Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

บทที่ 1.

ความเข้ าใจพืน้ ฐาน

สื่ อชุ ดนีเ้ ป็ นลิขสิ ทธิ์ของสานักพิมพ์


วังอักษร
ใช้ เพือ่ การศึกษาเท่ านั้น
วัตถุประสงค์ ของเครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ
วัตถุประสงค์ในการทางานของเครื่ องทาความเย็นและปรับอากาศนั้นดูเสมือนจะเป็ นอย่างเดียวกันนัน่ ก็
คือ “ความต้องการที่จะทาความเย็นและลดความชื้ นให้กบั บริ เวณใดบริ เวณหนึ่ งที่กาหนด” อย่างไรก็ดี ขอบเขต
ของความต้องการจริ งของทั้งสองอุปกรณ์ยงั มีขอ้ ปลีกย่อยที่แตกต่างกันออกไป การทาความเย็นมักจะถูกนาไปใช้ใน
เชิงอุตสาหกรรม โดยหลักการแล้ว การทาความเย็น คือ “การดึงเอาความร้ อนออกไปจากสสาร” ดังนั้น การทา
ความเย็นจึงเหมาะสมกับกระบวนการถนอมอาหาร กระบวนการทางเคมี และกระบวนการทางปิ โตรเคมี เป็ นต้น
ในลักษณะเดียวกัน การปรับอากาศมี ความหมายมากกว่าแค่การทาให้เกิดความเย็นเพียงอย่างเดี ยว
นิยามของการปรับอากาศ หมายถึง “กระบวนการปรับเปลี่ยนสภาวะของอากาศเพื่อควบคุมอุณหภูมิ ความชื้ น ความ
สะอาด และการกระจายของอากาศไปพร้อม ๆ กัน เพื่อให้เกิดความสบายแก่ผทู้ ี่อยูอ่ าศัยในขอบเขตที่ได้รับการปรับ
อากาศนั้น” ดังนั้น การปรับอากาศจะรวมไปถึงการทาความร้ อน การควบคุมความเร็ วของอากาศ การแผ่รังสี ความ
ร้อน การขจัดสิ่ งสกปรกต่าง ๆ ในอากาศ อีกด้วย
ดังนั้น ความเข้าใจที่วา่ “การทาความเย็นหรื อการปรับอากาศ คือ การเป่ าความเย็นเข้ามาในบริ เวณที่ตอ้ งการทาความ
เย็น” นั้น เป็ นความเข้าใจที่ผดิ หลักของการสร้างความเย็นให้เกิดขึ้นที่แท้จริ งนั้น คือ “การพาความร้อนจากบริ เวณ
ที่ตอ้ งการทาความเย็นออกไปที่บริ เวณอื่น” ยกตัวอย่างเช่น การที่ผวิ หนังรู้สึกเย็นเมื่อทาแอลกอฮอล์ (แม้จะไม่มีลม
พัดผ่าน) ทั้งนี้เพราะแอลกอฮอล์ที่ทานั้นดูดความร้อนที่บริ เวณผิวหนังเพื่อใช้ในการระเหยกลายเป็ นไอ เป็ นต้น
ในการที่จะทาให้เข้าใจถึงเรื่ องการทาความเย็นหรื อการปรับอากาศนั้น จาเป็ นต้องเข้าใจทฤษฎีที่สร้ าง
จากปรากฏการณ์ธรรมชาติ (ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่เข้าใจกันอยูแ่ ล้ว) ดังจะได้อธิบายต่อไป
การบ่ งบอกสภาวะของสสาร
การบ่งบอกสภาวะของสสารเป็ นมาตรที่ใช้กาหนดความเป็ นอยู่ของสสาร ณ สภาวะหนึ่ ง และยัง
เป็ นการบอกสมบัติของสารอีกด้วย มาตรพื้นฐานที่นิยมใช้ในการบ่งบอกสภาวะของสสาร คือ อุณหภูมิ ความ
ดัน และปริ มาตร
1. อุณหภูมิ
อุณหภูมิ (Temperature, T) เป็ นมาตรที่ใช้บอกระดับ (Level) ความร้อนความเย็นของสสาร แต่
ไม่ได้บอกปริ มาณ (Quantity) โดยตรง ตัวอย่างเช่น ถ้าเราบอกว่า “น้ าในอ่างนี้ มีอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซี ยส”
คนทัว่ ไปคงไม่มีใครจุ่มมือลงไปเพราะทราบกันดี ว่าน้ าในอ่างนี้ ร้อนมาก แต่ถา้ ถามต่อไปว่า “มีความร้อน
เท่าไร” คงตอบไม่ได้ จนกว่าที่จะได้ทราบมวล ความร้อนจาเพาะของน้ าเสี ยก่อน
หน่วยที่ใช้ในการบอกระดับความร้อนของอุณหภูมิที่นิยมมีอยู่ 2 หน่วย คือ องศาเซลเซี ยส (Celsius, C) และ
องศาฟาเรนต์ไฮต์ (Fahrenheit, F)
องศาเซลเซียสแบบระดับการวัดอยูใ่ นช่วง 0 ถึง 100 องศา ขณะที่องศาฟาเรนต์ไฮต์แบ่งเป็ น 32 ถึง
212 องศา โดยการเทียบกับน้ าบริ สุทธิ์ ที่ความดัน 1 บรรยากาศ กล่าวคือ จุ ดเดื อดของน้ าจะอยู่ที่ 100 C หรื อ
212 F และจะมีจุดเยือกแข็ง (หรื อหลอมเหลว) ที่ 0 C หรื อ 32 F การแปลงหน่วยระหว่างองศาทั้งสอง
กระทาได้โดยใช้ความสัมพันธ์
F = 95 (C) + 32 = 1.8 (C) + 32 (1.1)
เครื่ องมือที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิ คือ เทอร์โมมิเตอร์ (Thermometer) ดังรู ปที่ 1.1 มีลกั ษณะเป็ น
หลอดแก้วใสมีขีดแบ่งระดับตามแต่ละมาตรที่จะวัด ภายในบรรจุดว้ ยปรอทซึ่งจะอยูท่ ี่ดา้ นปลายที่เรี ยกว่า
กระเปาะ เมื่อมีผลของความร้อนมากระทบที่กระเปาะ ปรอทภายในจะเปลี่ยนแปลงรู ปร่ าง (ขยายตัวหรื อหดตัว)
ไปตามหลอดแก้ว เรี ยกเทอร์โมมิเตอร์แบบนี้วา่ แบบกระเปาะแห้ง (Dry Bulb, D.B)

