15 SP1-แบบประเมิน

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 31

แบบประเมินการพูด

การแสดงท่าทาง น้ำเสียง
ความถูกต้องของเนื้อหา

ความคล่องแคล่ว

ประกอบการพูด
ที่ ชื่อ - นามสกุล หมายเหตุ

การออกเสียง

รวม
8 8 8 4 28
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10
11
.
12
.
13
.
14
.
15
.
16
.
17
.
18
.
19
.
พิเศษ 17
20
.

เกณฑ์ประเมินการพูด
รายการ ระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน น้ำหนัก คะแนน
การประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) ความสำคัญ รวม
ความถูกต้องของเนื้อหา ใช้คำศัพท์สื่อ ใช้คำศัพท์สื่อ ใช้คำศัพท์สื่อ ใช้คำศัพท์สื่อ 2 8
ความหมาย ความหมาย ความหมาย ความหมายไม่
ตรงกับเนื้อหา ตรงกับเนื้อหา ตรงกับเนื้อหา ตรงกับเนื้อหา
และไวยากรณ์ และไวยากรณ์ และไวยากรณ์ และไวยากรณ์
ถูกต้องทุก ถูกต้องเป็น ถูกต้องเป็น ไม่ถูกต้องเป็น
ประโยค ส่วนใหญ่ บางส่วน ส่วนใหญ่
การออกเสียง ออกเสียงคำ ออกเสียงคำ ออกเสียงคำ ออกเสียงคำ 2 8
ศัพท์ ประโยค ศัพท์ ประโยค ศัพท์ ประโยค ศัพท์ ประโยค
ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
ตามหลักการ ตามหลักการ ตามหลักการ ทำให้สื่อสาร
ออกเสียงเน้น ออกเสียงเน้น ออกเสียง ไม่ได้
หนักคำ/ หนักคำ/ แต่ส่วนใหญ่
ประโยคได้ ประโยคเป็น ขาดการ
สมบูรณ์ ส่วนใหญ่ ออกเสียงเน้น
หนัก
ความคล่องแคล่ว พูดต่อเนื่อง พูด พูดเป็นคำ ๆ พูดได้บางคำ 2 8
ไม่ติดขัด ตะกุกตะกัก หยุดเป็น ช่วง ทำให้สื่อ
พูดชัดเจน บ้าง แต่ยังพอ ๆ ทำให้ ความหมายไม่
ทำให้สื่อสาร สื่อสารได้ สื่อสารได้ ได้
ได้ดี ไม่ชัดเจน
การแสดงท่าทาง น้ำเสียง แสดงท่าทาง พูดด้วยน้ำเสียง พูดเหมือน พูดได้น้อย 1 4
ประกอบการพูด และพูดด้วยน้ำ เหมาะสมกับ อ่าน ไม่เป็น มาก
เสียงเหมาะสม สถานการณ์ ธรรมชาติ
กับ แต่ไม่มีท่าทาง ขาดความน่า
สถานการณ์ ประกอบ สนใจ

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
24-28 ดีมาก
19-23 ดี
14-18 พอใช้
ต่ำกว่า 14 ปรับปรุง

พิเศษ 18
แบบประเมินการเขียน

การเลือกใช้คำศัพท์
ที่ ชื่อ - นามสกุล หมายเหตุ

การใช้ภาษา

เนื้อหา

รวม
8 8 8 24
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10
.
11
.
12
.
13
.
14
.
15
.
16
.
17
.
18
.
19
พิเศษ 19
.
20
.

เกณฑ์ประเมินการเขียน

รายการ ระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน น้ำหนัก คะแนน


การประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) ความสำคัญ รวม
การเลือกใช้คำ ใช้คำศัพท์ ใช้คำศัพท์ ใช้คำศัพท์ ใช้คำศัพท์ 2 8
ศัพท์ สื่อความหมาย สื่อความหมาย สื่อความหมาย สื่อความหมาย
ตรงกับเนื้อหา ตรงกับเนื้อหา ไม่ตรงกับ ไม่ตรงกับเนื้อหา
เป็นส่วนใหญ่ เนื้อหาบ้าง เป็นจำนวนมาก
การใช้ภาษา ตัวสะกดและ ตัวสะกดและ ตัวสะกดและ ตัวสะกดและ 2 8
ไวยากรณ์ ไวยากรณ์ ไวยากรณ์ ไวยากรณ์
มีความถูกต้อง ผิด 1-2 จุด ผิด 3-5 จุด ผิดมากกว่า 5
สมบูรณ์ เป็นส่วนใหญ่ อ่านแล้ว จุด อ่านแล้ว
อ่านเข้าใจง่าย แต่อ่านแล้ว ไม่เข้าใจ ไม่เข้าใจ
ไม่เข้าใจบาง หลายแห่ง เป็นส่วนมาก
แห่ง
เนื้อหา เขียนอธิบาย เขียนอธิบาย เขียนอธิบาย เขียนอธิบาย 2 8
เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา
ได้ตรงประเด็น ได้ค่อนข้าง ได้พอเข้าใจ ไม่ครบและ
และครบถ้วน ตรงประเด็น ไม่ตรงประเด็น
และครบถ้วน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
20-24 ดีมาก
16-19 ดี
12-15 พอใช้
ต่ำกว่า 12 ปรับปรุง

พิเศษ 20
1
1
1
1
1
1
1
1
ที่

1.

7.
6.
5.
4.
3.
2.
1.
0.
9.
8.
7.
6.
5.
4.
3.
2.
ชื่อ - นามสกุล

8 การมีส่วนร่วมในการเตรี
ยมตัวและนำเสนอ
8

การแสดงบทบาท

พิเศษ 21
8

ความถูกต้องของเนื้อหา
สาระ ความรู้
8

การใช้อวัจนภาษา
4

จินตนาการและความคิด
แบบประเมินการแสดงบทสนทนา/บทบาทสมมติ

สร้างสรรค์
36

รวม
หมายเหตุ
1
8.
1
9.
2
0.

