Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 82

การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 421

การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห
(Refraction Seismic Survey)

6.1 บทนํา
การสํารวจดัวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเหในปจจุบันสวนใหญยังเปนที่นิยมทํากันมากใน
ระดับตื้น อยางไรก็ดียังมีบางสวนประยุกตสํารวจในระดับลึก ตัวอยางของการสํารวจระดับตื้น เชน งาน
ศึกษาธรณีวิทยาสําหรับงานวิศวกรรมฐานรากเพื่อการกอสรางของโครงการตางๆ งานสํารวจหาชั้น
กรวดในบริเวณพื้นที่ดินตะกอนเพื่อหาชั้นน้ําบาดาลจากชั้นกรวด หรืองานศึกษาชั้นเกลือหินเพื่อหา
ศักยภาพการพัฒนาน้ําบาดาลจืดในบริเวณที่มีชั้นเกลือหิน ตัวอยางในการสํารวจระดับลึก เชน งาน
ศึกษาความลึกของรอยตอระหวางเปลือกโลกและชั้นเนื้อโลก หรืองานศึกษาแกนของโลก เปนตน การ
สํารวจแบบหักเหสามารถทําไดรวดเร็ว ใหขอมูลใตผิวดินของชั้นดิน-หิน ที่คอนขางสมบูรณ แตการ
สํารวจแบบหักเหมีเงื่อนไขจํากัดอยูที่ชั้นดิน-หินชั้นที่อยูในลําดับลึกลงไปเรื่อยๆ จะตองมีคาความเร็ว
คลื่นสูงกวาชั้นดิน-หินที่อยูบนเสมอ หากสภาพความเร็วของชั้นดิน-หินไมเปนเชนนั้น จะไมสามารถ
ประยุกตสํารวจแบบหักเหได (อยางไรก็ดี สภาพของธรรมชาติโดยสวนใหญพบวาชั้นดิน-หิน ที่อยูลึก
ลงไปเรื่อยๆ มีความเร็วสูงขึ้น) แตถาหากพบกรณีชั้นดิน-หินชั้นลางมีความเร็วต่ํากวา สามารถทําการ
สํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบสะทอน ซึ่งจะกลาวในบทที่ 7 สวนขอเดน-ขอดอยของการสํารวจแบบ
หักเหและแบบสะทอนสรุปไวในตารางที่ 5.1 ของบทที่ 5

6.1.1 ประโยชนของการสํารวจแบบหักเห
ภาพโดยรวมสวนใหญของวัตถุประสงคของการสํารวจแบบหักเห คือ ตองทราบลักษณะการ
วางตัวของชั้นดิน-หิน ใตผิวดินของบริเวณที่ทําการสํารวจ เพื่อทําใหทราบลักษณะการวางตัว เชน
รอยตอของชั้นดิน-หินจะมีการวางตัวแบบราบหรือมีการเอียงเทดวยมุมกี่องศา หรือมีผิวขรุขระความลึก
422 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ไมแนนอน หรือมีความไมตอเนื่องทางธรณีวิทยา เปนตน ดังนั้นประโยชนของการสํารวจแบบหักเห


สามารถนําไปประยุกตในงานที่ตองการทราบลักษณะธรณีวิทยาใตผิวดินทุกประเภทไมวาในระดับตื้น
หรือลึก รูปที่ 6.1 และ 6.2 แสดงตัวอยางการประยุกตสํารวจธรณีวิทยาใตผิวดินของการสํารวจแบบหัก
เหในระดับตื้นเพื่อหาความลึกของดินชั้นบน ดังแสดงในรูปที่ 6.1 (ก) และ (ข) สวนรูปที่ 6.1 (ค)และ (ง)
เพื่อประยุกตสํารวจหาความลึกของผิวบนของชั้นเกลือหิน ในบริเวณพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ประเทศไทย และรูปที่ 6.2 ประยุกตสํารวจเพื่อหารอยตอระหวางหินฐาน (bedrock interface) กับหิน
ตะกอนที่วางตัวแบบไมตอเนื่อง

รูปที่ 6.1 ก) ขอมูลที่สํารวจไดในสนามของการสํารวจแบบหักเหเพื่อหาความลึกและการวางตัวของดินชั้น


บนกับชั้นหิน( (ข) ผลจากการแปลความเพื่อหาความลึก พบรอยตอเปนผิวขรุขระ (ค) ขอมูลที่สํารวจไดในสนาม ของ
การสํารวจแบบหักเหเพื่อหาความลึกและการวางตัวของชั้นเกลือหิน (ง) ผลจากการแปลความเพื่อหาความลึกของชั้น
เกลือหินพบผิวบนของชั้นเกลือหินเปนผิวเรียบในระยะ 100 เมตร (เพียงตา สาตรักษ และคณะ, 2544)
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 423

รูปที่ 6.2 การสํารวจแบบหักเห (ก) กราฟขอมูลที่สํารวจไดในสนาม (ข) รูปจําลองลักษณะทางธรณีวิทยาเพื่อ


สรางขอมูลเวลาของเสนทางเดินคลื่นเปรียบเทียบกับที่วัดไดในสนาม (ค) ผลการแปลความหาความลึก (ภาพดัดแปลง
ตอจาก Fig.6 ของ Satarugsa and Johnson, 1998)

6.1.2 ความเปนมาของการประยุกตสํารวจแบบหักเห
การสํารวจคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเหถูกนํามาประยุกตใชสํารวจใตผิวดิน เริ่มแรกในป ค.ศ
1909 โดย Andrija Mohorovicic พบรอยตอระหวางเปลือกโลกและชั้นเนื้อโลก ซึ่งพบเปนชั้นที่มี
ความเร็วสูงกวาชั้นเปลือกโลก (ความเร็วประมาณ 7,800-8,200 เมตรตอวินาที ขณะที่ความเร็วของ
เปลือกโลกเฉลี่ย ประมาณ 6,500 เมตรต อวิน าที) ตอมารอยต อนี้ ถูก เรี ย กวา "โมโฮโรวิซิก
(Mohorovicic)" หรือเรียกสั้นๆ วา "โมโฮ (Moho)" เพื่อเปนเกียรติแดผูคนพบ วิธีการที่ Andirja
424 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

Mohorovicic ใชศึกษาคือ การใชตัวกําเนิดคลื่นสัญญาณที่เกิดจากแผนดินไหวและมีตัวรับสัญญาณคลื่น


แผนดินไหวที่วางอยูในบริเวณใกลเคียง เมื่อนําขอมูลของคลื่นแรกที่วิ่งเขามายังตัวรับคลื่นที่ตําแหนง
ตางๆ ที่บันทึกไดมาวิเคราะหดวยหลักของการหักเหของคลื่น จึงทําใหทราบความลึกของชั้นโมโฮ
ตอมาในป ค.ศ 1915 Gutenberg ใชวิธีการเดียวกันนี้เอง ศึกษาหาความลึกของชั้นแกนของโลก จากนั้น
ตั้งแตป ค.ศ. 1920 เปนตนมา การสํารวจคลื่นหักเหไดนํามาประยุกตเพื่อสํารวจหาน้ํามันและกาซ
ธรรมชาติ พบวาประสบผลสําเร็จ ดังนั้นเทคนิคและเครื่องมือการสํารวจ ไดถูกปรับปรุงและพัฒนา
จนกระทั่งประมาณ ป ค.ศ 1930 เศษๆ การสํารวจแบบสะทอนไดถูกพัฒนาและนํามาใชในการสํารวจ
น้ํามันและกาซธรรมชาติแทนการสํารวจแบบหักเหเพราะพบวาใหขอมูลที่ละเอียดกวามาก แมจ ะ
เสียเวลาและคาใชจายมากกวาแตก็ใหประโยชนที่คุมคา การสํารวจแบบหักเหจึงเปนที่นิยมใชศึกษา
เฉพาะระดับตื้นเพราะสามารถสํารวจไดอยางรวดเร็ว และหาความลึกไดคอนขางแมนยํา กวาวิธีการ
สํารวจธรณีฟสิกสประเภทอื่น

6.2 ทฤษฎีและหลักการการสํารวจแบบหักเห
6.2.1 การหักเหของคลื่น
หลักของการสํารวจแบบหักเห อาศัยคุณสมบัติของคลื่นจากหนึ่งในสี่ประการคือ การหักเห
(คุณสมบัติสี่ประการของคลื่นไดแก การสะทอน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบน) จากนิยาม
ของการหักเหที่เราไดเรียนมาแลวในชั้นมัธยมกลาววา “การหักเห คือ ปรากฏการณที่คลื่นเคลื่อนผาน
รอยตอระหวางตัวกลางที่มีคุณสมบัติตางกัน ทําใหทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเปลี่ยนไป” โดยที่เรา
เรียกคลื่นที่ผานรอยตอระหวางตัวกลางแรกวา “คลื่นหักเห (refracted wave)” และคลื่นที่เคลื่อนออก
จากตัวกลางแรกวา “คลื่นตกกระทบ (incident wave)” มีกฎของสเนลล (Snell’s law) อธิบาย
ปรากฏการณการหักเหเชิงปริมาณของคลื่น (รูปที่ 6.3) โดยกลาววา “อัตราสวนของคาไซนของมุมตก
กระทบกับคาไซนของมุมหักเห มีคาเทากับอัตราสวนระหวางความเร็วคลื่นในตัวกลางที่คลื่นตกกระทบ
กับความเร็วคลื่นในตัวกลางที่คลื่นหักเห” หรือกลาวงายๆ จนติดปากก็คือ

sin i V1
=
sin r V2

กฎของสเนลลสามารถพิสูจนไดดังแสดงมาแลวในบทที่ 5 ในการคํานวณหาเวลาการเดินทาง
ของคลื่นหักเห จะนิยมวิเคราะหรังสีคลื่นแทนการวิเคราะหหนาคลื่น (รังสีคลื่น คือ เสนที่ลากตั้งฉากกับ
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 425

หนาคลื่น รายละเอียดกลาวมาแลวในบทที่5) เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ออกจากจุดกําเนิดโดยมีหนาคลื่นจากการ


อัด -ขยายแผออกไปเรื่อยๆ และเมื่ อ กระทบกั บ รอยต อ ของชั้ น ดิ น -หิน ที่ หิ น ชั้ น ล า งมี ค วามเร็ ว คลื่ น
มากกวาหินชั้นบน คลื่นสวนหนึ่งหักเหลงไปในชั้นดิน-หินที่อยูขางลาง คลื่นอีกสวนหนึ่งจะสะทอน
กลับขึ้นมา และถาหนาคลื่นตกกระทบทํามุมวิกฤต (critical angle) กับเสนสมมุติแนวฉากกับรอยตอ
ของชั้นดิน-หิน คลื่นจะวิ่งขนานไปกับรอยตอ และพรอมกับเดินทางกลับขึ้นมาดวยมุมวิกฤต การเขียน
เสนทางเดินของหนาคลื่นที่เคลื่อนลงไปเหลานี้ สามารถเขียนแทนดวยรังสีคลื่นที่เปนเสนสมมุติลากตั้ง
ฉากกับหนาคลื่น ดังแสดงในรูปที่ 6.4 และหลักการสํารวจโดยสรุปแสดงในกรอบสรุปที่ 6.1

รูปที่ 6.3 การเคลื่อนที่ของคลื่นตกกระทบและคลื่นหักเหที่เปนไปตามกฎของสเนลล มุมวิกฤตเกิดเมื่อมุม


ของคลื่นหักเหทํามุมเทากับ 90 กับเสนสมมุติแนวฉากกับรอยตอของชั้นดิน-หิน

รูปที่ 6.4 การประยุกตสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเหโดยตัวกําเนิดคลื่นจะสงคลื่นตกกระทบลงสูผิว


ดิน และจะมีตัวรับคลื่นคอยรับคลื่นหักเหที่เดินทางกลับสูผิวดินเมื่อคลื่นตกกระทบทํามุมวิกฤตกับเสนสมมุติแนวฉาก
426 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

กรอบสรุปที่ 6.1 หลักการอยางงายของสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห

♦ในการสํารวจจะมีตวั กําเนิดคลื่น มีตัวรับคลื่น และเครื่องบันทึกขอมูล


♦ตัวกําเนิดคลื่นสงคลื่นสัญญาณลงสูใตผิวดิน เมื่อคลื่นกระทบรอยตอของตัวกลางตางชนิดกันจะเกิด
การหักเห หากมุมตกกระทบเปนมุมวิกฤตจะเกิดคลื่นหักเหวิ่งตามรอยตอและหักเหกลับสูผิวดิน และจะ
ถูกบันทึกดวยตัวรับคลื่น
♦คลื่นสัญญาณที่สนใจเปนคลื่นแรกที่ปรากฏในตัวรับคลื่นเทานั้น โดยจะแสดงผลดวยกราฟของ
เสนทางเดินคลื่นระหวางเวลาและระยะทาง ของตัวรับคลื่นแตละตัวทีว่ างอยูห างจากจุดกําเนิดคลื่น
♦การแปลความหมายหาความลึกและความเร็วคลื่น คํานวณจากกราฟระหวางเวลาและระยะทาง
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 427

จากรูปที่ 6.4 และกรอบที่ 6.1 หลักการคราวๆ ของการสํารวจ คือ จะตองมี “ตัวกําเนิดคลื่น


(source)” สงคลื่นสัญญาณที่เรียกวาคลื่นตกกระทบลงสูใตผิวดิน และจะตองมี “ตัวรับคลื่น (receiver)”
เพื่อรับคลื่นตางๆ ที่รอยตอของชั้นดิน-หินตางชนิดกัน และมีเงื่อนไขวา “ชั้นดิน-หินที่สํารวจไดแตละ
ชั้นจะตองมีคาความเร็วคลื่นของชั้นลางมากกวาคาความเร็วคลื่นของชั้นบนเสมอ” คลื่นหักเหจึงจะ
เคลื่อนที่กลับขึ้นมาสูตัวรับคลื่นที่วางอยูบนผิวดิน คลื่นหักเหกลับจะถูกบันทึกไวในรูปของเวลา และคา
แอมพลิจูด ที่สามารถนํามาเขียนในรูปของกราฟเสนทางเดินคลื่น (seismic trace) ดังปรากฏในตัวอยาง
รูปที่ 6.1 (ก) และ (ค) และ 6.2 (ก) โดยที่การสํารวจแบบหักเหเราสนใจเฉพาะคลื่นแรก (first arrival or
first break) ดังภาพที่พบในลักษณะของเสนคลื่นแสดงในรูปที่ 6.5

รูปที่ 6.5 เสนคลื่นที่ปรากฏจากตัวรับคลื่นจํานน 24 ตัว แตละตัววางหางกันเปนระยะทาง 7.5 เมตร คลื่นที่


สนใจในการสํารวจแบบหักเหกลับ โดยสนใจเฉพาะคลื่นที่วิ่งเขาสูตัวรับคลื่นเปนคลื่นแรกเทานั้น
428 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

6.2.2.รูปแบบทางเดินรังสีหักเหเชิงเรขาคณิตของระนาบ
6.2.2.1.การหาโครงสรางใตผิวดินหนึ่งชั้นไมมีการเอียงเท
การหาโครงสรางใตผิวดินหนึ่งชั้นไมมีการเอียงเท ชั้นดิน-หินมีลักษณะเปนแบบเนื้อเดียว
(homogeneous) นั่นคือ มีความเร็วคลื่นมีคาเทากันตลอด และความหนาไมมีที่สิ้นสุดหรือไมกําหนด
(กรณีที่กลาวมานี้แทบจะไมปรากฏในธรรมชาติ แตเมื่อเขาใจจากสิ่งที่งายแลว การประยุกตเขาหาสิ่งที่มี
ความซับซอนก็จะงายตามไปดวย) ดังแสดงในรูปที่ 6.6 โดยที่เสนทางเดินคลื่นและกราฟของระยะทาง
และเวลาที่คลื่นใชในการเดินทาง แสดงในรูปที่ 6.6 (ก) และลักษณะทางธรณีวิทยาใตผิวดินแสดงในรูป
ที่ 6.6 (ข)

รูปที่ 6.6 แผนภาพแสดง (ก) กราฟแนวทางเดินคลื่นจากจุดกําเนิดคลื่นสูตัวรับคลื่นที่ตําแหนงใดๆ (ข)


ลักษณะภาพจําลองทางธรณีวิทยาของชั้นหินแบบเนื้อเดียวหนึ่งชั้น มีความเร็วคลื่นคงที่ คลื่นที่วิ่งเขาสูตัวรับคลื่นที่
ตําแหนงตางๆ จะเปนคลื่นตรงที่เดินทางดวยความเร็วเทากับความเร็วของชั้นหิน โดยไมมีการหักเหของคลื่นเพราะไม
มีรอยตอระหวางชั้น
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 429

จากรูปที่ 6.6 (ก) เวลาที่ใชในการเดินทางจากตัวกําเนิดคลื่นถึงตัวรับคลื่นใดๆ คํานวณไดจากสมการ

x
t= (6.1)
V

เมื่อ x คือ ระยะทางจากตัวกําเนิดคลื่นถึงตัวรับคลื่นที่สนใจ


V คือ ความเร็วคลื่นของชั้นดิน-หิน
t คือ เวลาที่คลื่นใชเดินทางในตําแหนงของตัวรับคลื่นที่สนใจ
ดังนั้น ถาเราหาอนุพันธ (differentiate) ของสมการที่ 6.1 เทียบกับระยะทาง x จะได

dt 1
=
dx V

และความลาดชัน (slope) ของกราฟในรูปที่ 6.6 (ก) คือ

1
slope =
V

นั่นคือเราสามารถหาความเร็วของชั้นหินในรูปที่ 6.6 (ก) จากสวนกลับของคาความลาดชันของกราฟที่


เขียนระหวางระยะทางและเวลานั่นเอง

เพื่อทบทวนความเขาใจในหัวขอที่กลาวมาแลว ควรพลิกไปทําแบบฝกหัดทายบทขอที่ 1 และ2


กอนที่ศึกษาในลําดับตอไป

6.2.2.2 การหาโครงสรางใตผิวดินของระนาบสองชั้นไมมีการเอียงเท
ลําดับตอไปเราพิจารณาทางเดินคลื่นที่ผานตัวกลางสองตัวกลางที่เกิดการหักเหเปนไปตามกฎ
ของสเนลล โดยสมมุติใหใตผิวดินมีชั้นหินสองชั้นวางตัวในแนวราบ มีความเร็วคลื่นของชั้นดิน-หินคง
ตัวในแตละชั้น (ความเร็วคลื่นไมวาเดินทางในแนวดิ่ง หรือแนวนอน หรือแนวอื่นๆ จะมีความเร็วเทา
เดิมตลอด) และความเร็วของชั้นที่อยูลึกกวาจะตองมีความเร็วคลื่นที่มากกวาชั้นบนเสมอ ดังแสดงในรูป
ที่ 6.7 เมื่อเราทําการสํารวจแบบหักเห
430 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

