขียนคําสังหรือโค้ด
โปรแกรมทีเก็บและทํางานบนฝงเซิ ั รฟ์ เวอร์ (Server-Side Script) ซึงรูปแบบในการเขียนคําสัง
การทํางานนันจะมีลกั ษณะคายกับภาษา Perl หรือ ภาษา C และสามารถทีจะใช้ร่วมกับภาษา
HTML ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสามารถของ PHP นันสามารถทีจะทํางานเกียวกับ
Dynamic Web ได้ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็ นด้านการดูแลจัดการระบบฐานข้อมูล ระบบรักษา
ความปลอดภัยของ Web Page การรับส่ง Cookies เป็ นต้น ซึงมีคุณสมบัตติ ่าง ๆ ดังนี
2.6.1.1 ความรวดเร็วในการพัฒนาโปรแกรมเพราะว่า PHP เป็ นสคริปต์แบบฝงั
ตัว (Embedded) สามารถแทรกร่วมกับภาษา HTML ได้อย่างอิสระ และหากเราพัฒนาโค้ดไว้ใน
รูปแบบของ Class ทีเขียนขึนเพียงครังเดียวแล้วเรียกใช้งานได้ตลอด ทําให้สะดวกและรวดเร็ว
ต่อการพัฒนา
2.6.1.2 PHP เป็ นโค้ดแบบเปิ ดเผย (Open Source) เนืองจากภาษา PHP มี
ผูใ้ ช้จาํ นวนมากทัวโลก สามารถดาวน์โหลด (Download) โปรแกรมมาใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
และมีเว็บไซต์อยู่เป็ นจํานวนมากทีเป็ นแหล่งรวมซอร์สโค้ด ของโปรแกรม หรือจะเป็ นบทความ
ต่างๆ ทําให้ผใู้ ช้หรือผูท้ ต้ี องการศึกษา สามารถค้นหาซอร์สโค้ด มาเป็ นแนวทางในการพัฒนาได้
ง่ายขึน
2.6.1.3 การบริห ารหน่ ว ยความจํา (Memory Usage) มีก ารใช้ง าน
หน่ ว ยความจําทีดี คือ PHP จะไม่เ รียกใช้ห น่ ว ยความจํา ตลอดเวลา ทําให้เ ซิร์ฟ เวอร์ไ ม่
จําเป็ นต้องมีทรัพยากรมาก
2.6.1.4 อิสระต่อระบบปฏิบตั กิ ารเว็บแอปพลิเคชันทีถูกสร้างขึนมาสามารถทีจะ
รันได้หลายระบบปฏิบตั กิ ารไม่ว่าจะเป็ น UNIX, Linux หรือWindows เป็ นต้น การทํางานของ
Web PHP สามารถแสดงได้ดงั รูปที2.1

17
รูปที 2.2 การทํางานของเว็บ PHP

2.6.2 ภาษา HTML Hyper Text Markup Language HTML ย่อมาจาก Hyper Text
Markup Language คือภาษาคอมพิวเตอร์ทใช้ ี ในการแสดงผลของเอกสารบน website หรือที
เราเรียกกันว่าเว็บเพจ ถู กพัฒนาและกํ าหนดมาตรฐานโดยองค์ก ร World Wide Web
Consortium (W3C) และจากการพัฒนาทางด้าน Software ของ Microsoft ทําให้ภาษา HTML
เป็ นอีกภาษาหนึงทีใช้เขียนโปรแกรมได้ หรือทีเรียกว่า HTML Application HTML เป็ นภาษา
ประเภท Markup สําหรับการการสร้างเว็บเพจ โดยใช้ภาษา HTML สามารถทําโดยใช้โปรแกรม
Text Editor ต่างๆ เช่น Notepad, Editplus หรือจะอาศัยโปรแกรมทีเป็ นเครืองมือช่วยสร้างเว็บ
เพจ เช่น Microsoft FrontPage, Dream Weaver ซึงอํานวยความสะดวกในการสร้างหน้ า
HTML ส่วนการเรียกใช้งานหรือทดสอบการทํางานของเอกสาร HTML จะใช้โปรแกรม web
browser เช่น IE Microsoft Internet Explorer (IE), Mozilla Firefox, Safari, Opera, และ
Netscape Navigator เป็ นต้นโครงสร้างภาษา HTML (HyperText Markup Language) ภาษา
HTML จะเก็บให้มนี ามสกุล .html หรือ .htm โดยทีเอกสาร HTML มีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ
ส่วนทีเป็ นเนือหา และส่วนทีเป็ นคําสังหรือแท็กรูปแบบโครงสร้างของเอกสาร HTML จะเป็ นดังนี

ตารางที 2.6 อธิบายคําสัง ภาษา HTML


คําสัง HTML คําอธิบาย
<HTML></HTML> เป็ นคําสังเริมต้นและสินสุดเอกสาร HTML
<HEAD></HEAD> ใช้กําหนดข้อความในส่วนทีเป็ นชือเรืองภายในคําสังนี จะมีคําสัง ย่อ ย
<TITLE> อีกหนึงคําสัง
<TITLE></TITLE> เป็ นส่ ว นแสดงชืออกสารโดยจะแสดงทีไตเติล บาร์ของ วินโดว์ที เปิ ด
เอกสารนีอยูเ่ ท่านัน
<BODY></BODY> ส่วนเนือหาของโปรแกรมจะเริมต้นด้วยคําสัง <BODY> และสินสุด ที
คําสัง </BODY> ในระหว่างคําสังทังสองนีจะมีส่วนแท็กต่างๆมากมาย

18
2.6.3 โปรแกรมภาษา SQL ภาษา SQL เป็ นระบบฐานข้อมูลทีนิยมใช้กนั ทัวโลกมี
ด้วยกันหลายระบบ แต่ทได้ ี รบั ความนิยมใช้กนั ในปจั จุบนั ส่วนใหญ่พฒ ั นาขึนมาจากพืนฐานของ
ภาษา SQL (Structure Query Language) พัฒนาโดยบริษทั IBM คําว่า SQL สามารถอ่านออก
เสียงได้ แบบ คือ S Q L และ Sequel เริมพัฒนา ครังแรกในต้นทศวรรษที ที San
Jose Research Laboratory (ปจั จุบนั เปลียนชือเป็ น Almaden Research Center) โดยมีชอื
แรกว่า Sequel ต่อมาได้เปลียนชือเป็ น SQL และเป็ นต้นแบบภาษา SQL ของผลิตภัณฑ์ดา้ น
ฐานข้อมูล เช่น Oracle, DB ,MS-SQL Server, Progress, SyBase, Informic, dBASE,
FoxPro, Access, Paradox, SQLite รวมทัง MySQL และโปรแกรมอืน ๆ อีกมากมาย แสดงให้
เห็นถึงความสําคัญของภาษานีได้เป็ นอย่างดี ปี ค.ศ. American National Standards
Institute (ANSI) ได้กําหนดมาตรฐาน SQL ขึนมาเพือให้ผลิตภัณฑ์ทงหมดเป็ ั นไปตาม
มาตรฐานเดีย วกัน อย่ า งไรก็ต ามการทํ า เช่ น นี ทํ า ให้เ กิด ป ญั หาบางประการขึน เป็ น ผลให้
มาตรฐาน ANSI มีขอ้ จํากัดอยูบ่ า้ ง เพราะ SQL มีสองชนิดคือ ชนิดโต้ตอบได้กบั ชนิดทีฝงั อยู่ใน
โปรแกรม ส่วนใหญ่ แล้วทังสองชนิดปฏิบตั ิงานอย่างเดียวกันแต่ นําไปใช้ต่างกัน SQL ชนิด
โต้ตอบได้ใช้เพือปฏิบตั งิ านกับฐานข้อมูลโดยตรงเพือนําเอาผลลัพธ์ไปใช้งาน ส่วน SQL แบบฝงั
ในโปรแกรมประกอบด้วยคําสังต่าง ๆ ของ SQL ทีใส่ในโปรแกรมทีส่วนมากแล้วเขียนด้วย
ภาษาอืน เช่น COBOL, Pascal, C/C++, Visual Basic, Delphi, Java เป็ นต้น ANSI ประกาศ
มาตรฐานSQL มาแล้วหลายรุ่น ถ้ามีการประกาศมาตรฐานขึนในปี ใดก็จะมีเลขปี ค.ศ. ต่อท้าย
เช่น ANSI- , SQL- , SQL- และ SQL- เป็ นมาตรฐานล่าสุด แม้ว่าจะมีผลิตภัณฑ์
ฐานข้อ มูล ออกมามากมายหลายยีห้อ แต่ ด้ว ยมาตรฐานภาษา SQL ทีใช้ร่ว มกัน ทําให้ม ี
ความสามารถพืนฐานเหมือนกัน อาจแตกต่ างกันได้บ้างเพราะแต่ ละผลิตภัณฑ์ก็ล้วนแล้วแต่
พยายามสร้างจุดแข็งให้ก ับผลิตภัณฑ์ของตนเอง จึงเป็ นหน้ าทีของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์นัน ทีต้อ ง
ศึกษาในส่วนทีแตกต่างเพือทีจะได้นํามาใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ คุณสมบัตขิ องภาษา
SQL ภาษา SQL ตามมาตรฐาน ANSI มีคุณสมบัตดิ งั นี
- โครงสร้างของภาษาคล้ายภาษาอังกฤษ สามารถเรียกดูขอ้ มูลทีระบุได้ตามความ
ต้องการเปลียนแปลง เพิมเติม และลบข้อมูลออกจากระบบได
- มีโครงสร้างไม่แน่ นอน เพียงระบุความต้องการก็สามารถใช้งานได้แล้ว
- สามารถประมวลผลข้อมูลเป็ นกลุ่มได้
- ใช้ได้ทุกกลุ่มของผูใ้ ช้ ไม่ว่าจะเป็ นผูด้ ูแลระบบฐานข้อมูล (Database Administrator
DBA),โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือผูใ้ ช้ทวไป ั (End User)
ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง หรือภาษา SQL เป็ นภาษาทางด้านฐานข้อมูลทีได้รบั
ความภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง หรือภาษา SQL เป็ นภาษาทางด้านฐานข้อมูลทีได้รบั ความ
นิยม ในการใช้งาน ของภาษา SQL ในซอฟต์แวร์ทเกี ี ยวกับฐานข้อมูลต่างๆ แต่เนืองจากความ
แตกต่าง ของการใช้ งานซอฟต์แวร์ของแต่ละบริษทั ดังนันในปี ค.ศ. American National

19
Standards Institute (ANSI) จึงได้กําหนดมาตรฐานของคําสังภาษา SQL ขึน เพือให้ผลิตภัณฑ์
ทางด้านฐานข้อมูลของ แต่ละบริษทั มีมาตรฐานเดียวกัน อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีการกําหนด
มาตรฐานของ SQL แล้วก็ตาม แต่ภาษา SQL ของแต่ละผลิตภัณฑ์กย็ งั มีความแตกต่างกันบ้าง
ในประเด็นทีแต่ละบริษทั ได้เพิมขีดความ สามารถเข้าไปในภาษา SQL ของตนเอง
ภาษา SQL ได้แบ่งกลุ่มคําสังออกเป็ น กลุ่ม ตามลักษณะการใช้งานคือ
- กลุ่มคําสังสําหรับนิยามข้อมูล (Data Definition Language) เป็ นกลุ่มทีใช้กระทํากับ
โครงสร้างของฐานข้อมูล เช่นสร้างฐานข้อมูล, สร้างรีเลชัน กําหนดโครงสร้าง ให้กบั
รีเลชัน เป็ นต้น
- กลุ่มคําสังสําหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language) เป็ นกลุ่มคําสัง
ที กระทํากับข้อมูลในฐานข้อมูล เช่น เพิม, ลบ, แก้ไขข้อมูล
- กลุ่มคําสังสําหรับการควบคุมข้อมูล (Data Control Language) เช่นการกําหนด
สิทธิการใช้งานในฐานข้อมูล

2.7 ระบบฐานข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล


ในปจั จุ บนั การจัด โครงสร้า งข้อ มูล ให้เ ป็ นแบบฐานข้อ มูล กํ า ลัง เป็ น ทีนิย ม เกือ บทุ ก
หน่ วยงานทีมีการใช้ระบบสารสนเทศจะจัดทําข้อมูลให้เป็ นแบบฐานข้อมูล เนืองจากปริมาณ
ข้อมูลมีมากถ้าจัดข้อมูลเป็ นแบบแฟ้มข้อมูลจะทําให้มแี ฟ้มข้อมูลเป็ นจํานวนมาก ซึงจะทําให้เกิด
ข้อมูลทีซําซ้อนกันได้ ข้อมูลทีซําซ้อนนีจะก่อให้เกิดปญั หามากมาย
2.7.1 ความหมายของระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูล
ทีถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซงกั ึ นและกัน โดยไม่ได้บงั คับว่าข้อมูลทังหมดนีจะต้อง
เก็ บ ไว้ใ นแฟ้ มข้อ มู ล เดีย วกัน หรือ แยกเก็บ หลาย ๆ แฟ้ มข้อ มูล นั นก็ค ือ การเก็บ ข้อ มูล ใน
ฐานข้อมูลนันเราอาจจะเก็บทังฐานข้อมูล โดยใช้แฟ้มข้อมูลเพียงแฟ้มข้อมูลเดียวกันได้ หรือจะ
เก็บไว้ในหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล ทีสําคัญคือจะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนและเรียกใช้
ความสัมพันธ์นันได้ มีก ารกําจัด ความซําซ้อ นของข้อ มูลออกและเก็บแฟ้ มข้อมูล เหล่านีไว้ที
ศูนย์กลาง เพือทีจะนํ าข้อมูลเหล่านีมาใช้ร่วมกัน ควบคุมดูแลรักษาเมือผู้ต้องการใช้งานและผู้ม ี
สิทธิจะใช้ขอ้ มูลนันสามารถดึงข้อมูลทีต้องการออกไปใช้ได้ ข้อมูลบางส่วนอาจใช้ร่วมกับผูอ้ นได้ ื
แต่บางส่วนผูม้ สี ทิ ธิเท่านันจึงจะสามารถใช้ได้ โดยทัวไปองค์กรต่าง ๆ จะสร้างฐานข้อมูลไว้ เพือ
เก็บข้อมูลต่ าง ๆ ของตัวองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิงข้อมูลในเชิงธุรกิจ เช่น ข้อมูลของลูกค้า
ข้อมูลของสินค้า ข้อมูลของลูกจ้าง และการจ้างงาน เป็ นต้น การควบคุมดูแลการใช้ฐานข้อมูลนัน
เป็ นเรืองทียุง่ ยากกว่าการใช้แฟ้มข้อมูลมาก เพราะเราจะต้องตัดสินใจว่าโครงสร้างในการจัดเก็บ
ข้อมูลควรจะเป็ นเช่นไร การเขียนโปรแกรมเพือสร้างและเรียกใช้ขอ้ มูลจากโครงสร้างเหล่านี ถ้า
โปรแกรมเหล่ านี เกิด ทํางานผิด พลาดขึนมา ก็จะเกิด ความเสียหายต่ อ โครงสร้า งของข้อ มูล
ทังหมดได้ เพือเป็ นการลดภาวะการทํางานของผูใ้ ช้ จึงได้มสี ่วนของฮาร์ดแวร์และโปรแกรมต่าง
ๆ ทีสามารถเข้าถึง และจัดการข้อ มูล ในฐานข้อ มูล นัน เรียกว่ า ระบบจัด การฐานข้อ มูล หรือ

