Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 51

ภูมิศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
2
หน่วยการเรียนรู้ที่

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

• กำรเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพ (ประกอบด้วย 1. ธรณีภำค 2. บรรยำกำศภำค 3. อุทกภำค 4. ชีวภำค) ของพื้นที่ในประเทศไทยและภูมิภำคต่ำง ๆ ของโลก


ซึ่งได้รับอิทธิพลจำกปัจจัยทำงภูมิศำสตร์
• กำรเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพที่ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอำกำศ และทรัพยำกรธรรมชำติ
โครงสร้างของโลก
เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร เปลือกโลกภาคพื้นทวีป
ทวีป

เปลือกโลก ธรณีภาค
ฐานธรณีภาค

เนื้อโลก
เนื้อโลกส่วนล่าง

แก่นโลกชั้นนอก
แก่นโลก
แก่นโลกชั้นใน
การเปลี่ยนแปลงของแผ่นธรณีภาคแบบเคลื่อนหากัน
การเคลื่อนหากันระหว่าง

เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร กับ เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร

เหวสมุทร
เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร
เปลือกโลกภาคพื้นทวีป
เนื้อโลกชั้นบนสุด เนื้อโลกชั้นบนสุด

เนื้อโลกส่วนบน
การเปลี่ยนแปลงของแผ่นธรณีภาคแบบเคลื่อนหากัน
การเคลื่อนหากันระหว่าง

เปลือกโลกภาคพื้นทวีป กับ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป


ที่ราบสูง
เทือกเขา

เปลือกโลกภาคพื้นทวีป
เปลือกโลกภาคพื้นทวีป
เนื้อโลกชั้นบนสุด
เนื้อโลกชั้นบนสุด

เนื้อโลกส่วนบน เปลือกโลกภาคพื้นสมุทรโบราณ
การเปลี่ยนแปลงของแผ่นธรณีภาคแบบเคลื่อนหากัน
การเคลื่อนหากันระหว่าง

เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร กับ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป

เหวสมุทร
เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร
เปลือกโลกภาคพื้นทวีป
เนื้อโลกชั้นบนสุด
เนื้อโลกชั้นบนสุด

เนื้อโลกส่วนบน
การเปลี่ยนแปลงของแผ่นธรณีภาคแบบเคลื่อนหากัน

การเคลื่อนหากันระหว่าง การเคลื่อนหากันระหว่าง การเคลื่อนหากันระหว่าง


เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร เปลือกโลกภาคพื้นทวีป เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร
กับ เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร กับ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป กับ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคแยกจากกัน
การเคลื่อนที่แยกจากกันระหว่าง

เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร กับ เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร


เทือกเขาแยกจากกันเกิดหินใหม่ในบริเวณนั้น ภูเขาไฟเกิดขึ้นใกล้แนวเทือกเขา
และแผ่นเปลือกโลกถูกผลักให้แยกจากกัน

เปลือกโลกภาคพื้นสมุทร

หินหลอมเหลวไหลขึ้นไป
ระหว่างแผ่นเปลือกโลก
เคลื่อนที่แยกจากกัน แมกมา
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคแยกจากกัน
การเคลื่อนที่แยกจากกันระหว่าง

เปลือกโลกภาคพื้นทวีป กับ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป


ภูเขาเลงไก ภูเขาคิลิมันจาโร
หุบเขาทรุด

แมกมา
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคตามแนวระดับ
การเคลื่อนที่ตามแนวระดับระหว่าง

เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร กับ เปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทร


เขตรอยแตก รอยเลื่อนตามแนวระดับ เขตรอยแตก
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคตามแนวระดับ
การเคลื่อนที่ตามแนวระดับระหว่าง

เปลือกโลกภาคพื้นทวีป กับ เปลือกโลกภาคพื้นทวีป


แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ตามแนวระดับ ทาให้เกิดแผ่นดินไหว
หินใกล้ขอบแผ่นเปลือกโลกเกิดรอยเลื่อนและเอียง
แผนที่แสดงแผ่นเปลือกโลกสาคัญ