เราจะทําการสงคลื่นสัญญาณเคลื่อนออกจากตัวกําเนิดคลื่นไปสูรอยตอระหวางชั้นที่หนึ่งและ
ชั้นที่สอง เมื่อคลื่นตกกระทบทํามุมวิกฤต จะเกิดคลื่นหักเหกลับหรือคลื่นเฮดที่วิ่งขนานไปกับรอยตอ
และวิ่งกลับสูผิวดินเขาสูตัวรับคลื่น ดวยมุมเดียวกันกับมุมวิกฤต (รูปที่ 6.7)

รูปที่ 6.7 รูปจําลองทางธรณีวิทยาแบบสองชั้นไมมีมุมเท และสัญลักษณแสดงแนวทางเดินของคลื่นหักเห


เมื่อทําการสํารวจแบบหักเห มุม i ในรูป คือ มุมวิกฤต

จากรูปที่ 6.7 เวลาที่คลื่นเดินทางจากจุด A ไปยังตัวรับคลื่นที่จุด D คลื่นจะมีทางเดินคลื่นจาก


A→B→C→D ดังนั้นเราสามารถเขียนเวลาทั้งหมด (T) ที่ใชในการเดินทางจากตัวกําเนิดคลื่นถึง
ตัวรับคลื่นไดดังนี้

AB BC CD
T = t AB + t BC + tCD = + +
V1 V2 V1

จากลักษณะรูปทรงทางเรขาคณิตเราทราบวา

h
t AB = tCD =
V1 cos i
x − 2h tan i
t BC =
V2
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 431

แทนคา

h x − 2h tan i h
T= + +
V1 cos i1 V2 V1 cos i
2h x − 2h tan i
T= +
V1 cos i1 V2
x 2hV2 − 2hV1 tan i cos i
T= +
V2 V1V2 cos i
x 2h(V2 − V1 sin i )
T= +
V2 V1V2 cos i
x 2h ⎛ V1 ⎞
T= + ⎜1 − sin i ⎟
V2 V1 cos i ⎝ V2 ⎠

เพราะวา จากกฎของสเนลลเมื่อมุมตกกระทบเปนมุมวิกฤต และ sin 2 i + cos 2 i = 1 จะได

V1
sin i =
V2
V12
cos 2 i = 1 −
V22
ดังนั้น
x 2h ⎛ V12 ⎞
T= + ⎜1 − ⎟
V2 V1 cos i ⎝ V12 ⎠

x 2h
T= + cos 2 i
V2 V1 cos i

x 2h cos i
T= +
V2 V1

และเพราะวา

V22 − V12
cos i =
V2
432 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

แทนคา จะได

x 2h V2 − V1
2 2
T= + (6.2)
V2 V1V2

จากสมการที่ 6.2 จะเห็นวาเปนสมการเสนตรงเชนเดียวกันกับสมการที่ 6.1 โดยที่เมื่อเขียน


กราฟระหวางระยะทางและเวลาใดๆ จะไดความลาดชันคือ 1/V2 และมีคาคงที่ของจุดตัดแกนที่ x=0 คือ
คา (2h(V22-V12) 1/2)/V1V2 นั่นเอง ความลาดชัน 1/V2 สามารถแสดงได โดยการหาอนุพันธของสมการที่
6.2 นั่นคือ

dT 1
=
dx V2

ดังนั้นจากรูปที่ 6.7 การหาโครงสรางใตผิวดิน สามารถทําไดโดยการบันทึกเวลาของคลื่นที่เขา


มายังตัวรับคลื่นที่ตําแหนงตางๆ โดยวางตัวรับคลื่นเปนแนวเสนตรง จากนั้นสามารถหาความเร็วคลื่น
ใตผิวดินได ดวยการพิจารณาคาสวนกลับของความลาดชันของแนวเสนทางเดินคลื่น (มีหลักการคิด
งายๆ คือ คาของความเร็วไดอานจากคาความแตกตางของแกนระยะทางกับแกนเวลา ตามหนวยของ
ความเร็ว คือ เมตรตอวินาที) ดังตัวอยางแสดงในรูปที่ 6.8 จากรูปกําหนดใหชั้นดิน-หินมีสองชั้น หนา
20 เมตร ความเร็วคลื่นของชั้นที่หนึ่ง 800 เมตรตอวินาที และความเร็วคลื่นของชั้นที่สอง 1,500 เมตรตอ
วินาที กําหนดใหตัวกําเนิดคลื่นวางอยูที่จุดเดียวกับตัวรับคลื่นตัวแรก มีตัวรับคลื่นแบบพวงจํานวน 24
ตัว วางหางเปนเสนตรงแตละตัวหางกัน 5 เมตร
กราฟของแนวทางเดินคลื่นที่วิ่งเขาสูตัวรับคลื่นในตําแหนงตางๆ แสดงในรูปที่ 6.8 (ก) และ
ลักษณะทางธรณีวิทยาแสดงในรูปที่ 6.8 (ข) ตารางที่ 6.1 แสดงคาของเวลาที่ตําแหนงตัวรับคลื่นใดๆ ใน
รูปที่ 6.8 (ข) หมายเหตุ: ขอมูลในตารางใชสมการที่ 6.1 และ 6.2 คํานวณโดยแทนคาความเร็วและความ
ลึก การทําเชนนี้ตรงกันขามกับการที่เราทําการสํารวจ เพราะในการสํารวจเราตองการทราบ ความเร็ว
ของชั้นหินเพื่อนํามาเทียบหาวานาเปนหินอะไร จากการพิจารณาคาความเร็วคลื่นที่ตรวจวัดได และผิว
รอยตออยูที่ความลึกเทาใด ลักษณะการวิเคราะหดวยขอมูลที่เก็บมามากๆ นี้ หากนํามาหาวิเคราะหหา
รูปจําลองทางธรณีวิทยาโดยการสรางรูปจําลองสภาพใตผิวดินที่สรางขึ้น แลวทํานายตามสมการที่ควร
จะเปน ในกรณีนี้คือ สมการที่ 6.1 และ 6.2 เรียกวาการใชรูปจําลองเพื่อสรางขอมูล (forward modeling)
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 433

หากรูปจําลองใดสอดคลองกับขอมูลที่บักทึกไดมากเพียงใด แสดงวารูปจําลองนั้น เปนตัวแทนของ


สภาพใตผิวดินที่ใหขอมูลที่บันทึกได (เปรียบเทียบคาความแตกตางจากขอมูลที่สรางขึ้นกับที่วัดใน
สนาม ถามีคานอย แสดงวานาจะเปนรูปจําลองที่ถูก) การทําเชนนี้เรียกวาสรางรูปจําลองเพื่อแปล
ความหมายยอนกลับ (inverse modeling) แตก็ยังมีอีกหลายรูปจําลองที่ใหคาความแตกตางจากขอมูลที่
สรางขึ้นกับที่วัดในสนามนอยเชนกัน ลักษณะนี้เปนขอเสียที่เรียกวาได คําตอบที่ไมเปนหนึ่งเดียว (non-
uniqueness solution) สําหรับการแกปญหาที่ไดคําตอบไมเปนหนึ่งเดียว แตความรูพื้นฐานทาง
ธรณีวิทยาจะเปนตัวชวยในการเลือกสรรวารูปจําลองใดเหมาะสม หากไดรูปที่มีความสอดคลองกับ
สภาพธรณีวิทยาของพื้นที่นั้นก็จะทําใหมั่นใจในการแปลความหมายมากขึ้น

รูปที่ 6.8 แผนภาพแสดง (ก) กราฟแนวทางเดินคลื่นที่เกิดจากรูปจําลอง ความลาดชันของเสนตรงที่เชื่อมตอ


จุดของวงกลมเปนสวนกลับของความเร็วของชั้นแรก (V1) และความลาดชันของเสนตรงที่เชื่อมตอจุดกึ่งกลางของรูป
สี่เหลี่ยมเปนสวนกลับของความเร็วชั้นที่สอง (V2) (ข) รูปจําลองทางธรณีวิทยาของชั้นดิน-หิน แบบไมมีมุมเท ความ
หนาของชั้นที่หนึ่ง 20 เมตร
434 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ตารางที่ 6.1 คาของเวลาที่คลื่นใชเดินทางจากรูปจําลองที่ 6.8 (ข) โดยมีความหนาของชั้นที่หนึ่ง 20 เมตร เวลาของคลื่น


ตรงคํานวณจากสมการที่ 6.1 และเวลาของคลื่นหักเหคํานวณจากสมการที่ 6.2
ตัวรับคลื่น ระยะทาง x เวลาคลื่นตรง เวลาคลื่นหักเห
(เมตร) (มิลลิวินาที) (มิลลิวินาที)
1 0 0.00 -*
2 5 6.25 -
3 10 12.50 -
4 15 18.75 -
5 20 25.00 -
6 25 31.25 -
7 30 37.50 62.29
8 35 43.75 65.62
9 40 50.00 68.96
10 45 56.25 72.29
11 50 62.50 75.62
12 55 68.75 78.95
13 60 75.00 82.29
14 65 81.25 85.62
15 70 87.50 88.96
16 75 93.75 92.29
17 80 100.00 95.62
18 85 106.25 98.96
19 90 112.50 102.29
20 95 118.75 105.62
21 100 125.00 108.96
22 105 131.25 112.29
23 110 137.50 115.62
24 115 143.75 118.96

* คลื่นหักเหกลับจะเกิดขึ้นและวิ่งเขาสูตัวรับคลื่นตั้งแตตําแหนงที่มากกวา 25.22 เมตร เปนตนไป กอนหนานั้นมุม


วิกฤตยังไมเกิดขึ้น จึงมีเฉพาะคลื่นตรง
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 435

การแปลความหมายหาความเร็วคลื่น ดูจากคาความลาดชันของเสนทางเดินคลื่นในรูปที่ 6.8 (ก)


และเราสามารถหาความหนาของชั้นแรกไดดังนี้ จากสมการที่ 6.2 และกราฟในรูปที่ 6.8 (ก) เราสามารถ
ที่จะหาคาของ เวลาอินเตอรเซพท (intercept time, tร) ที่ตําแหนง x=0 ไดโดยการฉาย (project)ไปตาม
แนวความลาดชันไปตัดแกนของเวลาที่ x=0 อานคา tร จากนั้นสามารถหาความลึก (h) ของชั้นที่หนึ่งได
จากสมการ

tiV1V2
h= (6.3)
2 V22 − V12

หรือเราสามารถหาความลึกไดจากจุดตัดของเสนทางเดินคลื่นของคลื่นตรงและคลื่นหักเหที่เดินทางเขา
สูตัวรับคลื่นที่เวลาเทากันพอดี ซึ่งจุดตัดนี้เรียกวา Xcrossover หรือเรียกสั้นๆ วา Xcross การวิเคราะหหา
สมการเพื่อหาความลึกจากคา Xcross ทําไดดังนี้

X cross X cross 2h V2 − V1
2 2
= +
V1 V2 V1V2
X cross (V2 − V1 ) 2h V2 − V1
2 2
=
V1V2 V2V1
2h V22 − V12
X cross =
V2 − V1
V2 + V1
X corss = 2h
V2 − V1
X corss V2 − V1
h= (6.4)
2 V2 + V1

นอกจากนี้เรายังสามารถหาความลึกไดโดยการพิจารณาตําแหนงที่เกิดการหักเหพอดี เรียกวา
ระยะวิกฤต (Xcritical หรือ Xcrit) ดังแสดงในรูปที่ 6.9 ซึ่งเราจะไดระยะทางวิกฤตดังสมการ

X crit
tan i =
2h
436 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

เพราะวา
V1
sin i =
V2

แทนคา และยายขางสมการจะได

⎛ V ⎞ X
tan ⎜ sin −1 1 ⎟ = crit
⎝ V2 ⎠ 2h
⎛ V ⎞
X crit = 2h tan ⎜ sin −1 1 ⎟
⎝ V2 ⎠
2h
X crit =
V22
−1
V12
X crit V22
h= −1 (6.5)
2 V12

รูปที่ 6.9 แผนภาพแสดงความสัมพันธของการคํานวณหาความหนาโดยวิธีพิจารณาระยะวิกฤต

ดังนั้น กลาวโดยสรุปเราสามารถหาความลึกไดจากราฟที่เขียนระหวางระยะทางและเวลาของ
แนวทางคลื่นแรก ที่วิ่งเขาสูตัวรับคลื่นในตําแหนงตางๆ ได 3 วิธี คือ (1) พิจารณาที่เวลาอินเตอรเซพท
คํานวณไดโดยใชสมการที่ 6.3 (2) พิจารณาที่คา Xcross คํานวณไดโดยใชสมการที่ 6.4 (3) พิจารณาจาก
ระยะวิกฤต คํานวณไดโดยใชสมการที่ 6.5 การหาความลึกทั้งสามวิธีในทางทฤษฎีจะตองไดคาความลึก
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 437

ที่เทากัน แตในทางปฏิบัติคาความลึกที่พิจารณาจากเวลาอินเตอรเซพท จะมีความแมนยํากวาการหา


ความลึกที่พิจารณาจาก Xcross สวนความลึกที่พิจารณาจาก Xcrit นั้นจะสังเกตไดยากในเสนทางเดินคลื่น
จึงไมนิยมที่จะใชหาความหนา และจากรูปที่ 6.8 (ก) เราสามารถหาความเร็วคลื่นของคลื่นตรงได 800
เมตรตอวินาที และคลื่นหักเห 1,500 เมตรตอวินาที คาของเวลาอินเตอรเซพท, ti=42.29 มิลลิวินาที และ
Xcross =72.5 เมตร ดังนั้นความลึกที่คํานวณไดจากสมการที่ 6.3 และ 6.4 ในกรณีคํานวณจากสมการที่ 6.3
จะได

tiV1V2
h=
2 V22 − V12
42.29 × 800 ×1,500
h=
2 15002 − 8002
h = 20 เมตร

ในกรณีคํานวณจากสมการที่ 6.4 จะได

X cross V2 − V1
h= (
2 V2 + V1
72.5 1,500 − 800
h=
2 1,500 + 800
h = 20 เมตร

จะเห็นวาทั้งสองสมการสามารถคํานวณไดความลึกเทากัน เพราะขอมูลที่ไดจากกราฟเปน
ขอมูลที่สรางจากรูปจําลอง แตถาเปนขอมูลที่ไดจากการสํารวจในสนามจะพบวาคาความลึกแตกตางกัน
ทั้งนี้เกิดจากความไมละเอียดของการเก็บขอมูล เพราะในการสํารวจจะเก็บขอมูลเปนชวงๆ อีกทั้งมีคลื่น
รบกวน และความไมชัดเจนของคลื่นที่วิ่งเขาสูตัวรับคลื่นในตําแหนงตางๆ นอกจากนี้คลื่นหักเหกลับ
ไมไดเคลื่อนถึงจุดกําเนิดคลื่น ti เราจะตองตอเสนตรงของคลื่นหักเหกลับหรือคลื่นเฮด ตามความลาด
เอียงของเสนกราฟไปตัดกับเสนตรงของแกนเวลาที่มีระยะทางเปนศูนย (x=0) รูปที่ 6.10 แสดงกราฟ
ของระยะทางและเวลา แสดงการเปรียบเทียบลักษณะชั้นดินที่มีความเร็วเทากันแตหนาตางกัน เสนเวลา
ของทางเดินคลื่นจะตางกัน แตคาความลาดชันจะเทากัน คา ti และ Xcross จะตางกัน (เปรียบเทียบรูปที่
438 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

6.10 (ก) และ (ค)) ทําใหเราสามารถเปรียบเทียบและบอกความลึกที่แตกตางกันได หรือความเร็วตางกัน


ความหนาเทากัน คาของ คา ti และ Xcross จะตางกัน (เปรียบเทียบรูปที่ 6.10 (ก) และ (ข)) ตัวอยางของ
ขอมูลเสนคลื่นที่มีจํานวนตัวรับคลื่น 24 ตัว แสดงในรูปที่ 6.11 จากรูปเสนคลื่น ถานํามาอานคาเวลาที่
ตําแหนงจุดเปลี่ยน (first break) และระยะของตัวรับคลื่น แลวนํามาเขียนกราฟก็จะได กราฟคลายรูปที่
6.10

รูปที่ 6.11 กราฟระยะทางและเวลาแสดงทางเดินคลื่นแรกที่เขาสูตัวรับคลื่น สรางจากรูปจําลองทาง


ธรณีวิทยาแบบสองชั้น โดยในความเร็วของชั้นแรก 800 เมตรตอวินาที (ก) ความเร็วชั้นที่สอง 1,500 เมตรตอวินาที
และความหนาหรือความลึกของชั้นที่หนึ่ง 20 เมตร (ข) ความเร็วของชั้นที่สอง 2,500 เมตรตอวินาที และความลึกของ
ชั้นที่หนึ่ง 20 เมตร (ค) ความเร็วของชั้นที่สอง 1,500 เมตรตอวินาที และความหนาของชั้นที่หนึ่ง 30 เมตร
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 439

รูปที่ 6.11 ภาพเสนคลื่นที่บันทึกได (seismogram) ของการสํารวจแบบหักเห โดยตัวรับคลื่นแตละตัววางหาง


กัน 5 เมตร ในรูปเราพิจารณาเฉพาะคลื่นแรกเพื่อนํามาหาความเร็วและความลึกของชั้นดิน-หิน (ก) แสดงขอมูลแบบ
เสนหยัก (ข) แสดงขอมูลแบบเสนหยักและระบายสีทึบแอมพิจูดที่มีคาบวก

เพื่อทบทวนความเขาใจในหัวขอที่กลาวมาแลว ควรพลิกไปทําแบบฝกหัดทายบทขอที่ 3 และ 4


กอนที่ศึกษาในลําดับตอไป

6.2.2.3 การหาโครงสรางใตผิวดินของระนาบสามชั้นและหลายๆ ชั้นแบบไมเอียงเท


การหาโครงสรางใตผิวดินสามชั้นไมเอียงเท (รูปที่ 6.12) ในกรณีนี้สามารถคํานวณคลายกันกับ
สองชั้น และตองอยูภายในเงื่อนไขคือ (1) ความเร็วคลื่นของแตละชั้นจะตองมีความเร็วคงที่ตลอดทั้งชั้น
และ (2) ความเร็วคลื่นตองเพิ่มมากขึ้นตามความลึก (เพราะจากกฎของสเนนล มุมวิกฤตจะไมเกิดขึ้น
หากความเร็วของชั้นลางนอยกวาชั้นบน จึงไมมีการหักเหกลับขึ้นมาสูผิวดิน จะมีแตการหักเหลึกลง
ไปสูชั้นลางไปเรื่อยๆ) สมการของแนวทางเดินคลื่นพิจารณาจากรูปเชิงเรขาคณิตดังแสดงในรูปที่ 6.12
จากรูปที่ 6.12 ทางเดินคลื่นจากจุดกําเนิดคลื่น (A) ไปยังจุดรับคลื่น (F) มีแนวทางเดินคือ
A→B→C→D→E→F สามารถหาเวลาที่คลื่นใชในการเดินทางไดจาก