เกณฑ์ประเมินการแสดงบทสนทนา/บทบาทสมมติ
รายการ ระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน น้ำหนัก คะแนน
การประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) ความสำคัญ รวม
การมีส่วนร่วม เต็มใจและสนใจ เต็มใจและ เต็มใจและ เต็มใจและสนใจ 2 8
ในการเตรียมตัว ในการทำงาน สนใจในการ สนใจในการ ในการทำงาน
และการนำเสนอ กลุ่มและใน ทำงานกลุ่มและ ทำงานกลุ่มและ กลุ่มและใน
การนำเสนอ ในการนำเสนอ ในการนำเสนอ การนำเสนอ
เสมอ เป็นส่วนใหญ่ เป็นบางเวลา น้อยมาก
การแสดงบทบาท สื่อสารความ สื่อสารความ สื่อสารความ สื่อสารความรู้สึก 2 8
รู้สึก รู้สึก รู้สึก สถานการณ์ และ
สถานการณ์ และ สถานการณ์ สถานการณ์ แรงจูงใจของ
แรงจูงใจของ และแรงจูงใจ และแรงจูงใจ ตัวละครได้น้อย
ตัวละครได้ ของ ของ
อย่างน่าเชื่อถือ ตัวละครได้ดี ตัวละครได้
พอใช้
ความถูกต้องของ เนื้อหาสาระถูก เนื้อหาสาระถูก เนื้อหาสาระถูก เนื้อหาสาระถูก 2 8
เนื้อหา สาระ ต้องครบถ้วน ต้อง ต้องพอใช้ ต้อง
ความรู้ เป็นส่วนมาก เป็นส่วนน้อย

การใช้อวัจนภาษา มีการใช้ มีการใช้ มีการใช้ มีการใช้ 2 8


(น้ำเสียง ท่าทาง อวัจนภาษา อวัจนภาษา อวัจนภาษา อวัจนภาษา
สายตา อุปกรณ์ หลากหลาย หลากหลาย หลากหลาย ไม่หลากหลาย
ประกอบฉาก น่าประทับใจใน อยู่ในเกณฑ์ที่ดี พอใช้อยู่ใน อยู่ในเกณฑ์
เครื่องแต่งกาย) เกณฑ์ที่น่า เกณฑ์ ที่ต้องปรับปรุง
ยกย่อง ที่ยอมรับได้
จินตนาการ เป็นผลงานที่ เป็นผลงานที่ เป็นผลงานที่ เป็นผลงานที่ 1 4
และความคิด ดึงดูดความ ดึงดูดความ ปรับปรุงเล็ก เหมือนตัวอย่าง
สร้างสรรค์ สนใจ สนใจ น้อย
แปลกใหม่ และ แปลกใหม่ จากตัวอย่าง

พิเศษ 22
คิดขึ้นเอง สอดคล้องกับ
สอดคล้องกับ เรื่องที่กำหนด
เรื่องที่กำหนด แต่บางส่วน
เหมือนตัวอย่าง

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
30-36 ดีมาก
24-29 ดี
18-23 พอใช้
ต่ำกว่า 18 ปรับปรุง
แบบประเมินการอ่านออกเสียง
การใช้น้ำเสียงและทำนอง

ความคล่องแคล่วในการ

ภาษากายหรือภาษา
ที่ ชื่อ - นามสกุล หมายเหตุ
การออกเสียง

ท่าทาง
เสียง

รวม
อ่าน

8 8 8 4 28
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
1
0.
1
1.
1
2.
1
3.
1
4.

พิเศษ 23
1
5.
1
6.
1
7.
1
8.
1
9.
2
0.

เกณฑ์ประเมินการอ่านออกเสียง
รายการ ระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน น้ำหนัก คะแนน
การประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) ความสำคัญ รวม
การออกเสียง อ่านเสียงดังฟัง อ่านเสียงดังฟัง อ่านเสียงดังฟังชัด อ่านเสียงเบา 2 8
ชัด ชัด เป็นส่วนใหญ่ ไม่ชัดเจน ยากแก่
สม่ำเสมอ และ เกือบตลอดเวลา มีการออกเสียง การเข้าใจ และมี
ไม่มีการออก มีการออกเสียง คำผิด 3-5 คำ การออกเสียงคำ
เสียงคำผิดเลย คำผิดเล็กน้อยห ผิด 5 คำขึ้นไป
รือ 1-2 คำ
การใช้น้ำเสียง ใช้น้ำเสียงและ ใช้น้ำเสียงและ ใช้น้ำเสียงและ ใช้น้ำเสียงและ 2 8
และทำนองเสียง ท่วงทำนองในการ ท่วงทำนองใน ท่วงทำนองใน ท่วงทำนองในการ
อ่านเหมาะสมกับ การอ่านเหมาะ การอ่านเหมาะ อ่านไม่เหมาะสม
ข้อความที่อ่าน สมกับข้อความที่ สมกับข้อความที่ กับข้อความที่อ่าน
อ่านเป็นส่วน อ่านพอใช้
ใหญ่
ความคล่องแคล่ว อ่านได้อย่างต่อ อ่านได้อย่างต่อ หยุดชะงัก อ่านเป็นคำ ๆ 2 8
ในการอ่าน เนื่อง มีจังหวะ เนื่อง มีจังหวะ เป็นบางครั้ง ไม่ต่อเนื่อง และ
และเว้นวรรคตอน เป็นส่วนใหญ่ อ่านมีจังหวะ หยุดชะงัก
ในการอ่านได้ มีติดขัดหรือ พอใช้ หลายครั้ง ทำให้
อย่างถูกต้อง เว้นช่วงเล็กน้อย ยากต่อการ
ติดตาม
ภาษากายหรือ จับหนังสือถูกวิธี จับหนังสือถูก จับหนังสือถูก จับหนังสือ 1 4

พิเศษ 24
ภาษาท่าทาง และไม่ถือ วิธี แต่ถือ วิธี แต่ถือ ไม่ถูกวิธี และถือ
หนังสือบังหน้า หนังสือ หนังสือ หนังสือบังหน้า
เวลาอ่าน บังหน้า บังหน้า ตลอดเวลาที่อ่าน
เป็นบางครั้ง เป็นส่วนใหญ่

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
24-28 ดีมาก
19-23 ดี
14-18 พอใช้
ต่ำกว่า 14 ปรับปรุง

แบบประเมินชิ้นงาน
รูปแบบชิ้นงาน

ที่ ชื่อ - นามสกุล หมายเหตุ


การใช้ภาษา

เนื้อหา

รวม

8 8 8 24
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
1
0.
1
1.

พิเศษ 25
1
2.
1
3.
1
4.
1
5.
1
6.
1
7.
1
8.
1
9.
2
0.