20
DBMS (data base management system) ระบบจัดการฐานข้อมูล คือ ซอฟต์แวร์ที
เปรียบเสมือนสือกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมต่ าง ๆ ทีเกียวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล ซึงมี
หน้ าทีช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายสะดวกและมีประสิทธิภาพ การเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้อาจ
เป็ นการสร้างฐานข้อมูล การแก้ไ ขฐานข้อ มูล หรือ การตังคําถามเพือให้ข้อมูลมา โดยผู้ใช้ไ ม่
จําเป็ นต้องรับรูเ้ กียวกับรายละเอียดภายในโครงสร้างของฐานข้อมูล เปรียบเสมือนเป็ นสือกลาง
ระหว่างผูใ้ ช้และโปรแกรมต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล
2.7.2.ความสําคัญของระบบฐานข้อมูล การจัดข้อมูลให้เป็ นระบบฐานข้อมูลทําให้ขอ้ มูล
มีส่วนดีกว่าการเก็บข้อมูลในรูปของแฟ้มข้อมูล เพราะการจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูล จะมี
ส่วนทีสําคัญกว่าการจัดเก็บข้อมูลในรูปของแฟ้มข้อมูลดังนี
2.7.2.1 ลดการเก็บข้อมูลทีซําซ้อน ข้อมูลบางชุดทีอยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูลอาจ
มีปรากฏอยูห่ ลาย ๆ แห่ง เพราะมีผใู้ ช้ขอ้ มูลชุดนีหลายคน เมือใช้ระบบฐานข้อมูลแล้วจะช่วยให้
ความซําซ้อนของข้อมูลลดน้อยลง เช่น ข้อมูลอยูใ่ นแฟ้มข้อมูลของผูใ้ ช้หลายคน ผูใ้ ช้แต่ละคนจะ
มีแฟ้มข้อมูลเป็ นของตนเอง ระบบฐานข้อมูลจะลดการซําซ้อนของข้อมูลเหล่านีให้มากทีสุด โดย
จัด เก็ บ ในฐานข้อ มู ล ไว้ ทีเดีย วกัน ผู้ ใ ช้ ทุ ก คนทีต้ อ งการใช้ข้อ มู ล ชุ ด นี จะใช้ โ ดยผ่ า นระบบ
ฐานข้อมูล ทําให้ไม่เปลืองเนือทีในการเก็บข้อมูลและลดความซําซ้อนลงได้
2.7.2.2 ความถูกต้องของข้อมูล เนืองจากฐานข้อมูลมีเพียงฐานข้อมูลเดียว ใน
กรณีทมีี ขอ้ มูลชุดเดียวกันปรากฏอยู่หลายแห่งในฐานข้อมูล ข้อมูลเหล่านีจะต้องตรงกัน ถ้ามี
การแก้ไขข้อมูลนีทุก ๆ แห่งทีข้อมูลปรากฏอยู่จะแก้ไขให้ถูกต้องตามกันหมดโดยอัตโนมัตดิ ว้ ย
ระบบจัดการฐานข้อมูล
2.7.2.3 การป้องกันและรักษาความปลอดภัยให้กบั ข้อมูลทําได้อย่างสะดวก
การป้องกันและรักษาความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผูท้ เกี ี ยวข้องเท่านันจึง
จะมีสทิ ธิเข้าไปใช้ฐานข้อมูลได้เรียกว่ามีสทิ ธิส่วนบุคคล (privacy) ซึงก่อให้เกิดความปลอดภัย
(security) ของข้อมูลด้วย ฉะนันผูใ้ ดจะมีสทิ ธิทีจะเข้าถึงข้อมูลได้จะต้องมีการกําหนดสิทธิกันไว้
ก่อนและเมือเข้าไปใช้ข้อมูลนัน ๆ ผู้ใช้จะเห็นข้อมูลทีถูกเก็บไว้ในฐานข้อมูลในรูปแบบทีผู้ใช้
ออกแบบไว้
2.7.2.4 สามารถใช้ขอ้ มูลร่วมกันได้ เนืองจากในระบบฐานข้อมูลจะเป็ นทีเก็บ
รวบรวมข้อมูลทุกอย่างไว้ ผูใ้ ช้แต่ละคนจึงสามารถทีจะใช้ขอ้ มูลในระบบได้ทุกข้อมูล ซึงถ้าข้อมูล
ไม่ได้ถูกจัดให้เป็ นระบบฐานข้อมูลแล้ว ผูใ้ ช้ก็จะใช้ได้เพียงข้อมูลของตนเองเท่านัน ข้อมูลของ
ระบบเงินเดือ น ข้อมูล ของระบบงานบุค คลถู กจัด ไว้ใ นระบบแฟ้ มข้อ มูลผู้ใ ช้ทีใช้ข้อ มูล ระบบ
เงินเดือน จะใช้ขอ้ มูลได้ระบบเดียว แต่ถา้ ข้อมูลทัง ถูกเก็บไว้เป็ นฐานข้อมูลซึงถูกเก็บไว้ในทีที
เดียวกัน ผู้ใช้ทงั ระบบก็จะสามารถเรียกใช้ฐานข้อมูลเดียวกันได้ ไม่เพียงแต่ ข้อมูลเท่านัน
สําหรับโปรแกรมต่าง ๆ ถ้าเก็บไว้ในฐานข้อมูลก็จะสามารถใช้รว่ มกันได้
2.7.2.5 มีความเป็ นอิสระของข้อมูล เมือผูใ้ ช้ต้องการเปลียนแปลงข้อมูลหรือนํ า
ข้อมูลมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับโปรแกรมทีเขียนขึนมา จะสามารถสร้างข้อมูลนันขึนมาใช้

21
ใหม่ได้ โดยไม่มผี ลกระทบต่อระบบฐานข้อมูล เพราะข้อมูลทีผูใ้ ช้นํามาประยุกต์ใช้ใหม่นันจะไม่
กระทบต่อโครงสร้างทีแท้จริงของการจัดเก็บข้อมูล นันคือ การใช้ระบบฐานข้อมูลจะทําให้เกิด
ความเป็ นอิสระระหว่างการจัดเก็บข้อมูลและการประยุกต์ใช้
2.7.2.6 สามารถขยายงานได้ง่าย เมือต้องการจัดเพิมเติมข้อมูลทีเกียวข้องจะ
สามารถเพิมได้อย่างง่ายไม่ซบั ซ้อนเนืองจากมีความเป็ นอิสระของข้อมูล จึงไม่มผี ลกระทบต่อ
ข้อมูลเดิมทีมีอยู่
2.7.2.7 ทําให้ขอ้ มูลบูรณะกลับสู่สภาพปกติได้เร็วและมีมาตรฐาน เนืองจากการ
จัดพิมพ์ข้อมูลในระบบทีไม่ได้ใช้ฐานข้อมูล ผู้เขียนโปรแกรมแต่ละคนมีแฟ้มข้อมูลของตนเอง
เฉพาะ ฉะนันแต่ละคนจึงต่างก็สร้างระบบการบูรณะข้อมูลให้กลับสู่สภาพปกติในกรณีทข้ี อมูล
เสียหายด้วยตนเองและด้วยวิธกี ารของตนเอง จึงขาดประสิทธิภาพและมาตรฐาน แต่เมือมาเป็ น
ระบบฐานข้อมูลแล้ว การบูรณะข้อมูลให้กลับคืนสู่สภาพปกติจะมีโปรแกรมชุดเดียวและมีผดู้ ูแล
เพียงคนเดียวทีดูแลทังระบบ ซึงย่อมต้องมีประสิทธิภาพและเป็ นมาตรฐานเดียวกันแน่ นอน
2.7.3 การบริหารฐานข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลนอกจากจะมีระบบการจัดการฐานข้อมูล
ซึงเป็ นซอฟต์แวร์ทสร้ี างขึนเพือจัดการกับข้อมูลให้เป็ นระบบ จะได้นําไปเก็บรักษา เรียกใช้ หรือ
นํ ามาปรับปรุงให้ทนั สมัยได้ง่ายแล้ว ในระบบฐานข้อมูลยังต้องประกอบด้วยบุคคลทีมีหน้ าที
ควบคุมดูแลระบบฐานข้อมูล คือ ผูบ้ ริหารฐานข้อมูล
2.7.3.1 เหตุผลสําหรับประการหนึงของการจัดทําระบบจัดการฐานข้อมูล คือ
การมีศูนย์กลางควบคุมทังข้อมูลและโปรแกรมทีเข้าถึงข้อมูลเหล่านัน บุคคลทีมีอํานาจหน้ าที
ดูแลการควบคุมนี เรียกว่า ผูบ้ ริหารฐานข้อมูล หรือ DBA (data base administer) คือ ผู้ม ี
หน้าทีควบคุมการบริหารงานของฐานข้อมูลทังหมด
2.7.4 หน้าทีของผูบ้ ริหารฐานข้อมูล กําหนดโครงสร้างหรือรูปแบบของฐานข้อมูล โดย
ทําการวิเคราะห์และตัดสินใจว่าจะรวมข้อมูลใดเข้าไว้ในระบบใดบ้าง ควรจะจัดเก็บข้อมูลด้วยวิธ ี
ใด และใช้เทคนิคใดในการเรียกใช้ขอ้ มูลอย่างไร
2.7.4.1 กําหนดโครงสร้างของอุปกรณ์เก็บข้อมูลและวิธกี ารเข้าถึงข้อมูล โดย
กําหนดโครงสร้างของอุปกรณ์ เก็บข้อมูลและวิธกี ารเข้าถึงข้อมูล พร้อมทังกําหนดแผนการใน
การสร้างระบบข้อ มูลสํารองและการฟื นสภาพ โดยการจัด เก็บข้อ มูล สํารองไว้ทุกระยะ และ
จะต้องเตรียมการไว้ว่าถ้าเกิดความผิดพลาดขึนแล้วจะทําการฟื นสภาพได้อย่างไร
2.7.4.2 มอบหมายขอบเขตอํานาจหน้าทีของการเข้าถึงข้อมูลของผูใ้ ช้ โดยการ
ประสานงานกับผู้ใช้ ให้คําปรึกษา ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ใช้ และตรวจตราความต้องการของ
ผูใ้ ช้
2.7.5 ระบบการจัดการฐานข้อมูล (data base management system, DBMS) หน้าที
ของระบบการจัดการฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูลเป็ นซอฟต์แวร์ททํี าหน้าทีดังต่อไปนี
2.7.5.1 ดูแลการใช้งานให้กบั ผูใ้ ช้ ในการติดต่อกับตัวจัดการระบบแฟ้มข้อมูลได้
ในระบบฐานข้อมูลนีข้อมูลจะมีขนาดใหญ่ ซึงจะถูกจัดเก็บไว้ในหน่ วยความจําสํารองเมือผู้ใช้

22
ต้องการจะใช้ฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทําหน้ าทีติดต่อกับระบบแฟ้มข้อมูลซึง
เสมือ นเป็ นผู้จดั การแฟ้ มข้อมูล (file manager) นํ าข้อ มูลจากหน่ ว ยความจําสํารองเข้าสู่
หน่ ว ยความจํา หลัก เฉพาะส่ ว นทีต้ อ งการใช้ง าน และทํ า หน้ า ทีประสานกับ ตัว จัด การระบบ
แฟ้มข้อมูลในการจัดเก็บ เรียกใช้ และแก้ไขข้อมูล
2.7.5.2 ควบคุมระบบความปลอดภัยของข้อมูล โดยป้องกันไม่ให้ผทู้ ไม่ ี ได้รบั
อนุ ญาตเข้ามาเรียกใช้หรือแก้ไขข้อมูลในส่วนป้องกันเอาไว้ พร้อมทังสร้างฟงั ก์ชนั ในการจัดทํา
ข้อมูลสํารอง โดยเมือเกิดมีความขัดข้องของระบบแฟ้มข้อมูลหรือของเครืองคอมพิวเตอร์เกิด
การเสียหายนัน ฟงั ก์ชนั นีจะสามารถทําการฟื นสภาพของระบบข้อมูลกลับเข้าสู่สภาพทีถูกต้อง
สมบูรณ์ได้
2.7.5.3 ควบคุมการใช้ขอ้ มูลในสภาพทีมีผใู้ ช้พร้อม ๆ กันหลายคน โดยจัดการ
เมือมีขอ้ ผิดพลาดของข้อมูลเกิดขึน

2.8 แนวทางการออกแบบ เว็บไซต์


เว็บไซด์ทได้
ี รบั การออกแบบอย่างสวยงาม มีการใช้งานทีสะดวก ย่อมได้รบั ความสนใจ
จากผู้ใช้ มากกว่าเว็บไซด์ทดูี สบั สนวุ่นวาย มีขอ้ มูลมากมายแต่หาอะไรไม่เจอ นอกจากนียังใช้
เวลาในการแสดงผลแต่ละหน้านานเกินไป ซึงปญั หาเหล่านีล้วนเป็ นผลมาจากการออกแบบเว็บ
ไซด์ไม่ดที งสิ
ั น ดังนัน การออกแบบเว็บไซต์อย่างถูกต้องจะช่วยลดความผิดพลาดเหล่านี และ
ช่วยลดความเสียงทีจะทําให้เว็บประสบความล้มเหลว การออกแบบเว็บไซต์ทดีี ต้องอาศัยการ
ออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสม กระบวนการแรกของการออกแบบเว็บไซต์คอื การ
กําหนดเป้าหมายของเว็บไซต์กําหนดกลุ่มผู้ใช้ ซึงการจะให้ได้มาซึงข้อมูล ผู้พฒ ั นาต้องเรียนรู้
ผู้ใช้ หรือจําลองสถานการณ์ สิงเหล่านีจะช่วยให้เราสามารถออกแบบเนือหาและการใช้งาน
เว็บไซต์ได้อย่างเหมาะสม ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้อย่างแท้จริง
2.8.1 การออกแบบหน้าเว็บไซต์ (Page Design) หน้ าเว็บเป็ นสิงแรกทีผูใ้ ช้จะได้เห็น
ขณะทีเปิ ดเข้าสู่เว็บไซต์ และยังเป็ นสิงแรกทีแสดงถึงประสิทธิภาพในการออกแบบเว็บไซต์อกี
ด้วย หน้าเว็บจึงเป็ นสิงสําคัญมาก เพราะเป็ นสือกลางให้ผชู้ มสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลของ
ระบบงานของเว็บไซต์นนได้ ั โดยปกติหน้าเว็บจะประกอบด้วย รูปภาพ ตัวอักษร สีพนื ระบบเน
วิเกชัน และองค์ประกอบอืน ๆ ทีช่วยสือความหมายของเนือหาและอํานวยความสะดวกต่อการ
ใช้งานการออกแบบเว็บไซต์ทมีี ประสิทธิภาพนันต้องคํานึงถึง องค์ประกอบสําคัญดังต่อไปนี
2.8.1.1 ความเรียบง่าย (Simplicity) การจํากัดองค์ประกอบเสริมให้เหลือเฉพาะ
องค์ประกอบหลัก กล่าวคือในการสือสารเนือหากับผู้ใช้นัน เราต้องเลือกเสนอสิงทีเราต้องการ
นํ าเสนอจริง ๆ ออกมาในส่ วนของกราฟิ ก สีสนั ตัว อัก ษรและภาพเคลือนไหว ต้อ งเลือกให้
พอเหมาะ ถ้าหากมีมากเกินไปจะรบกวนสายตาและสร้างความคําราญต่อผูใ้ ช้
2.8.1.2 ความสมําเสมอ (Consistency) การสร้างความสมําเสมอให้เกิดขึน
ตลอดทังเว็บไซต์ โดยอาจเลือกใช้รปู แบบเดียวกันตลอดทังเว็บไซต์กไ็ ด้ เพราะถ้าหากว่าแต่ละ