AB BC CD DE EF
T = t AB + t BC + tCD + t DE + t EF =
+ + + +
V1 V2 V3 V2 V 1
2h1 2h2 x − 2h tan i1 − 2h2 tan i 2
T= + +
V1 cos i1 V2 cos i2 V3
440 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

x 2h1 2h tan i1 2h2 2h tan i2


T= + − 1 + − 2
V3 V1 cos i1 V3 V2 cos i2 V3
x 2h1 ⎛ V1 sin i1 ⎞ 2h2 ⎛ V2 sin i2 ⎞
T= + ⎜1 − ⎟+ ⎜1 − ⎟
V3 V1 cos i1 ⎝ V3 ⎠ V2 cos i2 ⎝ V3 ⎠
x 2h1 2h2
T= + cos 2 i1 + cos 2 i 2
V3 V1 cos i1 V2 cos i2
x 2h cos i1 2h2 cos i2
T= + +
V3 V1 V2

ดังนั้นจะได

x 2h1 (V32 − V12 )1/ 2 2h2 (V32 − V22 )1/ 2


T= + + (6.6)
V3 V3V1 V3V2

รูปที่ 6.12 แผนภาพแสดงแนวทางเดินคลื่นหักเหเมื่อผานไปชั้นที่สามและหักเหกลับสูผิวดิน

จากสมการที่ 6.6 ก็ยังคงเปนสมการเสนตรงโดยมีเวลาอินเตอรเซพทที่พวงเขามาสองเทอม คา


ความลาดชันของสมการ คือคาสวนกลับของความเร็วคลื่นของชั้นที่สามนั่นเอง และในที่สุดถามี n ชั้น
ไมมีการเอียงเท จะเขียนสมการไดดังนี้

x 2 n −1
(Vn2 − Vi 2 )1/ 2
T= +
Vn Vn
∑ hi
i =1 Vi
(6.7)
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 441

รูปที่ 6.13 เปนตัวอยางแสดงเสนทางเดินคลื่น (รูปที่ 6.3 (ก)) ที่ลักษณะทางธรณีวิทยาแบบสาม


ชั้น (รูปที่ 6.13 (ข)) โดยกําหนดใหชั้นที่หนึ่งเปนชั้นดินเหนียวมีความเร็วคลื่น 800 เมตรตอวินาที ชั้นที่
สองเปนชั้นหินทราย มีความเร็วคลื่น 1,800 เมตรตอวินาที และชั้นที่สามมีความเร็วคลื่น 3,500 เมตรตอ
วินาที ชั้นที่หนึ่งหนา 10 เมตร และชั้นที่สองหนา 30 เมตร หากทําการสํารวจโดยมีจํานวนตัวรับคลื่น 24
ตัว วางหางกันเปนระยะทาง 5 เมตร โดยตัวรับคลื่นตัวแรกหางจากจุดกําเนิดคลื่น 5 เมตร คลื่นตรง และ
คลื่นหักเหของชั้นที่สองและสามที่วิ่งเขามายังตัวรับคลื่นที่ตําแหนงตางๆ แสดงในตารางที่ 6.2

รูปที่ 6.13 แผนภาพแสดง (ก) แนวทางเดินคลื่นที่เกิดจากรูปจําลอง คลื่นแรกที่เดินทางไปยังตัวรับคลื่นที่อยู


ใกลกับจุดกําเนิดคลื่นเปนคลื่นตรง และตอมาเปนคลื่นหักเหของชั้นที่สอง และชั้นที่สามตามลําดับ (ข) รูปจําลองทาง
ธรณีวิทยาของชั้นดิน-หิน แบบสามชั้นไมมีมุมเท ความหนาของชั้นที่หนึ่ง 10 เมตร และชั้นที่สอง 30 เมตร
442 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ตารางที่ 3.2 คาของเวลาที่คลื่นใชเดินทางจากรูปจําลองที่ 6.13 (ข) โดยมีความหนาของชั้นที่หนึ่ง 10 เมตร และชั้นที่


สอง 30 เมตร เวลาของคลื่นตรงคํานวณจากสมการที่ 6.1 และเวลาของคลื่นหักเหชั้นที่สองคํานวณจากสมการที่ 6.2
และเวลาของคลื่นหักเหชั้นที่สามคํานวณจากสมการที่ 6.6
ตัวรับคลื่น ระยะทาง, x คลื่นตรง คลื่นหักเหชั้นที่สอง คลื่นหักเหชั้นที่สาม
(เมตร) (มิลลิวนิ าที) (มิลลิวินาที) (มิลลิวินาที)
1 5 6.25 -* -*
2 10 12.50 27.95 -
3 15 18.75 30.72 -
4 20 25.00 33.51 -
5 25 31.25 36.28 -
6 30 37.50 39.06 -
7 35 43.75 41.84 -
8 40 50.00 44.61 -
9 45 56.25 47.40 65.78
10 50 62.50 50.17 67.21
11 55 68.75 52.95 68.64
12 60 75.00 55.72 70.07
13 65 81.25 58.51 71.50
14 70 87.50 61.28 72.93
15 75 93.75 64.06 74.35
16 80 100.00 66.84 75.78
17 85 106.25 69.62 77.21
18 90 112.50 72.40 78.64
19 95 118.75 75.17 80.07
20 100 125.00 77.95 81.50
21 105 131.25 80.73 82.93
22 110 137.50 83.51 84.35
23 115 143.75 86.28 85.78
24 120 150.00 89.06 87.21
* คลื่นหักเหของชั้นที่หนึ่งจะพบตั้งแตระยะทาง 10 เมตรขึ้นไป สวนชั้นที่สองจะพบตั้งแตระยะทาง 40 เมตรขึ้นไป
กอนหนานั้นมุมวิกฤตยังไมเกิดขึ้น
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 443

เมื่อมีสามชั้น ดังนั้นการหาความหนาของชั้นที่สองทําไดโดยการหาเวลาอินเตอรเซพท (ti2)


ของชั้นที่สอง โดยที่เราสามารถหาความหนาของชั้นที่หนึ่งไดจากการคิดแบบสองชั้นดังที่ไดแสดง
มาแลว เมื่อเราไดคาของเวลาอินเตอรเซพท นํามาแทนคาในสมการ

⎡ 2h1 V32 − V12 ⎤ VV


h2 = ⎢ti 2 − ⎥ 3 2
(6.8)
⎢⎣ V3V1 ⎥⎦ 2 V32 − V22

การหาความลึก จากการพิ จ ารณาระยะวิ กฤต สามารถคํา นวณไดจ ากแนวทางเดิ นคลื่น เชิ ง


เรขาคณิต ดังแสดงในรูปที่ 6.14

รูปที่ 6.14 แผนภาพแสดงทางเดินคลื่นเชิงเรขาคณิต เพื่อวิเคราะหหาระยะวิกฤตที่จะทําใหไดคลื่นหักเหจาก


ชั้นที่สาม

จากรูปที่ 6.14 ระยะของ AE คือระยะวิกฤตที่จะทําใหเกิดคลื่นหักเหจากชั้นที่สาม แนวทางเดิน


ของคลื่นจะเดินทางจาก A→B→C→D→E และเพราะวา AB=DE=h1tani1 และ BC=CD= h2tani2;
sini1=V1/V3; sini2=V2/V3 ดังนั้นระยะวิกฤต (Xcrit)

⎡ sin i1 ⎤ sin i2
X crit = 2 ⎢ h1 ⎥ + h2
⎢⎣ 1 − sin 2 i1 ⎥⎦ 1 − sin 2 i2
444 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

⎡ V1 V2 ⎤
X crit = 2 ⎢ h1 + h2 ⎥ (6.9)
⎢⎣ V32 − V12 V32 − V22 ⎥⎦

จากสมการที่ 6.9 เราสามารถหาระยะวิกฤตที่จะทําใหเห็นคลื่นหักเหของชั้นที่สองวิ่งเขาสู


ตัวรับคลื่น แตในทางปฏิบัติเราจะสังเกตเห็นคลื่นหักเหเมื่อถึงจุดวิกฤตคอนขางยากเพราะไมใชคลื่น
แรกที่ปรากฏในเสนคลื่น การหาความลึกจึงนิยมที่จะหาแบบพิจารณาเวลาอินเตอรเซพท เพราะทําได
งายและสังเกตไดชัดเจนกวา และเปนการพิจารณาจากคลื่นแรกเพียงคลื่นเดียวเทานั้น รูปที่ 6.15 เปน
ตัวอยางของเสนคลื่นที่สํารวจจริงในสนามแบบสามชั้น

รูปที่ 6.15 เสนคลื่นจากตัวรับคลื่นจํานวน 24 ตัว วางหางกันเปนระทาง 5 เมตร สํารวจในพื้นที่บริเวณแอง


สกลนครหมูบานโนนแสบง อําเภอบานมวง จังหวัดสกลนคร (ก) ตัวกําเนิดคลื่นหางจากตัวรับคลื่นตัวแรก 150 เมตร
(ข) จุดกําเนิดดลื่นอยูระหวางตัวรับคลื่นตัวที่ 12 และ 13

เพื่อทบทวนความเขาใจในหัวขอที่กลาวมาแลว ควรพลิกไปทําแบบฝกหัดทายบทขอที่ 5-8


กอนที่ศึกษาในลําดับตอไป
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 445

6.2.2.4 การหาโครงสรางใตผิวดินระนาบสองชั้นแบบมีการเอียงเท
การหาโครงสรางใตผิวดินสองชั้นแบบมีการเอียงเท (รูปที่ 6.16) เงื่อนไขหรือขอกําหนดคลาย
กับแบบไมมีการเอียงเทคือ คาความเร็วคลื่นของแตละชั้นตองมีคาคงตัว และจะตองมีการเอียงเทในแนว
ระนาบ (plane) ไปดานใดดานหนึ่ง โดยที่คาความเร็วคลื่นของชั้นที่อยูลึกจะตองมีคาความเร็วคลื่น
มากกวาชั้นที่อยูตื้นกวาเสมอ

รูปที่ 6.16 แผนภาพแสดงรังสีคลื่นที่เดินทางผานชั้นที่มีความลาดชันลง (down dip) โดยมีตัวกําเนิดคลื่นอยูที่


จุด S และตัวรับคลื่นอยูที่จุด G เมื่อ hu คือ ความลึกของดานที่มีความลาดชันลดลง hd คือ ความลึกของดานที่มีความ
ลาดชันขึ้น Zu คือ ความลึกตั้งฉากในดานที่มีความลาดชันลดลง และ Zd คือความลึกตั้งฉากในดานที่มีความลาดชันขึ้น

จากรูปที่ 6.16 เวลาที่ใชในการเดินทางจากจุดกําเนิดคลื่นมาที่ตัวรับคลื่นคือ

SP + QG PQ
T = tSP + t PQ + tQG = +
V1 V2

แตเราทราบวา
z d + zu
tSP + tQG =
V1 cos i
x cos φ − ( zd + zu ) tan i
t PQ =
V2

ดังนั้น แทนคาจะได
446 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

zd + zu x cos φ − ( zd − zu ) tan i
T= +
V1 cos i V2
x cos φ zd + zu ⎛ V1 ⎞
T= + ⎜1 − tan i ⎟
V2 V 1 cos i ⎝ V2 ⎠
x cos φ ( zd + zu ) cos i
T= +
V2 V1

และเพราะวา zu=zd+xsin φ แทนคา zu

x cos φ zd cos i zd cos i x sin φ cos i


Td = + + +
V2 V1 V1 V1
x cos φ x cos i sin φ 2 zd cos i
Td = + +
V2 V1 V1
x v 2 z cos i
Td = (cos φ 1 + cos i sin φ ) + d
V1 V2 V1
x 2 z cos i
Td = (cos φ sin i + cos i sin φ ) + d
V1 V1

ดังนั้น Td จะได
x 2 z cos i
Td = sin(i + φ ) + d (6.10)
V1 V1

ทํานองเดียวกันกับ Tu จะได

x 2 z cos i
Tu = sin(i − φ ) + u (6.11)
V1 V1

จากสมการที่ 6.10 และ 6.11 คาขอ 2zucosi/V1 และ 2zdcosi/V1 คือ คาเวลาอินเตอรเซพทเมื่อมีความลาด
ชันขึ้น (intercept time up dip, tiu) และเวลาอินเตอรเซพทเมื่อมีความลาดชันลง (intercept time down
dip, tid) เขียนใหมใหมีรูปแบบงายขึ้น ไดดังนี้
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 447

x
Td = + tid
Vd
x
Tu = + tiu
Vu
V1
Vd = , Vu = V1
sin(i + φ ) sin(i − φ )

คาของ Vd และ Vu เปนคาความเร็วปรากฏ (apparent velocity) จะหา V2 ได ดังนี้

1 1⎛ 1 1 ⎞
≈ ⎜ + ⎟ (6.12)
V2 2 ⎝ Vd Vu ⎠
1⎛ V V ⎞
φ = ⎜ sin −1 1 − sin −1 1 ⎟ (6.13)
2⎝ Vd Vu ⎠

การหาความหนา hu และ hd จะหาไดโดยที่เราทราบ tiu, tid, Vd และ Vu จาก

2 zu cos i
tiu = (6.14)
V1
2 z cos i
tid = d (6.15)
V1
1⎛ V V ⎞
i = ⎜ sin −1 1 + sin −1 1 ⎟ (6.16)
2⎝ Vd Vu ⎠

ดังนั้น ความลึกหาไดจาก
zd
hd = (6.17)
cos φ
z
hu = u (6.18)
cos φ

ขอมูลของคลื่นตรงและคลื่นหักเหแสดงในตารางที่ 6.3 และเขียนกราฟจากขอมูลในตารางดัง


แสดงรูปที่ 6.17 (ก) ของรูปจําลองชั้นดิน-หินที่มีการเอียงเท (รูปที่ 6.17 (ข)) โดยที่จากรูปที่ 6.17 เราทํา
การสํารวจโดยใหมีตัว กําเนิดคลื่น อยูที่ปลายทั้ งสองขางของตั วรับคลื่น พบลักษณะของกราฟของ
448 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ทางเดินคลื่นที่แสดงในรูปที่ 6.17 (ก) ของตัวกําเนิดคลื่นที่อยูปลายดานซาย และของตัวกําเนิดคลื่นที่


ปลายดานขวาไมสมมาตรกัน เนื่องจากมีการเอียงเทของชั้นดิน-หิน ใตผิวดิน

ตาราง 6.3 คาของเวลาจากตัวรับคลื่นจํานวน 24 ตัว แตละตัววางหางกัน 10 เมตร โดยมีจุดกําเนิดคลื่นที่ปลายทั้งสอง


ขาง ของรูปจําลองทางธรณีวิทยาในรูปที่ 6.18 (ข)
ตัวรับคลื่น คลื่นตรงจาก คลื่นตรงจากปลาย คลื่นหักเหจากปลาย คลื่นหักเหจากปลาย
ปลายดานซาย ดานขวา ดานซาย ดานขวา
(มิลลิวินาที) (มิลลิวินาที) (มิลลิวินาที) (มิลลิวินาที)
1 0.00 287.50 47.37 138.94
2 12.50 275.00 53.36 137.06
3 25.00 262.50 59.36 135.18
4 37.50 250.00 65.35 133.30
5 50.00 237.50 71.35 131.42
6 62.50 225.00 77.34 129.54
7 75.00 212.50 83.34 127.66
8 87.50 200.00 89.33 125.78
9 100.00 187.50 95.33 123.89
10 112.50 175.00 101.32 122.01
11 125.00 162.50 107.32 120.13
12 137.50 150.00 113.31 118.25
13 150.00 137.50 119.31 116.37
14 162.50 125.00 125.30 114.49
15 175.00 112.50 131.30 112.61
16 187.50 100.00 137.29 110.73
17 200.00 87.50 143.29 108.84
18 212.50 75.00 149.28 106.96
19 225.00 62.50 155.28 105.08
20 237.50 50.00 161.27 103.21
21 250.00 37.50 167.27 101.32
22 262.50 25.00 173.26 99.44
23 275.00 12.50 179.26 97.56
24 287.50 0.00 185.25 95.68
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 449

รูปที่ 6.17 แผนภาพแสดง (ก) กราฟเสนทางเดินคลื่นของรูปจําลองลักษณะทางธรณีวิทยา โดยมีการวาง


ตัวรับคลื่นและตัวกําเนิดคลื่น โดยที่วางตัวกําเนิดคลื่นที่ปลายทั้งสองขางของแนวตัวรับคลื่น ความเร็วคลื่นหาจากสวน
กลับของความลาดชันได V1 = 800 เมตรตอวินาที, Vd= 1,668 เมตรตอวินาที และ Vu=5,223 เมตรตอวินาที (ข) รูป
จําลองทางธรณีวิทยาใตผิวดินแบบมีการเอียงเท ในรูปกําหนดใหมุมเท = 10° Zd = 20 เมตร Zu = 63 เมตร และความ
ยาวของระยะสํารวจ 250 เมตร

รูปที่ 6.18 เปนกราฟที่เกิดจากลักษณะของการเก็บขอมูล เพื่อศึกษาโครงสรางใตผิวดิน จากรูป


เราสรุปไดวา “ถาหากเราบันทึกขอมูลเพียงปลายดานเดียวของแนวสํารวจ (รูปที่ 6.18 (ก)) จะไม
สามารถบอกไดวาชั้นหินมีความเอียงเทหรือไม เพราะไมสามารถบอกความแตกตางไดจากกราฟของ
ระยะทางและเวลา ความเร็วที่หาไดของชั้นแรกหาไดจากคลื่นตรง สวนความเร็วจริงของคลื่นหักเหนั้น
ยังบอกไมได แตถาเราเห็นเสนทางเดินคลื่นที่สวนทางกันมีลักษณะสมมาตร (รูปที่ 6.18 (ข)) เรา
450 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

สามารถบงบอกไดวาใตผิวดินมีชั้นดิน-หินวางตัวในแนวราบ หรือถาเราเห็นเสนทางเดินคลื่นที่สวนทาง
กันมีลักษณะไมสมมาตร (รูปที่ 6.18 (ค)) เราสามารถบงบอกไดวาใตผิวดินมีชั้นดิน-หินวางตัวแบบมีมุม
เท และสามารถคํานวณหามุมเทของชั้นดิน-หินไดดังสมการที่กลาวมาแลว และจากรูปที่ 6.18 (ค)

รูปที่ 6.18 กราฟเสนทางเดินคลื่น (ก) กรณีที่วางแนวสํารวจโดยเก็บขอมูลที่ใหตัวกําเนิดคลื่นอยูที่ปลายใด


ปลายหนึ่งเพียงปลายเดียว (ข) และ (ค) กรณีที่วางแนวสํารวจและเก็บขอมูลโดยใหตัวกําเนิดคลื่นอยูที่ปลายทั้งสองขาง
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 451