เกณฑ์ประเมินชิ้นงาน
รายการ ระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน น้ำหนัก คะแนน
การประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) ความสำคัญ รวม
รูปแบบชิ้น - รูปแบบชิ้น - รูปแบบชิ้น - รูปแบบชิ้น - รูปแบบชิ้น 2 8
งาน งาน งาน งาน งาน
ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม ไม่ตรงตาม
ที่กำหนด ที่กำหนด ที่กำหนด ที่กำหนด
- รูปแบบแปลก - มีขนาด - รูปภาพ - รูปภาพ
ใหม่ น่าสนใจ เหมาะสม สัมพันธ์กับ ไม่สัมพันธ์
- มีขนาด - รูปภาพมีสีสัน เนื้อหา กับเนื้อหา
เหมาะสม สวยงาม
- รูปภาพมีสีสัน - รูปภาพ
สวยงาม สัมพันธ์กับ
- รูปภาพ เนื้อหา
สัมพันธ์กับ
เนื้อหา
การใช้ภาษา ตัวสะกดและ ตัวสะกดและ ตัวสะกดและ ตัวสะกดและ 2 8

พิเศษ 26
ไวยากรณ์ ไวยากรณ์ ไวยากรณ์ ไวยากรณ์
มีความถูกต้อง ผิด 1-2 จุด ผิด 3-5 จุด ผิดมากกว่า 5
สมบูรณ์ เป็นส่วนใหญ่ อ่านแล้ว จุด อ่านแล้ว
อ่านแล้วเข้าใจ แต่อ่านแล้ว ไม่เข้าใจ ไม่เข้าใจ
ทั้งหมด ไม่เข้าใจบางแห่ง หลายแห่ง เป็นส่วนมาก
เนื้อหา เขียนอธิบาย เขียนอธิบาย เขียนอธิบาย เขียนอธิบาย 2 8
เนื้อหาได้ เนื้อหาได้ เนื้อหาได้ เนื้อหาไม่ครบ
ตรงประเด็น ค่อนข้าง พอเข้าใจ และไม่ตรง
และครบถ้วน ตรงประเด็น ประเด็น
และครบถ้วน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
20-24 ดีมาก
16-19 ดี
12-15 พอใช้
ต่ำกว่า 12 ปรับปรุง

แบบประเมินการสำรวจ/ค้นคว้าข้อมูล
ก า ร ค้ น ค ว้ า /รรวบรวม

การสรุปความรู้ที่ได้จาก

ความถูกต้องของภาษา
การเก็บรวบรวมข้อมูล

หมายเห
ที่ ชื่อ - นามสกุล
การนำเสนอ

ตุ
ข้อมูล

รวม

8 8 8 8 32
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.

พิเศษ 27
1
0.
1
1.
1
2.
1
3.
1
4.
1
5.
1
6.
1
7.
1
8.
1
9.
2
0.

เกณฑ์ประเมินการสำรวจ/ค้นคว้าข้อมูล
รายการ ระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน น้ำหนักความ คะแนน
การประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) สำคัญ รวม
การค้นคว้า/ ค้นคว้า/เก็บ ค้นคว้า/เก็บ ค้นคว้า/เก็บ ค้นคว้า/เก็บ 2 8
รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูล
ครบถ้วน ค่อนข้างครบ ไม่ค่อยครบ ไม่ครบถ้วน
ทุกประเด็น ถ้วน ถ้วน (ใช้ (ใช้โครงสร้าง
(ใช้โครงสร้าง (ใช้โครงสร้าง โครงสร้าง ภาษาที่กำหนด
ภาษาที่กำหนด ภาษาที่กำหนด ภาษาที่กำหนด ไม่สม่ำเสมอ)
อย่าง ค่อนข้าง ไม่ค่อย
สม่ำเสมอ) สม่ำเสมอ) สม่ำเสมอ)
การสรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ สรุปความรู้ 2 8

พิเศษ 28
ที่ได้จากการเก็บ ตรงตามจุด ตรงตามจุด ตรงตามจุด ไม่ตรงจุด
รวบรวมข้อมูล ประสงค์ของ ประสงค์ของ ประสงค์ของ ประสงค์ของ
ชิ้นงาน ชิ้นงานค่อน ชิ้นงาน ชิ้นงาน
อย่างละเอียด ข้างละเอียด แต่ไม่ละเอียด
ครบถ้วนดีมาก
ความถูกต้อง ตัวสะกดและ ตัวสะกดและ ตัวสะกดและ ตัวสะกดและ 2 8
ของภาษา ไวยากรณ์ ไวยากรณ์ ไวยากรณ์ ไวยากรณ์
มีความถูกต้อง ผิด 1-2 จุด ผิด 3-4 จุด ผิด 5 จุดขึ้น
สมบูรณ์ อ่านเข้าใจง่าย ไป
อ่านเข้าใจง่าย
การนำเสนอ พูด/เขียนนำ พูด/เขียนนำ พูด/เขียนนำ พูด/เขียนนำ 2 8
เสนอ เสนอ เสนอ เสนอ
ได้ชัดเจน ได้ค่อนข้าง ได้ครบถ้วน ไม่ครบถ้วน
ครบถ้วน และ ชัดเจน ครบ แต่ขาดความ
น่าสนใจ ถ้วน น่าสนใจ
และน่าสนใจ

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
27-32 ดีมาก
21-26 ดี
16-20 พอใช้
ต่ำกว่า 16 ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ............. จำนวน ......... ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ชั่วโมงที่ ............ วัน ............ เดือน ..................... พ.ศ. .........
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมและชิ้นงาน

ลำดับ รวม
ชื่อ-สกุล
ที่ คะแนน

1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1.
2.
3.
4.
5.
6.

พิเศษ 29
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
ข้อสังเกตอื่น ๆ
.............................................................................................................................
...................................................................
..............................................................................................................................................
............................................................
ลงชื่อ ............................................ ผู้
ประเมิน

(.................................................)
......................../...................../......
..............
เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคุณภาพ
3 คะแนน = ปฏิบัติสม่ำเสมอ 9-12คะแนน = ดี
2 คะแนน = ปฏิบัติบางครั้ง 5-8 คะแนน = พอใช้
1 คะแนน = ปฏิบัติน้อยครั้ง 1-4 คะแนน = ปรับปรุง
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
นิยาม
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ ธำรงไว้ซึ่ง
ความเป็นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ผู้ที่รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มีความ
สามัคคี ปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็นชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความ
จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์

ตัวชี้วัด 1.1 เป็ นพลเมืองดีของชาติ


1.2 ธำรงไว้ซึ่งความเป็ นชาติไทย
1.3 ศรัทธา ยึดมั่น และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา

พิเศษ 30
1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ วิธีการประเมิน
1.1 เป็ นพลเมืองดี 1.1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และอธิบายความ - สังเกตพฤติกรรม
ของชาติ หมายของเพลงชาติได้ถูกต้อง
1.1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่พลเมืองดีของชาติ - สังเกตพฤติกรรม
1.1.3 มีความสามัคคี ปรองดอง - สังเกตพฤติกรรม
1.2 ธำรงไว้ซึ่งความเป็ น 1.2.1 เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี - สังเกตพฤติกรรม
ชาติไทย ปรองดองที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม
1.2.2 หวงแหน ปกป้ อง ยกย่องความเป็นชาติไทย - สังเกตพฤติกรรม
1.3 ศรัทธา ยึดมั่น และ 1.3.1 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ - สังเกตพฤติกรรม
ปฏิบัติตนตามหลัก 1.3.2 ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาที่ตนนับถือ - สังเกตพฤติกรรม
ของศาสนา 1.3.3 เป็นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน - สังเกตพฤติกรรม
1.4 เคารพเทิดทูน 1.4.1 เข้าร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับ - สังเกตพฤติกรรม
สถาบันพระมหา- สถาบันพระมหากษัตริย์
กษัตริย์ 1.4.2 แสดงความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระมหา - สังเกตพฤติกรรม
กษัตริย์
1.4.3 แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์การให้คะแนน (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
ตัวชี้วัดที่ 1.1 เป็ นพลเมืองดีของชาติ
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
1.1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ ไม่ยืนตรงเคารพ ยืนตรงเมื่อได้ยิน ยืนตรงเมื่อได้ยิน ยืนตรงเมื่อได้ยิน
ร้องเพลงชาติ และ ธงชาติ เพลงชาติ ร้องเพลง- เพลงชาติ ร้องเพลง- เพลงชาติ ร้องเพลง-
อธิบายความหมาย ชาติ และอธิบาย ชาติ และอธิบาย ชาติ และอธิบาย
ของเพลงชาติได้ถูก ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ
ต้อง เพลงชาติได้ถูกต้อง เพลงชาติได้ถูกต้อง เพลงชาติได้ถูกต้อง
1.1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิ ปฏิบัติตนตามสิทธิ ปฏิบัติตนตามสิทธิ ปฏิบัติตนตามสิทธิ
และหน้าที่พลเมืองดี และหน้าที่ของ และหน้าที่ของ และหน้าที่ของ
ของชาติ นักเรียน ให้ความ นักเรียน ให้ความ พลเมืองดี ให้ความ
1.1.3 มีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจใน ร่วมมือร่วมใจใน ร่วมมือร่วมใจใน
ปรองดอง การทำกิจกรรมกับ การทำกิจกรรมกับ การทำกิจกรรมกับ
สมาชิกในชั้นเรียน สมาชิกในโรงเรียน สมาชิกในโรงเรียน
และชุมชน

ตัวชี้วัดที่ 1.2 ธำรงไว้ซึ่งความเป็ นชาติไทย

พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)

พิเศษ 31
1.2.1 เข้าร่วม ส่งเสริม ไม่เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรมที่ เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม
สนับสนุนกิจกรรมที่ ที่สร้างความสามัคคี สร้างความสามัคคี และมีส่วนร่วมใน และมีส่วนร่วมใน
สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็น การจัดกิจกรรมที่ การจัดกิจกรรมที่
ปรองดองที่เป็น ประโยชน์ต่อ สร้างความสามัคคี สร้างความสามัคคี
ประโยชน์ต่อ โรงเรียนและชุมชน ปรองดอง และเป็น ปรองดอง และเป็น
โรงเรียน ชุมชน ประโยชน์ต่อ ประโยชน์ต่อ
และสังคม โรงเรียนและชุมชน โรงเรียน ชุมชน
1.2.2 หวงแหน ปกป้ อง และสังคม ชื่นชม
ยกย่องความเป็น ความเป็นชาติไทย
ชาติไทย

ตัวชี้วัดที่ 1.3 ศรัทธา ยึดมั่น และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา


พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
1.3.1 เข้าร่วมกิจกรรมทาง ไม่เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรมทาง เข้าร่วมกิจกรรม
ศาสนาที่ตนนับถือ ทางศาสนาที่ตน ทางศาสนาที่ตน ศาสนาที่ตน ทางศาสนาที่ตน
1.3.2 ปฏิบัติตนตามหลัก นับถือ นับถือ ปฏิบัติตน นับถือ ปฏิบัติตน นับถือ ปฏิบัติตน
ของศาสนาที่ตน ตามหลักของ ตามหลักของ ตามหลักของ
นับถือ ศาสนาตามโอกาส ศาสนาอย่าง ศาสนาอย่าง
1.3.3 เป็นแบบอย่างที่ดี สม่ำเสมอ สม่ำเสมอ เป็นแบบ
ของศาสนิกชน อย่างที่ดีของ
ศาสนิกชน

ตัวชี้วัดที่ 1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)


1.4.1 เข้าร่วมและมีส่วน- ไม่เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรมที่ เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม
ร่วมในการจัด ที่เกี่ยวกับสถาบัน เกี่ยวกับสถาบัน และมีส่วนร่วมใน และมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมที่เกี่ยวกับ พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ การจัดกิจกรรมที่ การจัดกิจกรรมที่
สถาบันพระมหา- ตามที่โรงเรียนและ เกี่ยวกับสถาบัน เกี่ยวกับสถาบัน
กษัตริย์ ชุมชนจัดขึ้น พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์
1.4.2 แสดงความสำนึกใน ตามที่โรงเรียนและ ตามที่โรงเรียนและ
พระมหากรุณาธิคุณ ชุมชนจัดขึ้น ชุมชนจัดขึ้น
ของพระมหากษัตริย์ ชื่นชมในพระราช-
1.4.3 แสดงออกซึ่งความ กรณียกิจ พระปรีชา
จงรักภักดีต่อ สามารถของพระ
สถาบันพระมหา- มหากษัตริย์

พิเศษ 32
กษัตริย์ และพระราชวงศ์

ข้อที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต
นิยาม
ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในความถูกต้อง ประพฤติตรงตามความ
เป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่น ทั้งทางกาย วาจา ใจ
ผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริต คือ ผู้ที่ประพฤติตรงตามความเป็นจริงทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลัก
ความจริง ความถูกต้องในการดำเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำผิด

ตัวชี้วัด 2.1 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ


2.2 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ วิธีการประเมิน
2.1 ประพฤติตรงตาม 2.1.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง - สังเกตพฤติกรรม
ความเป็ นจริงต่อ 2.1.2 ปฏิบัติตนโดยคำนึงถึงความถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัว - สังเกตพฤติกรรม
ตนเองทั้งทางกาย ต่อการกระทำผิด
วาจา ใจ 2.1.3 ปฏิบัติตามคำมั่นสัญญา - สังเกตพฤติกรรม

2.2 ประพฤติตรงตาม 2.2.1 ไม่ถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง - สังเกตพฤติกรรม


ความเป็ นจริงต่อผู้ 2.2.2 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง - สังเกตพฤติกรรม
อื่นทั้งทางกาย วาจา 2.2.3 ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง - สังเกตพฤติกรรม
ใจ

พิเศษ 33
เกณฑ์การให้คะแนน (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
2.1.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ไม่ให้ข้อมูลที่ถูก ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
และเป็นจริง ต้องและเป็นจริง และเป็นจริง ปฏิบัติ และเป็นจริง ปฏิบัติ และเป็นจริง ปฏิบัติ
2.1.2 ปฏิบัติตนโดยคำนึง ในสิ่งที่ถูกต้อง ทำ ในสิ่งที่ถูกต้อง ในสิ่งที่ถูกต้อง
ถึงความถูกต้อง ตามสัญญาที่ตนให้ ละอายและเกรงกลัว ละอายและเกรงกลัว
ละอาย และเกรง ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ ที่จะทำความผิด ทำ ที่จะทำความผิด ทำ
กลัวต่อการกระทำ หรือผู้ปกครอง และ ตามสัญญาที่ตนให้ ตามสัญญาที่ตนให้
ผิด ครู ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ ไว้กับเพื่อน พ่อแม่
2.1.3 ปฏิบัติตามคำมั่น หรือผู้ปกครอง และ หรือผู้ปกครอง และ
สัญญา ครู ครู เป็นแบบอย่างที่
ดีด้านความซื่อสัตย์

