Thian - PDF 20240216 114353 0000

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

รายงาน

เรื่อง ออกญา ยามาดะ


วิชาประวัติิศาสตร
จัดทำโดย
ด.ช.เธียรบดิินทร สอนธรรม
เลขที่ 30 ชั้น 2/5

เสนอ
ม. วาชรัตน ไทยอาริยะ
โรงเรียนอัสัสััมชัญ แผนมัธยม
ชื่อบุุคคลสำคัญ ออกญา ยามาดะ นางามาซะ
(ออกญาเสนาภิมุข)
คำนำ
ถาจะกลาวถึงชาวตางชาติในสมัยอยุธยา บุคคลสำคัญเปนชาวญี่ปุนที่ขามนำ้ขามทะเล
มายังไทย และใชความสามารถไตเตาจนตัวเองและมีบทบาทสำคัญทางการเมืองจนไดรับตำแหนง
ใหญโตทางราชสำนัก ในดินแดนไทย ยามาดะ นางามาซะ หรืือ ทานออกญาเสนาภิมุข เปนซามูไร
ชาวญี่ปุน ที่เขามารับราชการ ดำรงตำแหนงเจาเมืองนครศรีธรรมราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อ
อดีตที่เคยอาศัยอยูญี่ปุน เคยมีอาชีพที่ตำ่ตอยเปนเพียงคนหามเกี้ยวใหกับตะกูลซามูไร ยามาดะ
เดินทางออกจากญี่ปุนกับคณะทูตเพื่อที่จะแสวงโชคขางหนา โดยเขามาคาขายในไทย กอนที่จะ
สมัครเขาไปเปนทหารอาสาในเวลาตอมา และไดรัับการอวยยศเปนถึง ออกญาเสนาภิมุข ในที่สุุด

จัดทำโดย
เนื้อเรื่อง
ประเทศญี่ปุุน และอยุุธยาเร่ิิ่มติดตอกันอยางจริิงจังในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ ชาวญี่ปุุน
เริ่มโดดเดนในสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม จนถึงพระเจาปราสาททอง โดย ยามาดะ มีบทบาท
สำคัญในดานการคา ดานการทูต ดานการทหาร และการเมือง ภายในราชสำนัก ออกญาเสนาภิมุข
ซึ่งเปนผูที่มี สวนเกี่ยวของกับการขึ้นครองราชยของสมเด็จพระเชษฐาธิราช และสมเด็จพระอาทิต
ยวงศ และได เปนเจาเมืองนครศรีีธรรมราช บทบาทของชาวญี่ปุุนในอยุุธยาลดนอยลงในชวงปลาย
สมัยพระเจาปราสาททอง ตอมาสมัยของพระเจาทรงธรรม ชาวญี่ปุุนกลุุมนี้ไดกลายเปนทหารอาสา
ญี่ปุนเขา รับราชการและราชสำนักอยุธยา มีหัวหนาชื่อ ยามาดะ ไดรับพระราชทาน ยศเปน
ออกญาเสนาภิมุข มีตำแหนงเปนหััวหนากรมอาสาญี่ปุุน ดำรงตำแหนงอยูนี้ ้ไดเกิดเหตุการณที่ทำ
ใหคนญี่ปุุนเขามามีสวนรวมกับปญหา ทางการเมืองของไทย

ภายหลังหมูบานญี่ปุนในอยุธยาก็เขาสูยุคถดถอยเนื่องจากสูญเสีย ออกญาเสนาภิมุข จาก


หลักฐานบันทึกปตตาเวีย กลาววา ในพ.ศ. 2173 สมเด็จพระเจาปราสาททอง ไดมีคำสั่ง ใหกอง
ทหารจูโจมเผาหมูบานญี่ปุน แตตอมาก็กลับมาตั้งหมูบานขึ้นอีกครั้งอยางรวดเร็ว ในพ.ศ. 2176
และกลับมาท าการคาขายหนังกวางอีีกและกลายเปนคูแขงทางการคากับฮอลันดา แตเมื่อถึงพ.ศ.
2179 รััฐบาลญี่ปุุนมีนโยบายปดประเทศหามชาวญี่ปุุนเดินทางเขา-ออก จึงทำใหไมมีีชาวญี่ปุุนเดิน
ทางเขามาพานักที่อยุุธยา สวนชาวญี่ปุุนที่พ านักอยููแลวก็ไมสามารถสงเรืือส าเภาไปคาขายที่ญี่ปุุน
ได อีก การติดตอระหวางอยุธยากับญี่ปุนจึงหยุดชะงักไปเปนเวลากวา 200 ป อยางไรก็ตาม
ในชวงเวลา ระหวางนั้นยังคงมีการติดตอคาขายระหวางกันอยางตอเนื่อง โดยผานพอคาชาว
ฮอลันดาในเมืืองนางา ซากิิ ซ่ึึ่งเปนชองทางเดียวท่ีี่รัฐบาลโชกุุนใหติดตอการคากัับตางประเทศได 