นอกจากนี้เรายังสรุปไดอีกวา ถาเปนการวางตัวกําเนิดคลื่นและตัวรับคลื่นไปทางดานที่เอียงเท
ลง จะไดความเร็วที่คํานวณไดนอยกวาปกติ ทําใหความลึกที่คํานวณไดมากกวา แตถาตัวกําเนิดคลื่นวาง
ในแนวที่มีความเอียงเทขึ้น ความเร็วที่คํานวณไดจะมากกวาปกติและทําใหความลึกที่คํานวณไดจะนอย
กวา ดังนั้นในการสํารวจดวยคลื่นหักเห จึงควรจะมีการวางตัวกําเนิดคลื่นที่ปลายทั้งสองขางของแนว
ตัวรับคลื่น เสมือนใหคลื่นวิ่งแบบไปและกลับสวนทางกันนั่นเอง”
กลาวโดยสรุปวิธีการหาความลึก การเอียงเท และหาความเร็วชั้นดิน-หิน ในกราฟเสนทางเดิน
คลื่นของรูปที่ 6.17 (ก) ทําไดดังนี้
(1) หาความเร็วไดจากคาความลาดชันของเสนตรงที่ปรากฏในกราฟ
(2) ความเร็วของคลื่นตรงคือความเร็วคลื่นของชั้นแรก
(3) ความเร็วคลื่นของชั้นที่สองหาไดจากสวนกับของคาเฉลี่ยของความเร็วคลื่นที่คิดจากสวน
กลับคาความลาดชันลงและลาดชันขึ้น ดังสมการที่ 6.12
(4) การหาความลาดชันคํานวณไดจากสมการที่ 6.13 และหากเสนเวลาของทางเดินคลื่นไม
สมมาตรสามารถบงบอกวาใตผิวดินมีความเอียงเทไปทางดานใด โดยสังเกตจากเวลาที่เกิด
จากเสนที่ลากขนานกับเสนเวลาของทางเดินคลื่นหักเห ไปตัดแกนเวลาที่มีระยะทางอยูที่
จุดกําเนิดคลื่น ถาดานใดใชเวลานอยกวา ความลึกยอมนอยกวาอีกดาน ดังนั้นมุมเทเอียง
ไปทางดานตรงกันขาม
(5) การหาความลึก หาโดยการลากเสนตรงตอคลื่นหักเห (ดังแสดงดวยเสนประในรูปที่ 6.17
(ก) ออกไปตัดกับแกนเวลาที่จุดกําเนิดคลื่น x=0 อานคา tiu และ tid แลวแทนคาหาความลึก
ตั้งฉากจากสมการที่ 6.14 และ 6.15 จากนั้นนําความลึกตั้งฉากไปแทนคาหาความลึกใตจุด
กําเนิดคลื่นในแนวดิ่ง ในสมการที่ 6.17 และ 6.18 และ
(6) แปลความหมายทางธรณี วิ ท ยาของชั้ น ดิ น -หิ น โดยเปรี ย บเที ย บความน า จะเป น ของ
ความเร็วคลื่นที่วัดไดวาควรเปนความเร็วคลื่นของชั้นดิน-หิน ประเภทใด
รูปที่ 6.19 (ก), (ข) และ (ค) เปนตัวอยางของกราฟเสนทางเดินคลื่นที่มีการเอียงเทดวยมุม 5°,
10° และ 15° ตามลําดับ โดยมีคาเร็ว V1 = 500 เมตรตอวินาที และ V2 = 2,500 เมตรตอวินาที ระยะ Zd =
20 เมตร แนวสํารวจครอบคลุมระยะทาง 250 เมตร จากรูปสรุปไดวา Vu มีคาความเร็วมากขึ้นเมื่อมุมเท
มาก ตรงกันขามกับ Vd มีคาความเร็วนอยเมื่อมุมเทมากขึ้น สังเกตที่ปลายทั้งสองขางของกราฟที่ไปและ
กลับ ซึ่งกรณีใตผิวดินเปนระนาบตรง ไมมีการเอียงเท รูปกราฟจะสมมาตรกัน สวนกรณีที่มีการเอียงเท
เวลาที่ปลายสุดทาย ในกรณีมุมเท 5° หรือ 10° มีคาใกลเคียงกัน แตกตางจากกรณีของมุมเท 15° ที่
452 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ปลายสุ ด ท า ยค า เวลาไม เ ท า กั น อยา งชัด เจน คา เวลาที่ป ลายสุ ด ท า ยของแนวกราฟที่ ทํา ไปข า งหน า
(forward) และทํายอนกลับ (reverse) เรียกวา reciprocal time ซึ่งจะกลาวรายละเอียดอีกครั้งกรณีระนาบ
เปนผิวขรุขระ

รูปที่ 6.19 กราฟเสนทางเดินคลื่น โดยวางแนวสํารวจโดยเก็บขอมูลที่ใหตัวกําเนิดคลื่นอยูที่ปลายใดปลาย


หนึ่งเพียงปลายเดียว (ก) กรณีที่มีมุมเท 5° (ข) กรณีที่มีมุมเท 10° และ (ค) กรณีที่มีมุมเท 15° โดยมีคาเร็ว V1 = 500
เมตรตอวินาที และ V2 = 2,500 เมตรตอวินาที ระยะ Zd = 20 เมตร
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 453

6.2.2.5 การหาโครงสรางใตผิวดินของระนาบหลายๆ ชั้นแบบมีการเอียงเท


กรณีมีหลายๆ ชั้น ก็จะมีหลักการคิดเชนเดียวกับสองชั้น โดยสามารถเขียนสมการของเวลาของ
ชั้นใดๆ ไดดังนี้

x sin ui n −1 zdi
Td = + ∑ (cos di + cos ui )
Vi i =1 Vi

x sin d i n −1 zui
Tu = + ∑ (cos di + cos ui )
Vi i =1 Vi

ภาพตัวอยางกราฟเสนทางเดินคลื่นกรณีมีการเอียงเทของแบบสามชั้น แสดงในรูปที่ 6.20 (ก)


ซึ่งจากกราฟสรางจากลักษณะธรณีวิทยาของสามชั้นแสดงในรูปที่ 6.20 (ข)

รูปที่ 6.20 กราฟเสนทางเดินคลื่น โดยวางแนวสํารวจเก็บขอมูลที่ใหตัวกําเนิดคลื่นอยูที่ปลายทั้งสองขาง (ก)


กรณีที่มีมุมเท แบบสามชั้น (ข) กรณีที่มีมุมเทแบบสี่ชั้น
454 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

จากรูปที่ 6.20 (ข) พบวาหากชั้นดิน-หิน หลายๆ ชั้นการพิจารณาแนวของเสนตรงของคลื่นหัก


เหจากแตละชั้นคอนขางลําบาก แตโดยสวนใหญถาเปนการสํารวจระดับตื้น เราจะพบเพียง 2, 3 หรือ 4
ชั้น เพราะในธรรมชาติชั้นดิน-หินพบคอนขางหนาในแตละชั้น การหาความลึก ความเร็วคลื่น และการ
เอียงเท กรณีสามชั้นมีหลักการวิเคราะหอยางงายๆ ดังแสดงแผนภาพและสัญลักษณที่ใชพิจารณาในการ
คํานวณในรูปที่ 6.21 ซึ่งจากรูปสามารถเขียนสมการเพื่อคํานวณหาความลึก ความเร็ว การเอียงเทของแต
ละชั้นไดดังนี้

รูปที่ 6.21 แผนภาพแสดงทางเดินของคลื่นหักเหของชั้นที่สอง สาม และ สี่ พรอมสัญลักษณของมุมหักเห


และมุมเอียงเทของชั้นตางๆ (ก) กราฟเสนทางเดินคลื่นหักเหที่เกิดจากชั้นที่สอง สาม และสี่ (ข) รูปจําลองแบบสี่ชั้น

จากรูปที่ 6.21 วิธีหาความเร็วและการเอียงเททําไดดังนี้


(1) ความเร็วของชั้นที่ 1 หาไดจากคลื่นตรง นั่นคือสวนกลับของความลาดชัน 1/V1 นั่นเอง
(2) ความเร็วของชั้นที่สองหาไดจาก
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 455

V1
sin(i12 − φ1 ) =
V2 B
V
sin(i12 + φ1 ) = 1
V2 A

ดังนั้นสามารถหาคาของ i12 และ φ1 ได จากสองสมการขางบน เพราะไมทราบคาสอง


คา คือ i12 และ φ1 จากนั้นหาคา V2 จาก

V1
sin i12 =
V2

(3) ความเร็วของชั้นที่สามหาไดจาก

V1
sin(α13 − φ1 ) =
V3 B
V
sin( β13 + φ1 ) = 1
V3 A

จากสองสมการขางบนจะหาคาของ α13 และ β13 ไดจาก

sin α13
sin [i23 − (φ2 − φ1 )] =
sin i12
sin β13
sin [i23 + (φ2 − φ1 ) ] =
sin i12

จากสองสมการที่กลาวมาขางบนสามารถหา i23 และ φ2 ได จากนั้นสามารถหา V3 ได จาก

V2
sin i23 =
V3

(4) ความเร็วของชั้นที่สี่ ทํานองเดียวกันกับชั้นที่สาม จากสมการ


456 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

V1
sin(α14 − φ1 ) =
V4 B
V
sin( β14 + φ1 ) = 1
V4 A

จากสองสมการขางบนสามารถหาคาของ α14 และ β14 ได จากนั้น

sin α14
sin [α 24 − (φ2 − φ1 ) ] =
sin i12
sin β14
sin [ β 24 + (φ2 − φ1 ) ] =
sin i12

จากสมการที่กลาวแลวมาสามารถหา α24 และ β24ได และจากสมการ

sin α 24
sin [i34 − (φ3 − φ2 )] =
sin i23
sin β 24
sin [i34 + (φ3 − φ2 ) ] =
sin i23

จากสองสมการที่กลาวมาสามารถหา i34 และ φ3 ได จากนั้นสามารถหา V4 ได จาก

V3
sin i34 =
V4

จากรูปที่ 6.21 การหาความลึกตั้งฉากกับระนาบเอียงเทไดจาก


(1) กรณีของชั้นที่หนึ่ง หาไดจากสมการ

t1 AV1
z1 A =
2 cos i12
t V
z1B = 1B 1
2 cos i12
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 457

(2) กรณีของชั้นที่สองหาไดจากสมการ

V2
z2 A = [t2 A + z1 A (cos α13 + cos β13 ) / V1 ]
2 cos i23
V2
z2 B = [t2 B + z1B (cos α13 + cos β13 ) / V1 ]
2 cos i23

(3) กรณีของชั้นที่สามหาไดจากสมการ

⎡ z (cos α14 + cos β14 ) z2 A (cos α 24 + cos β 24 ) ⎤ V2


z3 A = ⎢t3 A − 1 A − ⎥
⎣ V1 V2 ⎦ 2 cos i34
⎡ z (cos α14 + cos β14 ) z2 B (cos α 24 + cos β 24 ) ⎤ V2
z3 B = ⎢t3 B − 1B − ⎥
⎣ V1 V2 ⎦ 2 cos i34

จากสมการต างๆ ที่ ก ล า วมาแลว ดู เ หมื อ นจะยุ ง ยากแตความจริง ไม เ ป น เชน นั้น หากเราได
เสนกราฟทางเดินของคลื่นแรกที่เขามายังตัวรับคลื่น สิ่งที่ตองทําคือหาคาของความเร็วที่ไดจากสวน
กลับของความลาดชันตางๆ ดังรูปที่ 6.21 (ก) พรอมทั้งคาเวลาอินเตอรเซพทตางๆ จากนั้นนํามาแทนคา
ในสมการที่กลาวมาแลวไปทีละขั้นตอน ก็จะสามารถแปลความหาความลึกและการเอียงเทของชั้นดิน-
หินไดโดยงาย

เพื่อทบทวนความเขาใจในหัวขอที่กลาวมาแลว ควรพลิกไปทําแบบฝกหัดทายบทขอที่ 9-11


กอนที่ศึกษาในลําดับตอไป

6.2.3 รูปแบบทางเดินรังสีหักเหเชิงเรขาคณิตของชั้นรอยตอผิวขรุขระ
การหาโครงสรางใตผิวดินกรณีชั้นหินผิวขรุขระ ถาหากพบวารูปกราฟของเสนเวลาของ
ทางเดินรังสีหักเหไมเปนเสนตรง เหมือนกับที่กลาวมาแลวในหัวขอที่ 6.2.2 และสาเหตุที่ไมเปน
เส น ตรงไม ใ ช สาเหตุ ม าจากความสู ง-ต่ํ า ของพื้ น ผิ ว ที่แ ตกต า งกั น ของตํ า แหน ง ตั ว รับ คลื่ น นั่ น เป น
หลักฐานที่แสดงวารอยตอของชั้นดิน-หินในบริเวณนั้นไมเปนแนวระนาบ ที่จะสามารถทําการวิเคราะห
ดวยวิธีที่กลาวมาแลวในหัวขอที่ 6.2.2 ได ดังนั้นการที่จะหาโครงสรางใตผิวดินจากการหาคาของ
458 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ความเร็วจากสวนกลับของความลาดชันของเสนตรง และหาความลึกจากการอานคาเวลาอินเตอรเซพท
จะทําใหการแปลความหมายของขอมูลไดไมถูกตอง เมื่อพบลักษณะทางเดินของคลื่นหักเหกลับขึ้นมา
ไมเปนเสนตรง จะตองเลือกวิธีคํานวณหาความเร็วและความลึกของชั้นดิน-หินแบบรอยตอผิวขรุขระ
วิธีที่ใชหาความหนาของชั้นดิน-หินผิวขรุขระมีอยูหลายวิธี ในที่นี้จะกลาวเพียงบางสวนที่ยัง
เปนที่นิยมใชกันในปจจุบัน คือ (1) วิธีดีเลยไทม (delay time method) (2) วิธีวิเคราะหหนาคลื่น
(wavefront method) (3) วิธีสรางรูปจําลองเพื่อทํานายเปรียบเทียบทางเดินรังสีคลื่น (ray tracing
method) และ (4) วิธีเจลเนอรอลไลดรีเซพทโพรคอลไทม (generalized reciprocal time method)

6.2.3.1 วิธีดีเลยไทม (Delay Time Method)


วิธีดีเลยไทม (Delay time method) เสนอโดย Gardner (1939) อางถึงใน Redpath (1973) ซึ่ง
Hadedoorn (1959) เสนอใหมเปน พลัส-ไมนัส (Plus-minus method) อาศัยหลักการดังนี้ "เวลาที่ชาไป
ของคลื่น หรือดีเลยไทม (delay time) เกิดจากการวิ่งขึ้น-ลงอยูภายในชั้น V1 และวิ่งที่รอยตอระหวางชั้น
ดวยความเร็วของชั้น V2 ลบออกจากเวลาที่คลื่นใชเดินทางในชั้นที่สองดวยความเร็วของ V2 ที่ระยะทาง
เทากับระยะหางของตัวรับคลื่นและจุดกําเนิดคลื่นเพียงอยางเดียว (Delay time is defined as the time
spend by a wave to travel up or down through V1 layer compared to the time the wave would spend if
traveling along the projection of the slant path on refractor, Redpath, 1973)” ดังนั้นจากกราฟรูปที่
6.22 (ก) สามารถเขียนสมการของดีเลยไทม (dt)ไดตามลักษณะทางเดินคลื่นที่แสดงในรูปที่ 6.22 (ข)

รูปที่ 6.22 แผนภาพหลักการคํานวณของวิธีดีเลยไทม (ก) กราฟเสนทางเดินคลื่นตรงและคลื่นหักเห (ข)


แผนภาพทางเดินรังสีหักเหเชิงเรขาคณิต
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 459

จากรูปที่ 6.22 เขียนสมการไดคือ

dt = TAB − TBC
AB BC
dt = −
V1 V2
h h tan i
dt = −
cos iV1 V2

ดังนั้น

⎛ 1 sin i ⎞
dt = h ⎜ − ⎟
⎝ V1 cos i V2 cos i ⎠
⎛ 1 sin 2 i ⎞
dt = h ⎜ − ⎟
⎝ V1 cos i V1 cos i ⎠

sin 2 i
คาของ นั้นถูกตอง และเพราะวา sin 2 i + cos 2 i = 1 จะได
V1 cos i

h cos i h V2 − V1
2 2
dt = =
V1 V1V2
dtV1V2
h= (6.19)
V22 − V12

จากสมการที่ 6.19 เมื่อทราบดีเลยไทมก็สามารถหาความลึกได และจากรูปที่ 6.22 เวลาอินเตอร


เซพท สามารถเขียนออกมาในรูปของดีเลยไทมไดดังนี้

x
t= + dtS + dtG
V2

เมื่อ dtS และ dtG เปนดีเลยไทมที่เกิดจากตัวกําเนิดคลื่นและตัวรับคลื่นตามลําดับ ดังนั้นในกรณีที่


เปนระนาบ
460 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

1
dtS = dtG = ti
2

หรือกรณีที่เปนระนาบเอียงดังแสดงรูปที่ 6.23

รูปที่ 6.23 ทางเดินคลื่นหักเหกลับสูผิวดินกรณีมีการเอียงเท ระยะ AE= x และ CF=x′

จากรูปที่ 6.23 เวลาที่คลื่นใชเดินทางโดยวิธีดีเลยไทมเขียนไดดังนี้

x′
t= + dtS + dtG
V2

เมื่อ
dtS = t AB − t BC
dtG = t DE − t DF

แตสิ่งที่ไมทราบคือ x′ ทํานองเดียวกันกับกรณีของผิวขรุขระดังแสดงในรูปที่ 6.24


หลักการคํานวณหาความลึกโดยวิธีดีเลยไทมจะมีขอกําหนดที่วา x≈x′ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลง
ของความสูง-ต่ําตองมีมุมเทไมเกินกวา 10° (Redpath, 1973; Telford et al., 1990) และจะตองทําการ
สํา รวจแบบให มี ตั ว กํ า เนิ ด คลื่ น อยู ที่ ป ลายทั้ ง สองข า งของตั ว รั บ คลื่ น หรื อ สํ า รวจให ไ ด ข อ มู ล ของ
แนวทางเดินรังสีหักเหกลับสูผิวดินแบบไปและกลับ (forward and reverse ray path) ดังนั้นจากรูปที่
6.24 เวลาที่เดินทางจาก ABDE จะตองเทากับเวลาที่เดินทางจาก EDBA คาเวลาที่คลื่นเดินทางสวนทาง
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 461