ตัวชี้วัดที่ 2.2 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ


พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
2.2.1 ไม่ถือเอาสิ่งของ นำสิ่งของของผู้อื่น ไม่นำสิ่งของและผล ไม่นำสิ่งของและ ไม่นำสิ่งของและ
หรือผลงานของผู้อื่น มาเป็นของตนเอง งานของผู้อื่น ผลงานของผู้อื่น ผลงานของผู้อื่น
มาเป็นของตนเอง มาเป็นของตนเอง มาเป็นของตนเอง มาเป็นของตนเอง
2.2.2 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่น ปฏิบัติตนต่อผู้อื่น ปฏิบัติตนต่อผู้อื่น ปฏิบัติตนต่อผู้อื่น
ด้วยความซื่อตรง ด้วยความซื่อตรง ด้วยความซื่อตรง ด้วยความซื่อตรง
2.2.3 ไม่หาประโยชน์ใน ไม่หาประโยชน์ใน ไม่หาประโยชน์ใน
ทางที่ไม่ถูกต้อง ทางที่ไม่ถูกต้อง ทางที่ไม่ถูกต้อง
และเป็นแบบอย่าง
ที่ดีแก่เพื่อนด้าน
ความซื่อสัตย์

ข้อที่ 3 มีวินัย

พิเศษ 34
นิยาม
มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบ ข้อบังคับ
ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม
ผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และ
สังคมเป็นปกติวิสัย ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น

ตัวชี้วัด 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ วิธีการประเมิน
3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง 3.1.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ - สังเกตพฤติกรรม
กฎเกณฑ์ ระเบียบ ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ไม่ละเมิดสิทธิของผู้
ข้อบังคับของ อื่น
ครอบครัว โรงเรียน 3.1.2 ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ - สังเกตพฤติกรรม
และสังคม ในชีวิตประจำวัน และรับผิดชอบในการทำงาน

เกณฑ์การให้คะแนน (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
ตัวชี้วัดที่ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)

พิเศษ 35
3.1.1 ปฏิบัติตนตามข้อ ไม่ปฏิบัติตนตามข้อ ปฏิบัติตามข้อตกลง ปฏิบัติตามข้อตกลง ปฏิบัติตามข้อตกลง
ตกลง กฎเกณฑ์ ตกลง กฎเกณฑ์ กฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ระเบียบ
ระเบียบ ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อบังคับของ ข้อบังคับของ ข้อบังคับของ
ของครอบครัว ของครอบครัวและ ครอบครัวและ ครอบครัวและ ครอบครัว โรงเรียน
โรงเรียน และสังคม โรงเรียน โรงเรียน ตรงต่อ โรงเรียน ตรงต่อ และสังคม ไม่
ไม่ละเมิดสิทธิของผู้ เวลาในการปฏิบัติ เวลาในการปฏิบัติ ละเมิดสิทธิของผู้
อื่น กิจกรรมต่าง ๆ ใน กิจกรรมต่าง ๆ ใน อื่น ตรงต่อเวลา
3.1.2 ตรงต่อเวลาในการ ชีวิตประจำวัน ชีวิตประจำวัน และ ในการปฏิบัติ
ปฏิบัติกิจกรรมต่าง รับผิดชอบในการ กิจกรรมต่าง ๆ
ๆ ในชีวิตประจำวัน ทำงาน ในชีวิตประจำวัน
และรับผิดชอบใน และรับผิดชอบ
การทำงาน ในการทำงาน

ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้


นิยาม
ใฝ่ เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้
จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
ผู้ที่ใฝ่ เรียนรู้ คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการ

พิเศษ 36
เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่
และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ตัวชี้วัด 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้


4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่อ
อย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็ นองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ วิธีการประเมิน
4.1 ตั้งใจ เพียรพยายาม 4.1.1 ตั้งใจเรียน - สังเกตพฤติกรรม
ในการเรียนและ 4.1.2 เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ - สังเกตพฤติกรรม
เข้าร่วมกิจกรรม 4.1.3 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ - สังเกตพฤติกรรม
การเรียนรู้

4.2 แสวงหาความรู้จาก 4.2.1 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ - สังเกตพฤติกรรม


แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
ทั้งภายในและ โรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม
ภายนอกโรงเรียน 4.2.2 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุป - สังเกตพฤติกรรม
ด้วยการเลือกใช้สื่อ เป็นองค์ความรู้
อย่างเหมาะสม 4.2.3 แลกเปลี่ยนความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ และนำไปใช้ในชีวิต - สังเกตพฤติกรรม
บันทึกความรู้ ประจำวัน
วิเคราะห์ สรุปเป็ น
องค์ความรู้ และ
สามารถนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้

เกณฑ์การให้คะแนน (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)

พิเศษ 37
4.1.1 ตั้งใจเรียน ไม่ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา
4.1.2 เอาใจใส่และมีความ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
เพียรพยายามในการ ในการเรียน มีส่วน- และมีความเพียร- และมีความเพียร-
เรียนรู้ ร่วมในการเรียนรู้ พยายามในการเรียน พยายามในการเรียน
4.1.3 สนใจเข้าร่วม และเข้าร่วมกิจกรรม รู้ มีส่วนร่วม รู้ มีส่วนร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้ การเรียนรู้ต่าง ๆ ในการเรียนรู้ และ ในการเรียนรู้ และ
ต่าง ๆ เป็นบางครั้ง เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
บ่อยครั้ง ทั้งภายในและ
ภายนอกโรงเรียน
เป็นประจำ

ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม


บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็ นองค์ความรู้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
4.2.1 ศึกษาค้นคว้าหาความ ไม่ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า ศึกษาค้นคว้า
รู้จากหนังสือ หาความรู้ หาความรู้จาก หาความรู้จาก หาความรู้จาก
เอกสาร สิ่งพิมพ์ หนังสือ เอกสาร สิ่ง หนังสือ เอกสาร สิ่ง หนังสือ เอกสาร สิ่ง
สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ พิมพ์ พิมพ์ พิมพ์
แหล่งเรียนรู้ทั้ง สื่อเทคโนโลยี สื่อเทคโนโลยีและ สื่อเทคโนโลยีและ
ภายในและภายนอก แหล่งเรียนรู้ทั้ง สารสนเทศ แหล่ง สารสนเทศ แหล่ง
โรงเรียน และเลือก ภายในและภายนอก เรียนรู้ทั้งภายในและ เรียนรู้ทั้งภายในและ
ใช้สื่อได้อย่างเหมาะ โรงเรียน เลือกใช้สื่อ ภายนอกโรงเรียน ภายนอกโรงเรียน
สม ได้อย่างเหมาะสม และเลือกใช้สื่อได้ เลือกใช้สื่อได้อย่าง
4.2.2 บันทึกความรู้ มีการบันทึกความรู้ อย่างเหมาะสม มี เหมาะสม
วิเคราะห์ ตรวจสอบ การบันทึกความรู้ มีการบันทึกความรู้
จากสิ่งที่เรียนรู้ สรุป วิเคราะห์ข้อมูล สรุป วิเคราะห์ข้อมูล สรุป
เป็นองค์ความรู้ เป็นองค์ความรู้ และ เป็นองค์ความรู้ และ
4.2.3 แลกเปลี่ยนความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ด้วยวิธีการต่าง ๆ กับผู้อื่นได้ ด้วยวิธีการที่หลาก
และนำไปใช้ในชีวิต หลาย และนำไปใช้
ประจำวัน ในชีวิตประจำวันได้
ข้อที่ 5 อยู่อย่างพอเพียง
นิยาม
อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล
รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ผู้ที่อยู่อย่างพอเพียง คือ ผู้ที่ดำเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่างๆ มีการวางแผนป้ องกันความเสี่ยง
และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง

พิเศษ 38
ตัวชี้วัด 5.1 ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม
5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ วิธีการประเมิน
5.1 ดำเนินชีวิตอย่างพอ 5.1.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ - สังเกตพฤติกรรม
ประมาณ อย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี รวมทั้ง
มีเหตุผล รอบคอบ การใช้เวลาอย่างเหมาะสม
มีคุณธรรม 5.1.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บ - สังเกตพฤติกรรม
รักษาดูแลอย่างดี
5.1.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล - สังเกตพฤติกรรม
5.1.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน พร้อมให้ - สังเกตพฤติกรรม
อภัยเมื่อผู้อื่นกระทำผิดพลาด
5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี 5.2.1 วางแผนการเรียน การทำงาน และการใช้ชีวิตประจำวัน - สังเกตพฤติกรรม
ปรับตัวเพื่ออยู่ใน บนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
สังคมได้อย่างมี 5.2.2 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม - สังเกตพฤติกรรม
ความสุข ยอมรับและปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

เกณฑ์การให้คะแนน (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
ตัวชี้วัดที่ 5.1 ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
5.1.1 ใช้ทรัพย์สินของ ใช้เงินและของใช้ ใช้ทรัพย์สินของ ใช้ทรัพย์สินของ ใช้ทรัพย์สินของ
ตนเอง เช่น เงิน ส่วนตัวอย่าง ตนเองและทรัพยากร ตนเองและทรัพยากร ตนเองและทรัพยากร
สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ ไม่ประหยัด ของส่วนรวมอย่าง ของส่วนรวมอย่าง ของส่วนรวมอย่าง
อย่างประหยัด คุ้มค่า ประหยัด คุ้มค่า ประหยัด คุ้มค่า ประหยัด คุ้มค่า
และเก็บรักษาดูแล เก็บรักษาดูแล เก็บรักษาดูแลอย่างดี เก็บรักษาดูแลอย่างดี
อย่างดี รวมทั้งการใช้ อย่างดี ตัดสินใจ ตัดสินใจอย่าง ตัดสินใจอย่าง
เวลาอย่างเหมาะสม อย่างรอบคอบ รอบคอบ มีเหตุผล รอบคอบ มีเหตุผล
5.1.2 ใช้ทรัพยากรของส่วน มีเหตุผล ไม่เอาเปรียบผู้อื่น ไม่เอาเปรียบผู้อื่น ไม่
รวมอย่างประหยัด คุ้ม และไม่ทำให้ผู้อื่น ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน
ค่า และเก็บรักษาดูแล เดือดร้อน และให้อภัยเมื่อผู้อื่น
อย่างดี กระทำผิดพลาด
5.1.3 ปฏิบัติตนและตัดสิน
ใจด้วยความรอบคอบ

พิเศษ 39
มีเหตุผล
5.1.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่นและ
ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือด
ร้อน พร้อมให้อภัย
เมื่อผู้อื่นกระทำผิด
พลาด

ตัวชี้วัดที่ 5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข


พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
5.2.1 วางแผนการเรียน ไม่วางแผนการเรียน ใช้ความรู้ ข้อมูล ใช้ความรู้ ข้อมูล ใช้ความรู้ ข้อมูล
การทำงาน และการ และการใช้ชีวิต ข่าวสารในการ ข่าวสารในการ ข่าวสารในการ
ใช้ชีวิตประจำวันบน ประจำวัน วางแผนการเรียน วางแผนการเรียน วางแผนการเรียน
พื้นฐานของความรู้ การทำงาน และใช้ การทำงาน และใช้ การทำงาน และใช้
ข้อมูล ข่าวสาร ในชีวิตประจำวัน ในชีวิตประจำวัน ในชีวิตประจำวัน
5.2.2 รู้เท่าทันการ รับรู้การเปลี่ยนแปลง ยอมรับการ ยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงของ ของครอบครัว ชุมชน เปลี่ยนแปลงของ เปลี่ยนแปลงของ
สังคมและสภาพ และสภาพแวดล้อม ครอบครัว ชุมชน ครอบครัว ชุมชน
แวดล้อม ยอมรับและ สังคม และสภาพ สังคม สภาพแวดล้อม
ปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้ แวดล้อม และปรับตัวอยู่ร่วม
อื่นได้อย่างมีความสุข กับผู้อื่นได้อย่างมี
ความสุข
ข้อที่ 6 มุ่งมั่นในการทำงาน
นิยาม
มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบในการทำหน้าที่
การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้ าหมาย
ผู้ที่มุ่งมั่นในการทำงาน คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จลุล่วง ตามเป้ าหมายที่
กำหนดด้วยความรับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน

ตัวชี้วัด 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน


6.2 ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้ าหมาย

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ วิธีการประเมิน
6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบ 6.1.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย - สังเกตพฤติกรรม
ในการปฏิบัติหน้าที่ 6.1.2 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ - สังเกตพฤติกรรม
การงาน 6.1.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง - สังเกตพฤติกรรม

พิเศษ 40
6.2 ทำงานด้วยความ 6.2.1 ทุ่มเททำงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรค - สังเกตพฤติกรรม
เพียรพยายามและ ในการทำงาน
อดทน เพื่อให้งาน 6.2.2 พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ - สังเกตพฤติกรรม
สำเร็จตามเป้ าหมาย 6.2.3 ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์การให้คะแนน (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน

พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)