ประวััติโดยยอ
ยามาดะ ในเมืองนูมาซุ จังหวััดชิซูโอกะ ประเทศญี่ปุุน กอนที่จะเดินทางมาในไทย เขาเคย
เปน “โรกุชากุ” หรือคนหามเกี้ยวให ไดเมียวแหงแควนนุมาซุ ตำแหนงนี้เปนคนรับใชตระกูล
ซามูไรชนชั้นสููงในสมัยนั้นของประเทศญี่ปุุน
ยามาดะ ไดมีโอกาสเดินทางเขามาในอยุธยา ในยุคสมัย พระเจาทรงธรรมวัังครองราชย
โดยเดินทางมาพรอมคณะทูตของพระเจาทรงธรรมที่สงไป เมืองเอโดะ ประเทศญี่ปุุน

ยามาดะตามมาแสวงหาโชคเพื่อใหไดสภาพชีวิิต และความเปนอยููที่ดีกวาเดิม ยามาดะเปน


บุคคลที่มีความสามารถ เกงกาจ เปนอยางมาก ในวัยเพียง 31 ป มีความเชี่ยวชาญทางดาน
การทหาร เปนกลุมชาวญี่ปุนที่เริ่มเขามาในสยามประเทศที่มีความสำคัญทั้งทางการคา การเมือง
และทางการทูตดวย เพียงระยะเวลาอันสั้นเทานั้นที่เขาเขามารับราชการในไทย ตำแหนงเริ่มตน
เปนขาราชการชั้นผูนอยและไตเตาเรื่อยมา จนถึงตำแหนง เจากรมอาสาญี่ปุน ตอมา ก็ไดรัับ
ตำแหนง เปน ออกญาเสนาภิมุข ไดดำรงคตำแหนงเปน เจาเมืองนครศรีีธรรมราช ในเวลานั้นเมือง
นครศรีีธรรมราช นับวาเปนเมืองใหญไมนอย

บทบาทและหนาที่สำคัญ ยามาดะ นางามาซะ มีความสำคัญตออยุุธยาในหลายดาน

ดานการคา นอกจากจะดำรงตำแหนงหัวหนาหมูบานญี่ปุนแลว ยามาดะ นางามาซะยังมี


บทบาทเปน พอคาคนกลางที่สงสินคาไปขายยังตางประเทศดวย ยามาดะไดสงสำเภาไปปตตาเวีีย
พรอมสง จดหมายและของ กำนัลใหแก ยังพิเรสตัน ผูจัดการใหญบริษัทอิสตอินเดียของ
ฮอลันดาเพื่อติดตอ คาขาย ตอมาจึงไดมีโอกาสสงขาวจากอยุธยาไปขาย นอกจากนี้จากการที่ยา
มาดะเขียนหนังสือถึงขุนนางญี่ปุนเพื่อสนับสนุนใหทูตอยุธยาสามารถปฏิบัติภารกิจในการเจรจา
ทางการคาใหลุลวงไปไดดวยดีหมายความไดวายามาดะเองก็ชวยสนับสนุนการคาของอยุธยา
เชนกัน