23
หน้าในเว็บไซต์นนมี ั ความแตกต่างกันมากจนเกินไป อาจทําให้ผใู้ ช้เกิดความสับสนและไม่แน่ ใจ
ว่ากําลังอยู่ในเว็บไซต์เดิมหรือ ไม่ เพราะฉะนันการออกแบบเว็บไซต์ใ นแต่ ล ะหน้ าควรทีจะมี
รูปแบบ สไตล์ของกราฟิ ก ระบบเนวิเกชัน (Navigation) และโทนสีทมีี ความคล้ายคลึงกันตลอด
ทังเว็บไซต์
2.8.1.3 ความเป็ นเอกลักษณ์ (Identity) ในการออกแบบเว็บไซต์ต้องคํานึงถึง
ลักษณะขององค์กรเป็ นหลัก เนืองจากเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กร
การเลือกใช้ตวั อักษร ชุดสี รูปภาพหรือกราฟิ ก จะมีผลต่อรูปแบบของเว็บไซต์เป็ นอย่างมาก
ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องออกแบบเว็บไซต์ของธนาคารแต่เรากลับเลือกสีสนั และกราฟิ กมากมาย
อาจทําให้ผใู้ ช้คดิ ว่าเป็ นเว็บไซต์ของสวนสนุ กซึงส่งผลต่อความเชือถือขององค์กรได้
2.8.1.4 เนือหา (Useful Content) เนือหาถือเป็ นสิงสําคัญทีสุดในเว็บไซต์
เนือหาในเว็บไซต์ต้องสมบูรณ์ และได้รบั การปรับปรุงพัฒนาให้ทนั สมัยอยู่เสมอ ผู้พฒ ั นาต้อง
เตรียมข้อมูลและเนือหาทีผูใ้ ช้ตอ้ งการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ เนือหาทีสําคัญทีสุดคือเนือหาทีทีม
ผู้พฒ
ั นาสร้างสรรค์ขนมาเองึ และไม่ไปซํากับเว็บอืน เพราะจะถือเป็ นสิงทีดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามา
เว็บไซต์ได้เสมอ แต่ถ้าเป็ นเว็บทีลิงค์ขอ้ มูลจากเว็บอืน ๆ มาเมือใดก็ตามทีผูใ้ ช้ทราบว่า ข้อมูล
นันมาจากเว็บใด ผูใ้ ช้กไ็ ม่จาํ เป็ นต้องกลับมาใช้งานลิงค์เหล่านันอีก
2.8.1.5 ระบบเนวิเกชัน (User-Friendly Navigation) เป็ นส่วนประกอบทีมี
ความสําคัญต่อเว็บไซต์มาก เพราะจะช่วยไม่ให้ผใู้ ช้เกิดความสับสนระหว่างดูเว็บไซต์ ระบบเนวิ
เกชันจึงเปรียบเสมือนป้ายบอกทาง ดังนันการออกแบบเนวิเกชัน จึงควรให้เข้าใจง่าย ใช้งานได้
สะดวก ถ้ามีก ารใช้ก ราฟิ ก ก็ควรสือความหมาย ตํ าแหน่ ง ของการวางเนวิเ กชันก็ควรวางให้
สมําเสมอ เช่น อยูต่ ําแหน่ งบนสุดของทุกหน้าเป็ นต้น ซึงถ้าจะให้ดเี มือมีเนวิเกชันทีเป็ นกราฟิ กก็
ควรเพิมระบบเนวิเกชันทีเป็ นตัวอักษรไว้ส่วนล่างด้วย เพือช่วยอํานวยความสะดวกให้กบั ผูใ้ ช้ที
ยกเลิกการแสดงผลภาพกราฟิกบนเว็บเบราเซอร์
2.8.1.6 คุณภาพของสิงทีปรากฏให้เห็นในเว็บไซต์ (Visual Appeal) ลักษณะที
น่ าสนใจของเว็บไซต์นัน ขึนอยู่กบั ความชอบส่วนบุคคลเป็ นสําคัญ แต่ โดยรวมแล้วก็สามารถ
สรุปได้ว่าเว็บไซต์ทน่ี าสนใจนันส่วนประกอบต่าง ๆ ควรมีคุณภาพ เช่น กราฟิ กควรสมบูรณ์ไม่ม ี
รอยหรือขอบขันบันได้ให้เห็น ชนิดตัวอักษรอ่านง่ายสบายตา มีการเลือกใช้โทนสีทเข้ ี ากันอย่าง
สวยงาม เป็ นต้น
2.8.1.7 ความสะดวกของการใช้ในสภาพต่าง ๆ (Compatibility) การใช้งานของ
เว็บไซต์นนไม่
ั ควรมีขอบจํากัด กล่าวคือ ต้องสามารถใช้งานได้ดใี นสภาพแวดล้อมทีหลากหลาย
ไม่มกี ารบังคับให้ผใู้ ช้ต้องติดตังโปรแกรมอืนใดเพิมเติม นอกเหนือจากเว็บบราวเซอร์ ควรเป็ น
เว็บทีแสดงผลได้ดใี นทุกระบบปฏิบตั ิการ สามารถแสดงผลได้ในทุกความละเอียดหน้ าจอ ซึง
หากเป็ นเว็บไซต์ทมีี ผใู้ ช้บริการมากและกลุ่มเป้าหมายหลากหลายควรให้ความสําคัญกับเรืองนี
ให้มาก

24
2.8.1.8 ความคงทีในการออกแบบ (Design Stability) ถ้าต้องการให้ผใู้ ช้งาน
รูส้ กึ ว่าเว็บไซต์มคี ุณภาพ ถูกต้อง และเชือถือได้ ควรให้ความสําคัญกับการออกแบบเว็บไซต์
เป็ นอย่างมาก ต้องออกแบบวางแผนและเรียบเรียงเนือหาอย่างรอบคอบ ถ้าเว็บทีจัดทําขึนอย่าง
ลวก ๆ ไม่มมี าตรฐานการออกแบบและระบบการจัดการข้อมูล ถ้ามีปญั หามากขึนอาจส่งผลให้
เกิดปญั หาและทําให้ผใู้ ช้หมดความเชือถือ
2.8.1.9 ความคงทีของการทํางาน (Function Stability) ระบบการทํางานต่าง ๆ
ในเว็บไซต์ควรมีความถูกต้องแน่ นอน ซึงต้องได้รบั การออกแบบสร้างสรรค์และตรวจสอบอยู่
เสมอ ตัวอย่างเช่น ลิงค์ต่าง ๆ ในเว็บไซต์ ต้องตรวจสอบว่ายังสามารถลิงค์ขอ้ มูลได้ถูกต้อง
หรือไม่ เพราะเว็บไซต์อนอาจมี ื การเปลียนแปลงได้ตลอดเวลา ปญั หาทีเกิดจากลิงค์ ก็คอื ลิงค์
ขาด ซึงพบได้บ่อยเป็ นปญั หาทีสร้างความรําคาญกับผูใ้ ช้เป็ นอย่างมาก
2.8.2 การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design) การออกแบบ
โครงสร้างเว็บไซต์ คือ การวางแผนการจัดลําดับ เนือหาสาระของเว็บไซต์ ออกเป็ นหมวดหมู่
เพือจัดทําเป็ นโครงสร้างในการจัดวางหน้ าเว็บเพจทังหมด เปรียบเสมือนแผนที ทีทําให้เห็น
โครงสร้างทังหมดของเว็บไซต์ ช่วยในนักออกแบบเว็บไซต์ไม่ให้หลงทาง การจัดโครงสร้างของ
เว็บไซต์ มีจุดมุ่งหมายสําคัญคือ การทีจะทําให้ผเู้ ข้าเยียมชม สามารถค้นหาข้อมูลในเว็บเพจได้
อย่างเป็ นระบบ ซึงถือว่าเป็ นขันตอนทีสําคัญ ทีสามารถสร้างความสําเร็จให้กบั ผูท้ ทํี าหน้ าทีใน
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ (Webmaster) การออกแบบโครงสร้างหรือจัดระเบียบของ
ข้อมูลทีชัดเจน แยกย่อยเนือหาออกเป็ นส่วนต่าง ๆ ทีสัมพันธ์กนั และให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน
จะช่วยให้น่าใช้งานและง่าย ต่อการเข้าอ่านเนือหาของผูใ้ ช้เว็บไซต์
2.8.3 รูปแบบของโครงสร้างเว็บไซต์
2.8.3.1 เว็บทีมีโ ครงสร้างแบบเรียงลําดับ (Sequential Structure) เป็ น
โครงสร้างแบบธรรมดาทีใช้กนั มากทีสุดเนืองจากง่ายต่อการจัดระบบข้อมูล ข้อมูลทีนิยม จัดด้วย
โครงสร้างแบบนีมักเป็ นข้อมูลทีมีลกั ษณะเป็ นเรืองราวตามลําดับของเวลา เช่น การเรียงลําดับ
ตามตัวอักษร ดรรชนี สารานุ กรม หรืออภิธ านศัพท์ โครงสร้างแบบนี เหมาะกับเว็บไซต์ทีมี
ขนาดเล็ก เนือหาไม่ซบั ซ้อ นใช้การลิง ก์ (Link) ไปทีล ะหน้ า ทิศ ทางของการเข้าสู่เ นือหา
(Navigation) ภายในเว็บจะเป็ นการดําเนินเรืองในลักษณะเส้นตรง โดยมี ปุ่มเดินหน้า-ถอยหลัง
เป็ นเครืองมือหลักในการกําหนดทิศทาง ข้อเสียของโครงสร้างระบบนีคือ ผูใ้ ช้ไม่สามารถกําหนด
ทิศทางการเข้าสู่เนือหาของตนเองได้ ทําให้เสียเวลาเข้าสู่เนือหา

รูปที 2.3 เว็บทีมีโครงสร้างแบบเรียงลําดับ (Sequential Structure)

25
2.8.3.2 เว็บทีมีโครงสร้างแบบลําดับขัน (Hierarchical Structure) เป็ นวิธที ดีี
ทีสุดวิธหี นึงในการจัดระบบโครงสร้างทีมีความซับซ้อนของข้อมูล โดยแบ่งเนือหา ออกเป็ นส่วน
ต่างๆ และมีรายละเอียดย่อยๆ ในแต่ละส่วนลดหลันกันมาในลักษณะแนวคิดเดียวกับ แผนภูม ิ
องค์กร จึงเป็ นการง่ายต่อการทําความเข้าใจกับโครงสร้างของเนือหาในเว็บลักษณะนี ลักษณะ
เด่นเฉพาะของ เว็บประเภทนีคือการมีจุดเริมต้นทีจุดร่วมจุดเดียว นันคือ โฮมเพจ (Homepage)
และเชือมโยงไปสู่เนือหา ในลักษณะเป็ นลําดับจากบนลงล่าง

รูปที 2.4 เว็บทีมีโครงสร้างแบบลําดับขัน (Hierarchical Structure)

2.8.3.3 เว็บทีมีโครงสร้างแบบตาราง (Grid Structure) โครงสร้างรูปแบบนีมี


ความซับซ้อนมากกว่ารูปแบบทีผ่านมา การออกแบบเพิมความยืดหยุ่น ให้แก่การเข้าสู่เนือหา
ของผู้ใช้ โดยเพิมการเชือมโยงซึงกันและกันระหว่างเนือหาแต่ละส่วน เหมาะแก่ การแสดงให้
เห็น ความสัม พัน ธ์ ก ัน ของเนื อหา การเข้า สู่ เ นื อหาของผู้ ใ ช้จ ะไม่ เ ป็ น ลัก ษณะเชิง เส้ น ตรง
เนืองจากผู้ใช้สามารถเปลียนทิศทางการเข้าสู่เนือหาของตนเองได้ ในการจัดระบบโครงสร้าง
แบบนี เนือหาทีนํ ามาใช้แต่ ละส่วนควรมีลกั ษณะทีเหมือนกัน และ สามารถใช้รูปแบบร่วมกัน
หลักการออกแบบคือนําหัวข้อทังหมดมาบรรจุลงในทีเดียวกันซึงโดยทัวไป จะเป็ นหน้าแผนภาพ
(Map Page) ทีแสดงในลักษณะเดียวกับโครงสร้างของเว็บ เมือผูใ้ ช้คลิกเลือก หัวข้อใด ก็จะเข้า
ไปสู่หน้าเนือหา (Topic Page) ทีแสดงรายละเอียดของหัวข้อนันๆ และภายในหน้ านัน ก็จะมี
การเชือมโยงไปยังหน้ ารายละเอียดของหัวข้ออืนทีเป็ นเรืองเดียวกัน นอกจากนียังสามารถนํ า
โครงสร้างแบบเรียงลําดับและแบบลําดับขันมาใช้ร่ว มกันได้อีก ด้ว ย ถึง แม้โ ครงสร้างแบบนี
อาจจะสร้างความยุ่งยากในการเข้าใจได้ และอาจเกิดปญั หาการคงค้าง ของหัวข้อ (Cognitive
Overhead) ได้ แต่จะเป็ นประโยชน์ ทสุี ดเมือผูใ้ ช้ได้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ ระหว่างเนือหา ใน
ส่วนของการออกแบบจําเป็ นจะต้องมีการวางแผนทีดี เนืองจากมีการเชือมโยงทีเกิดขึน ได้หลาย
ทิศทาง นอกจากนีการปรับปรุงแก้ไขอาจเกิดความยุง่ ยากเมือต้องเพิมเนือหาในภายหลัง

26
รูปที 2.5 เว็บทีมีโครงสร้างแบบตาราง (Grid Structure)

2.8.3.4 เว็บทีมีโครงสร้างแบบใยแมงมุม (Web Structure) โครงสร้างประเภทนี


จะมีความยืดหยุ่นมากทีสุด ทุกหน้ าในเว็บสามารถจะเชือมโยงไปถึงกัน ได้หมด เป็ นการสร้าง
รูปแบบการเข้าสู่เนือหาทีเป็ นอิสระ ผู้ใช้สามารถกําหนดวิธกี ารเข้าสู่เนือหาได้ด้วย ตนเอง การ
เชือมโยงเนือหาแต่ละหน้าอาศัยการโยงใยข้อความทีมีมโนทัศน์ (Concept) เหมือนกัน ของแต่
ละหน้าในลักษณะของไฮเปอร์เท็กซ์หรือไฮเปอร์มเี ดีย โครงสร้างลักษณะนีจัดเป็ นรูปแบบที ไม่ม ี
โครงสร้างทีแน่ นนอนตายตัว (Unstructured) นอกจากนีการเชือมโยงไม่ได้จาํ กัดเฉพาะเนือหา
ภายในเว็บนันๆ แต่สามารถเชือมโยงออกไปสู่เนือหาจากเว็บภายนอกได้ ลักษณะการเชือมโยง
ในเว็บ นัน นอกเหนื อ จากการใช้ไ ฮเปอร์เ ท็ก ซ์ห รือ ไฮเปอร์ม ีเ ดีย กับ ข้อ ความทีมีม โนทัศ น์
(Concept) เหมือนกันของแต่ละหน้ าแล้ว ยังสามารถใช้ลกั ษณะการเชือมโยง จากรายการที
รวบรวมชือหรือหัวข้อของเนือหาแต่ละหน้ าไว้ ซึงรายการนีจะปรากฏอยู่บริเวณใด บริเวณหนึง
ในหน้าจอ ผูใ้ ช้สามารถคลิกทีหัวข้อใดหัวข้อหนึงในรายการเพือเลือกทีจะเข้าไปสู่หน้าใดๆ ก็ได้
ตามความต้องการ ข้อดีของรูปแบบนีคือง่ายต่อผู้ใช้ในการท่องเทียวบนเว็บ โดยผู้ใช้สามารถ
กําหนดทิศทาง การเข้าสู่เนือหาได้ดว้ ยตนเอง แต่ขอ้ เสียคือถ้ามีการเพิมเนือหาใหม่ๆ อยู่เสมอ
จะเป็ นการยากในการ ปรับปรุง นอกจากนีการเชือมโยงระหว่างข้อมูลทีมีมากมายนันอาจทําให้
ผูใ้ ช้เกิดการสับสนและ เกิดปญั หาการคงค้างของหัวข้อ (Cognitive Overhead) ได้

รูปที 2.6 เว็บทีมีโครงสร้างแบบใยแมงมุม (Web Structure)

27
2.8.4 สรุปการออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ สําหรับระบบการจัดการซ่อมอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์นี เลือกใช้โครงสร้างเว็บไชต์แบบลําดับขัน (Hierarchical Structure) เนืองจากมี
การใช้งานและการทํางานแบบเป็ นขันตอน ซึงมีขอ้ ดี คือ จุดเริมต้นทีจุดร่วมจุดเดียว ทําให้ใช้
งานได้ ง่ า ย ทังยัง มีก ารเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ตามสิท ธ์ ที ได้ ร ับ ด้ ว ย การออกแบบแบบลํ า ดับ ขัน
(Hierarchical Structure) จึง เหมาะสมทีสุ ด ในการออกแบบระบบการจัด การซ่อ มอุ ปกรณ์
คอมพิวเตอร์ในครังนี