ขอบเขตแผ่นเปลือกโลก

รอยแยกใต้พื้นมหาสมุทร

ร่องลึกก้นสมุทร

ทิศทางการเคลื่อนที่

ทิศทางการมุดตัว

เขตรอยเลื่อนชนกัน
เขตรอยเลื่อนตามแนวระดับ
แผนที่แสดงการกระจายของขนาดแผ่นดินไหวของโลก

รอยเลื่อนแซนแอนเดรียส รัฐแคลิฟอร์เนีย
สหรัฐอเมริกา เป็นรอยเลื่อนขนาดใหญ่
ที่มีพลังมากและมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง

สังเกตได้ว่าแผ่นดินไหวจะเกิดตามแนวรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก โดยเฉพาะรอบแผ่นเปลือกโลกแปซิฟิก หรือ วงแหวนแห่งไฟ


กระบวนการปรับระดับพื้นผิวโลก
เป็นกระบวนการที่ทาให้แร่ประกอบหินเกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมี
การผุพังอยู่กับที่ ผุกร่อน แตกหัก ละลาย เป็นการเปลี่ยนสภาพที่อยู่ ณ ที่เดิม
ทางกายภาพ ทางเคมี ทางชีวภาพ

เกิดจากแรงกดดันและอุณหภูมิ หินและแร่ เกิดจากโมเลกุลของน้าหรือออกซิเจน เกิดจากกิจกรรมของสิ่งมีชีวิต เช่น


ขยายตัวไม่เท่ากันจนแตกหลุดออกจากกัน ทาปฏิกิริยากับแร่จนเกิดการละลาย ผุกร่อน รากพืชแทรกเข้าขยายรอยแตกของหิน
กระบวนการปรับระดับพื้นผิวโลก
เป็นกระบวนการที่หินหรือดินแตกหักหรือหลุดเป็นก้อนเล็กจากตัวกระทา
การกร่อน เช่น ธารน้า คลื่น ลม ธารน้าแข็ง
จากแรงกระแทก จากการครูดถู จากการละลาย

กระเสน้าหรือลมแรงจนเกิดการกระแทก ธารน้าแข็งหรือลมและน้าพัดพาเศษหิน น้าทาปฏิกิริยากับแร่ในพื้นที่หินปูน


หน้าผาหรือก้อนหินจนสึกกร่อนเป็นโพรง ก้อนกรวดทรายครูดถูพื้นผิว ซึ่งน้าจะละลายหินจนเป็นหลุมบ่อ ถ้า
จนสึกกร่อน จนมีลักษณะเป็นแอ่ง หลุมบ่อ
กระบวนการปรับระดับพื้นผิวโลก
เป็นกระบวนการที่เกิดคู่กัน เมื่อมีการพัดพาตะกอนออกไปจากที่หนึ่ง
การพัดพาและการทับถม ทาให้เกิดการทับถมของตะกอนในอีกที่หนึ่ง

หิน

น้า
ทราย
ทรายแป้ง
ดินเหนียว
แผ่นดินงอกเกิดจากแม่น้า
พัดพาตะกอนมาทับถม
การคัดขนาดตะกอนด้วยการพัดพาของน้า
กระบวนการปรับระดับพื้นผิวโลก
เมื่อหินหรือดินมีน้าหนักมากและอยู่บนที่ลาดชันมีโอกาสไหลหล่นมาตาม
การเคลื่อนที่ของมวล แรงโน้มถ่วงของโลก อาจมีปัจจัยอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น น้า การสั่นสะเทือน

หิมะถล่ม ดินถล่ม หินถล่ม


? กิจกรรม
ภาพต่อไปนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงทางธรณีกระบวนการใด

1 2 4

การกร่อนจากการครูดถู โครงสร้างรอยเลื่อน
3 5

การกร่อนจากการละลายหินปูน การพัดพาและทับถม ทะเลสาบบนปากปล่องภูเขาไฟเกิดจากภูเขาไฟปะทุ


บรรยากาศภาค
500 ชั้นที่ 4
สะท้อนคลื่นวิทยุความถี่ต่าได้ มีแสงเหนือ อุณหภูมเิ พิ่มขึ้น
km. เทอร์โมสเฟียร์ แสงใต้เกิดขึ้น ตามลาดับความสูง
(thermosphere) -85 ℃