รูปที่ 1.1 เทอร์ โมมิเตอร์


นอกจากนี้เทอร์โมมิเตอร์ยงั สามารถนามาใช้วดั ระดับความชื้นได้อีกด้วย โดยการพันผ้าโปร่ งชุ บน้ า
พันไว้ที่กระเปาะ เรี ยกว่า เทอร์ โมมิเตอร์ แบบกระเปาะเปี ยก (Wet Bulb, W.B.) ซึ่ งผลต่าง
อุณหภูมิของทั้งสองกระเปาะสามารถกาหนดลงบนแผนภาพไซโครเมตริ กเพื่อหาค่าความชื้นได้
2. ความดัน
จากหัวข้อของอุณหภูมิได้กล่าวไปแล้วว่า “น้ าจะเดือดที่ 100 C เมื่อความดันเท่ากับ 1 บรรยากาศ”
ดังนั้น บนยอดเขาที่มีระดับความสูงมาก ความดันจะลดต่าลง จึงไม่สามารถต้มน้ าให้เดื อดที่ 100 C ได้ เช่น ที่
ยอดเขาหิ มาลัยซึ่ งมีความดันเพียง 0.32 บรรยากาศ สามารถต้มน้ าให้เดื อดได้ที่อุณหภูมิเพียง 71 C เป็ นต้น
ดังนั้น จึงจะเห็นได้วา่ ระดับของความดันจะแปรผันตามระดับของอุณหภูมินนั่ เอง
ความดัน (Pressure, P) คือ แรงที่กระทาต่อหน่วยพื้นที่ ดังนั้น หน่วยของความดันจึ งเป็ น นิ วตันต่อ
ตารางเมตร (N/m2) ตามระบบ SI หรื อ ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (lb/in2) ตามหน่วยอังกฤษ ระดับความดันที่ใช้เป็ น
มาตรฐาน คือ ความดันที่ระดับน้ าทะเล ซึ่งถือว่ามีค่า 1 บรรยากาศ (atm) ความดันระดับนี้สามารถดันให้ปรอทซึ่ ง
บรรจุในหลอดแก้วสูงขึ้น 760 มิลลิเมตรหรื อดันน้ าให้สูงขึ้น 10.33 เมตร ดังรู ปที่ 1.2

รูปที่ 1.2 ความดัน 1 บรรยากาศในหลอดแก้ว


การเปลี่ยนแปลงหน่วยของความดันกระทาได้โดยความสัมพันธ์
1 atm = 760 mmHg = 10.33 mH2O = 101325 N/m2 = 14.7 lb/in2 (1.2)
ความดันยังสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ ความดันสัมบูรณ์ (Absolute Pressure, abs) และ
ความดันเกจ (Gage Pressure, G)
ก) ความดันสัมบูรณ์ คือ ความดันที่นบั เริ่ มต้นจากสุ ญญากาศ กล่าวคือ นับ 0 จากสภาวะที่ไม่มี
ความดันเลย ความดันชนิดนี้นิยมใช้ในแผนภูมิ P – h
ข) ความดันเกจ คือ ความดันที่นบั เริ่ มต้นจากความดันบรรยากาศ กล่าวคือ นับ 0 ต่อจากความ
ดันบรรยากาศ ความดันชนิดนี้ได้จากการอ่านค่าจากมาตรวัดต่าง ๆ
ดังนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างความดันทั้งสองสรุ ปได้เป็ น
ความดันสัมบูรณ์ = ความดันเกจ + ความดันบรรยากาศ