2.9 แนวทางในการพัฒนาโปรแกรม
การพัฒนาระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พฒ ั นาขึนโดยอาศัยหลักการ
วัฎจักรการพัฒนาระบบงาน (System development Life Cycle : SDLC) โดยมีแนวทางดังนี
2.9.1 ขันตอนการเข้าใจปญั หา (Problem Recognition) แนวคิดในการพัฒนาระบบเกิด
จาก ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศมีหน้าทีรับผิดชอบในส่วนของการดูแลและซ่อมอุปกรณ์ให้พร้อม
ใช้งานอยู่เสมอ ในส่วนของปญั หาทีพบในการทํางาน คือ มีพนักงานติดต่อเข้ามาแจ้งซ่อมและ
สอบถามผลการซ่ อ มอุ ป กรณ์ เ ป็ น จํ า นวนมาก ทํ า ให้ ก ารปฏิบ ัติ ง านของฝ่ า ยเทคโนโลยี
สารสนเทศ ขาดความต่อเนือง เนืองจากต้องหยุดงานทีทําอยู่เพือตอบคําถาม ฝ่ายเทคโนโลยี
สารสนเทศจึง มีก ารทบทวนขันตอนการทํ า งานในกระบวนการการแจ้ง ซ่ อ มอุ ป กรณ์ แ ละมี
ความเห็นว่าควรมีระบบมาช่วยอํานวยความสะดวกในการกระบวนการแจ้งซ่อมอุปกรณ์ เพือให้
การปฏิบตั หิ น้าทีของฝา่ ยเทคโนโลยีสารเทศมีประสิทธิภาพมากขึน
2.9.2 ขันตอนการศึกษาความเป็ นไปได้ (Feasibility Study) จากขันตอนการเข้าใจ
ปญั หา พบปญั หาในเรืองของการติดต่อเพือถามการแจ้งซ่อมและผลการซ่อมอุ ปกรณ์ รวมถึง
การจัดเก็บเอกสารการแจ้งซ่อม ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเห็นว่า ควรมีการพัฒนาระบบ
ขึนมารองรับ การทํ า งานในส่ ว นนี เพื อให้ ก ารทํ า งานของฝ่ า ยเทคโนโลยีส ารสนเทศมี
ประสิทธิภาพมากขึน โดยคํานึงถึง ปจั จัยเรืองค่าใช้จา่ ย และผลทีได้ ดังนี
2.9.2.1 ปจั จัยเรืองค่าใช้จา่ ย ไม่มกี ารเสียค่าใช้จา่ ย
- เนื องจากผู้ พ ัฒ นาโปรแกรมเป็ น พนั ก งานของบริษัท ไม่ ต้ อ งทํ า การจ้า ง
ภายนอก
- ภาษาทีใช้ในการพัฒนาระบบ คือ PHP สามารถใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย
- ระบบฐานข้อมูล Mysql สามารถใช้งานได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
- เครือง Server และเครือง Client เป็ น ของบริษัท ไม่ ต้ อ งทํ า การซือเพิม
สามารถใช้งานร่วมกันได้
2.9.2.2 ปจั จัยเรืองความคุ้มค่าและผลทีได้ สามารถพัฒนาระบบเพืออํานวย
ความสะดวกแก่ผู้แจ้งซ่อม โดยเปลียนจากการกรอกเอกสารในรูปแบบกระดาษเป็ นการบันทึก
ข้อ มูล เข้า สู่ระบบ สามารถลดเวลาในการทํ างานได้ และสามารถจัด เก็บประวัติก ารซ่ อ มได้
ครบถ้วน ไม่สญ ู หาย สามารถเรียกใช้งานได้สะดวกและรวดเร็ว

28
2.9.3 ขันตอนการวิเคราะห์ (Analysis) ในกระบวนการแจ้งซ่อมในปจั จุบนั ยังไม่มรี ะบบ
สารสนเทศเข้ามารองรับกระบวนการทํางาน โดยมีขนตอนดั
ั งนี

ขันตอนการกรอกเอกสาร

ขันตอนการขออนุ มตั ิ

ขันตอนการส่งเอกสารให้ฝา่ ย
เทคโนโลยีสารสนเทศดําเนินการ

ขันตอนการบันทึกผลการตรวจสอบ
และปิดการแจ้งซ่อม

รูปที 2.7 ขันตอนการแจ้งซ่อมอุปกรณ์แบบเดิม

2.9.3.1 ขันตอนการกรอกเอกสาร เมือผูใ้ ช้งานต้องการแจ้งซ่อมจะต้องทําการ


ติดต่อฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศเพือรับแบบฟอร์มและบันทึกข้อมูลขอแจ้งซ่อมลงในแบบฟอร์ม
เกียวกับ อุ ปกรณ์ แ ละอาการทีเกิด ความเสีย หาย โดยจะต้ อ งกรอกข้อ มูล ส่ ว นตัว และข้อ มูล
อุปกรณ์ทต้ี องการซ่อม
2.9.3.2 ขันตอนการขออนุ มตั ิ หลังจากกรอกเอกสารเรียบร้อยเป็ นขันตอนการ
ส่งเอกสารต่อหัวหน้างาน เพือแจ้งให้ทราบและทําการเซ็นเอกสารส่งซ่อม
2.9.3.3 ขันตอนการส่งเอกสารให้ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศดําเนินการ เมือ
เอกสารได้รบั การลงชือจากหัวหน้างานแล้วผูแ้ จ้งซ่อมดําเนินการส่งเอกสารพร้อมอุปกรณ์ให้ฝ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศดําเนินการตรวจสอบปญั หาตามรายละเอียดในใบแจ้งซ่อม
2.9.3.4 ขันตอนการบันทึกผลการตรวจสอบและปิ ด การแจ้ง ซ่อม เมือฝ่าย
เทคโนโลยีส ารสนเทศทํา การตรวจสอบอาการตามทีได้รบั การแจ้ง ซ่อ มเรียบร้อ ยแล้ว ฝ่า ย
เทคโนโลยีสารสนเทศทําการบันทึกผลการดําเนินงานลงในเอกสาร รายละเอียดประกอบด้วย
วิธ ีก ารในการแก้ ป ญ ั หา และสาเหตุ ข องอาการเสีย วัน ทีดํ า เนิ น การเรีย บร้อ ย พร้อ มลงชือ
ผูด้ าํ เนินการ และจัดเก็บเข้าแฟ้ม

29
2.9.4 จากการศึก ษากระบวนการทํา งานในป จั จุ บนั สามารถนํ ามาออกแบบเป็ น
กระบวนการทํางานแบบใหม่ โดยพัฒนาระบบสารสนเทศขึน โดยให้ทําการบันทึก จัดเก็บและ
ติดตามผล การดําเนินงาน ผ่านระบบ โดยมีขนตอนการทํ
ั างานดังนี

บันทึกข้อมูลผ่านระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์

อนุ มตั กิ ารแจ้งซ่อมผ่านระบบบริหารจัดการซ่อม


อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศรับเรืองการแจ้งซ่อมระบบ
บริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศบันทึกผลการแจ้งซ่อม
ระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

ผูแ้ จ้งซ่อมติดตามผลการดําเนินงานผ่านระบบ
บริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

รูปที 2.8 ขันตอนการแจ้งซ่อมอุปกรณ์ผ่านระบบสารสนเทศ

2.9.4.1 บันทึก ข้อ มูล ผ่ านระบบบริห ารจัด การซ่ อ มอุ ป กรณ์ ค อมพิว เตอร์
ผูป้ ฏิบตั งิ านทําการลงชือเข้าใช้ในระบบ บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบเพือทําเรืองขอแจ้งซ่อมอุปกรณ์
ผ่านทาง Web Application
2.9.4.2 อนุ มตั กิ ารแจ้งซ่อมผ่านระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ผูบ้ งั คับบัญชาทําการอนุ มตั เิ รืองขอแจ้งซ่อมอุปกรณ์ผ่านทาง Web Application
2.9.4.3 ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศรับเรืองการแจ้งซ่อมระบบบริหารจัดการซ่อม
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเข้าสู่ระบบเพือรับงานแจ้งซ่อม ทําการติดต่ อรับ
อุปกรณ์ และดําเนินการตรวจสอบแก้ไขปญั หา
2.9.4.4 ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศบันทึกผลการแจ้งซ่อมระบบบริหารจัดการ
ซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ บันทึกข้อมูลผลการตรวจสอบ ผ่านทาง Web Application รวมถึงการ
ปิดการแจ้งซ่อม และนําส่งคืนอุปกรณ์

30
2.9.4.5 ผู้แจ้ง ซ่อมติดตามผลการดําเนินงานผ่ านระบบบริห ารจัดการซ่อ ม
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ผูแ้ จ้งซ่อมติดตามสถานะการดําเนินงานผ่านระบบ Web Application
2.9.5 ขันตอนการศึกษาการออกแบบ (Design) หลังจากวิเคราะห์ระบบการทํางานใหม่
แล้ว ได้มกี ารออกแบบระบบารทํางานดังรูปที 2.9

รูปที 2.9 ผังการทํางานของระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

2.9.5.1 การจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน ผู้ดูแลระบบสามารถเพิม Account ให้กบั


พนักงานเพือให้พนักงานสามารถเข้าใช้ระบบสําหรับแจ้งซ่อมอุปกรณ์พร้อมกําหนดสิทธิการใช้
งาน
2.9.5.2 การจัดการข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เมือมีการจัดซืออุปกรณ์มาใหม่
ผูด้ แู ลระบบมีหน้าทีบันทึกข้อมูลอุปกรณ์ เพือจัดเก็บข้อมูลและลงทะเบียนอุปกรณ์
2.9.5.3 การจัดการข้อ มูล แจ้ง ซ่อ ม เมือเกิด ปญั หาต่ อ การใช้ง านอุ ปกรณ์
พนักงานสามารถ สร้างใบแจ้งซ่อมได้ และ เสนอต่อหัวหน้ างานทําการอนุ มตั ิ เมือหัวหน้ างาน
อนุ มตั ิ ผูด้ แู ลระบบทําการตรวจสอบและบันทึกผลการซ่อมอุปกรณ์

31
บทที 3
วิ ธีการดําเนิ นงาน

3.1 กล่าวนํา
ในบทนี จะกล่ า วถึง การวิเ คราะห์แ ละออกแบบระบบใหม่ ทีจะนํ า มาใช้ สํ า หรับ การ
แก้ปญั หาและอํานวยความสะดวกกับผูป้ ฏิบตั งิ านทีต้องการติดต่อซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึง
มีวตั ถุประสงค์หลักในการวิเคราะห์และการออกแบบระบบใหม่ขนมา ึ เพือนํ ามาใช้งานทดแทน
ระบบทีใช้อยู่ในปจั จุบนั ซึงยังคงใช้เป็ นระบบเอกสารอยู่ โดยระบบทีออกแบบมาใหม่นีสามารถ
ลดกระบวนการทีไมจําเป็ นออกไป และยังช่วยลดเวลา และเพือเพิมประสิทธิภาพในการทํางาน
ความสะดวกรวดเร็ว แม่นยํา ถูกต้องมีมาตรฐานของการจัดเก็บข้อมูล ง่ายต่อการค้นหาข้อมูล
และตรวจสอบข้อมูลเพือรองรับการใช้บริการทีต้องการความรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยํา และจัดเก็บ
ข้อมูลในเป็ นมาตรฐานเดียวกัน ช่วยในการปฎิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพมากยิงขึน

3.2 กระบวนการทํางานเดิ ม
จากทีกล่าวมาแล้วว่า กระบวนการในการแจ้งซ่อมอุปกรณ์แบบเดิมนัน ใช้ระบบเอกสาร
โดยการบันทึกข้อมูลลงกระดาษเพือส่งข้อมูลถึงกัน พอสรุปขันตอนในการทํางานดังต่อไปนี
3.2.1 เมือผู้ใช้งานต้องการแจ้งซ่อมจะต้องทําการติดต่อฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ
รับแบบฟอร์มและบันทึกข้อมูลขอแจ้งซ่อมลงในแบบฟอร์มเกียวกับอุ ปกรณ์ และอาการทีเกิด
ความเสียหาย โดยจะต้องกรอกข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลอุปกรณ์ทต้ี องการซ่อม
3.2.2 หลังจากกรอกเอกสารเรียบร้อยเป็ นขันตอนการส่งเอกสารต่อหัวหน้ างาน เพือ
แจ้งให้ทราบและทําการเซ็นเอกสารส่งซ่อม
3.2.3 เมือเอกสารได้รบั การลงชือจากหัวหน้างานแล้วผูแ้ จ้งซ่อมดําเนินการส่งเอกสาร
พร้อมอุปกรณ์ให้ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศดําเนินการตรวจสอบปญั หาตามรายละเอียดในใบ
แจ้งซ่อม
3.2.4 เมือฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศทําการตรวจสอบอาการตามทีได้รบั การแจ้งซ่อม
เรีย บร้ อ ยแล้ ว ฝ่ า ยเทคโนโลยีส ารสนเทศทํ า การบัน ทึก ผลการดํ า เนิ น งานลงในเอกสาร
รายละเอียดประกอบด้วย วิธกี ารในการแก้ปญั หา และสาเหตุ ของอาการเสีย วันทีดําเนินการ
เรียบร้อย พร้อมลงชือผูด้ าํ เนินการ และจัดเก็บเข้าแฟ้ม
จากขันตอนดังกล่าวจะสามารถเขียนเป็ นผังงานได้ดงั รูปที 3.1
รูปที 3.1 กระบวนการการแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เดิม

เพือให้เข้าใจได้งา่ ยขึนจึงเขียนออกมาเป็ นกระบวนการดังต่อไปแสดงไว้ในตารางที 3.1

ตารางที 3.1 อธิบายกระบวนการการแจ้งซ่อมแบบเดิม


ลําดับที กระบวนการ อธิบายกระบวนการ
1 กรอกเอกสาร ผู้ ป ฏิ บ ั ติ ง านทํ า การกรอกข้ อ มู ล แจ้ ง ซ่ อ มลงใน
แบบฟอร์ม
2 ขออนุ มตั ิ ผูป้ ฏิบตั งิ านส่งให้ผบู้ งั คับบัญชาในหน่ วยงานทําการ
ลงชือเพืออนุ มตั ิ
3 รับเอกสารใบแจ้งซ่อม ผูป้ ฏิบตั งิ านรับใบแจ้งซ่อมทีผ่านการอนุ มตั แิ ล้ว เพือ
นําส่งฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศดําเนินการต่อไป
4 ส่งเอกสารพร้อมอุปกรณ์ ส่ ง เอกสารพร้ อ มอุ ป กรณ์ ใ ห้ ก ั บ ฝ่ า ยเทคโนโลยี
สารสนเทศดําเนินการต่อไป
5 รับเอกสารและอุปกรณ์ ฝ่ายเทคโนโลยีส ารสนเทศ ทําการรับเอกสารและ
อุปกรณ์
6 ตรวจสอบและแก้ไขปญั หา ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ ดําเนินงานตรวจสอบและ
แก้ไขปญั หาตามลําดับการการส่งเอกสาร
7 รายงานผลการดําเนินงาน เมือฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศทําการตรวจสอบหรือ

33
ซ่อมเสร็จแล้วจะดําเนินการแจ้งไปยังผูส้ ่งซ่อมเพือให้
มารับอุปกรณ์
8 นําส่งอุปกรณ์ ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศนําส่งอุปกณ์

ในบางกรณีอาจมีระยะเวลาในการดําเนินงานนาน ทําให้ผู้ส่งซ่อมเกิดการติดตามขึน
เนืองจากไม่ทราบความเคลือนไหวของสถานะของการดําเนินงานทําให้เกิดความเสียเวลาในการ
งานทังในส่วนของผูป้ ฏิบตั งิ านเองทีต้องทําการติดตามและทางฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศทีต้อง
ตอบคําถามความคืบหน้าของการดําเนินงาน

3.3 กระบวนการทํางานใหม่
เนืองจากกระบวนการแบบเดิมเป็ นระบบเอกสาร ทําให้ไม่สะดวกในการติดตามความ
คืบหน้ าของผลการดําเนินงาน จึงได้พฒ ั นาระบบสําหรับแจ้งซ่อมอุ ปกรณ์ ตามทีกล่าวผ่านใน
หัว ข้อ ที 2.2 ซึงระบบสามารถบัน ทึก ข้อ มู ล ผ่ า นคอมพิว เตอร์จ ดั เก็ บ ประวัติก ารซ่ อ มลงใน
ฐานข้อมูล ทีมีความปลอดภัยข้อมูล ข้อมูลไม่สูญหายและไม่ถูกแก้ไขโดยทีไม่ได้รบั อนุ ญาต อีก
ทังยังสะดวกในการติดตามความคืบหน้า
หากยังไม่สามารถส่งคืนอุปกรณ์ได้อนั เนืองจากติดปญั หาบางประการ หรือ รออะไหล่
ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศต้องทําการบันทึกความคืบหน้ าในการดําเนินงาน ผู้ใช้งานสามารถ
ติด ตามความคืบ หน้ า ได้ ผ่ า นทางเว็บ ไซต์ โ ดยไม่ ต้ อ งโทรมาสอบถามทางฝ่ า ยเทคโนโลยี
สารสนเทศบ่อยครัง
ระบบการทํางานทีออกแบบขึนมาใหม่จะมีผงั งานเป็ นดังรูปที 3.2