กันจากตําแหนงที่ปลายทั้งสองขางของแนวตัวรับคลื่น เรียกวา “คารีเซพทโพรคอลไทม (reciprocal


time)” ซึ่งคานี้จะตองเทากัน แตในทางปฏิบัติอาจแตกตางกันบาง (ความหมายของคารีเซพทโพรคอล
ไทม ตามนิยามภาษาอังกฤษคือ "The travel time from forward shot is the same as reverse shot")
หลักการวิเคราะหจากรูปที่ 6.25 สามารถเขียนสมการของเวลาที่คลื่นเดินทางไดดังนี้

l
TS 1S 2 = + dtS1 + dtS 2
V2

รูปที่ 6.24 ทางเดินคลื่นหักเหกลับสูผิวดินกรณีเคลื่อนอยูระหวางรอยตอที่มีผิวขรุขระ ระยะ AE= x และ


CF=x′

ที่จุด D ในรูปที่ 6.25

x
TS 1D = + dtS1 + d tD (6.20)
V2
l−x
TS 2 D = + d tS 2 + dtD (6.21)
V2

นําสมการที่ 6.20 บวกกับสมการที่ 6.21 จะได

l
TS 1D + TS 2 D = + dtS1 + dtS 2 + 2dtD
V2
TS 1D + TS 2 D = TS 1S 2 + 2dtD
462 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

รูปที่ 6.25 แนวทางเดินของคลื่นที่วิเคราะหดวยวิธีดีเลยไทม (ก) กราฟเสนทางเดินรังสี (ข) รูปจําลองที่มี


รอยตอแบบขรุขระของชั้นดิน-หิน พรอมสัญลักษณของการเดินทางคลื่นเชิงเรขาคณิตเพื่อวิเคราะหดวยวิธีดีเลยไทม

ดังนั้น ดีเลยไทมที่จุด D จะได

1
dtD = (TS 1D + TS 2 D − TS 1S 2 ) (6.22)
2

และเพราะวา จากสมการที่ 6.19 เมื่อทราบ dt หาความลึกไดโดยที่

h cos i
dtD =
V1

ดังนั้นจากสมการที่ 6.22 จะได

(TS1D + TS 2 D − TS1S 2 )V1


h=
2 cos i
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 463

(TS1D + TS 2 D − TS1S 2 )V1V2


h= (6.23)
2 V22 − V12

นําสมการที่ 6.20 ลบกับสมการที่ 6.21 จะได

2x l
TS 1D − TS 2 D = − + dtS1 − dtS 2 (6.24)
V2 V2

จากสมการที่ 6.24 ถาเขียนระหวาง TS1D-TS2D และ x จะไดคาความลาดชันเทากับ 2/V2 ซึ่งก็


สามารถหาคา V2 ได ซึ่งคาความเร็วของ V2 เทากับสวนกลับของความลาดชันหารดวยสอง ดังนั้นเมื่อ
พบกราฟเสนทางเดินคลื่นไมเปนเสนตรง มีสาเหตุจากรอยตอระหวางชั้นดิน-หินแบบผิวขรุขระ และ
กราฟนั้นมีการเก็บขอมูลที่มีตัวกําเนิดคลื่นอยูที่ปลายของตัวรับคลื่นทั้งสองขาง การวิเคราะหหาความ
ลึกและความเร็วคลื่นของชั้นที่สองทําไดโดย (1) หาคารีเซพทโพรคอลไทมที่จุดปลายทั้งสองขางของ
แนวเสนทางเดินคลื่น ถากรณีคาไมเทากันใหหาคาเฉลี่ย (2) หาคา V1 จากสวนกลับของคาความลาดของ
กราฟระยะทางและเวลา (3) เขียนคาของ TS1D-TS2D และ x เพื่อหาคา V2 และ (4) คํานวณคาดีเลยไทมที่
ตําแหนงตางๆ จากสมการที่ 6.22 พรอมหาความลึกที่ตําแหนงนั้นๆ ไดจากสมการที่ 6.23
วิธีดีเลยไทมถูกดัดแปลงเรียกวา “วิธีเอบีซี (ABC method)" ถาพบวา V2>>V1 เชนกรณีที่ V2
มากกวา 3 เทาของ V1 พบวาคาความลึกที่คํานวณจากวิธีเอบีซีจะมีความผิดพลาดไมเกิน 6% (Telford et
al., 1990) การคํานวณหาความลึกทําไดงายๆ ดังนี้

1
h = V1 (TS 1D + TS 2 D − TS1S 2 ) (6.25)
2

จะเห็นวาวิธีเอบีซีมีขอดีตรงที่ไมตองหา V2 ก็สามารถหาความลึกได จึงเหมาะสําหรับการหา


ความลึกของหินฐาน (bedrock) ที่มีชั้นดินออนปดทับชั้นหินแข็ง วิธีนี้นิยมทํากันมากโดยเฉพาะสําหรับ
ประยุกตเพื่อหาหินฐานทางวิศวกรรมฐานราก เพราะคาความลึกจะถูกตองเพราะคา V1 หาไดแมนยํา
เนื่องจากสังเกตไดชัดเจนเนื่องจากอยูใกลตัวกําเนิดคลื่น แตถาหากใชคาของ V2 มาคํานวณ และหากคา
V2 มีความคลาดเคลื่อนอาจทําใหไดคาความลึกไมแมนยํา อยางไรก็ตามถาคาความเร็วคลื่นของ V2 และ
V1ไมแตกตางกันมากๆ แลว วิธีนี้ก็ไมเหมาะสมที่จะนํามาใช
464 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

เพื่อทบทวนความเขาใจในหัวขอที่กลาวมาแลว ควรพลิกไปทําแบบฝกหัดทายบทขอที่ 12
กอนที่ศึกษาในลําดับตอไป

การลงตําแหนงของความลึกดวยวิธีดีเลยไทมแสดงในรูปที่ 6.26 สวนรูปที่ 6.27 (ก) แสดงกราฟ


ตัวอยางของเสนทางเดินคลื่นของโครงสรางที่มีผิวขรุขระ และรูปที่ 6.27 (ข) เปนรูปจําลองลักษณะทาง
ธรณีวิทยาของขอมูลที่แสดงในกราฟรูปที่ 6.27 (ก) เปนการวิเคราะหหาความลึกและความเร็วคลื่นดวย
วิธีดีเลยไทม ตารางที่ 6.4 แสดงคาของเวลาที่บันทึกไดและคาความลึกที่คํานวณไดในตําแหนงตางๆ ทั้ง
วิธีดีเลยไทมและเอบีซี

รูปที่ 6.26 การลากเสนเชื่อมรอยตอของชั้นดิน-หิน ที่มีผิวขรุขระ โดยการสรางวงกลมรัศมีเทากับความลึกที่


คํานวณจากคาดีเลยไทมที่ตําแหนงตางๆ ใชการตอจุดตอระหวางจุดใตตัวรับคลื่นโดยลากเสนสัมผัส

จากขอมูลที่แสดงในตารางที่ 6.4 เมื่อนําเอาคาของ TS1D-TS2D และ x มาเขียนกราฟเพื่อหา


ความเร็ว V2 จะไดในรูปที่ 6.28 หรือจะเขียนลงในรูปกราฟที่แสดงในรูปที่ 6.29 ไดเชนเดียวกัน การหา
ความเร็วสามารถหาไดจากคาสวนกลับของความลาดชันไดโดยตรง ในการสํารวจระดับตื้นในพื้นที่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ สวนใหญผูเขียนพบลักษณะของรอยตอชั้นดิน-หินมีผิวขรุขระ และเลือกแปล
ความหมายดวยวิธีดีเลยไทม ซึ่งคอนขางทําไดรวดเร็ว และในการแปลความหมายดวยวิธีนี้ ผูเขียนพบ
ความผิดพลาดคอนขางมากของนักศึกษา เมื่อใหทําการแปลความหมายดวยวิธีดีเลยไทม คือ นักศึกษา
จะนําเอาคลื่นตรงเขามาแปลความหมายเปนคลื่นหักเห ทําใหไดความลึกผิดพลาด
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 465

รูปที่ 6.27 (ก) กราฟเสนทางเดินคลื่นในบริเวณที่มีผิวขรุขระ ไมสามารถลากเสนตรงใหผานจุดตางๆ เพื่อหา


คาความลาดชันได (ข) ผลการแปลความจากกราฟเสนทางเดินคลื่น พบรอยตอของชั้นดิน-หิน มีผิวขรุขระ

สรุปวิธีดีเลยไทมเปนวิธีที่คํานวณไดงาย ใชในกรณีที่มีผิวรอยตอระหวางชั้นที่เปนผิวขรุขระ
ซึ่งวิธีนี้ตองการขอมูลเก็บแบบรีเซพทโพรคอลไทม คือเก็บขอมูลใหคลื่นเดินทางสวนกัน โดยที่ตาม
ทฤษฎีคาของ TS1S2 =TS2S1 แตในทางปฏิบัติอาจจะแตกตางกันได วิธีทําคือควรหาคาเฉลี่ย ขอจํากัดของ
วิธีนี้คือคาของความแตกตางทางความสูง-ต่ําหรือความขรุขระของผิวรอยตอตองมีมุมไมเกิน 10 °
466 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ตารางที่ 6.4 คาของเวลาของขอมูลของการสํารวจของชั้นดิน-หินผิวขรุขระ และคาความลึกที่แปลความดวยวิธีดีเลย


ไทมและเอบีซี โดยใชคา V1= 400 เมตรตอวินาที และ V2 = 1,625 เมตรตอวินาที
ตําแหนง เวลาของคลื่นจาก เวลาของคลื่นจาก คาดีเลยไทม ความลึกจากวิธี ความลึกจากวิธี
ตัวรับคลื่น ปลายดานซาย ปลายดานขวา สมการที่ 6.22 เอบีซี ดีเลยไทม
(เมตร) (มิลลิวินาที) (มิลลิวินาที) (มิลลิวินาที) (เมตร) (เมตร)
0 0 78 -* -* -*
4 10 75 - - -
8 19 75 - - -
12 24 72 9.25 3.7 3.8
16 27 68 8.75 3.5 3.6
20 29 66 8.75 3.5 3.6
24 32 64 9.25 3.7 3.8
28 34 59 7.75 3.1 3.2
32 36 58 8.25 3.3 3.4
36 38 58 9.25 3.7 3.8
40 41 55 9.25 3.7 3.8
44 41 55 9.25 3.7 3.8
48 43 54 9.75 3.9 4.0
52 45 52 9.75 3.9 4.0
56 48 50 10.25 4.1 4.2
60 55 50 13.75 5.5 5.6
64 60 45 13.75 5.5 5.6
68 63 38 11.75 4.7 4.8
72 67 34 11.75 4.7 4.8
76 72 29 11.75 4.7 4.8
80 74 24 10.25 4.1 4.1
84 75 17 - - -
88 75 13 - - -
92 77 0 - - -
*นํามาคํานวณไมไดเพราะคลื่นยังไมถึงมุมวิกฤตที่จะเกิดการหักเหกลับสูผิวดิน
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 467

รูปที่ 6.28 กราฟระหวางเวลาของ TS1D-TS2D และระยะทาง คาของ V2 หาไดจากสวนกลับของ 2/ V2

รูปที่ 6.29 กราฟระยะทางและเวลาของเสนทางเดินคลื่น แสดงการหาความเร็ว V2 โดยใชคาของเวลาทั้งหมด


ลบคาของดีเลยไทมที่ตําแหนงตางๆ คา V2 หาไดจากสวนกลับของความลาดชัน

การหาดวยวิธีดีเลยไทมหากชั้นดิน-หินที่สนใจเพียงสองชั้นนั้นไมมีปญหาในการวิเคราะหมาก
นัก แตถาหากเปนกรณีสามชั้น คอนขางจะมีขีดจํากัด ดังตัวอยางที่จะแสดงในลําดับตอไป ซึ่งตัวอยางนี้
คัดลอกขอมูล จาก Redpath (1973) ขอมูลแสดงในตารางที่ 6.5 กราฟของขอมูลแสดงในรูปที่ 6.30 ซึ่ง
จากลักษณะของเสนกราฟ จะเห็นวาสภาพใตผิวดินมีลักษณะผิวขรุขระ
468 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ตารางที่ 6.5 ขอมูลเสนทางเดินคลื่นของการสํารวจแบบหักเหที่ตําแหนงตางๆ (คัดลอกขอมูลโดยมีการเปลี่ยนแปลง


หนวยที่ใชจากฟุตเปนเมตรจาก Redpath, 1973)
ตําแหนง, x ขอมูลอยูที่ตําแหนง ขอมูลอยูที่ตําแหนง ขอมูลอยูที่ตําแหนง ขอมูลอยูที่ตําแหนง
(เมตร) x=-5 (มิลลิวินาที) x=37 (มิลลิวินาที) x=82 (มิลลิวินาที) x=170 (มิลลิวินาที)
0 6 33 50 76
15 16 25 45.5 71
30 28 10 42 67.5
45 37 10 35 60.5
60 42 24.5 24.5 50
75 47 34 10 46.5
90 53.5 - 10 41.5
105 60.5 - 27.5 37
120 61.5 - 29.5 28
135 65.5 - 33.5 20.5
150 71.5 - 38.5 12
165 76 - 44.5 6

รูปที่ 6.30 กราฟระยะทางและเวลาของขอมูลที่แสดงในตารางที่ 6.4 จํานวน 4 จุดการสํารวจ บงบอกลักษณะ


ผิวรอยตอแบบขรุขระ
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 469

รูปที่ 6.30 หากนํามาแปลความหมายโดยหาความเร็วของชั้นแรกที่เปนคลื่นตรงไดความเร็ว


ประมาณ 750-780 เมตรตอวินาที (รูปที่ 6.31) และจากลักษณะของกราฟแสดงถึงชั้นที่สองและสามมี
ลักษณะเปนผิวขรุขระ เมื่อหาความเร็วจากความลาดชันพบวาความเร็วที่ไดของชั้นที่สองและสามมีคา
แตกตางกันเปนอยางมาก (รูปที่ 6.31) แตเมื่อใชวิธีของดีเลยไทมเพื่อหาคา V3 ไดคาที่ใกลเคียงกัน (รูปที่
6.32) มีความเร็วประมาณ 2,485 เมตรตอวินาที สวนความเร็วของชั้นที่สองหาคาเฉลี่ยแบบฮารโมนิค
โดยที่ V2 ดานซายจะได

2 × 1, 230 × 1,920
V2 = = 1,500 เมตรตอวินาที
1, 230 + 1,920

ดานขวาจะได

2 × 1,800 ×1, 680


V2 = = 1, 735 เมตรตอวินาที
1,800 + 1, 680

หาคาเฉลี่ยอีกครั้ง ดังนั้นคา V2=1,600 เมตรตอวินาที

รูปที่ 6.31 กราฟระยะทางและเวลา แสดงการหาความเร็วของชั้นตางๆ โดยพิจารณาคาของความลาดชัน แปล


ความหมายไดสามชั้น และขอมูลทางดานขวาที่มีตัวกําเนิดคลื่นอยูที่ระยะ 82.5 เมตร คาความเร็วชั้นที่สองเปนขอมูลที่
คอนขางผิดปกติ ซึ่งแตกตางจากกลุมของขอมูลอื่น จึงไมไดแปลความหาคาความเร็วของชั้น V2
470 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

รูปที่ 6.32 กราฟระยะทางและเวลา แสดงการหาความเร็วของชั้นที่สาม โดยใชวิธีดีเลยไทมเพื่อหาความเร็ว


จากคาสวนกลับของความลาดชัน

ดังนั้น เมื่อไดคาของ ความเร็วทั้งสามชั้นสามารถหาความลึกไดโดย หาคาดีเลยไทมดังแสดงใน


รูปที่ 6.33 (ก) และ (ข) จากนั้นนําคาดีเลยไทมที่ตําแหนงตางๆ ไปแทนคาลงในสมการที่ 6.22 เพื่อ
คํานวณหาความลึกดังแสดงในตารางที่ 6.6 และรูปจําลองใตผิวดินจากการแปลความในขั้นตอนสุดทาย
แสดงในรูปที่ 6.34

6.2.3.2 วิธีวิเคราะหหนาคลื่น (Wavefront Method)


วิธีวิเคราะหหนาคลื่น (Wavefront method) วิธีนี้เปนวิธีที่ถือวาใหความถูกตองมากกวาวิธีอื่นๆ
(Hales, 1959) เพราะใชการวาดหนาคลื่นโดยตรง แตตองเสียเวลาในการวาดหนาคลื่น ถาขอมูลที่
ตองการวิเคราะหไมมากก็สามารถทําไดและการหาความลึกที่ไดจะไดคาที่ถูกตองแมนยํา หลักการ
วิเคราะหแสดงในรูปที่ 6.35 วิธีการวิเคราะหมีหลักการดังนี้
(1) จากกราฟเสนทางเดินคลื่นตองมีทั้งขอมูลที่มีจุดกําเนิดคลื่นอยูปลายทั้งสองขางของแนว
ตัวรับคลื่น และหาคาของความเร็ว V1 จากความลาดชัน
(2) ลากเสนตรงขนานไปแกนระยะทาง (x-axis) หรืออาจจะใชแกนรวมคือแกน x ก็ได
(3) เลือกเวลาที่ตองการจะวิเคราะห ฉาย (project) ลงมาที่เสนตรงที่ลากในขอ 2 ในรูปที่ 6.35
เลือกที่เวลา 40 มิลลิวินาที และตรงจุดของระยะทางของตัวรับคลื่นที่ทําการฉายลงมาเพื่อจะ
วิเคราะห
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 471

(4) หาคาเวลาที่เดินทางมากกวา Δt จากตัวรับคลื่นตัวที่อยูถัดมา (จุด A, B และ ในรูปที่ 6.35)


โดยตองเปนระยะทางที่เพิ่มขึ้นจากจุดที่สนใจและเลือกไวในขอ 3 ตรงจุดนี้หาความแตกตาง
ของเวลา Δt และฉายจุดนั้นลงมาที่แกนที่ลากในขอ 2

รูปที่ 6.33 การหา (ก) คาดีเลยไทมและเวลาอินเตอรเซพทของชั้นที่หนึ่งซึ่งคาเวลาอินเตอรเซพตองหารดวย


สอง (ข) คาดีเลยไทมของชั้นที่สอง โดยคิดเฉพาะสวนที่ควรจะเกิดจากการหักเหกลับสูผิวดินของชั้นที่สามไปแลว
เทานั้น
472 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ตารางที่ 6.6 ขอมูลของความลึกที่คํานวณไดวิธีของดิเลยไทมและอินเตอรเซพทไทมสําหรับชั้นที่หนึ่ง และวิธีดีเลย


ไทมสําหรับชั้นที่สองที่แสดงในรูปที่ 6.33
ระยะทาง x (เมตร) ความหนาชั้นที่หนึ่ง ความหนาชั้นที่สอง ความลึกชั้นที่สอง
(เมตร) (เมตร) (เมตร)
0 1.6 -* -*
15 3.8 - -
30 4.2 9.9 14.1
45 4.2 12.0 16.2
60 3.8 7.3 11.1
75 3.8 8.9 12.7
90 3.4 11.5 14.9
105 3.4 14.1 17.5
120 2.9 6.8 9.7
135 2.5 - -
150 2.1 - -
165 1.6 - -
*นํามาคํานวณไมไดเพราะยังไมถึงระยะของมุมวิกฤต คลื่นยังไมมีการหักเหกลับสูผิวดิน

