5 Lift

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน

(ลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว)

ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทํางานกอสราง
วาดวยลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว

อาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม


พ.ศ.2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกํ าหนดการคุมครองแรงงานในสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความ
ปลอดภัยสําหรับลูกจางไวดังตอไปนี้

ขอ 1 ในประกาศนี้
“งานกอสราง” หมายความวา การประกอบการเกี่ยวกับการกอสรางอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง
ทาเรือ ทางนํ้า สะพาน ถนน การโทรเลข โทรศัพท ไฟฟา กาซ หรือการประปา และหมายความรวมถึงการตอเติม
ซอมแซม ซอมบํารุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร หรือสิ่งกอสรางนั้นๆ ดวย
“อาคาร” หมายความวา อาคารตามความหมายที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยการควบคุมอาคาร
“ลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว” หมายความวา เครื่องใชในการกอสรางเพื่อขนสงวัสดุในทางดิ่ง ประกอบดวย
หอลิฟทหรือปลองลิฟท ตัวลิฟท และเครื่องจักร
“หอลิฟท” หมายความวา โครงสรางเปนหอสูงจากพื้นสําหรับเปนที่ติดตั้งตัวลิฟทในงานกอสรางเปนการ
ชั่วคราว
“ปลองลิฟท” หมายความวา ชองที่อยูภายในสิ่งกอสรางสําหรับใชเปนทางเคลื่อนขึ้นลงของตัวลิฟทในงาน
กอสรางเปนการชั่วคราว
“ตัวลิฟท” หมายความวา ที่สําหรับรองรับหรือบรรจุวัสดุ สามารถเคลื่อนยายขึ้นลงไดโดยใชเครื่องจักรใน
หรือนอกหอลิฟทหรือปลองลิฟท

หมวด 1
การสรางลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว

ขอ 2 ลิฟทที่มีความสูงเกินเกาเมตร นายจางจะตองจัดใหมีผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา จาก ก.ว. เปนผูออกแบบและคํานวณโครงสราง พรอมทั้งกําหนดราย
ละเอียดของหอลิฟทและตัวลิฟท อยางนอยใหเปนไปตามขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) หอลิฟท ตองสามารถรับนํ้าหนักไดไมนอยกวาสองเทาของนํ้าหนักแหงการใชงาน (Working Load)
(2) คานสําหรับติดตั้งรอกและฐานที่รองรับคาน ตองมีความแข็งแรงพอที่จะรับนํ้าหนักรอก นํ้าหนักตัว
ลิฟท และนํ้าหนักบรรทุก (Live Load) โดยมีสวนปลอดภัย (Factor of Safety) ไมนอยกวาหา

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 98 ตอนที่ 28 วันที่ 20 กุมภาพันธ 2524


กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว)

(3) หอลิฟทที่สรางดวยไม ตองสรางดวยไมที่มีหนวยแรงดัดประลัย (Ultimate Bending Stress) ไมนอย


กวาแปดรอยกิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร และมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาแปด
(4) หอลิฟทที่สรางดวยโลหะ ตองเปนโลหะที่มีจุดคราก (Yield Point) ไมนอยกวาสองพันสี่รอยกิโลกรัม
ตอตารางเซนติเมตร และมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาสอง
(5) ฐานรองรับหอลิฟท ตองมีความมั่นคง สามารถรับนํ้าหนักไดไมนอยกวาสองเทาของนํ้าหนักหอลิฟท
นํ้าหนักตัวลิฟท และนํ้าหนักบรรทุก
(6) ตัวลิฟทตองมั่นคงแข็งแรง สามารถรับนํ้าหนักบรรทุกไดไมนอยกวาหาเทาของนํ้าหนักแหงการใชงาน
และตองมีขอบกันของตกสูงไมนอยกวาเจ็ดเซนติเมตรจากพื้นของตัวลิฟทโดยรวมและดานที่มิใชทางขนของเขา
ออกตองมีผนังปดกั้นดวยไมหรือลวดตาขาย มีความสูงจากพื้นของตัวลิฟทไมนอยกวาหนึ่งเมตร เวนแตตัวลิฟท
ที่มีลักษณะเปนถังโลหะ ไมตองมีผนังปดกั้นก็ได
ในกรณีที่ติดตั้งลิฟทอยูภายนอกหอลิฟท ไมตองมีผนังปดกั้นตัวลิฟทก็ได
(7) หอลิฟท ตองมีการยึดโยง คํ้ายัน หรือตรึงกับพื้นดินหรือตัวอาคารใหมั่นคงแข็งแรงและปลอดภัย