รูปที 3.2 กระบวนการการแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใหม่

34
จากผังงานในรูปที 3.2 สามารถนํามาอธิบายระบบการทํางานได้ดงั ต่อไปนี

ตารางที 3.2 อธิบายกระบวนการการแจ้งซ่อมแบบใหม่


ลําดับ
กระบวนการ อธิบายกระบวนการ
ที
1 บันทึกข้อมูล ผูป้ ฏิบตั งิ านทําการลงชือเข้าใช้ในระบบ บันทึกข้อมูล
เข้าสู่ระบบเพือทําเรืองขอแจ้งซ่อมอุปกรณ์ผ่านทาง
Web Application
อนุ มตั ิ ผูบ้ งั คับบัญชาทําการอนุ มตั ิ
ตรวจสอบและแก้ไขปญั หา ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเข้าสู่ระบบเพือรับงานแจ้งซ่อม
ทําการติดต่อรับอุปกรณ์ และดําเนินการตรวจสอบ
แก้ไขปญั หา อัพเดทข้อมูลการตรวจสอบ ผ่านทาง
Web Application รวมถึงการปิดการแจ้งซ่อม และ
นําส่งคืนอุปกรณ์
ติดตามสถานะการซ่อม ผูแ้ จ้งซ่อมติดตามสถานะการดําเนินงานผ่านระบบ
Web Application

3.4 การวิ เคราะห์และออกแบบระบบ


จากการศึก ษาและเก็บรวบรวมข้อมูล ทําให้เราสามารถทําความเข้าใจและวิเคราะห์
ออกแบบระบบได้ โดยมุ่งเน้นความต้องการและความสะดวกของผูใ้ ช้เป็ นหลัก มีการเก็บข้อมูล
ในฐานข้อมูลเพือง่ายในการสืบค้น และสามารถเก็บข้อมูลได้จาํ นวนมาก ซึงจะแสดงรายละเอียด
ความสัมพันธ์ของระบบงานและผูท้ เกีี ยวข้อง
3.4.1 ผังแสดงการไหลของข้อมูล (Context Diagram) โครงสร้างของระบบบริหาร
จัดการซ่อมบํารุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มกี ารแบ่งการทํางานมีผเู้ กียวข้องทังหมดสามส่วนดังนี
3.4.1.1 พนักงาน
- สามารถแก้ไขข้อมูลส่วนตัวได้
- สามารถบันทึกข้อมูลแจ้งซ่อมได้
- สามารติดตามสถานะและผลการซ่อมได้
3.4.1.2 หัวหน้างาน
- สามารถบันทึกข้อมูลแจ้งซ่อมได้
- สามารถติดตามสถานะการซ่อมได้
- สามารถอนุ มตั ขิ อ้ มูลการแจ้งซ่อมได้

35
3.4.1.3 ผูด้ แู ลระบบ
- สามารถเพิมข้อมูลผูใ้ ช้งานระบบได้
- สามารถเพิมข้อมูลอุปกรณ์ได้
- สามารถติดตามข้อมูลทีมีการแจ้งซ่อมเข้ามาได้
- สามารถบันทึกผลการตรวจสอบและผลการซ่อมได้
- สามารถดูประวัตกิ ารแจ้งซ่อมได้

รูปที 3.1 Context Diagram ระบบ Computer Service Management System

3.4.2 Data Flow Diagram Data Flow Diagram ประกอบด้วย 4 Process ดังนี
3.4.2.1 การจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน ผู้ดูแลระบบสามารถเพิม Account ให้กบั
พนักงานเพือให้พนักงานสามารถเข้าใช้ระบบสําหรับแจ้งซ่อมอุปกรณ์พร้อมกําหนดสิทธิการใช้
งาน
3.4.2.2 การจัดการข้อมูลอุ ปกรณ์ คอมพิวเตอร์เมือมีการจัดซืออุ ปกรณ์ มาใหม่
ผูด้ แู ลระบบมีหน้าทีบันทึกข้อมูลอุปกรณ์ เพือจัดเก็บข้อมูลและลงทะเบียนอุปกรณ์
3.4.2.3 การจัด การข้อ มูล แจ้ง ซ่อ ม เมือเกิด ปญั หาต่ อ การใช้ง านอุ ปกรณ์
พนักงานสามารถ สร้างใบแจ้งซ่อมได้ และ เสนอต่อหัวหน้ างานทําการอนุ มตั ิ เมือหัวหน้ างาน
อนุ มตั ิ ผูด้ แู ลระบบทําการตรวจสอบและบันทึกผลการซ่อมอุปกรณ์
3.4.2.4 การออกรายงาน ผูด้ แู ลระบบสามารถเรียกดูรายงานได้

36
รูปที 3.2 Data Flow Diagram

ตารางที 3.1 คําอธิบายรายละเอียด Process 1.0


หัวข้อ รายละเอียด
Number 1.0
Process Name การจัดการข้อมูลผูใ้ ช้งาน
Description โพรเซลสําหรับการเพิมข้อมูลผูใ้ ช้งาน และปรับปรุงข้อมูล โดย
ผูด้ แู ลระบบ และพนักสามารถปรับปรุงข้อมูลส่วนตัวได้
Input Data ข้อมูลผูใ้ ช้งาน, ข้อมูลส่วนตัว
Output Data ข้อมูลผูใ้ ช้งาน, ข้อมูลส่วนตัว
Data Store D1 ผูใ้ ช้งาน

37
รูปที 3.3 Process 1.0

ตารางที 3.2 คําอธิบายรายละเอียด Process 2.0


หัวข้อ รายละเอียด
Number 2.0
Process Name การจัดการข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Description โพรเซลสําหรับการเพิมข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และปรับปรุง
ข้อมูล โดยผูด้ แู ลระบบ
Input Data ข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Output Data ข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Data Store D2 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

รูปที 3.4 Process 2.0

38
ตารางที 3.3 คําอธิบายรายละเอียด Process 3.0
หัวข้อ รายละเอียด
Number 3.0
Process Name การจัดการข้อมูลแจ้งซ่อม
Description โพเซลสําหรับแจ้งซ่อมอุปกรณ์เมือเกิดปญั หา โดยผูใ้ ช้งาน บันทึก
ข้อมูลปญั หาการใช้งานเข้าสู่ระบบ หัวหน้างานทําการอนุ มตั กิ าร
แจ้งซ่อม ผูด้ รู ะบบทําการตรวจสอบแก้ไขปญั หาและ บันทึกผลการ
แจ้งซ่อมเข้าสู่ระบบ
Input Data ข้อมูลอุปกรณ์ส่งงซ่อม, ข้อมูลการอนุ มตั ,ิ ข้อมูลผลการซ่อม
Output Data ข้อมูลใบแจ้งซ่อม, ข้ออุปกรณ์ส่งซ่อมรออนุ มตั ,ิ ข้อมูลอุปรณ์ส่งซ่อม
ผ่านการอนุ มตั ,ิ ผลการซ่อม
Data Store D1 ผูใ้ ช้งงาน, D2 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์, D3 ซ่อมอุปกรณ์

รูปที 3.5 Process 3.0

39
ตารางที 3.4 คําอธิบายรายละเอียด Process 4.0
หัวข้อ รายละเอียด
Number 4.0
Process Name ค้นหาข้อมูลการซ่อมอุปกรณ์
Description โพเซสสําหรับค้นหาประวัตกิ ารซ่อมอุปกรณ์
Input Data ประเภทรายงาน
Output Data รายงานการซ่อมอุปกรณ์
Data Store D1 ผูใ้ ช้งงาน, D2 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์, D3 ซ่อมอุปกรณ์

รูปที 3.6 Process 4.0

40
3.5 Data Dictionary

ตารางที 3.5 Data Dictionary of Data Flow


ข้อมูล รายการข้อมูล
ข้อมูลผูใ้ ช้งาน รหัสพนักงาน +ชือผูใ้ ช้ +รหัสผ่าน +
รหัสตําแหน่ ง +รหัสฝา่ ย +ชือ นามสกุล +
เบอร์โทร +รหัสผูบ้ งั คับบัญชา +Email Address
ข้อมูลส่วนตัว รหัสผูใ้ ช้งาน +ชือ นามสกุล +เบอร์โทร +
รหัสผ่าน +Email Address
ข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ +ประเภทอุปกรณ์ +ชืออุปกรณ์ +
ยีห้อ +ราคา
ข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รหัสอุปกรณ์ +ประเภทอุปกรณ์ +อุปกรณ์ +
ยีห้อ +ราคา
ข้อมูลอุปกรณ์ส่งซ่อม ข้ อ มู ล พนั ก งาน +ข้ อ มู ล อุ ป กรณ์ +วั น ที แจ้ ง ซ่ อ ม+
รายละเอียดปญั หาการใช้งาน
ข้อมูลอุปกรณ์ส่งซ่อม ข้ อ มู ล พนั ก งาน +ข้ อ มู ล อุ ป กรณ์ +วั น ที แจ้ ง ซ่ อ ม+
รายละเอียดปญั หาการใช้งาน
ข้อมูลใบแจ้งซ่อม เลขทีแจ้ง ซ่อม +ข้อมูล พนัก งาน +ข้อมูล อุ ปกรณ์ +วันที
แจ้งซ่อม +รายละเอียด +สถานะใบแจ้งซ่อม
ข้อมูลการอนุ มตั ิ สถานะการอนุ มตั ิ + วันทีอนุ มตั ิ
ข้อมูลอุปกรณ์ส่งรออนุ มตั ซิ ่อม เลขทีแจ้งซ่อม + ข้อมูลพนักงาน + ข้อมูลอุปกรณ์ + วันที
แจ้งซ่อม + รายละเอียด + สถานะใบแจ้งซ่อม
ข้ อ มู ล อุ ป กรณ์ ส่ ง ซ่ อ มผ่ า นการ เลขทีแจ้ง ซ่อม +ข้อมูล พนัก งาน +ข้อมูล อุ ปกรณ์ +วันที
อนุ มตั ิ แจ้งซ่อม +รายละเอียด +สถานะใบแจ้งซ่อม
+ ข้อมูลผูอ้ นมุติ +วันทีอนุ มตั ิ
ข้อมูลผลการซ่อม รายละเอียดการซ่อม +วันทีซ่อมเสร็จ

41
3.6 การออกแบบฐานข้อมูล
3.6.1 ER Diagram

รูปที 3.7 ER Diagram

42
3.6.2 Normalization
เป็ นวิธที ใช้
ี ในการปรับโครงสร้างของตาราง เพือให้ ได้ ตารางทีสามารถเก็บข้อมูลได้
โดยไม่มปี ญั หาใดๆ ตามมาภายหลัง โดยให้ อยู่ในรูปแบบทีเรียกว่า Normal Form มีเป้าหมาย
หลักคือ การลดความซําซ้อนของข้อมูล และรักษา ความถูกต้องให้ แก่ขอ้ มูล

ตารางที 3.6 คําอธิบายการ Normalization ตาราง User Login


ตาราง User Login
UserName EmpId, Password , RegisDate
UserLogin (UserName, EmpId, Password , RegisDate)

Normal Form รายละเอียด


1NF เนืองจาก มี UserName เป็ น แบบ Single atomic value คือ ไม่มคี ่าซํากัน
2NF มี UserName เป็ น key แบบ Full Functional dependency
และไม่ม ี Partial Dependencyเกิดขึน คือ Attribute ทุกตัวขึนอยู่ก ับ
UserName
3NF ผ่านเนืองจากไม่มรี ปู แบบ Transitive dependency คือ Attribute ทีไม่ใช่คยี ์
หลักไม่สามารถกําหนดคุณสมบัติ Attribute ทีไม่ใช่คยี ์หลักได้ เนืองจาก
Password และ RegisDate ไม่มคี ุณสมบัตทิ สามารถกํ
ี าหนดค่าให้ Attribute
ทีไม่ใช่คยี ห์ ลักได้
Normal Form NF 3
สูงสุดของ

43
ตารางที 3.7 คําอธิบายการ Normalization ตาราง Employee
ตาราง
EmpId  EmpName, Tel, Position, Posid, Dep, DepId, ManagerId,Email
Employee(EmpId, EmpName, Tel, Position, Posid, Dep, DepId, ManagerId,Email)

Normal Form รายละเอียด


1NF มี EmpId เป็ น key แบบ Single atomic value คือ ไม่มคี ่าซํากัน
2NF มี PosId และ DepId เป็ น Partial Dependency เกิดขึนคือ
- Position ขึนอยูก่ บั PosId
- Dep ขึนอยูก่ บั DepId
ทําการแตกตางราง Position และ Department
EmpId  EmpName, Tel, Posid, DepId, ManagerId,Email
Employee (EmpName, Tel, Posid, DepId, ManagerId,Email)
Posid  Position
Position (Posid , Position)
DepId Dep
Department (DepId, Dep)
3NF ไม่มรี ูปแบบ Transitive dependency คือ Attribute ทีไม่ใช่คยี ห์ ลักไม่
สามารถกํ า หนดคุ ณ สมบัติ Attribute ทีไม่ ใ ช่ ค ีย์ ห ลัก ได้ เนื องจาก
EmpName, Tel, Posid, DepId, ManagerId,Email ไม่มคี ุณสมบัตทิ สามารถ

กําหนดค่าให้ Attribute ทีไม่ใช่คยี ห์ ลักได้

Normal Form NF 3
สูงสุดของ

44
ตารางที 3.8 คําอธิบายการ Normalization ตาราง Borrow
ตาราง Borrow
EmpId, DeviceId SDate , BDate
Borrow (EmpId, DeviceId, SDate , BDate)

Normal Form รายละเอียด


1NF เนืองจาก มี EmpId และ DeviceId เป็ น key ร่วม แบบ Single atomic value
คือ ไม่มคี ่าซํากัน
2NF มี EmpId และ DeviceId เป็ น key ร่วม แบบ Full Functional dependency
และไม่ม ี Partial Dependencyเกิดขึน คือ Attribute ทุกตัวขึนอยู่กบั EmpId
และ DeviceId
3NF ผ่านเนืองจากไม่มรี ปู แบบ Transitive dependency คือ Attribute ทีไม่ใช่คยี ์
หลักไม่สามารถกําหนดคุณสมบัติ Attribute ทีไม่ใช่คยี ์หลักได้ เนืองจาก
SDate และBDate ไม่มคี ุณสมบัตทิ สามารถกํ
ี าหนดค่าให้ Attribute ทีไม่ใช่
คียห์ ลักได้
Normal Form NF 3
สูงสุดของ

45
ตารางที 3.9 คําอธิบายการ Normalization ตาราง Device
ตาราง Device
DeviceId  Type , Detail, Brand, Price, Status, PurchaseDate
Device (DeviceId, Type , Detail, Brand, Price, Status, PurchaseDate)

Normal Form รายละเอียด


1NF เนืองจาก มี DeviceId เป็ น key แบบ Single atomic value คือ ไม่มคี ่าซํากัน
2NF เนืองจาก มี DeviceId เป็ น key แบบ Full Functional dependency และไม่ม ี
Partial Dependencyเกิดขึน คือ Attribute ทุกตัวขึนอยูก่ บั DeviceId
3NF ผ่านเนืองจากไม่มรี ปู แบบ Transitive dependency คือ Attribute ทีไม่ใช่คยี ์
หลักไม่สามารถกําหนดคุณสมบัติ Attribute ทีไม่ใช่คยี ์หลักได้ เนืองจาก
Type , Detail, Brand, Price, Status, PurchaseDate ไม่มคี ุณสมบัตทิ ี
สามารถกําหนดค่าให้ Attribute ทีไม่ใช่คยี ห์ ลักได้
Normal Form 3NF
สูงสุดของ

46
ตารางที 3.10 คําอธิบายการ Normalization ตาราง Maintenance
ตาราง
MainId  EmpId , DeviceId, MainStatus, RequesDate, MApprDate, ManagerID,
ItChkDate, ChkDetail, Checker, FinishDate

Maintenance (MainId, EmpId , DeviceId, MainStatus, RequesDate, MApprDate,


ManagerID, ItChkDate, ChkDetail, Checker, FinishDate)