รูปที่ 6.34 ภาพลักษณะธรณีวิทยาใตผิวดินความลึกของชั้นที่หนึ่งและสองแสดงในตารางที่ 6.6 และการแปล


ความเกี่ยวกับชั้นดิน-หิน หมายเหตุ: สเกลในแนวราบและแนวตั้งไมเทากัน ภาพที่เห็นคอนขางผิดธรรมชาติ
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 473

รูปที่ 6.35 แผนภาพแสดงการวิเคราะหหนาคลื่น เพื่อหาความลึกของรอยตอระหวางชั้นดิน-หิน จากกราฟ


แนวทางเดินคลื่น จะตองมีกราฟที่มีตัวกําเนิดคลื่นอยูหัวทาย แตในรูปแสดงเพียงดานเดียวเพื่อใหเห็นชัดเจน โดยเลือก
เวลาที่ 40 มิลลิวินาที

(5) ที่จุดที่ฉายลงมา สรางวงกลมโดยใชรัศมีเทากับ V1Δt


(6) ทําเหมือนกับขอ 4 และ 5 จนหมดจุดที่มีระยะทางมากกวาจุดที่เลือกในขอ 2
(7) ลากเสนสัมผัส (tangent) กับเสนโคงทั้งหมด เสนที่ลาก คือ เสนหนาคลื่นในเวลาที่เลือกใน
ขอ 2
(8) เลือกเสนเวลาใหม ทําไปจนครบกับจํานวนที่ปรากฏของคลื่นหักเห
(9) เริ่มขอ 1-8 ใหมสําหรับตัวกําเนิดคลื่นที่อยูตรงกันขามกับตัวที่วิเคราะหในครั้งแรก
(10)หาความลึกไดโดยเลือกจาก เสนเวลาที่ตัดกันของ การลากจากเสนเวลาที่ใชเดินทางไป
และเสนเวลาที่ใชเดินยอนกลับจากฝงตรงกันขาม นั่นคือคารีเซพทโพรคอลไทม จุดตัดที่
ใหคาเทากับคารีเซพทโพรคอลไทม คือ ตําแหนงของความลึกของรอยตอระหวางชั้นดิน-
หิน
474 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

6.2.3.3 วิธีสรางรูปจําลองเพื่อทํานายและเปรียบเทียบทางเดินรังสี
วิธีสรางรูปจําลองเพื่อทํานายและเปรียบเทียบทางเดินรังสี (Ray Tracing Method) วิธีนี้เปนวิธี
ที่ตองอาศัยคอมพิวเตอร หลักการคือสรางรูปจําลองเพื่อทํานายคาของเวลาของคลื่นที่จะเกิดขึ้นเพื่อ
นํามาเปรียบเทียบเวลาของคลื่นจริงที่วัดไดในสนาม ซึ่งจะทําการเปรียบเทียบคาของเวลาใหมีความ
ใกลเคียงมากที่สุด (รูปที่ 6.36) โดยการปรับเปลี่ยนรูปจําลองทางธรรมชาติแบบลองผิดลองถูก

รูปที่ 6.36 ตัวอยางการวิเคราะหแบบสรางรูปจําลอง เพื่อเปรียบเทียบคาของเวลาที่ไดจากการวัดในสนามและ


จากรูปจําลอง ในรูปแสดงเฉพาะจุดสํารวจที่ 4 (SP4) เพียงจุดเดียว (ก)ลักษณะธรณีวิทยา (ข) รูปจําลองของทางเดิน
คลื่นจากลักษณะธรณีวิทยาในรูป ค (ภาพจาก Fig. 6 ของ Satarugsa and Johnson, 2000a)

ขอเสียของการทําดวยวิธีนี้คือ จะไดรูปจําลองที่สามารถทํานายเวลาไดใกลเคียงกับคาที่วัดได
ในสนามมากกวาหนึ่งรูป แตละรูปสามารถทํานายไดเวลาใกลเคียงกับเวลาจริงที่วัดไดสนามเหมือนๆ
กัน วิธีแกคือควรตองทราบลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่ เพื่อจะไดนํามาสรางเงื่อนไขของรูปจําลอง
ใหสอดคลองกับธรณีวิทยา ซึ่งจะชวยทําใหสามารถเลือกผลการแปลความที่ไดจากรูปจําลองไดถูกตอง
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 475

แมนยํา ตัวอยางของการวิเคราะหรูปจําลองเพื่อทํานายและเปรียบเทียบทางเดินรังสีจากรูปจําลองและ
จากคาจริงที่สํารวจไดในสนามแสดงในรูปที่ 6.2 และ 6.36

6.2.3.4 วิธีเจลเนอรอลไลดรีเซพทโพรคอลไทม (Generalized Reciprocal Time Method)


วิธีเจลเนอรอลไลดรีเซพทโพรคอลไทม (Generalized Reciprocal Time Method) วิธีนี้เสนอ
โดย Palmer (1980) ซึ่งตองคํานวณโดยใชคอมพิวเตอร มีหลักการคิดคลายกับวิธีดีเลยไทม ตางกันตรงที่
ดีเลยไทมใชการพิจารณาเปนระนาบรวม (common surface) แตวิธีเจลเนอรอลไลดรีเซพทโพรคอลไทม
ใชการพิจารณาเปนจุดหักเหรวม (common refractor point) โดย Palmer ใชระยะ XY (รูปที่ 6.37) เขา
มารวมวิเคราะห ถา XY เทากับศูนย วิธีของ Palmer ก็จะกลายเปนวิธีดีเลยไทม (หมายเหตุ: วิธีดีเลย
ไทมหรือเอบีซี บางทีก็เรียกวา คอนเวนชันนอลรีเซพทโพรคอลไทม (conventional reciprocal time) วิธี
ของ Palmer จะใหความแมนยํานาเชื่อถือ แตตองมีความเอียงเทของชั้นรอยตอไมเกิน 20° โปรแกรม
คอมพิวเตอรของวิธีนี้มีการพัฒนาและนิยมใชสําหรับงานวิเคราะหระดับตื้น สวนระดับลึกจะใชวิธีสราง
รูปจําลองเพื่อทํานายและเปรียบเทียบทางเดินรังสี

เพื่อทบทวนความเขาใจในหัวขอที่กลาวมาแลว ควรพลิกไปทําแบบฝกหัดทายบทขอที่ 13
กอนที่ศึกษาในลําดับตอไป

6.2.4 การแกความสูง-ต่ําของพื้นผิวดิน (Elevation Correction)


หากพบวาพื้นที่สํารวจบริเวณใดมีความสูง-ต่ําของภูมิประเทศแตกตางกัน (รูปที่ 6.38) จะตอง
ปรับแกคาความสูง-ต่ํากอนที่จะนํามาแปลความหมาย มิฉะนั้นจะแปลความหมายไดไมแมนยํา หรือ
ผิดพลาด ดังนั้นหากพบลักษณะของเสนทางเดินคลื่นไมเปนเสนตรงอาจจะมีสาเหตุมาจากคาความสูง-
ต่ําของภูมิประเทศที่ไมเทากัน หากไมไดทําการสํารวจดวยตนเอง ควรตรวจสอบจากรายงานการสํารวจ
วามีการระบุเกี่ยวกับสภาพภูมิประเทศไวหรือไม ซึ่งการแกคาความสูง-ต่ําในบริเวณที่สํารวจ จําเปนตอง
รูระดับความสูง-ต่ํา (elevation) ของพื้นที่ จากนั้นจึงทําการกําหนดฐานของระดับ (common depth
plane) ที่จะปรับแกเพื่อใหอยูในระดับเดียวกัน ซึ่งเรียกวาระนาบฐาน (datum) การแกคาความสูง-ต่ําเปน
การแกเวลาของทางเดินคลื่น ที่เกิดเนื่องจากตองการจัดใหอยูในฐานใดฐานหนึ่ง ซึ่งจะเปนการลดระดับ
ลงหรือปรับระดับขึ้น โดยการบวกเวลาเขาหรือหักเวลาออก (positive or negative time shift) ก็ได และ
ถือเปนการแกคาคงที่ (static)
476 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

รูปที่ 6.37 เปรียบเทียบ (ก) `ผิวหักเหรวม (common surface) และ(ข) จุดหักเหรวม (common refractor point)
จากหลักการแปลความหมายและคํานวณหาความลึกของวิธีดีเลยไทมและรีเซพทโพรคอลไทม

การแกคาความสูงต่ําของผิวดินในบริเวณที่สํารวจมี 2 วิธีคือ การแกคาเวลาที่จุดกําเนิดคลื่น


และ การแกคาเวลาที่เกิดจากตัวรับคลื่น จากรูปที่ 6.38 จากรูปแสดงดวยเสนประคือ ระนาบฐานที่
ตองการปรับ ทางเดินคลื่น EQRG สามารถเขียนแทนไดโดย APSD เวลาจะถูกลดลงโดย EB/V1 และ
CG/ V1 และถูกเพิ่มขึ้นโดย PQ/V2 และ RS/V2 เพราะวา AB=PQ และ CD=RS จากสามเหลี่ยม EAB
และ GDC เวลาที่ตองปรับเพื่อใหลดลงมาที่เสนประคือ

z E tan i zE
tCE = −
V2 V1 cos i
sin 2 i − 1
tCE = zE
V1 cos i
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 477

V22 − V12
tCE = z E
V1V2

ถาคิดทั้งตัวรับคลื่นและจุดกําเนิดคลื่นจะได

V22 − V12
tele = ( z E + zG )
V1V2

ถาจุดกําเนิดคลื่นอยูลึกกวาผิวดิน เชน เจาะหลุมเพื่อจุดระเบิด การแกคาทําไดโดย กําหนดคา ZE


ใหเปนลบ หรือถาตัวรับคลื่นและจุดกําเนิดคลื่นอยูต่ํากวาระนาบที่กําหนด ความสัมพันธเหมือนกันกับ
ที่กลาวมาขางตน ยกเวน ZE และ ZG มีคาติดลบ

รูปที่6.38 แผนภาพแสดงสัญลักษณที่ใชในการคํานวณการแกคาความสูงต่ําของสภาพภูมิประเทศ ที่ใชใน


การวิเคราะหทางเดินคลื่น

สวนกรณีของ “การแกคาชั้นหินผุ (weathering correction)" คือการแกคาของชั้นดิน-หินบนที่


มีความเร็วต่ํา การที่จะทําการแกคาชั้นหินผุไดจําเปนตองทราบคาความหนาของดิน-หินบน (h) ที่
ตองการปรับแกกอน นั่นคือตองเจาะหลุมเพื่อหาความหนา การแกคาชั้นหินผุสามารถทําไปพรอมกับ
การแกคาความสูง-ต่ํา โดยควรเลือกระนาบที่อยูลึกกวาชั้นดิน-หินที่มีความเร็วต่ํา สมการของการแกคา
ชั้นหินผุหรือความเร็วต่ํา คือ
478 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

hw V22 − V12
tweathering =
V2Vweathering

ดังนั้น สมการการแกคาของความสูงต่ําและชั้นหินผุคือ

V22 − V12 hw V2 − Vweathering


2 2

ttotal = ( z E + zG ) +
V1V2 V2Vweathering

เพื่อทบทวนความเขาใจในหัวขอที่กลาวมาแลว ควรพลิกไปทําแบบฝกหัดทายบทขอที่ 14-15


กอนที่ศึกษาในลําดับตอไป

6.3 คาความผิดปกติทางธรณีฟสิกสเพื่อการสํารวจ
คาความผิดปกติของการสํารวจคลื่นสั่นสะเทือน คื อ คาความแตกตางของความเร็ว คลื่น ที่
เคลื่อนที่ผานชั้นดิน-หิน เนื้อหาในหัวขอนี้ไดกลาวไวแลวในบทที่ 5 ดังนั้นขอใหทบทวนบทที่ 5 ใน
หัวขอของ ความเร็วคลื่นของหิน

6.4 เครื่องมือการสํารวจ
เครื่องมือการสํารวจที่สําคัญ จะประกอบดวย ตัวกําเนิดคลื่น ตัวรับคลื่น และเครื่องบันทึกคลื่น
จากตัวรับคลื่น รายละเอียดของเครื่องมือการสํารวจไดกลาวไวแลวอีกเชนกัน ในบทที่ 5 ดังนั้นขอให
ทบทวนบทที่ 5 ในหัวขอของ เครื่องมือการสํารวจ

6.5 วิธีการสํารวจ
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห สิ่งที่ตองการพิจารณาเริ่มแรกคือ เครื่องมือที่จะ
นํามาใชในการสํารวจ ซึ่งประกอบดวย (1) ตัวกําเนิดคลื่น อาจจะใช ฆอน ระเบิด รถกระแทก หรืออื่นๆ
(2) ตัวรับคลื่นจะใชจํานวนเทาไร และจะเลือกใชความถี่ธรรมชาติ (natural frequency) อยางไร (3)
เครื่องบัน ทึกขอมูล เชนจะใช เครื่องบั นทึกไดกี่ชองสัญญาณ (channel) เปนตน จากนั้นจะตอง
กําหนดการวางเสนทางการสํารวจ ระยะหางของตัวรับคลื่นแตละตัว ระยะหางของตัวกําเนิดคลื่นจากจุด
รับคลื่นตัวแรก และจํานวนขอมูลที่ตองการเก็บ
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 479

ในการจะวางตัวรับคลื่นที่ระยะเทาไรนั้น ขึ้นอยูกับความลึกของชั้นที่เราสนใจ เมื่อกําหนด


เปาหมายที่จะสํารวจ สิ่งที่ควรรูคือธรณีวิทยาคราวๆ เพื่อจะไดนํามาใชในการวางแผนการสํารวจ เชน
หากตองการทราบความหนาของชั้นหินบะซอลตที่วางปดทับชั้นดิน ในพื้นที่ที่มีลักษณะธรณีวิทยา
ดังกลาวจะไมสามารถทําการสํารวจแบบหักเหได เพราะความเร็วของชั้นดินที่อยูลางชั้นหินบะซอลตมี
ความเร็วต่ํากวา คลื่นเฮดจะไมเกิดขึ้นและจะไมสามารถบันทึกคลื่นหักเหที่กลับสูผิวดินได ซึ่งเปน
ขีดจํากัดของการสํารวจแบบหักเห นอกจากนี้ขอมูลทางธรณีวิทยาเบื้องตนจะสามารถนํามากําหนด
ระยะระหวางตัวกําเนิดคลื่นและตัวรับคลื่น ในการวางแผนออกแบบการเก็บขอมูลได
สําหรับการออกแบบเก็บขอมูล ตัวอยางแรกผูเขียนสรุปจากคําแนะนําของ Burger (1992) เชน
ตองการสํารวจหาความหนาของชั้นทรายปนกรวดกับชั้นหินทรายแข็ง ถามีตัวรับคลื่น 24 ตัว สายเคเบิล
ที่จะใชมีตั้งแต 1, 3, 5, 10, 15, 20, 25 เมตร จะเลือกใชอยางไร โดยที่ชั้นหินทรายแข็ง พบวาตั้งแตผิวดิน
ถึงประมาณ 80 เมตรจากผิวดิน การวางแผนการสํารวจจะกําหนด เปาหมาย ที่ความลึกมากสุดกอน คือ
60-80 เมตร หากชั้นทรายปนกรวดมีคาความเร็ว ประมาณ 800 เมตรตอวินาที (ใชคาความเร็วในตารางที่
2.4 หรือจากแหลงอางอิงอื่นๆ) คาความเร็วของหินทรายประมาณ 3,000 เมตรตอวินาที ชั้นทรายปน
กรวดอุมน้ํามีความเร็วประมาณ 1,200 เมตรตอวินาที ดังนั้นอาจจะมี 3 ชั้น การเลือกสายเคเบิล อาศัยการ
ประมาณคราวๆ คือ 3 เทาของความลึกที่สนใจ นั่นก็คือ 80 x 3 = 240 เมตร ดังนั้นควรใชระยะหางของ
ตัวรับคลื่น 10 เมตร สายเคเบิลที่เลือก 10 หรือ 15 เมตร แตไมใช 1 หรือ 3 เมตร เปนตน ดังนั้นการรู
ธรณีวิทยาคราวๆ กอนจะชวยใหทําการสํารวจไดเร็วขึ้น ไมเชนนั้นจะตองใชวิธี “ลองผิดลองถูก” เพื่อ
หาคาความเร็วของชั้นดิน-หิน ปรับเปลี่ยนระยะหางของตัวรับคลื่นไปจนกระทั่งสังเกตเห็นคลื่นหักเห
เดินทางเขามายังตัวรับคลื่น หรือกรณีที่ไมทราบธรณีวิทยาของพื้นที่เลย ควรจะเริ่มตนจากวางระยะหาง
ของตัวรับคลื่นประมาณ 4-6 เมตรกอน แลวปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะที่ปรากฏในกราฟเสนคลื่นที่
บันทึกได (seismograph) ซึ่งก็ตองยอมเสียเวลาทดลองสํารวจไปกอน แตหากทราบธรณีวิทยาคราวๆ ก็
จะไมเสียเวลาดังที่ไดยกตัวอยางใหเห็นมาแลว
ตัวอยางที่สองและสามสรุปจากประสบการณของผูเขียนเอง เชน ถาตองการหาความหนาของ
ดินชั้นและหินทราย มีความเร็วประมาณ 2,000-3,000 เมตรตอวินาที ดินชั้นบนมีความเร็วประมาณ 400-
600 เมตรตอวินาที ความหนาของชั้นดินบน จากบริเวณใกลเคียงพบวามีประมาณ 20 เมตร ถามีตัวรับ
คลื่น 24 ตัว ตองการใหตัวรับคลื่นประมาณ 6-10 ตัวแรกรับคลื่นตรงของชั้นดินและ 14-18 ตัวหลังรับ
คลื่นหักเหของชั้นดินทราย ผูเขียนจะทําการคํานวณหาระยะ หา Xcross เพื่อหาระยะที่จะเห็นคลื่นหักเห
การคํานวณหา Xcross ทําไดดังนี้
480 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

V2 + V1
xcross = 2h
V2 − V1
2500 + 500
xcross = 2 × 20 = 49 เมตร
2500 − 500

คาความเร็วเฉลี่ยของชั้นดินและชั้นหินทรายจะใชคาเฉลี่ย เพื่อนํามาคํานวณหาคา Xcross เมื่อได