6.1.1 เอาใจใส่ต่อการ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ ตั้งใจและรับผิด ตั้งใจและรับผิด ตั้งใจและรับผิด
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ หน้าที่การงาน ชอบในการปฏิบัติ ชอบในการปฏิบัติ ชอบในการปฏิบัติ
มอบหมาย หน้าที่ที่ได้รับมอบ หน้าที่ที่ได้รับมอบ หน้าที่ที่ได้รับมอบ
6.1.2 ตั้งใจและรับผิดชอบ หมาย หมาย หมาย
ในการทำงานให้ ให้สำเร็จ ให้สำเร็จ มีการ ให้สำเร็จ มีการ
สำเร็จ ปรับปรุงและ ปรับปรุงและ
6.1.3 ปรับปรุงและ พัฒนาการทำงาน พัฒนาการทำงาน
พัฒนาการทำงาน ให้ดีขึ้น ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง
ด้วยตนเอง

ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้ าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)

พิเศษ 41
6.2.1 ทุ่มเททำงาน อดทน ไม่ขยัน อดทน ทำงานด้วยความ ทำงานด้วยความ ทำงานด้วยความ
ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหา ในการทำงาน ขยัน อดทน ขยัน อดทน ขยัน อดทน
และอุปสรรคในการ พยายามให้งาน ไม่ย่อท้อต่อปัญหา ไม่ย่อท้อต่อปัญหา
ทำงาน สำเร็จตามเป้ าหมาย ในการทำงาน พยายามแก้ปัญหา
6.2.2 พยายามแก้ปัญหา พยายามให้งาน อุปสรรคในการ
และอุปสรรคในการ สำเร็จตามเป้ าหมาย ทำงาน ให้งาน
ทำงานให้สำเร็จ ชื่นชมผลงานด้วย สำเร็จตามเป้ าหมาย
6.2.3 ชื่นชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ ภายในเวลาที่
ความภาคภูมิใจ กำหนด ชื่นชมผล
งานด้วยความภาค
ภูมิใจ

ข้อที่ 7 รักความเป็ นไทย


นิยาม
รักความเป็ นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์
สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูก
ต้องและเหมาะสม
ผู้ที่รักความเป็ นไทย คือ ผู้ที่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
สืบทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญูกตเวที
ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารอย่างถูกต้องเหมาะสม

ตัวชี้วัด 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตัญญูกตเวที


7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
7.3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ วิธีการประเมิน
7.1 ภาคภูมิใจใน 7.1.1 แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ - สังเกตพฤติกรรม
ขนบธรรมเนียม กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
ประเพณี ศิลปะ 7.1.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณี ศิลปะ และ - สังเกตพฤติกรรม
วัฒนธรรมไทย และ วัฒนธรรมไทย

พิเศษ 42
มีความกตัญญู 7.1.3 ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม - สังเกตพฤติกรรม
กตเวที ประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย
7.2 เห็นคุณค่าและ 7.2.1 ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง - สังเกตพฤติกรรม
ใช้ภาษาไทย เหมาะสม
ในการสื่อสารได้ 7.2.2 ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ - สังเกตพฤติกรรม
อย่างถูกต้องเหมาะ ถูกต้อง
สม
7.3 อนุรักษ์และสืบทอด 7.3.1 นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต - สังเกตพฤติกรรม
ภูมิปัญญาไทย 7.3.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย - สังเกตพฤติกรรม
7.3.3 แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย - สังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์การให้คะแนน (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
ตัวชี้วัดที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตัญญูกตเวที
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
7.1.1 แต่งกายและมี ไม่มีสัมมาคารวะต่อ ปฏิบัติตนเป็นผู้มี ปฏิบัติตนเป็นผู้มี ปฏิบัติตนเป็นผู้มี
มารยาทงดงามแบบ ผู้ใหญ่ มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย
ไทย มีสัมมาคารวะ มีสัมมาคารวะ มีสัมมาคารวะ มีสัมมาคารวะ
กตัญญูกตเวทีต่อผู้มี กตัญญูกตเวทีต่อ กตัญญูกตเวทีต่อ กตัญญูกตเวที
พระคุณ ผู้มีพระคุณ และ ผู้มีพระคุณ และ ต่อผู้มีพระคุณ
7.1.2 ร่วมกิจกรรมที่ แต่งกายแบบไทย แต่งกายแบบไทย แต่งกายแบบไทย
เกี่ยวข้องกับ เข้าร่วมหรือมีส่วน- ด้วยความภาคภูมิใจ ด้วยความภาคภูมิใจ
ประเพณี ศิลปะ และ ร่วมในกิจกรรมที่ เข้าร่วมหรือมีส่วน เข้าร่วมหรือมีส่วน
วัฒนธรรมไทย เกี่ยวข้องกับ ร่วมในกิจกรรมที่ ร่วมในการจัด
7.1.3 ชักชวน แนะนำให้ผู้ ประเพณี ศิลปะ เกี่ยวข้องกับ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
อื่นปฏิบัติตาม และวัฒนธรรมไทย ประเพณี ศิลปะ กับประเพณี ศิลปะ
ขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมไทย
ประเพณี ศิลปะ และ ชักชวน แนะนำ
วัฒนธรรมไทย เพื่อนและคนอื่น
ปฏิบัติตาม
ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ศิลปะ
และวัฒนธรรมไทย

ตัวชี้วัดที่ 7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม


พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
7.2.1 ใช้ภาษาไทยและ ไม่สนใจใช้ภาษา ใช้ภาษาไทย ใช้ภาษาไทย ใช้ภาษาไทย
เลขไทยในการ ไทย เลขไทยในการ เลขไทยในการ เลขไทยในการ

พิเศษ 43
สื่อสารได้อย่างถูก อย่างถูกต้อง สื่อสารได้ถูกต้อง สื่อสารได้ถูกต้อง สื่อสารได้ถูกต้อง
ต้องเหมาะสม เหมาะสม และ เหมาะสม แนะนำ เหมาะสม แนะนำ
7.2.2 ชักชวน แนะนำให้ผู้ แนะนำให้ผู้อื่นใช้ ชักชวนให้ผู้อื่นใช้ ชักชวนให้ผู้อื่นใช้
อื่นเห็นคุณค่าของ ภาษาไทยที่ถูกต้อง ภาษาไทยที่ถูกต้อง ภาษาไทยที่ถูกต้อง
การใช้ภาษาไทย เป็นประจำ เป็น
ที่ถูกต้อง แบบอย่างที่ดีด้าน
การใช้ภาษาไทย