โดยทัว่ ไป มาตรที่ใช้วดั ความดันในระบบเครื่ องทาความเย็นและเครื่ องปรับอากาศจะเป็ น kgf/cm2
G จึงอาจจะเขียนความสัมพันธ์ใหม่ได้เป็ น
ความดันสัมบูรณ์ kgf/cm2 abs = ความดันเกจ kgf/cm2 G + 1.033
การบอกค่าความดันจะเป็ นความดันสมบูรณ์ แต่จะละไว้ในฐานที่เข้าใจโดยไม่เขียน abs บอกไว้
3. ปริมาตร
เป็ นสิ่ งที่ใช้กาหนดมิติของสสาร นิ ยมใช้ลกั ษณะของลูกบาศก์เป็ นตัวกาหนด เช่น ลูกบาศก์เมตร
เป็ นต้น สสารที่ใช้ในระบบปรับอากาศส่ วนใหญ่จะอยู่ในสถานะของเหลวและไอ ซึ่ งไม่สามารถที่จะกาหนด
ปริ มาตรโดยตรงได้ การกาหนดปริ มาตรจึงวัดจากภาชนะที่บรรจุมนั อยู่
ปริมาณความร้ อน
ความร้อนเป็ นพลังงานชนิดหนึ่ง สามารถที่จะวัดปริ มาณออกมาได้เป็ นแคลอรี โดยที่ 1 กิโลแคลอรี
(kcal) คือ ปริ มาณความร้อนที่ทาให้น้ าที่หนัก 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 C จาก 14.5 C เป็ น 15.5 C อีก
หน่วยหนึ่งที่นิยมใช้กนั ในงานทางเครื่ องทาความเย็นและเครื่ องปรับอากาศคือ BTU (British Thermal Unit) ซึ่ ง
เป็ นปริ มาณความร้อนที่ทาให้น้ าที่หนัก 1 ปอนด์มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 F จาก 68 F เป็ น 69 F โดยที่ 1 BTU มี
ค่าเท่ากับ 0.252 kcal
ความร้ อนจาเพาะ
ความร้ อนจาเพาะ (Specific Heat) คือ ปริ มาณความร้อนที่ทาให้สสารมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 C มี
หน่วยเป็ นกิโลแคลอรี่ ต่อน้ าหนัก 1 กิโลกรัมต่อ 1 C
สสารที่มีค่าความร้อนจาเพาะต่าจะใช้ปริ มาณความร้อนน้อยในการเพิ่มอุณหภูมิและสามารถคายความร้อนได้
อย่างรวดเร็ ว เพราะเหตุน้ ีธาตุทองแดงจึงนิยมนามาใช้เป็ นหัวแร้งสาหรับบัดกรี โลหะต่าง ๆ
ลักษณะการเปลีย่ นสถานะของสสาร
สสารเกือบจะทุกชนิ ดจะสามารถดารงอยู่ได้ในทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
(ยกเว้นสสารบางชนิดที่มีลกั ษณะของการระเหิ ด) สสารสามารถเปลี่ยนสถานะไปมาระหว่างทั้ง 3 สถานะได้โดย
มีการนาพลังงาน (โดยมากเป็ นพลังงานความร้อน) เข้ามาเกี่ยวข้อง เรี ยกปรากฏการณ์ทางธรรมชาติน้ ี ว่าการ
เปลี่ยนสถานะทางฟิ สิ กส์ของสสารดังรู ปที่ 1.3
ดูดพลังงาน ดูดพลังงาน

ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ (Gas)


(Solid) (Liquid)

คายพลังงาน คายพลังงาน

รูปที่ 1.3 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตินีว้ ่าการเปลีย่ นสถานะทางฟิ สิ กส์ ของสสาร


พิจารณาการเปลี่ยนสถานะของน้ าแข็งที่ 0C ให้กลายเป็ นไอน้ าที่ 100C จากรู ปที่ 1.3 ทาให้ทราบ
ว่าต้องมีการดูดพลังงานเข้าไปเพื่อใช้ในกระบวนการนี้ แต่จะพบว่ากระบวนการดังกล่าวไม่สามารถที่จะเสร็ จสิ้น
ได้ในขั้นตอนเดี ยว กล่าวคือ เมื่อเริ่ มต้นให้ความร้อน น้ าแข็งที่ 0C จะค่อย ๆ ละลายเพื่อเปลี่ยนสถานะเป็ น
ของเหลวก่อนโดยที่อุณหภูมิยงั คงเป็ น 0C เท่าเดิม จากนั้น เมื่อน้ าแข็งละลายกลายเป็ นน้ าหมดที่ 0C อุณหภูมิ
ของน้ าจะค่อยๆ เพิม่ ขึ้นไปจนกระทัง่ ถึงจุดเดือดของมันที่ 100C โดยที่สถานะไม่เปลี่ยน แล้วจึ งเปลี่ยนสถานะ
จากน้ าที่ 100C กลายเป็ นไอน้ าที่ 100C ในที่สุด ดังรู ปที่ 1.4
รูปที่ 1.4 การเปลีย่ นแปลงสถานะของนา้
เมื่อวิเคราะห์กระบวนการในข้างต้น จะพบว่าลักษณะของการใช้ความร้อนในการเปลี่ยนแปลงจะมี
2 ลักษณะคือ ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะโดยที่อุณหภูมิไม่เปลี่ยน เรี ยกลักษณะความร้อนแบบนี้ ว่า
ความร้อนแฝง (Latent Heat) และความร้ อนที่ใช้ในการเปลี่ ยนอุณหภูมิโดยที่ สถานะไม่เปลี่ยนซึ่ งจะเรี ยก
ลักษณะความร้อนอีกแบบนี้วา่ ความร้อนสัมผัส (Sensible Heat)
การเปลี่ยนสถานะของสสารจะมี 2 ลักษณะ คือ เปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็ นของเหลวและเปลี่ยน
สถานะจากของเหลวกลายเป็ นไอ ดังนั้น ค่าความร้อนแฝงที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจึงมี 2 ชนิด คือ ความร้อน
แฝงของการหลอมเหลวและค่าความร้อนแฝงของการระเหยตามลาดับ สรุ ปความสัมพันธ์เป็ นสูตรได้ดงั นี้
L.H. = mL (1.3)
S.H. = mCT (1.4)
L.H. คือ ปริ มาณความร้อนแฝง
S.H. คือ ปริ มาณความร้อนสัมผัส
M คือ มวลของสสาร
C คือ ความร้อนจาเพาะ
L คือ ค่าความร้อนแฝงของสสาร
T คือ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ

ไฟฟ้ าพืน้ ฐาน


การทางานของเครื่ องปรับอากาศและเครื่ องทาความเย็นนอกจากจะมีระบบทางกลแล้ว ยังมีระบบ
ไฟฟ้ าควบคุมการทางานร่ วมกันอีกด้วย ดังนั้น ความรู ้พ้นื ฐานทางไฟฟ้ าจึงเป็ นสิ่ งจาเป็ นที่จะต้องศึกษาด้วย
1. อะตอม
อะตอม (Atom) เป็ นหน่วยเล็กที่สุดของสสาร ซึ่งประกอบไปด้วยอนุภาคมูลฐาน 3 ชนิดคือ
โปรตอน (Proton) มีค่าประจุเป็ นบวก (+) นิวตรอน (Neutron) มีค่าประจุเป็ นกลาง (0) และอิเลคตรอน
(Electron) มีค่าประจุเป็ นลบ (-) ตรงแก่นกลางของอะตอมซึ่งเรี ยกว่านิวเคลียสจะมีจะมีโปรตอนและนิวตรอน
อยูร่ ่ วมกัน โดยมีอิเลคตรอนเคลื่อนที่เป็ นชั้น ๆ รอบนิวเคลียส
63 จานวนอนุภาคมูลฐานสามารถที่จะทราบได้โดยดูจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ยกตัวอย่างเช่น
Cu หรื อธาตุทองแดงจะมีจานวนโปรตอน 29 จานวนนิวตรอนเป็ น 63 – 29 = 34
และมี
29 จานวนอิเลคตรอนเป็ น 29 เท่ากับจานวนโปรตอน ดังรู ปที่ 1.5