Normal Form รายละเอียด


1NF เนืองจาก มี MainId เป็ น key แบบ Single atomic value คือ ไม่มคี ่าซํากัน
2NF เนืองจาก มี MainId เป็ น key แบบ Full Functional dependency และไม่ม ี
Partial Dependencyเกิดขึน คือ Attribute ทุกตัวขึนอยูก่ บั MainId
3NF ผ่านเนืองจากไม่มรี ปู แบบ Transitive dependency คือ Attribute ทีไม่ใช่คยี ์
หลักไม่สามารถกําหนดคุณสมบัติ Attribute ทีไม่ใช่คยี ์หลักได้ เนืองจาก
EmpId , DeviceId, MainStatus, RequesDate, MApprDate, ManagerID,
ItChkDate, ChkDetail, Checker, FinishDate ไม่มคี ุณสมบัตทิ สามารถ ี
กําหนดค่าให้ Attribute ทีไม่ใช่คยี ห์ ลักได้
Normal Form NF 3
สูงสุดของ

47
3.6.3 Database Schema

ตารางที 3.11 โครงสร้างฐานข้อมูลผูใ้ ช้งาน (UserLogin)


ชือฟิลด์ ชนิดข้อมูล คีย์ ค่าว่าง คําอธิบาย
UserName varchar(50) PK NOT NULL ชือในการเข้าใช้ระบบ
EmpId int(4) FK NOT NULL รหัสพนักงาน
Password varchar(50) NOT NULL รหัสผ่าน
RegisDate datetime วันทีสร้างบัญชีผใู้ ช้

ตารางที 3.12 ตัวอย่างข้อมูลตารางผูใ้ ช้งาน (UserLogin)


UserName EmpId Password RegisDate
Naratthaporn.v 0001 9a487a77168fa141e533d2a4f7c649e3 2014-11-20 10:23:25
Benjaporn.c 0002 18367e608be1a98745ec97f21e66b3e6 2014-11-20 10:24:25
Anuwat.c 0003 009b927906b97d1507451f45d795d55e 2014-11-20 10:25:25

ตารางที 3.13 โครงสร้างฐานข้อมูลพนักงาน (Employee)


ชือฟิลด์ ชนิดข้อมูล คีย์ ค่าว่าง คําอธิบาย
EmpId int(4) PK NOT NULL รหัสพนักงาน
EmpName varchar(50) NOT NULL ชือพนักงาน
Tel varchar(10) เบอร์ตดิ ต่อ
PosID int(2) NOT NULL รหัสตําแหน่ ง
DepId int(2) NOT NULL รหัสแผนก
ManagerId int(4) NOT NULL รหัสหัวหน้า
Email varchar(50) NOT NULL E mail พนักงาน

ตารางที 3.14 ตัวอย่างข้อมูลตารางพนักงาน (Employee)


Pos Dep Manager
EmpId EmpName Tel Email
ID Id Id
0001 นรัฐพร วิทยารัตน์ 101 01 01 0009 Naratthaporn.v@bds.co.th
0002 เบญจพร ไชยนิลวงศ์ 342 01 02 0005 Benjaporn.c@bds.co.th
0003 อนุ วฒ
ั น์ เฉลิมชีพ 456 01 03 0012 Anuwat.c@bds.co.th

48
ตารางที 3.15 โครงสร้างฐานข้อมูลตําแหน่ ง (Position)
ชือฟิลด์ ชนิดข้อมูล คีย์ ค่าว่าง คําอธิบาย
PosId int(2) PK NOT NULL รหัสตําแหน่ ง
Position varchar(50) NOT NULL ชือตําแหน่ ง

ตารางที 3.16 ตัวอย่างข้อมูลตารางตําแหน่ ง (Position)


PosId Position
01 หัวหน้าแผนก
02 พนักงานระดับปฎิบตั กิ าร
03 เจ้าหน้าที IT

ตารางที 3.17 โครงสร้างฐานข้อมูลแผนก (Department)


ชือฟิลด์ ชนิดข้อมูล คีย์ ค่าว่าง คําอธิบาย
DepId int(2) PK NOT NULL รหัสแผนก
Dep varchar(50) NOT NULL ชือแผนก

ตารางที 3.18 ตัวอย่างข้อมูลตารางแผนก (Department)


DepId Dep
01 บุคคล
02 ธุรการ
03 เขียนแบบ
04 ออกแบบโครงสร้าง
05 เทคโนโลยีสารสนเทศ
06 บัญชี-การเงิน

ตารางที 3.19 โครงสร้างฐานข้อมูลการยืมอุปกรณ์ (Borrow)


ชือฟิลด์ ชนิดข้อมูล คีย์ ค่าว่าง คําอธิบาย
EmpId int(4) PK NOT NULL รหัสพนักงาน
DeviceId varchar(10) PK NOT NULL รหัสอุปกรณ์
SDate datetime NOT NULL วันทีได้รบั อุปกรณ์
BDate datetime วันทีคืนอุปกรณ์

49
ตารางที 3.20 ตัวอย่างข้อมูลตารางการยืมอุปกรณ์ (Borrow)
EmpId DeviceId SDate BDate
0001 0000000001 2014-11-21 10:25:25
0001 0000000002 2014-11-21 10:25:25

ตารางที 3.21 โครงสร้างฐานข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Device)


ชือฟิลด์ ชนิดข้อมูล คีย์ ค่าว่าง คําอธิบาย
DeviceId varchar(10) PK NOT NULL รหัสอุปกรณ์
Type varchar(50) NOT NULL ประเภทอุปกรณ์
Detail varchar(50) รายละเอียด
Brand varchar(50) NOT NULL ยีห้อ
Price varchar(50) NOT NULL ราคา
Status int(1) NOT NULL สถานะอุปกรณ์
1 ไม่ผใู้ ช้งาน
2 มีผใู้ ช้งาน
3 ยกเลิกการใช้งาน
PurchaseDate date NOT NULL วันทีซือุปกรณ์

ตารางที 3.22 ตัวอย่างข้อมูลตารางอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Device)


DeviceId Type Detail Brand Price Status PurchaseDate
000001 01 จอ LCD 20 นิว DELL 4500 2 2013-11-21
10:25:25
000002 02 CPU : Intel Core i5- DELL 25000 2 2014-01-21
4210U (1.70 GHz) 10:25:25
VGA : Intel HD Graphics
4400
RAM : 8 GB DDR3L
Harddisk : 500 GB 5400
RPM
000003 03 เครืองพิมพ์เลเซอร์ขาว-ดํา HP 2500 2 2014-01-23
HP LaserJet Pro P1102 10:25:25

50
ตารางที 3.23 โครงสร้างฐานข้อมูลการซ่อมอุปกรณ์ (Maintenance)
ชือฟิลด์ ชนิดข้อมูล คีย์ ค่าว่าง คําอธิบาย
MainId varchar(10) PK NOT NULL รหัสแจ้งซ่อม
EmpId varchar(4) FK NOT NULL รหัสผูแ้ จ้งซ่อม
DeviceId varchar(10) FK NOT NULL รหัสอุปกรณ์
MainDetail longtext NOT NULL รายละเอียดการแจ้งซ่อม
MainStatus int(1) NOT NULL สถานะการซ่อม
1 รอหัวหน้าอนุ มตั ิ
2 หัวหน้าอนุ มตั แิ ล้ว
3 กําลังเดินการซ่อม
4 ดําเนินงานการซ่อมเสร็จสิน
RequesDate datetime NOT NULL วันทีแจ้งซ่อม
MApprDate datetime วันทีหัวหน้างานอนุ มตั ิ
ManagerID varchar(4) NOT NULL รหัสผูอ้ นุ มตั ิ
ItChkDate datetime วันทีเจ้าหน้าทีทําการตรวจสอบ
ChkDetail longtext ผลการตรวจสอบ
FinishDate datetime วันทีซ่อมเสร็จ

51
ตารางที 3.24 ตัวอย่างข้อมูลตารางการซ่อมอุปกรณ์ (Maintenance)
Main Emp Main Reques MAppr Finish
DeviceId MainDetail MID ItChkDate ChkDetail
Id Id Status Date Date Date
1 0004 283790 เปิดเครืองแล้วไม่แสดงผล 1 2014-11-21 100
หน้าจอดําอย่างเดียว 10:25:25
2 0007 183120 หมึกไม่ออก ปรินออกมาไม่ 2 2014-10-21 2014-10-23 101
มีส ี 10:25:25 10:25:25
3 0012 111470 เครืองมีอาการค้างบ่อย เปิด 3 2014-10-21 2014-10-23 101 2014-10-23 จากการตรวจสอบพบว่า
เครืองค้างไว้ ไม่เกิน 10 10:25:25 10:25:25 12:25:25 เครืองทํางานช้ามาก รอ
นาที ก็รสี ตาร์ททุกครัง ดําเนินการ Format ต่อไป

52
บทที 4
ผลการดําเนิ นโครงงาน

4.1 กล่าวนํา
ระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พฒ ั นาขึนโดยใช้ภาษา PHP และใช้ระบบ
การจัดเก็บข้อมูล MySql มีเซิรฟ์ เวอร์ทําหน้าทีให้บริการ โดยสามารถเรียกใช้งานผ่านเว็บไซต์
เพือรองรับการใช้งานจากผูใ้ ช้เมือต้องการแจ้งซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โดยมีรายละเอียดดังนี

4.2 คุณสมบัติของระบบงาน
ระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณคอมพิวเตอร์พฒ ั นาขึนเพืออํานวยความสะดวกในการ
แจ้ง ซ่ อ มอุ ป กรณ์ เ มือมีก ารชํ า รุ ด และเพือให้ส ะดวกในการติด ตามผลการดํ า เนิ น งาน โดย
สามารถแจ้ง ซ่ อ มและตรวจสอบผลการดํ า เนิ น งานผ่ า นเว็ บ ไซต์ ไ ด้ ท ัน ที โดยมีคุ ณ สมบัติ
ดังต่อไปนี
4.2.1 เป็ น ระบบ Client/Server มีเ ซิฟ เวอร์ทํ าหน้ าทีให้บ ริก ารเว็บ ไซต์ แ ก่ เ ครือง
ไคลเอนต์ททํี าการร้องขอบริการเข้ามา โดยทํางานผ่านเว็บเบราเซอร์ สามารถใช้บริการพร้อม
กันได้หลายเครือง
4.2.2 มีระบบรักษาความปลอดภัย ด้วยการกําหนดสิทธิการใช้งาน สามารถเข้าถึง
ข้อมูลได้ตามสิทธิทีถูกกําหนด
4.2.3 สามารถบันทึกและปรับปรุง ข้อมูล การแจ้งซ่อมได้ ผู้ใช้งานสามารถบันทึกและ
ปรับปรุงแก้ไขข้อมูลการแจ้งซ่อมได้ และสามารถเรียกดูประวัตกิ ารซ่อมอุปกรณ์ได้
4.2.4 มีระบบอนุ มตั จิ ากหัวหน้ างานเมือมีการขอแจ้งซ่อมอุปกรณ์ รายการแจ้งซ่อมจะ
รอการอนุ มตั จิ ากหัวหน้างานก่อน เพือเป็ นการแจ้งให้หวั หน้ างานทราบ เมือหัวหน้ างานทําการ
อนุ มตั ิ รายการแจ้งซ่อมจะถูกส่งต่อให้กบั ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือทําการตรวจสอบต่อไป

4.3 การใช้งานระบบ
การใช้งานระบบสามารถเข้าใช้งานผ่านเว็บเบราเซอร์ และเครือข่ายเน็ตเวิคภายใน ทํา
การตรวจสอบสิทธิการเข้าใช้งานด้วยการล๊อคอินเข้าสู่ระบบ โดยผู้ใช้งานมีสทิ ธิทีแตกต่างกัน
ดังนี
4.3.1 ผู้ใช้งานทุกคน เมือเข้าใช้งานระบบผู้ใช้งานทีคนต้องทําการลงชือเข้าใช้งานเพือ
ตรวจสอบสิทธิ โดยมีหน้าจอดังนี
4.3.1.1 หน้าแรกของการเข้าใช้งานระบบสําหรับทุกสิทธิการใช้งาน

รูปที 4.1 หน้าจอการเข้าใช้งานระบบ

4.3.1.2 หน้าจอสําหรับปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว เป็ นหน้าจอทียอมให้ผใู้ ช้งานทํา


การปรับปรุงข้อมูลส่วนตัวทีบันทึกไว้อนั ได้แก่ ชือ สกุล รหัสผ่าน หมายเลขโทรศัพท์ภายใน และ
อีเมล์ โดยผูใ้ ช้งานทุกคนจะไม่มสี ทิ ธิในการแก้ไข Username

54
รูปที 4.2 หน้าจอสําหรับปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว

4.3.2 ผูด้ ูแลระบบ มีหน้าทีในการเพิมผูใ้ ช้งานรวมถึงการกําหนดสิทธิการเข้าถึงข้อมูล


ให้กบั ผูใ้ ช้งาน เพิมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทได้
ี รบั มาเข้าสู่ระบบ โดยบันทึกข้อมูลเช่น ประเภท รุ่น
ยีห้อ และรายละเอียดของอุ ปกรณ์ ปรับปรุงสถานะอุ ปกรณ์ กรณีมผี ู้มายืมอุปกรณ์ ไปใช้ และ
ปรับปรุงสถานะเอกสารแจ้งซ่อม และปิดงานซ่อม
4.3.2.1 หน้าจอหลักสําหรับผูด้ แู ลระบบ เมือตรวจสอบแล้วพบสิทธิในการระดับ
ผูด้ ูแลระบบจะแสดงหน้ าแรกเป็ นหน้าเอกสารรอการอนุ มตั ิ หากมีรายการทีแจ้งซ่อมเข้ามาก็จะ
ปรากฎทีหน้าเอกสารรอการอนุ มตั ิ โดยแสดง ลําดับเอกสาร เลขทีเอกสาร ชือผูแ้ จ้งซ่อม แผนก
สถานะเอกสาร และวันทีแจ้งซ่อม

รูปที 4.3 หน้าจอหลักสําหรับผูด้ แู ลระบบ

55
4.3.2.2 หน้ าจอสําหรับจัดการผู้ใช้งาน จะแสดงรายชือผู้ใช้งานทังหมด โดย
แสดงชือ นามสกุล ชือทีใช้เข้าระบบ แผนก และเบอร์โทรภายใน โดยสามารถกดดูรายละเอียด
ได้โดยการกดทีรูปภาพหน้าชือ

รูปที 4.4 หน้าจอสําหรับจัดการผูใ้ ช้งาน

4.3.2.3 หน้ าจอสําหรับเพิมผู้ใช้งานใหม่ ใช้สําหรับเพิมผู้ใช้งานใหม่ กรณีม ี


พนักงานใหม่หรือ พนักงานเดิมทีต้องการใช้ระบบ เพือใช้ในการแสดงข้อมูลส่วนตัวของผู้แจ้ง
ซ่อม เมือมีการแจ้งซ่อมเอกสาร ข้อมูลส่วนนีจะถูกดึงมาแสดงทันที

รูปที 4.5 หน้าจอสําหรับเพิมผูใ้ ช้งานใหม่

56
4.3.2.4 หน้ าจอเมือเพิมผู้ใช้งานสําเร็จ ระบบจําทําการดึงข้อมูลทีได้บนั ทึกไป
มาแสดงอีกครัง โดยประกอบด้วย รหัสพนักงาน ชือ นามสกุล เบอร์ตดิ ต่อ และ Email

รูปที 4.6 หน้าจอเมือเพิมผูใ้ ช้งานสําเร็จ

4.3.2.5 หน้าจอสําหรับจัดการอุปกรณ์ เป็ นหน้ารอสําหรับแสดงรายการอุปกรณ์


ทังหมด โดยจะแสดงข้อ มูล เบืองต้นดัง นี หมายเลขรหัส อุ ปกรณ์ ประเภทอุ ปกรณ์ ยีห้อ รุ่น
สถานะของอุปกรณ์ และผูใ้ ช้งานสามารถค้นหาอุปกรณ์ได้จากประเภท หรือ รหัสได้ทหน้ ี าจอนี
และมีปมุ่ เพือเชือมโยงไปหน้าเพิมข้อมูลได้

รูปที 4.7 หน้าจอสําหรับจัดการอุปกรณ์

57
4.3.2.6 หน้ าจอสําหรับเพิมอุ ปกรณ์ใหม่ใช้สําหรับลงทะเบียนทรัทย์สนิ ทาง
คอมพิวเตอร์ เพือจัดเก็บลงฐานข้อมูล และใช้ในการอ้างอิงการขอซ่อมอุปกรณ์
4.3.2.7 กรณีมผี ู้ใ ช้งานอุ ปกรณ์ ต้อ งใส่ รหัสผู้ใช้ง านกํากับด้วย ทีช่องรหัส
ผูใ้ ช้งาน