ตัวชี้วัดที่ 7.3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย


พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
7.3.1 นำภูมิปัญญาไทย ไม่สนใจภูมิปัญญา- สืบค้นภูมิปัญญา- สืบค้นภูมิปัญญา- สืบค้นภูมิปัญญา-
มาใช้ให้เหมาะ ไทย ไทยที่ใช้ในท้องถิ่น ไทยที่มีอยู่ในท้อง ไทย เข้าร่วมและ
สมในวิถีชีวิต เข้าร่วมและชักชวน ถิ่น เข้าร่วมและ ชักชวนคนใน
7.3.2 ร่วมกิจกรรมที่ คนในครอบครัว ชักชวนคนใน ครอบครัว เพื่อน
เกี่ยวข้องกับ หรือเพื่อนเข้าร่วม ครอบครัว เพื่อน และผู้อื่นเข้าร่วม
ภูมิปัญญาไทย กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง และผู้อื่นเข้าร่วม กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
7.3.3 แนะนำ มีส่วนร่วม กับภูมิปัญญาไทย กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับภูมิปัญญาไทย
ในการสืบทอด ใช้ภูมิปัญญาไทย กับภูมิปัญญาไทย ใช้และแนะนำ
ภูมิปัญญาไทย ในชีวิตประจำวัน ใช้และแนะนำให้ ให้เพื่อนใช้
เพื่อนใช้ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาไทย
ไทยในชีวิตประจำ ในชีวิตประจำวัน
วัน และมีส่วนร่วม
ในการสืบทอด
ภูมิปัญญาไทย

พิเศษ 44
ข้อที่ 8 มีจิตสาธารณะ
นิยาม
มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือสถานการณ์ที่
ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวังผลตอบแทน
ผู้ที่มีจิตสาธารณะ คือ ผู้ที่มีลักษณะเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งปันความสุขส่วนตนเพื่อทำ
ประโยชน์แก่ส่วนรวม เข้าใจ เห็นใจผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ด้วยแรง
กาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชน โดยไม่หวังสิ่ง
ตอบแทน

ตัวชี้วัด 8.1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจและพึงพอใจ โดยไม่หวังผลตอบแทน


8.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ วิธีการประเมิน
8.1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วย 8.1.1 ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูทำงานด้วยความเต็มใจ - สังเกตพฤติกรรม
ความเต็มใจและ 8.1.2 อาสาทำงานให้ผู้อื่นด้วยกำลังกาย กำลังใจ และกำลังสติ - สังเกตพฤติกรรม
พึงพอใจ โดยไม่ ปัญญา โดยไม่หวังผลตอบแทน
หวังผลตอบแทน 8.1.3 แบ่งปันสิ่งของ ทรัพย์สิน และอื่น ๆ และช่วยแก้ปัญหา - สังเกตพฤติกรรม
หรือสร้างความสุขให้กับผู้อื่น

8.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่ 8.2.1 ดูแล รักษาสาธารณสมบัติและสิ่งแวดล้อมด้วยความ - สังเกตพฤติกรรม


เป็ นประโยชน์ต่อ เต็มใจ
โรงเรียน ชุมชน และ 8.2.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และ - สังเกตพฤติกรรม
สังคม สังคม
8.2.3 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือร่วมสร้างสิ่งที่ดีงาม - สังเกตพฤติกรรม
ของส่วนรวม ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยความ
กระตือรือร้น

เกณฑ์การให้คะแนน (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น)
ตัวชี้วัดที่ 8.1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจและพึงพอใจ โดยไม่หวังผลตอบแทน
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)

พิเศษ 45
8.1.1 ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ไม่ช่วยเหลือพ่อแม่ ช่วยพ่อแม่ ผู้ ช่วยพ่อแม่ ผู้ ช่วยพ่อแม่ ผู้
ครูทำงานด้วย ผู้ปกครอง และครู ปกครอง และครู ปกครอง และครู ปกครอง และครู
ความเต็มใจ ทำงาน อาสาทำงาน ทำงาน อาสาทำงาน ทำงาน อาสาทำงาน
8.1.2 อาสาทำงานให้ผู้อื่น และแบ่งปันสิ่งของ ช่วยคิด ช่วยทำ และ ช่วยคิด ช่วยทำ แบ่ง
ด้วยกำลังกาย กำลัง ให้ผู้อื่นด้วยความ แบ่งปันสิ่งของให้ผู้ ปันสิ่งของ และช่วย
ใจ และกำลัง สติ เต็มใจ อื่นด้วยความเต็มใจ แก้ปัญหาให้ผู้อื่น
ปัญญา โดยไม่หวัง ด้วยความเต็มใจ
ผลตอบแทน
8.1.3 แบ่งปันสิ่งของ
ทรัพย์สิน และอื่น ๆ
และช่วยแก้ปัญหา
หรือสร้างความสุข
ให้กับผู้อื่น

ตัวชี้วัดที่ 8.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม


พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
8.2.1 ดูแล รักษา ไม่สนใจดูแล รักษา ดูแล รักษาทรัพย์- ดูแล รักษาทรัพย์- ดูแล รักษาทรัพย์-
สาธารณสมบัติ ทรัพย์สมบัติและ สมบัติ สิ่งแวดล้อม สมบัติ สิ่งแวดล้อม สมบัติ สิ่งแวดล้อม
และสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมของ ของห้องเรียน ของห้องเรียน ของห้องเรียน
ด้วยความเต็มใจ โรงเรียน โรงเรียน เข้าร่วม โรงเรียน ชุมชน โรงเรียน ชุมชน
8.2.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่ กิจกรรมเพื่อสังคม เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม
เป็นประโยชน์ต่อ และสาธารณ- เพื่อสังคมและ เพื่อสังคมและ
โรงเรียน ชุมชน และ ประโยชน์ของ สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์
สังคม โรงเรียนด้วยความ ของโรงเรียนด้วย ของโรงเรียนและ
8.2.3 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อ เต็มใจ ความเต็มใจ ชุมชนด้วยความ
แก้ปัญหา หรือร่วม เต็มใจ
สร้างสิ่งที่ดีงามของ
ส่วนรวม ตาม
สถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ด้วยความ
กระตือรือร้น
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชั้น .........................
ปี การศึกษา ................................
ชื่อนักเรียน .......................................................... เลขประจำตัว .......................... เลขที่ ...............

ข้อที่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 สรุป

พิเศษ 46
ไม่ ผ่าน ดี ดีเยี่ยม ไม่ ผ่าน ดี ดีเยี่ยม
ผ่าน (1) (2) (3) ผ่าน (1) (2) (3)
(0) (0)
1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2 ซื่อสัตย์สุจริต
3 มีวินัย
4 ใฝ่ เรียนรู้
5 อยู่อย่างพอเพียง
6 มุ่งมั่นในการทำงาน
7 รักความเป็นไทย
8 มีจิตสาธารณะ
สรุป

ผลการตัดสินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 0 ไม่ผ่าน  1 ผ่าน  2 ดี  3 ดีเยี่ยม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ควรได้รับการพัฒนา
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

(ลงชื่อ) ...........................................................
(.........................................................)
ครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา

พิเศษ 47

You might also like