รูปที่ 1.5 แบบจาลองอะตอมของทองแดง


โดยทัว่ ไปสสารจะมีค่าประจุ รวมเป็ นกลาง ดังนั้น จานวนโปรตอนและอิเลคตรอนจึ งเท่ากัน แต่
โปรตอนเป็ นประจุ ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ ออกจากนิ วเคลี ยสได้ ดังนั้น การเคลื่อนที่ เข้าออกจากอะตอมของ
อิเลคตรอนจึงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพของอะตอม กล่าวคือ อิเลคตรอนที่หลุดออกจากอะตอมไป 1 ตัวจะ
ทาให้อะตอมนั้นมีจานวนโปรตอนมากกว่าอิเลคตรอนอยู่ 1 ตัว อะตอมจะกลายสภาพเป็ นอิออนบวก ในทานอง
ตรงกันข้าม ถ้ามีอิเลคตรอนเพิ่มเข้าไปในอะตอม 1 ตัวจะทาให้อะตอมนั้นมีจานวนโปรตอนน้อยกว่าอิเลคตรอ
นอยู่ 1 ตัว กลายเป็ นอิออนลบ
ไฟฟ้ าสถิตเป็ นประจุ อิเลคตรอนซึ่ งอยู่นิ่งแต่พร้อมจะเคลื่ อนไหวได้ ดังนั้น เมื่ออิ เลคตรอนเริ่ ม
เคลื่อนที่จะเป็ นตัวนาทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าเคลื่อนที่ ไฟฟ้ าสถิตที่มีประจุเหมือนกันจะผลักกัน ถ้าต่างกันจะดูด
ซึ่งกันและกัน
2. ไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ
กระแสไฟฟ้ าจะมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ กระแสไฟตรง (Direct Current, DC) และกระแสสลับ
(Alternate Current, AC) กระแสไฟฟ้ าที่เกิดจากกรรมวิธีทางเคมี เช่น แบตเตอรี่ จะเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง ซึ่ งจะ
ให้ขนาดและทิศทางการไหลของกระแสคงที่ตลอดเวลา ขณะที่กระแสไฟฟ้ าที่เกิดจากอุปกรณ์กาเนิ ดไฟส่ วน
ใหญ่จะเป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับ ซึ่ งขนาดและทิศทางของกระแสจะเปลี่ยนแปลงไปมาเป็ นช่วง ๆ เป็ นลักษณะ
คลื่นรู ปซายน์ (Sine Wave) คือ เป็ นบวกและลบสลับกันไปมา
3. วงจรไฟฟ้าอย่ างง่ าย
วงจรไฟฟ้ าเป็ นการต่อวงจรระหว่างตัวจ่ายไฟฟ้ ากับโหลด ซึ่งเมื่อต่อวงจรออกจากตัวจ่ายไฟฟ้ าผ่าน
โหลดต่าง ๆ แล้ว วงจรจะต้องกลับมาที่ตวั จ่ายไฟฟ้ าอีกครั้งหนึ่ง ดังรู ปที่ 1.6

รู ปที่ 1.6 วงจรไฟฟ้าอย่างง่ าย


แหล่งกาเนิดไฟฟ้ า (Generator) ผลิตไฟกระแสตรงไหลผ่านโหลด (ในที่น้ ีคือ หลอดไฟ (Bulb)) ซึ่ง
เมื่อออกจากโหลดจะไปผ่านสวิตช์และกลับไปยังแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าอีกครั้งเพื่อให้ทางานครบวงจร เมื่อต้องการ
ให้หลอดไฟสว่างให้สบั สวิตช์ลงเพื่อเป็ นสะพานไฟต่อวงจรให้ทางานครบรอบ ทันทีที่สบั สวิตช์ข้ ึนสะพานไฟ
จะขาดทาให้หลอดไฟดับ
เพื่อให้เกิดการไหลของกระแสไปตามวงจร ปริ มาณแรงดันไฟฟ้ า (หรื อแรงเคลื่อนของอิเลคตรอน)
จะต้องมากพอที่จะเอาชนะแรงต้านทานต่างๆ ได้ แรงเคลื่อนทางไฟฟ้ านี้มีหน่วยเป็ นโวลต์ (Volt)
แรงต้านทางไฟฟ้ า (Resistance) มีหน่วยเป็ นโอห์ม (Ohms) ถ้าแรงต้านทานมากกว่าแรงเคลื่อนทาง
ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ าจะไม่ไหล
ปริ มาณของอิเลคตรอนที่ไหลผ่านวงจร เรี ยกว่า กระแสไฟฟ้ ามีหน่วยเป็ นแอมแปร์ (A) ซึ่งสามารถ
เขียนทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่าง แรงเคลื่อนทางไฟฟ้ า แรงต้านทางไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าได้ เรี ยกว่ากฎของ
โอห์ม มีสูตรดังนี้
I = E (1.5)
R