คา Xcross ก็สามารถนํามากําหนดระยะการวางตัวรับคลื่น และตัวกําเนิดคลื่นได จากตัวอยางจะได
ระยะหางของตัวรับคลื่น 5 เมตร โดยที่ 9 ตัวแรกรับคลื่นตรง และ 15 ตัวหลังรับคลื่นหักเห ตัวกําเนิด
คลื่นอยูหางจากตัวรับคลื่นตัวแรก 5 เมตร
ตัวอยางที่สามเปนตัวอยางที่ตองการหาความหนาของเปลือกโลก (crust) ทําไดโดยคิดเสมือน
จะทําการสํารวจแบบ 2 ชั้น คือ กําหนดใหความเร็วเฉลี่ยของเปลือกโลก ซึ่งพบวาสวนใหญประมาณ
6,200-6,500 เมตรตอวินาที และชั้นที่สองคือ ชั้นโมโฮ ซึ่งมีความเร็วประมาณ 7,800-8,000 เมตรตอ
วินาที ความหนาสมมุติใหประมาณ 30 เมตร คาของ Xcross จะประมาณ 180 กิโลเมตร ถาจะใชตัวรับ
คลื่น 24 ตัวคงจะไดขอมูล แตไมสามารถที่จะนํามาแปลความเพื่อหาความหนาของเปลือกโลกได
อาจจะตองใชตัวรับคลื่น 500-1,500 ตัวหรือมากกวา สวนตัวกําเนิดคลื่น ถาจะเลือกใชฆอนทุบคงไม
ไดผล เพราะพลังงานที่ตองเดินทางไปที่ความลึก 30 กิโลเมตร จําเปนตองใชพลังงานสูง ดังนั้นการ
สํารวจโครงสรางของเปลือกโลกสวนใหญจะอาศัยคลื่นที่เกิดจากแผนดินไหว ทําไดโดยวางตัวรับคลื่น
ไวที่จุดตางๆ หลายๆ จุด กระจายทั่วโลก เมื่อเกิดแผนดินไหวที่ใด หากสังเกตเห็นคลื่นแรกที่ปรากฏเขา
มาในแตละตัวรับคลื่นเทียบกับระยะทางที่วางหางกัน ก็จะสามารถหาโครงสรางของเปลือกโลกได ซึ่ง
เปนการศึกษาเชนเดียวกับ Andrija Mohorovicic บุคคลแรกผูที่นําเสนอหลักการสํารวจแบบหักเห
สวนการวางแนวการสํารวจนิยมวางแนวเปนเสนตรง จากนั้นเคลื่อนไปเรื่อยๆ การกําหนด
จํานวนขอมูลที่ตองการเก็บ ปกติจะนิยมทําอยางนอย 2 จุด คือ ตัวกําเนิดคลื่นอยูที่ปลายทั้งสองขางของ
แนวตัวรับคลื่น เสมือนคลื่นเดินทางไป (forward travel time) และเดินทางกลับ (reverse travel time)
หรืออาจจะเพิ่มเปน 5 จุด คือ ที่หัว-ทายของเสนสํารวจ (2 end shots) ตรงกลางเสนสํารวจ 1 จุด (1
center shot) และไกลจากปลายของหัว-ทาย อีก 2 จุด (2 far shots) รูปที่ 6.39 แสดงแนวการสํารวจที่
นิยมทําในปจจุบัน ถาตองสํารวจเปนแนวยาว อาจจะสํารวจแบบไปทางเดียวตลอด ดังรูปที่ 6.39 กรณี
ตองการทราบเปนแนวสั้นๆ เพียงแนวเดียวหรือเปนจุด นิยมทําการสํารวจแบบใหมีตัวกําเนิดคลื่นที่
ปลายทั้งสองขาง และอาจมีตัวกําเนิดคลื่นเพิ่มตรงกลาง และใกลจากปลายหัวทายรวมเปน 5 จุด แต
อยางนอยที่สุดควรจะตองมีคือ 2 จุดที่หัว-ทาย การวางตัวรับคลื่น ควรตั้งใหตรงและฝงลงในดินใหแนน
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 481

พอสมควร กอหญ า หรื อ ต น ไม ที่ ไ หวตั ว ได ไ ปมาทํ า ให เ กิ ด คลื่ น รบกวนเข า มาในตั ว รั บ คลื่ น ควร
หลีกเลี่ยงหากสามารถทําได รูปที่ 6.40 แสดงการวางแนวสํารวจในลักษณะพิเศษ

รูปที่ 6.39 แสดงการวางแนวการสํารวจที่นิยมทํา ซึ่งเปนแบบปดหัวทาย (conventional reverse profile with


end-shots) เคลื่อนออกดานขางทั้งสองขาง (split-spread profile with center shot) และแบบไปทางเดียวกันตลอด
(single-ended profile with repeated shots)

รูปที่ 6.40 การวางแนวการสํารวจในลักษณะพิเศษ (ก) แบบโครงขาย (network shooting) (ข) แบบกระจาย


รูปพัด (fan shooting) เหมาะสําหรับโครงสรางโดมเกลือ (salt dome structure) หรือโครงสรางประทุนคว่ํา (anticline)
และประทุนหงาย (syncline)
482 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

6.6 การแปลความหมาย
การแปลความหมายจากขอมูลที่บันทึกได สรุปไดเปนขอๆ ไดดังนี้
(1) เลือกและอานคาเวลาของคลื่นที่เขามาคลื่นแรกสุดที่เห็นจากตัวรับคลื่น
(2) นําเอาคาเวลาที่อานไดจากตัวรับคลื่นและระยะทางของตัวรับคลื่นมาเขียนกราฟ แกนนอน
เปนระยะทาง และแกนตั้งเปนเวลา
(3) ลากแนวเสนตรงและหาความลาดเอียงของเสนตรงที่ลาก
(4) คํานวณหาความเร็วจากแนวเสนตรงที่ลากนั้น นั่นคือ ความลาดเอียงเทากับ 1/V
(5) หาคาของเวลาที่จุดตัดกับแกนเวลาที่ระยะทางเทากับศูนยหรือจุดที่เปนจุดกําเนิดคลื่น กรณี
ที่ใชเวลาอินเตอรเซพทไมไดใหพิจารณาเลือกวิธีใดวิธีหนึ่งของการแปลความหากเปน
แบบผิวขรุขระ (กรอบสรุปที่ 6.2)
(6) คํานวณหาความลึกของชั้นตางๆ
(7) แปลความใหสอดคลองกับธรณีวิทยา ดังตัวอยางสรุปที่พบโดยทั่วไปแสดงในรูปที่ 6.41
การบอกชื่อชั้นดิน-หินพิจารณาจากความเร็วของแตละชั้นที่วัดได

เพื่อทบทวนความเขาใจในหัวขอที่กลาวมาแลว ควรพลิกไปทําแบบฝกหัดทายบทขอที่ 16-17


กอนที่ศึกษาในลําดับตอไป

6.7 ขีดจํากัดและเงื่อนไขของการสํารวจแบบหักเห
ขีดจํากัดและเงื่อนไขที่สําคัญของการสํารวจแบบหักเห คือ คาความเร็วของชั้นที่อยูลึกลงไป
ตองมีความเร็วสูงกวาชั้นที่อยูตื้นกวา จึงจะทําใหเกิดคลื่นเฮดที่จะหักเหกลับขึ้นสูผิวดิน หากไมเปนไป
ตามเงื่อนไขจะไมสามารถหาความลึกของชั้นดิน-หิน ที่อยูใตผิวดินได นอกจากนี้ยังมีขอจํากัดอื่นๆ เชน
ในกรณีที่กําหนดใหชั้นดิน-หิน วางตัวแบบระนาบจะตองมีคาความเร็วระหวางชั้นคงที่ และชั้นดิน-หิน
ใตผิวดินประกอบกันเปนชั้นๆ ซึ่งหากไมเปนไปตามขอกําหนดก็จะทําใหการแปลความผิดพลาดได
ดังนั้นในหัวขอนี้จะกลาวสรุปถึงขีดจํากัดที่ตองพึงระวัง ขณะที่ทําการแปลความหมายดังตอไปนี้
(1) กรณีคาความเร็วคลื่นเปลี่ยนแปลงทางดานขาง (Laterally Varying Velocity) จาก
ขอกําหนดที่ก ลาวมาแลว คือ กําหนดใหความเร็วในแนวระนาบคงตั ว ถ าหากลัก ษณะ
ธรณีวิทยาไมเปนดังที่กําหนด การนําเอาวิธีการแปลความหมายของที่กลาวมาขางตนมาใช
ยอมทําใหผิด และไมไดผลที่สอดคลองกับความเปนจริงของธรรมชาติ
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 483

กรอบสรุปที่ 6.2 การแปลความหมายกราฟระหวางระยะทางและเวลาของการสํารวจแบบหักเห

♦กอนที่จะแปลความหมายตองเขาในภาพพื้นฐานของแนวทางเดินอยางงาย ดังตัวอยางที่แสดงจากรูป
ขางบนที่เปนแนวระนาบ และมีอีกหลายตัวอยางที่แสดงอยางคราวๆ ในรูปที่ 6.41
♦การแปลความหมายเมื่อพบกราฟทางเดินคลื่นเปนเสนตรง ควรตรวจสอบกราฟจากตัวกําเนิดคลื่นทั้ง
ไปและกลับ (forward shot and reverse shot) หากสมมาตรกันแสดงวาชัน้ ดิน-หิน วางตัวในแนวราบ
หากไมสมมาตรแสดงวามีการเอียงเท แปลความหมายแบบเอียงเท
♦หากพบเปนแนวทางเดินที่ขรุขระ ตองตรวจสอบลักษณะของภูมิประเทศ หากภูมิประเทศเปน
แนวราบ แสดงวาเกิดจากโครงสรางของชั้นดิน-หิน มีผวิ ขรุขระ
♦หากภูมิประเทศไมราบเรียบตองปรับแกกอน ที่จะแปลความใตผิวดิน เมื่อพบวามีผิวขรุขระการแปล
อยางงายคือ ใชวิธีดีเลยไทม หรือเอบีซีที่สามารถทําไดรวดเร็วหากความเร็วของชั้นทีห่ นึ่งและชั้นทีส่ อง
แตกตางกันมาก
484 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

รูปที่ 6.41 กราฟระหวางระยะทางและเวลาของชั้นดิน-หิน จากรูปจําลองลักษณะทางธรณีวิทยา (ก) แบบไมมี


การเอียงเท (ข) แบบมีการเอียงเท (ค) และ (ง) แบบมีความไมตอเนื่องแนวดิ่ง (จ) และ (ฉ) แบบ มีลักษณะขั้นบันได
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 485

รูปที่ 6.41(ตอ) (ช) แบบแทงคลายพนัง (ซ) แบบแทงคลายพนังแทรกสลับหลายชนิด (ฌ) แบบชั้นความเร็ว


สูงแตมีความหนานอย (ญ) แบบผิวขรุขระ (ฏ) แบบรูปโดม (ฏ) แบบความเร็วคอยๆ เพิ่มตามความลึก (ดัดแปลงจาก
Dackombe and Gardine, 1983)
486 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ในกรณี ค า ความเร็ ว คลื่ น เปลี่ ย นแปลงทางด า นข า ง ลั ก ษณะของการเปลี่ ย นแปลง


ทางดานขาง ที่พบไดในธรรมชาติ เชน กรณีมีรอยเลื่อน ที่สามารถสังเกตไดจากกราฟเสนทาง
เดินคลื่นดังตัวอยางแสดงในรูปที่ 6.42 (ก) และ (ข)

รูปที่ 6.42 ลักษณะกราฟเสนทางเดินคลื่นกรณีคาความเร็วคลื่นเปลี่ยนแปลงทางดานขาง (ก) เมื่อมีโครงสราง


แบบรอยเลื่อนหรือพนัง (ข) เมื่อมีชั้นดินปดทับรอยเลื่อนหรือพนัง
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 487

(2) กรณีคาความเร็วของชั้นที่อยูขางลางมีความเร็วคลื่นต่ํากวาชั้นที่อยูขางบน (Low-Velocity


Layer) ดังแสดงในรูปที่ 6.43 โดยที่ถาหากความเร็วคลื่นชั้นลางต่ํากวา คลื่นจะหักเหลงไป
หมดแตไมหักเหกลับขึ้นมา ตัวอยางเชน กรณีมี 3 ชั้น โดยชั้นกลางเปนชั้นที่มีความเร็วต่ํา
กวาชั้นแรกและชั้นที่สาม ซึ่งจะทําใหพบและแปลความไดเพียง 2 ชั้น ทําใหไดความลึกที่
ไมถูกตอง โดยจะพบอยูลึกกวาความเปนจริงเพราะความเร็วคลื่นต่ําของชั้นที่สอง ไมไดถูก
นํามาคํานวณดวย แตถูกแทนดวยความเร็วคลื่นของชั้นแรกที่สูงกวา ทําใหคํานวณคาความ
ลึกผิดไปจากความเปนจริง คลื่นของชั้นที่สอง จะไมปรากฏในรูปคลื่นเลย ดังนั้นการทราบ
ธรณีวิทยาเบื้องตนของพื้นที่ที่ทําการสํารวจจะชวยทําใหการประยุกต สํารวจทางธรณี
ฟสิกสไดอยางเหมาะสม

รูปที่ 6.43 กรณีคาความเร็วของชั้นที่อยูขางลางมีความเร็วคลื่นต่ํากวาชั้นที่อยูขางบน ซึ่งจะไมปรากฏ


ลักษณะของคลื่น ในรูปของกราฟระหวางระยะทางและเวลา

(3) กรณีชั้นดิน-หินมีความหนานอยเกินไป (Thin Layer) ดังแสดงในรูปที่ 6.44 ซึ่งความหนา


ของชั้นดิน-หิน หากหนานอยเกินไป ตัวอยางเชน กรณีใตผิวดินมี 3 ชั้น โดยชั้นที่สองมี
ความเร็วสูงกวาชั้นแรกแตบางมาก และชั้นที่ 3 มีความเร็วสูงมากกวาชั้นที่สองมากๆ ทําให
ความเร็วของชั้นที่สองเขาสูตัวรับคลื่นไดชากวาคลื่นที่มาจากชั้นที่สาม คลื่นของชั้นที่สอง
488 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

พบไดแตทวาตามมาทีหลัง (รูปที่ 6.44) ซึ่งจะตางจากกรณีของความเร็วนอยที่ไมปรากฏใน


รูปคลื่นเลย กรณีที่มีชั้นบางๆ แทรก ทําใหการแปลความเพื่อหาความหนา ไดคาที่ต่ํากวา
ความเปนจริง เพราะไมไดคิดคาความเร็วของชั้นกลาง

รูปที่ 6.44 กรณีชั้นดิน-หินมีความหนานอยเกินไปซึ่งจะไมสามารถ ตรวจรับไดเปนคลื่นแรก (first arrivals)


ที่เขามาสูเครื่องรับ แตจะพบตามมาที่หลัง

(4) กรณีเกิดความไมตอเนื่องของรอยตอ (Interface Discontinuities) ดังแสดงในรูปที่ 6.45


โดยจะมีความไมตอเนื่องของรอยตอระหวางชั้นบนและชั้นลาง เชน เกิดรอยเลื่อน กราฟ
ระหวางระยะทางและเวลาทางเดินคลื่น พบวามีการกระโดดของเสน ซึ่งแสดงถึงความไม
ตอเนื่องทางธรณีวิทยา การแปลความหมายก็สามารถทําไดหาก โครงสรางไมมีความ
ซับซอนมากนัก ดังแสดงในรูปที่ 6.45 และจากรูปที่ 6.45 ความหนา ของ Z สามารถหาได
จากสมการ

(t i 2 − t i 1 )V 2V 1
z =
(V 22 −V 12 ) 1 / 2
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 489

รูปที่ 6.45 กรณีเกิดความไมตอเนื่องของรอยตอซึ่งพบทางเดินคลื่นไมตอเนื่อง เกิดจากรอยเลื่อนปรากฏอยูใต


ผิวดิน

6.8 การประยุกตสํารวจธรณีวิทยาดวยคลื่นสั่นสะเทือน
ในหัวขอนี้ไดกลาวมาแลวบางในสวนที่เปนบทนํา และไดยกตัวอยางรูปที่ 6.1และ 6.2 เหตุผลที่
ผูเขียนเลือกตัวอยางการประยุกตสํารวจธรณีวิทยาระดับตื้น (รูปที่ 6.1) และระดับลึก (รูปที่ 6.2) ซึ่งใน
ความหมายของผูเขียน การสํารวจคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเหระดับตื้นในที่นี้ผูเขียนหมายถึงระดับ
ตั้งแตเปลือกโลกชั้นบน (upper crust) ขึ้นไป นั่นคือ ความลึกไมเกิน 10 กิโลเมตรจากผิวดิน
ความสามารถของการเจาะหลุมสํารวจยังสามารถเจาะสํารวจได โดยไมตองอาศัยเทคนิคพิเศษมากนัก
สวนระดับลึก ผูเขียนหมายถึง ระดับจากเปลือกโลกชั้นกลาง (middle crust) ลงไปจนถึงแกนโลก ดังนั้น
จึงไดแสดงเปรียบเทียบทั้งระดับตื้น และระดับลึก ในสวนของหัวขอนี้ จะยกตัวอยางเฉพาะการสํารวจ
490 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ระดับตื้น ที่ผูเขียนและนักศึกษาไดทําการสํารวจในพื้นที่บางสวนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของ


ประเทศไทย ซึ่งปญหาที่พบสวนใหญ คือ มีเกลือหินอยูที่ระดับตื้น และตองการทราบความลึกของเกลือ
หินใตผิวดิน รวมทั้งรูปรางวาจะมีโพรงที่เกิดจากการละลายออกไปของเกลือหินในบริเวณที่พบเกลือ
หินระดับตื้นหรือไม อยางไรก็ดียังมีรายงานการสํารวจอีกมากมายเกี่ยวกับการประยุกตสํารวจดวยคลื่น
สั่นสะเทือนแบบหักเห ที่สามารถคนควาไดจากหองสมุดหรือทางอินเตอรเน็ต
รูปที่ 6.46 เปนตัวอยางของการสํารวจแบบหักเห โดยขอมูลที่สํารวจไดตลอดแนวสํารวจได ทํา
การอ า นเวลาของคลื่ น ที่ วิ่ ง เข า มาถึ ง ตั ว รั บ คลื่ น เป น คลื่ น แรก จากนั้ น นํ า มาเขี ย นกราฟ และแปล
ความหมาย

รูปที่ 6.46 ภาพบนกราฟเสนทางเดินคลื่นของแนวสํารวจที่วางแนวสํารวจเปนเสนตรง และมีการเก็บขอมูล


แบบไปและกลับ ภาพลาง ภาพตัดขวางแสดงสภาพธรณีวิทยาใตผิวดินที่ไดจากการแปลความหมายจากกราฟเสนทาง
เดินคลื่น (เพียงตา และคณะ 2545)
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 491

รูปที่ 6.47 แสดงตัวอยางของกราฟเสนทางเดินคลื่นจากการสํารวจแบบหักเห เพื่อตรวจสอบ


โพรงที่เกิดจากการยุบตัวของแผนดิน โดยที่แนวสํารวจตัดผานบริเวณที่เคยเกิดเปนหลุม และในเวลา
ตอมาไดมีการนําดินมาถม จนเต็มหลุม