80 ชั้นที่ 3 อุณหภูมิลดลง
เมโซสเฟียร์ วัตถุนอกโลกจะถูกเผาไหม้
km. ตามลาดับความสูง
(mesosphere)
0℃
ชั้นโอโซน

50 ชั้นที่ 2
มีแก๊สโอโซนช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลต อุณหภูมิเพิ่มขึ้น
km. สแตรโทสเฟียร์ จากดวงอาทิตย์ เครื่องบินบิน ตามลาดับความสูง
(stratosphere) -60 ℃
15 ชั้นที่ 1 อุณหภูมลิ ดลง
โทรโพสเฟียร์ เกิดปรากฏการณ์สาคัญ ได้แก่ เมฆ ฝน
km. หิมะ ลม พายุต่างๆ ตามลาดับความสูง
(troposphere)
ความสูง ชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิ
ชั้นบรรยากาศ
สแตรโทสเฟียร์ เมโซสเฟียร์ เทอร์โมสเฟียร์

ชั้นบรรยากาศที่อยู่ถัดจากโทรโพสเฟียร์ขนึ้ ไป ชั้นบรรยากาศที่อยู่ถัดจากสแตรโทสเฟียร์ขนึ้ ไป ชั้นบรรยากาศที่อยู่ถัดจากเมโซสเฟียร์ขึ้นไป


อากาศมีการเคลื่อนที่เฉพาะในแนวระดับเพียง เทหวัตถุจากนอกโลก เช่น อุกกาบาต ดาวตก มีประจุไฟฟ้ามาก จึงสะท้อนคลื่นวิทยุได้ดี
อย่างเดียว ปราศจากเมฆและพายุจึงเป็นระดับ เศษซากดาวเทียมจะถูกเสียดสีและเผาไหม้ใน เป็นประโยชน์กับการสื่อสารระยะไกล เกิด
ที่ใช้ในกิจการการบิน ชั้นนี้ ปรากฏการณ์แสงออโรรา หรือ แสงเหนือแสงใต้
การเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค กับ ทิศทางลม
บริเวณความกดอากาศต่า
L มีอุณหภูมิสูง อากาศร้อนลอยตัว
L
บริเวณความกดอากาศสูง
H มีอุณหภูมิต่า อากาศเย็นจมตัว
H L
H
L
เส้นความกดอากาศยิ่งมีค่ามาก
แสดงว่ามีความกดอากาศสูง
L
อากาศจะเคลื่อนที่จากบริเวณ
ความกดอากาศสูง สู่บริเวณที่มี
H H H
H
ความกดอากาศต่ากว่า
แนวร่องความกดอากาศต่า
เป็นบริเวณที่ลมจากซีกโลกเหนือ
? จากแผนที่แสดงว่าประเทศไทยอยู่ในฤดูใด? และซีกโลกใต้จะพัดเบียดเข้าหากัน
ทาให้เกิดเมฆฝน
การเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค : เมฆ
เมฆชั้นสูง ซีร์รัส (cirrus)
ซีร์โรคิวมูลัส
อุณหภูมิต่ำมำกและไอน้ำน้อย (cirrocumulus)
มองเห็นได้ชัดเจนช่วงฤดูหนำว ซีร์โรสเตรตัส
ที่ท้องฟ้ำโปร่งใส (cirrostratus)

เมฆชั้นกลาง
แอลโตคิวมูลัส
อุณหภูมิปำนกลำงและไอน้ำ แอลโตสเตรตัส (altocumulus)
ขนำดเล็ก เป็นละอองน้ำสีขำว (altostratus)
บำงครั้งจับตัวเป็นก้อน
นิมโบสเตรตัส
เมฆชั้นต่า (nimbostratus) คิวมูโลนิมบัส
อุณหภูมิสูงและไอน้ำมำก สเตรโทคิวมูลัส คิวมูลัส (cumulonimbus)
(stratocumulus) (cumulus)
มีเมฆที่ทำให้ฝนตกหรือ
หิมะตกได้ สเตรตัส (stratus)
อุทกภาค
น้าในอากาศ เกิดการกลั่นตัว