ขอ 3 เครื่องจักรและอุปกรณอื่น ๆ ที่ใชยกตัวลิฟท นายจางตองจัดใหเปนไปตามประกาศกระทรวง


มหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร

ขอ 4 ในการสรางลิฟท นายจางตองดําเนินการตามแบบและรายละเอียดตามขอ 2 ขอ 3 และตาม


ขอกําหนด ดังตอไปนี้
(1) ในกรณีติดตั้งตัวลิฟทภายในหอลิฟทตองมีลวดตาขายหรือไมตีเวนชองหางกันไมนอยกวาสาม
เซนติเมตร แตไมเกินสิบเซนติเมตร ปดยึดแนนกับโครงหอลิฟททุกดาน สูงไมนอยกวาสองเมตรจากพื้นของหอ
ลิฟท เวนแตชองที่ใชเปนทางขนของเขาออก
(2) ในกรณีติดตั้งตัวลิฟทภายนอกหอลิฟท ตองมีรั้วกั้นปองกันมิใหบุคคลเขาไปในบริเวณที่อาจเปน
อันตรายเนื่องจากของตกใตตัวลิฟทนั้น
(3) ทางเดินระหวางลิฟทกับสิ่งกอสราง ตอง
(ก) มีราวกันตกสูงไมนอยกวาเกาสิบเซนติเมตร และไมเกินหนึ่งเมตรสิบเซนติเมตรจากพื้นทางเดิน
(ข) มีขอบกันของตกสูงไมนอยกวาเจ็ดเซนติเมตรจากพื้นทางเดิน
(ค) มีไมหรือโลหะขวางกั้นที่สามารถปดเปดได มีความสูงไมนอยกวาเกาสิบเซนติเมตรแตไมเกิน
หนึง่ เมตรสิบเซนติเมตร จากพื้นทางเดิน อยูหางจากลิฟทไมนอยกวาหกสิบเซนติเมตร บนทางเดินนั้น
(4) ในกรณีที่ปลองลิฟทไมมีผนังกั้น ตองมีรั้วที่มีความมั่นคงแข็งแรงปดกั้นทุกดานสูงไมนอยกวาสอง
เมตรจากพื้นแตละชั้น เวนแตทางเขาออกตองมีไมหรือโลหะขวางกั้นที่สามารถปดเปดได มีความสูงไมนอยกวาเกา
สิบเซนติเมตร และไมเกินหนึ่งเมตรสิบเซนติเมตรจากพื้น

ขอ 5 เมื่อนายจางไดสรางลิฟทแลว ตองใหวิศวกรผูออกแบบตามขอ 2 หรือวิศวกรผูควบคุมงาน ตรวจ


รับรองวาไดสรางถูกตอง ตามแบบรายละเอียดและขอกําหนดตามขอ 4 แลวจึงจะใชลฟิ ทนั้นได และใบรับรองของ
วิศวกรดังกลาวนายจางจะตองเก็บรักษาไวเพื่อใหพนักงานเจาหนาที่กรมแรงงานตรวจดูไดตลอดเวลาการใชลิฟท
นั้น
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว)