รูปที่ 6.47 ภาพบนกราฟเสนทางเดินคลื่น ที่บงบอกลักษณะของสภาพธรณีวิทยาผิวขรุขระภาพลางผลจากการ


แปลความหมายใตผิวดินจากกราฟเสนทางเดินคลื่นที่แสดงในภาพบน (เพียงตา และคณะ 2545)

การสํารวจแบบหักเห เราสามารถที่จะประยุกตสํารวจเพื่อใหไดสภาพธรณีวิทยาใตผิวดินแบบ
สามมิติ นั่นคือ แสดงความลึกของชั้นดิน-หินในรูปของแผนที่เสนชั้นความลึก ดังตัวอยางที่แสดงในรูป
ที่ 6.48 และ 6.49 ตัวอยางของกราฟเสนทางเดินคลื่นและการแปลความหมายแสดงภาพตัดขวาง (2มิติ)
ของรูปที่ 6.48 ไดแสดงในรูปที่ 6.47 สวนลักษณะของขอมูล (short record) บางสวนของรูปที่ 6.49 ได
แสดงในรูปที่ 6.5 ซึ่งจะเห็นการปรากฏของคลื่นหักเหที่มาจากเกลือหินชัดเจนมาก การวางแนวสํารวจ
492 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ในรูปที่ 6.48 มีลักษณะเปนตารางสี่เหลี่ยม มีสวนที่ทับกันบางพื้นที่ สวนรูปที่ 6.49 มีลักษณะแบบ


เสนผาศูนยกลางมีสวนที่ทับกันที่จุดศูนยกลาง ทั้งนี้เนื่องจากสภาพความเอื้ออํานวยของพื้นที่

รูปที่ 6.48 ภาพบนแสดงภาพสามมิติของลักษณะผิวบนของชั้นหินชั้นที่สอง ภาพสรางจากเสนชั้นความลึกที่


แสดงในแผนที่เสนชั้นความลึกในภาพลาง (เพียงตา และคณะ 2545)

ผูเขียนขอเนนอีกครั้งวา งานศึกษาธรณีวิทยาใตผิวดินเปนงานที่ทาทาย การใชธรณีฟสิกสเขามา


ประยุกตชวย จะไดผลดีหรือไมนักสํารวจจะตองมีความรูพื้นฐานและเขาใจหลักการ การแปลความ
จะตองอาศัยคาที่วัดไดแลวอานหรือแปลความไปตามนั้น เมื่อทําเชนนี้ขอผิดพลาดจะเกิดขึ้นนอย จาก
ประสบการณของผูเขียนพบวานักสํารวจบางสวนแปลความหมายเกินขอบเขตของวิธีที่นํามาประยุกต
ทําใหเกิดขอผิดพลาด การศึกษาผลงานเกาจะชวยใหเขาใจและนําไปประยุกตไดดียิ่งขึ้น จากลักษณะ
ธรณีวิทยาในแตละพื้นที่ไมเหมือนกัน การออกแบบการสํารวจจึงตองออกแบบ และปรับใหเหมาะสม
จะไมมีตําราที่ตายตัวในการออกแบบและเก็บขอมูล ดังนั้นนักธรณีฟสิกสจึงตองพัฒนาและเรียนรูงาน
ไปเรื่อยๆ เมื่อพูดถึงใตผิวดิน การที่เราจะแปลความไดดวยความมั่นใจในขอมูลที่เรานํามาใชเพื่อแปล
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 493

ความ เราตองทราบหลักทฤษฎีเบื้องตน ถาเราไมทราบและทําการแปลแบบคาดหมายวาจะเปน หรือดู


เหมือนวานาจะเปน เปนสิ่งที่ไมควรทําเปนอยางยิ่ง เราควรจะอธิบายทุกขั้นตอนของขอมูลที่เราศึกษาได
จากนั้นจึงประยุกตเขาหาธรณีวิทยา เพื่อตอบคําถามในสิ่งที่ทําการสํารวจนั้น

รูปที่ 6.49 ภาพบนแสดงภาพสามมิติของลักษณะผิวบนของชั้นหินชั้นที่สอง ภาพสรางจากเสนชั้นความลึกที่


แสดงในแผนที่เสนชั้นความลึกในภาพลาง (เพียงตา และคณะ 2545)

เพื่อทบทวนความเขาใจในหัวขอที่กลาวมาแลว ควรพลิกไปทําแบบฝกหัดทายบทขอที่ 16-21


กอนที่ศึกษาในลําดับตอไป

6.9 บทสรุป
การประยุกตสํารวจใตผิวดินดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเหอาศัยคุณสมบัติการหักเหของคลื่น
โดยมีเงื่อนไขวาชั้นดิน-หินที่อยูลึกลงไปจะตองมีความเร็วคลื่นที่สูงกวาชั้นดิน-หินที่อยูตื้นจึงจะทําการ
สํารวจแบบหักเหได วิธีการสํารวจจะมีตัวกําเนิดคลื่นสงคลื่นสัญญาณลงสูใตผิวดิน เมื่อคลื่นกระทบกับ
รอยตอระหวางชั้นดิน-หินที่มีความเร็วคลื่นแตกตางกัน จะเกิดการหักเหลงไปในชั้นที่อยูลึกกวา แตเมื่อ
494 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

คลื่นสัญญาณทํามุมวิกฤตกับเสนแนวฉากจะเกิดคลื่นเฮดวิ่งที่ระนาบรอยตอและหักเหกลับสูผิวดิน คลื่น
หักเหที่คลื่นกลับสูผิวดินจะถูกบันทึกดวยตัวรับคลื่นที่วางอยูบนผิวดิน ขอมูลที่บันทึกเปนขอมูลของ
เวลาที่คลื่นใชเดินทางตั้งแตเวลาเริ่มตนที่ปลอยคลื่นสัญญาณถึงเวลาที่รับได ที่ตําแหนงตางๆ ของตัวรับ
คลื่น และคาของแอมพลิจูด การสํารวจแบบหักเหสนใจเฉพาะคลื่นตัวแรกที่วิ่งเขามาสูตัวรับคลื่น
เมื่อทราบระยะทางและเวลาของคลื่นตัวแรกที่เขามาสูตัวรับคลื่นที่ตําแหนงตางๆ จะเขียน
ออกมาในรูปของกราฟระหวางระยะทางและเวลา เพื่อนํามาแปลความหมาย การแปลความหมายของ
คลื่นหักเห แบงออกเปนสองประเภทใหญๆ คือ (1) กรณีที่ชั้นดิน-หินวางตัวเปนแนวระนาบ จะทําการ
แปลความหมายดวยวิธีเวลาอินเตอรเซพท และ (2) กรณีชั้นดิน-หิน มีผิวขรุขระ จะทําการแปล
ความหมายดวยวิธีแบบผิวขรุขระ การที่จะพิจารณาเลือกแปลความหมายดวยวิธีใด ขึ้นอยูกับการสังเกต
จากกราฟเสนทางเดินคลื่น หากพบเปนเสนตรง ก็สามารถแปลความแบบระนาบ แตหากพบแบบโคง
ไปมา จะตองตรวจดูลักษณะของความสูง-ต่ําของภูมิประเทศเปนอันดับแรกกอน หากมีสาเหตุจากความ
สูง-ต่ําของภูมิประเทศตองทําการปรับแก เมื่อปรับแกคาความสูง-ต่ําของภูมิประเทศแลวยังพบวาเปน
เสนโคงไปมา นั่นแสดงถึงรอยตอระหวางชั้นดิน-หินมีลักษณะเปนผิวขรุขระ การแปลความหมายใตผวิ
ดินจะตองหาความเร็วคลื่น และความลึก จากนั้นจึงประยุกตถึงลักษณะทางธรณีวิทยา เชนเปนชั้นดิน-
หิน ประเภทใด จึงจะถือวาสมบูรณ
เงื่อนไขสําคัญที่ควรพิจารณาเมื่อทําการสํารวจแบบหักเห ไดแก (1) การสํารวจนี้สามารถนําไป
ประยุกตใชไดในกรณีความเร็วคลื่นของชั้นดิน-หิน ที่ลึกลงไปมีคาสูงกวาชั้นที่อยูตื้นกวาเทานั้น (2)
ความยาวของระยะหางระหวางตัวรับคลื่นและความกําเนิดคลื่นจะเปนตัวกําหนดความลึกของชั้นดิน-
หิน ที่ทําการสํารวจ หากระยะหางมากแสดงวาสํารวจไดลึก (3) หากตองการสํารวจชั้นดิน-หิน ชั้นใด
ชั้นหนึ่งจะตองโฟกัสไปที่เปาหมายนั้นและนํามาวางแผน ออกแบบการสํารวจ (4) เปนไปไมไดที่จะ
กลาววาสํารวจไดความเร็วจริงของชั้นหักเหเมื่อทําการสํารวจเพียงจุดเดียว ควรจะตองทําการสํารวจ
อยางนอยสองจุดสํารวจที่ปลายหัว-ทาย จึงจะบงบอกความเร็วคลื่นของชั้นหักเหได และ (5) เมื่อเกิดมุม
วิกฤตเทานั้นที่จะเกิดคลื่นเฮดและไดคลื่นหักเหกลับสูผิวดิน คลื่นแรกที่เขามากอนที่จะถึงมุมวิกฤตเปน
คลื่นตรง การแปลความหาความลึกตองแปลในบริเวณที่ผานมุมวิกฤตแลวเทานั้น ทํานองเดียวกันกับชั้น
ที่อยูลึกลงไป ก็จะตองแปลความหมายเมื่อผานมุมวิกฤตไปแลวเชนกัน
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 495

แบบฝกหัดทายบทที่ 6

1. จงเขียนกราฟระหวางระยะทางและเวลาของคลื่นตรงที่มีความเร็ว 500 เมตรตอวินาที และ 1,500


เมตรตอวินาที
2. จงหาความเร็วของคลื่นตรงที่แสดงในกราฟเสนคลื่นที่บันทึกไดในรูปที่ 6.5
3. จงเขียนกราฟระหวางระยะทางและเวลาของชั้นดินเหนียวที่มีความเร็ว 800 เมตรตอวินาที หนา
20 เมตร วางอยูบนชั้นหินทรายที่มีความเร็วคลื่น 2,800 เมตรตอวินาที เมื่อทําการสํารวจโดยวาง
ตัวรับคลื่นตัวแรกหางจากตัวกําเนิดคลื่น 5 เมตร และตัวรับคลื่นแตละตัวหางกัน 5 เมตร จํานวน
24 ตัว (แสดงคลายกับรูปที่ 6.8)
4. จงหาความเร็วคลื่นหักเห พรอมความลึกจากกราฟเสนคลื่นที่บันทึกได แสดงในรูที่ 6.5
5. จงหาความเร็วคลื่นตรง คลื่นหักเห และความลึก จากกราฟเสนคลื่นที่บันทึกได แสดงในรูปที่
6.50 (ก) และ (ข) เปนขอมูลที่สํารวจในบริเวณหนองหาร จ. อุดรธานี

รูปที่ 6.50 สําหรับคําถามขอที่ 5


496 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

6. จงเขียนสมการเสนทางเดินคลื่นของระนาบไมมีการเอียงเท กรณีที่มี 5 ชั้น โดยเขียนตั้งแต 1 ถึง 5


7. จงเขียนกราฟเสนทางเดินคลื่นที่มีชั้นดินทราย ความเร็ว 500 เมตรตอวินาที หนา 15 เมตร วางอยู
บนชั้นหินดินดาน ความเร็วคลื่น 1,800 เมตรตอวินาที หนา 20 เมตร ที่วางปดทับชั้นหินทราย
ความเร็วคลื่น 2,800 เมตรตอวินาที หากทําการสํารวจโดยวางตัวรับคลื่นเปนระยะหาง 10 เมตร
จํานวน 24 ตัว และจุดกําเนิดคลื่นหางจากตัวรับคลื่นตัวแรก 10 เมตร
8. จงแปลความหมาย ลักษณะธรณีวิทยาจากขอมูลที่บันทึกได แสดงในตารางที่ 6.7
9. จงเขียนกราฟเสนทางเดินคลื่นแบบไปและกลับ (คลายกับรูปที่ 6.17) ของลักษณะธรณีวิทยาที่มี
การเอียงเท 10° โดย V1 = 1,000 เมตรตอวินาที และ V2 = 3,000 เมตรตอวินาที
10. จงแปลความหมายทางธรณีวิทยาจากกราฟที่แสดงในตารางที่ 6.8
11. จงแปลความหมายทางธรณีวิทยาจากกราฟที่แสดงในรูปที่ 6.51
12. จงแปลความหมายทางธรณีวิทยาของขอมูลที่แสดงในตารางที่ 6.7 ใหหาความลึกดวยวิธีดีเลย
ไทมและเอบีซี
13. จงแปลความหมายทางธรณีวิทยาที่ไดจากกราฟในรูปที่ 6.52
14. จงแปลความหมายทางธรณีวิทยาที่ไดจากกราฟในรูปที่ 6.53
15. จงหาคาที่ตองปรับแกความสูงต่ําของภูมิประเทศจากรูปที่ 6.54
16. จากรูปที่ 6.51 จงวิเคราะหหาความลึกดวยวิธีหนาคลื่น
17. จงวางแผนการสํารวจแบบหักเห บริเวณพื้นที่ภายในมหาวิทยาลัยขอนแกน เพื่อตองการหาความ
หนาของชั้นกรวด โดย (1) ออกแบบและวางแผนการสํารวจ (2) ทํานายผลของรูปกราฟทางเดิน
คลื่นที่คาดวาจะได และ (3) อธิบายหลักการแปลความหมายจากการทํานาย
18. เปรียบเทียบขอดีขอเสียของรูปแบบการวางตัวรับคลื่นที่แสดงในรูป 6.39 และ 6.40
19. หากตองการทราบความกวางของโดมเกลือ บริเวณหนองบอ จังหวัดมหาสารคาม หรือโดมเกลือ
บริเวณใดบริเวณหนึ่งของแองโคราชหรือแองสกลนคร จะมีวิธีวางแผนออกแบบการสํารวจและ
แปลความอยางไร จงอธิบาย
20. จงแปลความหมายเชิงเปรียบเทียบสภาพธรณีวิทยาใตผิวดินจากรูปที่ 6.55 ขอมูลสํารวจในพื้นที่
แองสกลนคร ทั้งสามขอมูล (short records) อยูหางกันเปนระยะทางประมาณ 500 เมตร
21. ใหคนควารายงานการสํารวจหรือบทความที่เปนกรณีศึกษาของการสํารวจแบบหักเหอยางนอย 2
กรณี ศึ ก ษา จากนั้ น วิ เ คราะห แ ละแสดงความคิ ด เห็ น เปรี ย บเที ย บผลของการสํ า รวจจาก 2
กรณีศึกษาที่เลือกมา
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 497

ตารางที่.6.7 สําหรับคําถามขอที่ 8 และขอ 12


เวลาจากตัวกําเนิดคลื่น เวลาจากตัวกําเนิดคลื่น เวลาจากตัวกําเนิดคลื่นลําดับ
ระยะทางเมตร (เมตร)
ลําดับที่ 1 (มิลลิวินาที) ลําดับที่ 2 (มิลลิวินาที) ที่ 3 (มิลลิวินาที)

0 0 63.80 87.40
5 19.20 62.60 85.80
10 33.20 60.00 84.40
15 43.80 59.60 79.60
20 46.60 56.60 76.60
25 51.40 52.60 75.00
30 53.60 51.20 73.60
34 56.80 47.60 72.40
40 60.20 48.60 74.00
45 63.40 43.00 70.40
50 65.40 27.80 69.00
55 68.40 11.40 67.60
60 69.80 18.40 63.20
65 72.20 36.00 61.00
70 71.40 45.20 60.20
75 74.00 48.60 60.00
80 75.20 51.60 58.60
85 79.20 54.80 57.40
90 80.20 57.20 56.60
95 81.00 58.60 53.80
100 82.60 59.20 40.00
105 83.40 60.60 32.80
110 84.40 61.80 20.80
115 85.80 63.80 0
498 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

ตารางที่ 6.8 สําหรับคําถามขอที่ 10


เวลาจากตัวกําเนิดคลื่น เวลาจากตัวกําเนิดคลื่น เวลาจากตัวกําเนิดคลื่นลําดับ
ระยะทางเมตร (เมตร)
ลําดับที่ 1 (มิลลิวินาที) ลําดับที่ 2 (มิลลิวินาที) ที่ 3 (มิลลิวินาที)

0 0 55 79
5 12 53 76
10 22 51 74
15 25 48 72
20 28 45 70
25 34 43 67
30 35 42 66
34 39 41 65
40 43 40 64
45 46 34 63
50 49 22 60
55 50 10 59
60 53 11 57
65 55 23 55
70 58 36 50
75 59 38 46
80 62 41 45
85 64 44 43
90 66 49 40
95 67 51 40
100 69 53 37
105 72 55 33
110 75 56 15
115 77 57 0
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 499

รูปที่ 6.51 สําหรับคําถามขอที่ 11

รูปที่ 6.52 สําหรับคําถามขอที่ 13


500 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

รูปที่ 6.53 สําหรับคําถามขอที่ 14

รูปที่ 6.54 สําหรับคําถามขอที่ 15 ระยะหางของตัวรับคลื่นตัวแรกกับจุดกําเนิดคลื่น 5 เมตร และระยะหาง


ของตัวกําเนิดคลื่นแตละตัว 5 เมตร
การสํารวจดวยคลื่นสั่นสะเทือนแบบหักเห 501

รูปที่ 6.55 สําหรับคําถามขอที่ 20


502 ธรณีฟส ิกสเพื่อการสํารวจใตผิวดิน

เอกสารที่ควรศึกษาเพิ่มเติม (Suggested Reading)


Burger, H. R. 1992. Exploration geophysics of the shallow subsurface. New Jersey: Prentice-Hall,
Inc.
Dobrin, M. B., and Savit, C. H. 1988. Introduction to geophysical prospecting. 4th ed., New York:
McGraw-Hill.
Hadedoorn, J. O. 1959. The plus-minus method of interpreting seismic refraction section.
Geophysical prospecting, v. 7, p. 158-182.
Kearey, P., and Brooks, M. 1993. An introduction of geophysical exploration. 2th ed., London: Black
well Scientific Publications.
Palmer, D. 1980. The generalized reciprocal method of seismic refraction interpretation. Tulsa:
Oklahoma, Society of Exploration Geophysicists.
Redpath, B. B. 1973. Seismic refraction exploration for engineering site investigations. Livermore:
Technical Report E-73-4, Explosive Excavation Research Laboratory.
Sheriff, R.E., and Geldart, L. P. 1982. Exploration seismology, Volume 1: History, theory, data
acquisition. Cambridge: Cambridge University Press.
Telford, W. M., Geldart, L.P. and Sheriff, R.E. 1990. Applied geophysics. 2nd ed., Cambridge:
Cambridge University Press.

You might also like