ดานการทหาร บทบาทของชาวญี่ปุุนในฐานะที่เปนทหารอาสานั้นนอกจากจะตองสููรบเพื่อ
แยงชิงความเปน ใหญของผููนำในอยุุธยาแลว ยัังทำหนาที่ในการปองกันพระนครดวย ดังปรากฎวา
ในสมัยสมเด็จพระเจ า ทรงธรรม เมื่อพ.ศ. 2164 ได มี เรือรบสเปนเดินทางเข า มาตามแม นำ้
เจาพระยา กองอาสาญี่ปุนได โจมตีเรือรบนี้ถอยกลับไป ซึ่งเรื่องนี้ปรากฏอยูในหนังสือ Sucesos
de las Islas Filipinas ของ Antonio Morga ซึ่งตรงกับสมัยที่ ยามาดะ นางามาซะ ดำรง
ตำแหนงหัวหนากรมอาสา
ดานการทูต ในสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม ไดสงคณะทูตจากสยามไปเจริิญพระราชไมตรีี
กับประเทศ ญี่ปุนครั้งแรกเมื่อพ.ศ. 2164 ครั้งนี้ประกอบไปดวย ทูตจากอยุธยา 2 นาย คือ ขุน
พิชัยสมบัติ และ ขุนปราสาท และผูติดตามอีก 20 คน โดยผูที่ทำหนาที่ประสานงานใหกับฝายทูต
และบุคคลสำคัญของ รัฐบาลญี่ปุนซึ่งหางเหินเรื่องราวเกี่ยวกับอยุธยา คือ คิยะ ยาซาเอมอน
เศรษฐีเมืองซาไกที่เคยเดินทาง ไปมาคาขายอยูอยุธยา รวมอยูในคณะดวย นอกจากนี้ขอความใน
หนังสือที่ ยามาดะ นางามาซะ เขียน ถึงโดอิ โทชิคัสสุ ก็มีปรากฏชื่อชาวญี่ปุนที่ทำหนาที่ลาม คือ
อิโต กินเดยุุ ซึ่งพำนัก อยููที่อยุุธยา จากหนังสืือความสััมพันธไทย - ญี่ปุุน 600 ป 

ดานการเมืองการปกครอง ยามาดะ นางามาซะ ดำรงตำแหนงหัวหนาหมูบานญี่ปุน และ


เจ า กรมอาสาญี่ปุ น ตั้งแต พ .ศ. 2163 - พ.ศ. 2173 เป น ระยะเวลา 10 ป ยามาดะได รัั บ
พระราชทานยศเปน ออกญาเสนาภิมุข เมื่อ พ.ศ. 2171 และเมื่อไดดำรงตำแหนงสำคัญในราช
สำนักอยุธยา ออกญาเสนาภิมุขจึงไดเขามามีบทบาทในเรื่องการเมืองภายในราชสำนัก ตั้งแตชวง
ปลายสมัยสมเด็จพระเจาทรงธรรม เรื่องสนับสนุน ผูที่จะสืบราชสัันตติวงศหลัังจากสมเด็จพระเจา
ทรงธรรมทรงเสด็จสวรรคต

มุมมอง
จากการที่ทำมาทั้งหมดนี้ ยามาดะ มีความตั้งออกตั้งใจ พยายามที่จะไตเตาจากผูนอยสูู
ผููปกครองเมือง และความสามารถ ดานการคา การเมือง การรบ และยอมทิ้งบานเกิดที่รัักและมาสูู
เมืองนอกเชนนี้
บรรณานุกรม
คุรุุสภา. ประชุมพงศาวดาร. เลมที่ 13. กรุุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุุสภา, 2507.
อิชิอิ โยเนะโอะ และโยชิกาวะ โทฮารุุ. ความสัมพันธไทย-ญี่ปุน 600 ป. พิมพคร้ัั้งที่ 2. กรุุงเทพฯ :
มูลนิธิิโครงการตำราสัังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2542
อนงคณา มานิตพิสิิฐกุล. ไทยกับจีนและญี่ปุนสมัยอยุธยา. กรุุงเทพฯ : สุุวีีริิยาสาลนอมภา, 2545
Bagdesign. ซามูไร ยามาดะ จากคนหามเกี้ยวโชกุน สู ออกญาเสนาภิมุข. เขาถึงเมื่อวัันที่ 27
พฤศจิกายน 2021. เขาถึงไดจาก
https://www.bagindesign.com/yamada-samurai-ayutthaya/
พัชรเวช สุขทอง. silpa-mag.com. ยอนรอย “ยามาดะ” ออกญาเสนาภมข ซามูไรแหงอยุธยา
และจุดจบตามขอมูลประวัติศาสตร. เขาถึงเมื่อวัันที่ 20 เมษายน 2566. เขาถึงไดจาก
https://www.silpa-mag.com/history/article_14062

You might also like