รูปที 4.8 หน้าจอสําหรับเพิมอุปกรณ์ใหม่

4.3.2.8 จอหน้าหลังบันทึกอุปกรณ์เสร็จโปรแกรมจะแสดงรายละเอียดอุปกรณ์ที
ได้ทําการบันทึกไปอีกครังเพือให้ผบู้ นั ทึกได้ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล โดยรหัสอุปกรณ์
ทีถูกบันทึกแล้วจะไม่สามารถแก้ไขได้

รูปที 4.9 หน้าจอหลังบันทึกอุปกรณ์เสร็จ

58
4.3.3 พนักงาน
- สามารถแจ้งซ่อม และติดตาม สถานะการซ่อมอุปกรณ์ได้
- สามารถปรับปรุงข้อมูลส่วนตัวได้
4.3.3.1 หน้าจอแรกหลังลงชือเข้าใช้สําเร็จสิทธิระดับพนักงาน จะแสดงเอกสาร
ส่วนตัว คือรายการแจ้งซ่อมทียังไม่รบั การปิ ดการแจ้งซ่อมจากฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ หาก
ต้องการดูรายการแจ้ง ซ่อมทีผ่านมา สามารถกดทีคําว่ าดูทงหมดจะปรากฎรายการแจ้
ั งซ่อ ม
ทังหมด

รูปที 4.10 หน้าจอแรกหลังลงชือเข้าใช้สาํ เร็จสิทธิระดับพนักงาน

4.3.3.2 หน้าจอสําหรับบันทึกข้อมูลแจ้งซ่อม ใช้สาํ หรับบันทึกข้อมูล


แจ้ง ซ่อ ม โดยผู้ใ ช้จะต้ อ งระบุอุ ปกรณ์ ข้อ มูล ทีต้อ งการซ่อ ม และอาการเสียของอุ ปกรณ์ เ พือ
ประกอบการพิจารณาดําเนินการแก้ไขของฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ

59
รูปที 4.11 หน้าจอสําหรับบันทึกข้อมูลแจ้งซ่อม

4.3.3.3 หน้าจอแจ้งซ่อมเมือกรอกข้อมูลรหัสเลขทะเบียนทรัพย์สนิ แล้วกดปุ่ม


enter จากแป้นพิมพ์เพือทําการตรวจสอบรหัส หากพบรหัสอุปกรณ์จากฐานข้อมูลจะแสดง
รายละเอียดขึนมาดังรูปที 4.12 หลังจากนันใส่รายละเอียดปญั หาทีเกิดขึน

รูปที 4.12 หน้าจอแจ้งซ่อมเมือกรอกรหัสอุปกรณ์

4.3.3.4 หน้าแสดงผลการแจ้งซ่อมเมือบันทึกข้อมูลแล้ว หลังจากบันทึกข้อมูล


แจ้งซ่อมสําเร็จระบบจะแสดงข้อมูลขึนมาอีกครัง โดยจะปรากฎเลขทีเอกสารและวันทีแจ้งซ่อม
พร้อมบอกสถานะของเอกสาร โดยในหน้าจอนี ผูใ้ ช้งานสามารถยกเลิกเอกสารได้หากไม่
ต้องการทําการแจ้งซ่อม

60
รูปที 4.13 หน้าแสดงผลการแจ้งซ่อมเมือบันทึกข้อมูลแล้ว

4.3.3.5 หน้าจอหลักเมือมีการแจ้งซ่อมอุปกรณ์ เมือมีรายการแจ้งซ่อมเกิดขึนจะ


แสดงรายการทีหน้าหลักในส่วนเอกสารส่วนตัว โดยจะแสดงรายละเอียดเบืองต้นประกอบด้วย
ลําดับ เลขทีเอกสาร สถานะเอกสาร วันทีแจ้งซ่อม

รูปที 4.14 หน้าจอหลักเมือมีการแจ้งซ่อมอุปกรณ์

61
4.3.4 หัวหน้ างานสามารถปรับปรุงข้อมูลส่วนตัวได้ สามารถแจ้งซ่อม และติดตาม
สถานะการซ่อมอุปกรณ์ได้ และ สามารถอนุ มตั กิ ารแจ้งซ่อมอุปกรณ์ได้
4.3.4.1 หน้ าจอหลักเมือทําการลงชือเข้าใช้งาน สิทธิหัวหน้ างาน จะแสดง
เอกสารสองส่วนด้วยกันคือ เอกสารรอการอนุ มตั ิ เป็ นเอกสารจากผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทีต้องเข้าไป
ทําการอนุ มตั ิ

รูปที 4.15 หน้าจอหลักเมือทําการลงชือเข้าใช้งาน สิทธิหัวหน้างาน

4.3.4.2 หน้าจอหลักเมือทําการลงชือเข้าใช้งาน สิทธิหัวหน้างานกรณีมเี อกสาร


รอการอนุ มตั ิ เมือมีเอกสารรอการอนุ มตั จิ ะแสดงในส่วนของเอกสารรอการอนุ มตั ิ

รูปที 4.16 หน้าจอหลักสิทธิหัวหน้างานกรณีมเี อกสารรอการอนุ มตั ิ

62
4.3.4.3 หน้าจอสําหรับดูรายละเอียดการแจ้งซ่อมและอนุ มตั ิ โปรแกรมจะแสดง
รายละเอียดผู้แจ้งซ่อม รายละเอียดอุ ปกรณ์ และอาการชํารุด และแสดงสถานะรอการอนุ มตั ิ
ผูใ้ ช้งานสามารถอนุ มตั เอกสารได้โดยการกดทีหน้าคําว่าอนุ มตั ใิ ห้แสดงเครืองหมายถูก และกด
ปุม่ ดําเนินการ การไม่กดเลือกอนุ มตั ิ จะไม่สามารถอนุ มตั ไิ ด้

รูปที 4.17 หน้าจอสําหรับดูรายละเอียดการแจ้งซ่อมและอนุ มตั ิ

4.3.4.4 หน้ า จอสําหรับ ดูรายละเอียดการแจ้ง ซ่ อ มหลัง การอนุ มตั ิ หลัง จาก


อนุ มตั เิ อกสารแล้วโปรแกรมจะแสดงข้อมูลผลการอนุ มตั ิ ในส่วนของหัวหน้ าแผนกอนุ มตั ิ โดย
เพิมในส่วนของวันทีทีทําการอนุ มตั ิ

รูปที 4.18 หน้าจอสําหรับดูรายละเอียดการแจ้งซ่อมหลังการอนุ มตั ิ

63
4.3.4.5 หน้ าจอการติด ตามรายการแจ้ง ซ่ อ ม โดยจะแสดงรายการแจ้ง ซ่ อ ม
ทังหมด ผูใ้ ช้งานสามารถติดตามสถานะแจ้งซ่อมได้จาก แถวสถานะ หรือ สามารถกดทีรูปภาพ
หน้าชือผูแ้ จ้งซ่อมเพือดูรายละเอียดเพิมเติม

รูปที 4.19 หน้าจอการติดตามรายการแจ้งซ่อม

64
บทที 5
สรุปผลการดําเนิ นงาน

หลังจากทําการติดตังระบบ จะทําการทดสอบระบบว่าสามารถทําได้ตามวัตถุประสงค์ที
ได้กําหนดไว้ และสามารถทําได้จริงตามทีออกแบบ โดยทดสอบการกรอกข้อมูลในส่วนของการ
จัดเก็บข้อมูลผู้ใช้งาน ข้อมูลอุ ปกรณ์ ข้อมูลการแจ้งซ่อมอุปกรณ์ และเรียกดูรายงานการซ่อม
อุปกรณ์ โดยจะแสดงผลการดําเนินการดังต่อไปนี

5.1 สรุปผลการดําเนิ นงานของโครงการ


จากการใช้ง านระบบบริห ารจัดการซ่อ มอุ ปกรณ์ คอมพิว เตอร์ช่ว ยให้ฝ่ายเทคโนโลยี
สารสนเทศได้ ฐานข้ อ มู ล อุ ป กรณ์ ท ั งหมดที มี ข องบริษั ท จากการบั น ทึ ก ข้ อ มู ล อุ ป กรณ์
คอมพิวเตอร์ทมีี อยู่แล้วและทีได้จดั ซือหลังจากการใช้โปรแกรมทีเมนู การจัดการอุปกรณ์ และ
สามารถเก็บบันทึกประวัตกิ ารซ่อมอุปกรณ์ได้ โดยการบันทึกข้อมูลใบแจ้งซ่อมจากเมนู แจ้งซ่อม
อุปกรณ์ โดยรายการแจ้งซ่อมทังหมดทีผ่านการอนุ มตั จิ ะแสดงในเอกสารรอการอนุ มตั ขิ องฝ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจัดการเรียงลําดับก่อนหลังของการแจ้งขอรับบริการได้ ในส่วน
ของผู้แ จ้ง สามารถติด ตามสถานะเอกสารได้ทเมนู ี เ อกสารส่ ว นตัว โดยกระบวนการทังหมด
เปลียนจากการใช้เอกสารในรูปแบบกระดาษเป็ นการจัดเก็บในฐานข้อมูล ซึงสามารถติดตามและ
เรียกใช้งานได้งา่ ย

5.2 สรุปผลจากการติ ดตังและการทดสอบระบบจริง


5.2.1 การติดตังระบบ เป็ นการนํ าระบบทีได้ทําการพัฒนารวมไปถึงระบบฐานข้อมูล
นําเอาไปใส่ไว้ในระบบทีได้เตรียมการเอาไว้ โดยจะมีขนตอนดั
ั งนี
5.2.1.1 ทําการสร้างฐานข้อมูลตามทีออกแบบไว้
5.2.1.2 ทําการอัพโหลดไฟล์ของระบบทีได้ทําการพัฒนาขึนนํ าไปวางไว้ยงั
ระบบเว็บเซอร์เวอร์ทได้ี เตรียมเอาไว้
5.2.2 การทดสอบการทํางานของระบบทีได้ทําการติด ตังไป เพือเป็ นการตรวจสอบ
ความถูกต้องในการทํางาน และทําการค้นหาข้อผิดพลาดทีอาจจะเกิดขึนจากการทดสอบ และ
นํ าไปเป็ นข้อมูลในการพัฒนาและแก้ไขปญั หาทีอาจจะเกิดขึนให้ระบบสามารถทํางานได้มปี ระ
สิทธิ ภาพมากขึน ขันตอนในการทดสอบระบบได้แก่
5.2.1.1 ทําการทดสอบการทํางานในส่วนของระบบฐานข้อมูล ระบบสามารถ
บันทึกข้อมูลและเรียกใช้งานข้อมูลจากฐานข้อมูลได้
5.2.1.2 ทําการทดสอบการทํา งานในส่ ว นของฟ งั ก์ ชนั การทํ างานของระบบ
ทังหมด 8 ขันตอนโดยสามารถแสดงได้ตามตารางที 5.1 ดังนี

ตารางที 5.1 ตารางผลการทดสอบ


รายการทดสอบ ผลการทดสอบ
การลงชือเข้าใช้งาน ผูใ้ ช้งานสามารถเข้าใช้งานได้ตามสิทธิทีกําหนดไว้
การจัดการผูใ้ ช้งานใหม่ สามารถสร้างผูใ้ ช้งานใหม่ได้
การจัดการอุปกรณ์ สามารถเพิมอุปกรณ์ใหม่ได้
การปรับปรุงข้อมูลอุปกรณ์ สามารถแก้ไขข้อมูลทีบันทึกไปแล้วได้
การค้นหาข้อมูลอุปกรณ์ สามามรถค้นหาข้อมูลอุปกรณ์โดยระบุประเภทอุปกรณ์ หรือ
หมายอุปกรณ์ ได้
การขออนุ มตั ิ สามารถส่งรายการแจ้งซ่อมถึงผูบ้ งั คับบัญชาได้
การอนุ มตั ริ ายการแจ้ง ผูบ้ งั คับบัญชาสามารถอนุ มตั ริ ายการแจ้งซ่อมได้
การปรับปรุงสถานะการแจ้ง สามารถบันทึกผลการแจ้งซ่อมและรายงานสถานการซ่อมได้

5.3 สรุปผลหลังจากใช้งานระบบ
โครงการพัฒนาระบบแจ้งซ่อมอุ ปกรณ์คอมพิวเตอร์ พัฒนาขึนเพือให้ผู้ใช้งานลดการ
ติดต่อกับฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศโดยไม่จําเป็ นลง ลดการตอบปญั หาการแจ้งซ่อมและการ
สอบถามสถานะการซ่อมทางโทรศัพท์ลง โดยให้ทําการแจ้ง และติดตามผลการดําเนินงานผ่าน
เว็บไซต์
5.3.1 ในด้านผูใ้ ช้งาน ช่วยลดขันตอนในการกรอกข้อมูลส่วนแต่เพียงลงชือเข้าใช้งาน
และทําการแจ้งซ่อมระบบสามารถดึงข้อมูลส่วนตัวของผู้แจ้งซ่อมมาแสดงได้ทนั ที ในส่วนของ
การแจ้ง ซ่ อ มเพีย งใส่ ห มายเลขอุ ป กรณ์ ร ะบบจะทํ า การดึง ข้อ มูล อุ ปกรณ์ ม าแสดง ผู้ใ ช้ง าน
สามารถบันทึกรายการทีต้องการแจ้งซ่อมและกดปุ่มตกลงเอกสารก็จะถูกส่งไปรอการอนุ มตั ิ
และสามารถติดตามสถานะเอกสารเพิมตรวจสอบความคืบหน้าได้ดว้ ยตนเอง
5.3.2 ในด้านผูบ้ งั คับบัญชา สามารถทราบรายการแจ้งซ่อมในส่วนทีตนเองรับผิดชอบ
และทําการอนุ มตั ไิ ด้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งใช้ระบบกระดาษ
5.3.3 ในด้านของฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถทราบรายการแจ้งซ่อมได้ทนั ทีทมีี
การสร้างเอกสาร สามารถบริหารจัดการลําดับก่ อนหลังได้อย่างเป็ นธรรม สามารถตรวจสอบ
ประวัตกิ ารซ่อมได้เพียงกรอกเลขทีอุปกรณ์ และสามารถใช้ประกอบการพิจารณาจัดซืออุปกรณ์
ใหม่ได้อกี ด้วย

66
5.4 สรุปผลแบบสํารวจความพึงพอใจของผู้ใช้
หลังจากเริมใช้งานระบบ เพือสํารวจความคิดเห็นต่อการใช้งานระบบจากผู้ใช้งานและ
เพือเป็ น การตรวจสอบและปรับ ปรุ ง ประสิท ธิภ าพในการทํ า งานของระบบ ฝ่ายเทคโนโลยี
สารสนเทศจึงได้จดั ทําแบบสอบถามความคิดเห็นต่อการใช้ระบบ จํานวนผู้กรอกแบบสอบถาม
ทังหมด 20 คน โดยแบ่งระดับความพึงพอใจออกเป็ น 5 ระดับ

ตารางที 5.2 ระดับความความคิดเห็นของผูใ้ ช้บริการ


ระดับความพึงพอใจ คะแนน
ดีมาก 5
ดี 4
ปานกลาง 3
พอใช้ 2
ควรปรับปรุง 1

5.4.1 สรุปผลความพึงพอใจในการใช้งานระบบของพนักงาน จากผลการสํารวจสามารถ


สรุปผลการสํารวจได้ดงั ตารางที 5.3

ตารางที 5.3 สรุปผลความพึงพอใจในการใช้งานระบบของพนักงาน


ลําดับ รายการ คะแนน
1 ความถูกต้องของข้อมูล 80
2 ความรวดเร็วในการตอบสนองของระบบ 90
3 ความเหมาะสมของขันตอนการแจ้งปญั หา 80
4 ความง่ายของการใช้งานของระบบ 80
5 ระบบช่วยทําให้การแจ้งปญั หารวดเร็วขึน 80
6 ระบบช่วยลดปริมาณการใช้กระดาษ 70
7 ความสวยงาม ความทันสมัย และน่ าสนใจ 80
8 การจัดวางรูปแบบในเว็บไซต์งา่ ยต่อการใช้งาน 80
9 ความรวดเร็วในการให้บริการและแก้ไขปญั หา 70
10 คู่มอื ประกอบการใช้งานมีความชัดเจนเข้าใจง่าย 80