I คือ กระแสมีหน่วยเป็ น แอมแปร์


E คือ แรงเคลื่อนมีหน่วยเป็ น โวลต์
R คือ แรงต้านมีหน่วยเป็ น โอห์ม
การวัดค่าของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าสามารถกระทาได้ดงั รู ปที่ 1.7

รูปที่ 1.7 การวัดค่ าของแรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า


4. วงจรอนุกรมและวงจรขนาน
เมื่อมีตวั ต้านทาน (Resistor) มากกว่าหนึ่งตัวต่อเข้ากับวงจร การไหลของกระแสจะแตกต่างไปจาก
เดิม การต่อวงจรไฟฟ้ าสามารถจัดได้เป็ น 3 แบบหลักได้แก่ ก) วงจรอนุกรม (Series Circuit) ข) วงจรขนาน
(Parallel Circuit) และ ค) วงจรผสม (Series-parallel Circuit)
ตัวต้านทานของวงจรอนุกรมจะถูกต่อเข้ากันเป็ นวงจรติดกันไปเรื่ อย ๆ ดังรู ปที่ 1.8 แรงดันที่
ตกคร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัวจะไม่เท่ากันและจะน้อยกว่าแรงดันของแหล่งจ่ายกระแส แต่กระแสไฟฟ้ าที่ไหล
ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัวจะเท่ากัน ถ้าพิจารณาตัวต้านทานแต่ละตัวเป็ นเสมือนหลอดไฟ จะเห็นได้วา่ ถ้า
หลอดไฟดวงใดดวงหนึ่งขาดเพียงหลอดเดียว จะทาให้หลอดไฟที่เหลือดวงอื่น ๆ ดับไปด้วยเนื่องจากสะพาน
ไฟของวงจรขาด ซึ่งวงจรอนุกรมนี้ไม่นิยมใช้ในทางปฏิบตั ิความต้านทานรวมของวงจรอนุกรมจะเท่ากับ
ผลรวมของความต้านทานทั้งหมด ดังความสัมพันธ์
RT = R1 + R2 + R3 + … (1.6)

รูปที่ 1.8 วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม


วงจรขนาน ดังรู ปที่ 1.9 จะต่อตัวต้านทานเรี ยงขนานกัน โวลต์ที่ตกคร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัวจะ
เท่ากัน แต่กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว (ซึ่งถือว่าเป็ นโหลด) จะไม่เท่ากัน ถ้าพิจารณาตัวต้านทานแต่
ละตัวเป็ นเสมือนหลอดไฟ ถึงแม้ว่าหลอดไฟดวงใดดวงหนึ่ งจะขาดแต่ดวงอื่น ๆ ที่เหลือก็จะยังคงสว่าง วงจร
ขนานนี้เป็ นที่นิยมใช้กนั มาก ความต้านทานรวมของวงจรขนานหาได้จากความสัมพันธ์
1 = 1 + 1+ 1+ ….. (1.7)
RT R1 R2 R3

รูปที่ 1.9 วงจรไฟฟ้าแบบขนาน


วงจรแบบผสมเป็ นการต่อวงจรผสมกันระหว่างวงจรแบบขอนุ กรมและวงจรแบบขนาน ซึ่ งไม่มี
รู ปแบบตายตัวที่แน่นอน ความต้านทานรวม (RT ) สามารถหาได้จากสมการที่ 1.7 และ 1.8 ร่ วมกัน
5. กาลังไฟฟ้า
ในวงจรไฟฟ้ า ถ้าต่อกระแสเข้ากับตัวต้านทานแล้ว ค่ากาลังไฟฟ้ า (Power, P) ที่ได้จะมีหน่วยเป็ น
วัตต์ (Watts) ซึ่งเป็ นผลคูณของแรงเคลื่อนทางไฟฟ้ ากับกระแสไฟฟ้ า
P = EI (1.8)

You might also like