ขอ 6 การใชลฟิ ท นายจางตองปฏิบัติ ดังนี้


(1) ใหมผี ทู ี่ไดรับการฝกอบรมการใชลิฟทมาแลวทําหนาที่บังคับลิฟทประจําตลอดเวลาที่ใชลิฟท
(2) ใหมีขอบังคับการใชลฟิ ทติดไวใหเห็นชัดเจนในบริเวณลิฟท และผูทําหนาที่บังคับลิฟทตาม (1) ตอง
ปฏิบัติตามขอบังคับนั้นโดยเครงครัด
(3) ใหมีการตรวจสอบลิฟททุกวัน ถามีสวนใดชํารุดเสียหาย ตองซอมใหเรียบรอยกอนที่จะใช
(4) ติดปาย “หามใชลฟิ ท” ใหลูกจางทราบ ในกรณีที่ลฟิ ทไมอยูในสภาพพรอมใชงาน หรือไมมีผูทํา
หนาที่บังคับลิฟทตาม (1)
(5) หามมิใหบุคคลใดใชลฟิ ทขึ้นลงอยางเด็ดขาด เวนแตในกรณีตรวจสอบหรือซอมแซมลิฟท
(6) ติดปายบอกพิกัดนํ้าหนักบรรทุกไวที่ลฟิ ทใหเห็นไดชัดเจน
(7) ตองจัดวางและปองกันมิใหวัสดุตกหรือยื่นออกมาขัดกับโครงหอลิฟท
(8) ในการใชลฟิ ทขนรถขนของหรือเครื่องมือที่มีลอ ตองปองกันมิใหรถหรือเครื่องมือนั้นเคลื่อนที่ได

ขอ 7 ในกรณีที่นายจางใชลฟิ ทในการทํางานกอสราง หามมิใหใชลฟิ ทที่มีลักษณะใชกระปองหรือภาชนะ


อื่นที่คลายกัน เกี่ยวหรือเกาะเคลื่อนยายพรอมกับสายพาน ลวด หรือเชือก แทนตัวลิฟทในงานกอสราง
หมวด 2
การคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล
ขอ 8 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับการประกอบหรือติดตั้งโครงลิฟท ซอมบํารุงลิฟท หรือการ
ขน ยก แบก หาบ หาม สิ่งของหรือวัสดุขึ้นลงลิฟท สวมหมวกแข็ง ถุงมือหนัง รองเทาหนังหัวโลหะ ตลอดเวลาที่
ลูกจางทํางาน

ขอ 9 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับการควบคุมบังคับลิฟท สวมหมวกแข็ง และรองเทาพื้นยาง


หุมสนตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 10 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานมีลักษณะโดดเดี่ยวในที่สูงเกินสี่เมตร และไมมีเครื่องปองกัน


อันตรายหรือการปองกันอันตรายอยางอื่น สวมเข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัย ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน

ขอ 11 อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ตองเปนไปตามมาตรฐาน ดังตอไปนี้


(1) หมวกแข็ง ตองมีนํ้าหนักไมเกินสี่รอยยี่สิบสี่กรัม ทําดวยวัตถุที่ไมใชโลหะและมีความตานทานสามารถ
ทนแรงกระแทกไดไมนอยกวาสามรอยแปดสิบหากิโลกรัม ภายในหมวกตองมีรองในหมวกทําดวยหนัง พลาสติก
ผา หรือวัตถุอื่นที่คลายกัน อยูหางผนังหมวกไมนอยกวาหนึ่งเซนติเมตร ซึ่งสามารถปรับระยะไดตามขนาดศีรษะ
ของผูใช เพื่อปองกันศีรษะกระทบกับผนังหมวก
(2) ถุงมือหนัง ตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมกับนิ้วมือไดทุกนิ้ว
(3) รองเทาหนังหัวโลหะปลายรองเทาตองมีโลหะแข็งหุม สามารถทนแรงกดไดไมนอยกวาสี่รอยสี่สิบหก
กิโลกรัม
(4) เข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัย ตองทําดวยหนัง ไนลอน ผาฝายถักหรือวัตถุอื่นที่คลายกัน และสามารถ
ทนแรงดึงไดไมนอยกวาหนึ่งพันหนึ่งรอยหาสิบกิโลกรัม สํ าหรับเข็มขัดนิรภัยตองมีความกวางไมนอยกวาหา
เซนติเมตร
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน
(ลิฟทขนสงวัสดุชั่วคราว)

ขอ 12 ขอกําหนดตามประกาศนี้ ถือเปนมาตรฐานขั้นตํ่าที่ตองปฏิบัติเทานั้น

ขอ 13 ใหนายจางเปนผูออกคาใชจายตามประกาศนี้

ขอ 14 ประกาศกระทรวงมหาดไทยนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2524

ประเทือง กีรติบุตร
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

You might also like