67
5.4.2 กราฟแสดงสรุปผลความพึงพอใจในการใช้งานระบบของพนักงาน จากผลการ
สํารวจสามารถแสดงเป็ นกราฟสรุปความพึงพอใจได้ดงั ภาพที 5.1

สรุปผลสํารวจความพึงพอใจในการใช้งานระบบ

คู่มอื ประกอบการใช้งานมีความชัดเจนเข้าใจง่าย

ความรวดเร็วในการให้บริการและแก้ไขปญั หา

การจัดวางรูปแบบในเว็บไซต์งา่ ยต่อการใช้งาน

ความสวยงาม ความทันสมัย และน่าสนใจ

ระบบช่วยลดปริมาณการใช้กระดาษ

ระบบช่วยทําให้การแจ้งปญั หารวดเร็วขึน

ความง่ายของการใช้งานของระบบ

ความเหมาะสมของขันตอนการแจ้งปญั หา

ความรวดเร็วในการตอบสนองของระบบ

ความถูกต้องของข้อมูล

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100
คะแนน

รูปที 5.1 สรุปผลสํารวจความพึงพอใจในการใช้งานระบบ

5.5 ปัญหาและอุปสรรคที พบในการดําเนิ นโครงงาน


ระบบบริห ารจัดการซ่อมอุ ปกรณ์ คอมพิว เตอร์พ ฒ
ั นาขึนเพืออํานวยความสะดวกแก่
พนักงานในองค์กรทีต้องการแจ้งซ่อมอุปกรณ์ ให้สามารถแจ้งปญั หาการใช้งานได้สะดวกและ

68
รวดเร็ว ยิงขึน ในด้า นของฝ่ ายเทคโนโลยีส ารสนเทศช่ว ยในเรืองของการเก็บสถิต การซ่อ ม
อุปกรณ์ และช่วยในการตรวจสอบอุปกรณ์ทงหมดในองค์

5.5.1 เนืองจากก่อนการใช้โปรแกรมไม่มกี ารลงทะเบียนทรัพย์สนิ และ จัดเก็บเอกสาร
แจ้งซ่อม ทีเข้มงวด ทําให้การบันทึกข้อมูลการซ่อมย้อนหลังทําได้ลําบาก จึงไม่สามารถบันทึก
ข้อมูลการซ่อมย้อนหลังได้ จะสามารถจัดเก็บได้หลังจากเริมใช้โปรแกรมแล้ว ในส่วนของการ
ลงทะเบียนอุปกรณ์ ทมีี อยู่แล้วในองค์ค่อยข้างใช้เวลานานเนืองจากอุ ปกรณ์มจี ํานวนมากและ
กระจายอยู่ตามฝ่ายต่างๆ อุปกรณ์บางชนิดไม่สามารถทราบวันทีได้รบั มาได้เนืองจากมีมานาน
และไม่ได้ทาํ การจดบันทึกไว้ทาํ ให้ไม่สามารถตรวจสอบได้
5.5.2 เนืองจากระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เป็ นระบบใหม่ผใู้ ช้งานบาง
คนอาจจะไม่ชอบหรือไม่อยากใช้งาน และยังคงแจ้งปญั หาด้วยการโทรเข้ามาแจ้งหรือสอบถาม
อยู่ ทําให้ทางฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศต้องชีแจ้งถึงการใช้งานระบบอีกครัง

5.6 ข้อเสนอแนะ
ในการจัด การลงทะเบียนทรัพ ย์ส ินทางคอมพิว เตอร์นัน เนืองจากต้อ งทําการบันทึก
ข้อมูลย้อนหลังเป็ นจํานวนมากและอุปกรณ์ ส่วนใหญ่ นันกระจายอยู่ทผูี ้ใช้งาน ฝ่ายเทคโนโลยี
สารสนเทคมีความจําเป็ นต้องลงพืนทีตรวจสอบอุปกรณ์ และจัดเก็บข้อมูลด้วยตนเอง และต้อง
ขอความร่วมมือจากผูใ้ ช้งานช่วยให้ขอ้ มูลเกียวกับอุปกรณ์ทตนเองครอบครองอยู
ี ่ก่อนหน้า เช่น
มีอุ ปกรณ์ ชนิดใดบ้าง ตังอยู่ทีสถานทีใดบ้าง เพือฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถทําการ
ตรวจสอบได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน
จัดทํานโยบายการแจ้งซ่อมอุปกรณ์ในองค์กร เพือผลักดันให้ผใู้ ช้งาน แจ้งปญั าหาเข้ามา
ในระบบเท่านัน หากไม่แ จ้งปญั หาผ่านระบบจะไม่ไ ด้รบั การแก้ไ ขปญั หาจากฝ่ายเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพือให้ทุกคนปฎิบตั ติ ามกฎระเบียบของบริษทั

69
เอกสารอ้างอิ ง

[1] ผศ.ดร. วีรศักดิ คุรธุ ชั , 2547, ทฤษฎีฐานข้อมูลเบืองต้น (Introduction Database Theory),


กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
[2] โอภาส เอียมสิรวิ งศ์, 2548, เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสือสาร (Computer Network
and Communications), กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน
[3] อนรรฆนงค์ คุณมณี, 2554, basic & workshop PHP + AJAX และ jQuery, นนทบุร:ี ไดดี
ซีฯ
[4] ธนิตพล นํารุง่ โรจน์ และกฤษณฎาพจน์ แซ่ลม, ิ ร้านขายเครืองใช้ไฟฟ้าในบ้านผ่าน
อินเตอร์เน็ต, วิทยานิพนธ์วศิ วกรรมศาสตรบัญทิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร, 2545.
[5] ชีวะ กันทะวงค์, การจัดทํากรอบการทํางานโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ, วิทยานิพนธ์วทิ ยา
ศาสตรมหาบัญทิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร, 2551.
[6] อภิศุม แสงทอง, ระบบการจัดการครุภณ ั ฑ์คอมพิวเตอร์, วิทยานิพนธ์วทิ ยาศาสตรมหาบัญ
ทิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร, 2551.
[7] การออกแบบเว็บไซต์:
https://krupiyadanai.wordpress.com
[8] การนอร์มอลไลท์เซชัน (Normalization):
http://joydatabase.exteen.com/20101010/normalization-1

70
ภาคผนวก ก
คู่มือการใช้งานระบบบริ หารจัดการซ่อมอุปกรณ์ คอมพิ วเตอร์

ก-1
คู่มือการใช้งานระบบบริ หารจัดการซ่ อมอุปกรณ์ คอมพิ วเตอร์
สําหรับผูด้ แู ลระบบ

1. การลงชือเข้าใช้งานระบบ
1.1 ใส่ Username และ Password
1.2 กดปุม่ Login

รูปที ก.1 การลงชือเข้าใช้งานระบบ

ก-2
2. การจัดการข้อมูลพนักงาน
2.1 การเรียกดูขอ้ มูลผูใ้ ช้งาน
2.1.1 เลือกเมนูการจัดการผูใ้ ช้

รูปที ก.2 การเรียกดูขอ้ มูลผูใ้ ช้งาน

2.1.2 กดรูปแฟ้มเอกสารหน้าชือผูใ้ ช้งานเพือดูรายละเอียด

รูปที ก.3 รายชือผูใ้ ช้งาน

ก-3
2.1.3 หน้าจอสําหรับดูรายละเอียดส่วนตัวของผูใ้ ช้งาน

รูปที ก.4 หน้าจอสําหรับดูรายละเอียดส่วนตัวของผูใ้ ช้งาน

2.2 การเพิมข้อมูลผูใ้ ช้งาน


2.2.1 กดปุม่ Add New User เพือเพิมข้อมูลผูใ้ ช้งาน

รูปที ก.5 การกดปุ่ม Add New User เพือเพิมข้อมูลผูใ้ ช้งาน

2.2.2 ทําการกรอกเข้อมูลผูใ้ ช้งานและกดปุม่ บันทึก

ก-4
2.2.2.1 User ชือสําหรับเข้าใช้งานระบ[
2.2.2.2 Password กําหนดรหัสผ่าน
2.2.2.3 Re-Password ยืนยันการกําหนดรหัสผ่านอีกครัง
ต้องเหมือนกับ Password
2.2.2.4 รหัสพนักงาน รหัสประจําตัวพนักงาน
2.2.2.5 ชือ ชือผูใ้ ช้งาน
2.2.2.6 นามสกุล นามสกุลผูใ้ ช้งาน
2.2.2.7 แผนก แผนกของผูใ้ ช้งาน
2.2.2.8 ตําแหน่ ง ตําแหน่ งผูใ้ ช้งาน
2.2.2.9 เบอร์ภายใน เบอร์ตดิ ต่อผูใ้ ช้งาน
2.2.2.10 Email อีเมล์ผใู้ ช้งาน

รูปที ก.6 หน้าจอสําหรับกรอกข้อมูลผูใ้ ช้งานใหม่

ก-5
2.2.3 หน้าจอแสดงผลเมือบันทึกข้อมูลสําเร็จ

รูปที ก.7 หน้าจอแสดงผลเมือบันทึกข้อมูลสําเร็จ

3. การจัดการอุปกรณ์
3.1 การเรียกดูขอ้ มูลอุปกรณ์
3.1.1 เลือกเมนูการจัดการอุปกรณ์

รูปที ก.8 การเลือกเมนูการจัดการอุปกรณ์

ก-6
3.1.2 คลิกทีรหัสอุปกรณ์เพือดูขอ้ มูลเพิมเติมของอุปกรณ์

รูปที ก.9 ดูขอ้ มูลเพิมเติมของอุปกรณ์

3.2 การค้นหาอุปกรณ์
3.2.1 สามารถค้นหาอุปกรณ์ได้จากประเภทอุปกรณ์ หรือ รหัสอุปกรณ์

รูปที ก.10 ส่วนค้นหาอุปกรณ์

ก-7
3.3 การเพิมอุปกรณ์
3.3.1 กดปุม่ เพิมข้อมูลอุปกรณ์ใหม่

รูปที ก.11 หน้าจอการจัดการอุปกรณ์

3.3.2 ใส่รายละเอียดอุปกรณ์ และกดปุม่ ตกลงเพือบันทึก

รูปที ก.12 หน้าจอบันทึกข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

ก-8
3.3.3 หน้าจอแสดงรายละเอียดหลังบันทึกข้อมูล

รูปที ก.13 หน้าจอแสดงรายละเอียดหลังบันทึกข้อมูล

3.4 การปรับปรุงข้อมูลอุปกรณ์
3.4.1 กรณีมกี ารแก้ไขข้อมูลอุปกรณ์ ทําการแก้ไขแล้วกดปุ่มบันทึก
3.4.2 กรณีมกี ารยืมอุปกรณ์ ทําการใส่รหัสพนักงานทีช่องรหัสผูใ้ ช้งานแล้ว
กด Enter เพือตรวจสอบ พร้อมใส่วนั ทียืม กดปุ่มบันทึก

รูปที ก.14 หน้าจอปรับปรุงข้อมูลอุปกรณ์

4. การจัดการรายการแจ้งซ่อม
4.1 การเรียกดูรายการแจ้งซ่อม
4.1.1 เลือกเมนูหน้าหลัก
4.1.2 กดทีเลขทีเอกสารเพือดูขอ้ มูลเพิมเติม

ก-9
รูปที ก.15 หน้าจอการเรียกดูรายการแจ้งซ่อม

รูปที ก.16 การดูรายละเอียดข้อมูลแจ้งซ่อม

ก-10
4.2 การปรับปรุงข้อมูลรายการแจ้งซ่อม
4.2.1 กรณีมกี ารตรวจซ่อมแล้วแต่ยงั ไม่สามารถปิ ดงานซ่อมได้ ให้ทาํ การ
บันทึกความคืบหน้าโดยใส่รายละเอียดลงในช่องรายงานการตรวจสอบ
4.2.2 กดปุม่ อัพเดทสถานะ

รูปที ก.16 การปรับปรุงข้อมูลรายการแจ้งซ่อม

ก-11
4.3 การปิ ดการแจ้งซ่อม
4.3.1 ปิ ด การแจ้ง ซ่ อ มโดยการบัน ทึก ผลการซ่ อ มลงในช่ อ งรายงานการ
ตรวจสอบ
4.3.2 ทําเครืองหมายถูกหน้าคําว่าซ่อมแซมเรียบร้อย
4.3.3 กดปุม่ ดําเนินการ

รูปที ก.17 การปิดการแจ้งซ่อม

ก-12
คู่มือการใช้งานระบบบริ หารจัดการซ่ อมอุปกรณ์ คอมพิ วเตอร์
สําหรับผู้ใช้งาน

1. การลงชือเข้าใช้งานระบบ
1.1 .ใส่ Username และ Password
1.2 กดปุม่ Login

รูปที ก.17 การลงชือเข้าใช้งานระบบ

ก-13
2. การปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว
2.1 เลือกเมนูแก้ไขข้อมูล
2.2 ทําการแก้ไขข้อมูล
2.2.1 หากต้องการเปลียนรหัสผ่านให้ทําเครืองหมายถูกหน้ าคําว่า Change
Password
2.2.2 ทําการเปลียนแปลงข้อมูลโดยใส่ Re-Password ให้เหมือนกับช่อ ง
Password
2.3 กดปุม่ บันทึก

รูปที ก.18 การปรับปรุงข้อมูลส่วนตัว

3. การบันทึกเอกสารแจ้งซ่อม
3.1 เลือกเมนูแจ้งซ่อมอุปกรณ์

รูปที ก.19 การเลือกเมนูแจ้งซ่อมอุปกรณ์

ก-14
3.2 ใส่รหัสอุปกรณ์แล้วกด Enter เพือตรวจสอบรหัสอุปกรณ์หากพบรหัสอุปกรณ์
โปรแกรมจะแสดงรายละเอียดอุปกรณ์ขนมา

รูปที ก.20 การบันทึกเอกสารแจ้งซ่อม

3.3 ใส่รายละเอียดอาการเสียของอุปกรณ์เพือประกอบการพิจารณาซ่อม

รูปที ก.21 การบันทึกเอกสารแจ้งซ่อม

ก-15
4. การอุนมัติเอกสารแจ้งซ่อม (สําหรับระดับผู้จดั การ)
4.1 การเรียกดูรายการแจ้งซ่อม
4.1.1 คลิกทีเลขทีเอกสารในส่วนของเอกสารรอการอนุ มตั ิ

รูปที ก.22 เอกสารรอการอนุ มตั ิ

4.1.2 โปรแกรมจะแสดงหน้าจอรายละเอียดรายการแจ้งซ่อมรอการอนุ มตั ิ


4.2 การอนุ มตั ริ ายการแจ้งซ่อม

รูปที ก.23 รายละเอียดเอกสารรอการอนุ มตั ิ

ก-16
ภาคผนวก ข
แบบสํารวจความพึงพอใจ

ข-1
แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คําชีแจงโปรดทําเครืองหมาย  ของแต่ละข้อทีตรงกับระดับความพึงพอใจของท่านมากทีสุด

ความพึงพอใจในการใช้งานระบบบริหารจัดการซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ระดับความพึงพอใจ
ควร
ข้อ รายการ ดี ปาน
ดี พอใช้ ปรับ
มาก กลาง
ปรุง
1 ความถูกต้องของข้อมูล
2 ความรวดเร็วในการตอบสนองของระบบ
3 ความเหมาะสมของขันตอนการแจ้งปญั หา
4 ความง่ายของการใช้งานของระบบ
5 ระบบช่วยทําให้การแจ้งปญั หารวดเร็วขึน
6 ระบบช่วยลดปริมาณการใช้กระดาษ
7 ความสวยงาม ความทันสมัย และน่ าสนใจ
8 การจัดวางรูปแบบในเว็บไซต์งา่ ยต่อการใช้
งาน
9 ความรวดเร็วในการให้บริการและแก้ไข
ปญั หา
10 คู่มอื ประกอบการใช้งานมีความชัดเจนเข้าใจ
ง่าย

ปญั หาทางเทคนิค/ การใช้งาน/ การให้บริการ


...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะเพิมเติม/ แนวทางการปรับปรุง/ สิงทีคาดหวัง


...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ขอบคุณทุกท่านทีให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม

ข-2

You might also like