หยาดน้าฝน
การคายน้าของพืช
การระเหย
การระเหย

น้าผิวดิน
วัฏจักรของน้า
มหาสมุทร
การหมุนเวียนเปลี่ยนสภาวะของน้า
ในธรรมชาติ ที่ผ่านขั้นตอนกระบวนการต่าง ๆ
เช่น การระเหย การกลายเป็นไอ การกลั่น
แหล่งน้าผิวดินที่สาคัญของโลก

บริเวณที่มีแหล่งน้าจืดผิวดินน้อย ได้แก่
• ทวีปแอฟริกาบริเวณทะเลทรายสะฮารา
?
• ภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้บริเวณคาบสมุทรอาหรับ
• ภูมิภบริ เวณทียตะวั
าคเอเชี ่มีแหล่ งน้าจืด ยกลางบริเวณที่ราบสูงทิเบต
นออกและเอเชี
• ทวีผิปวออสเตรเลี
ดินอุดมสมบู
ย รณ์ ได้แก่ เอเชีย ยุโรป แอฟริกาตอนกลาง อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้
กระแสน้าในมหาสมุทร

? กระแสน้าสาคัญของโลก ยกตัวอย่างการไหลเวียน
ที่นักเรียนรู้จัก มีอะไรบ้าง ของกระแสน้าในแผนที่ 1 จุด
กระแสน้าอุ่น กระแสน้าเย็น
กระแสน้าในมหาสมุทรแปซิฟิก
กระแสน้าในมหาสมุทรอินเดีย
กระแสน้าในมหาสมุทรแอตแลนติก
แผนที่แสดงระบบนิเวศโลก

ป่าฝนเขตร้อน
ป่าผลัดใบ
ทุ่งหญ้า
เมดิเตอร์เรเนียน
เทือกเขาสูง
ทะเลทราย
ป่าสนหรือไทกา
ทุนดรา
แผนที่แสดงระบบนิเวศโลก

? เขตชีวนิเวศบริเวณใด
มีความหลากหลาย
ของสิ่งมีชีวิตมากที่สุด
เพราะเหตุใด
ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยธารน้าแข็ง
ยอดเขารูปพีระมิด อาแร็ต

เซิร์ก มวลธารน้าแข็งสายย่อย

สันเขา หุบเขารูปตัวยู

ตะกอนธารน้าแข็งกลางลาธาร หินฐาน ตะกอนธารน้าแข็ง

เหวน้าแข็ง มวลธารน้าแข็งขนาดใหญ่
ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยธารน้าแข็ง
เซิร์ก หุบเขาลอย

สันเขา จมูกเขาปลายตัด

ธารน้า หุบเขาถูกครูดถู

หินฐาน
หลุมธารน้าแข็ง หุบเขาธารน้าแข็ง
ภูมิประเทศที่เกิดจากการกร่อนโดยลม
เขารูปหงอนไก่ เกิดจากการสึกกร่อนผุพัง ภูมิประเทศทะเลทรายลักษณะต่าง ๆ จากการพัดพาและทับถมของลม
ที่ไม่เท่ากันโดยการกระทาของลมและเศษฝุ่น
1 2 3
ที่พัดแรงครูดถูเขาจนมีรูปร่างแปลกตา

เนินทรายรูปพระจันทร์เสี้ยว เนินทรายตามขวาง เนินทราย barchanoid


4 5 6

เนินทรายตามยาว เนินทรายรูปโค้ง เนินทรายรูปดาว


ภูมิประเทศที่เกิดจากการกระทาของคลื่นและกระแสน้าชายฝั่ง
หัวแหลมผาชัน แม่น้า ปากแม่น้า ร่องคลื่นเซาะ ชั้นหิน
ผาริมทะเล เศษหินร่วง

เศษหินร่วง หน้าผาสูงชัน

ทะเลสาบน้าเค็ม หน้าผาทรุด

ที่ราบลุ่มป่าชายเลน โพรงหิน

สันดอนจะงอย ช่องโค้ง

เกาะหินโดด
ตะกอนชายฝั่ง หาดกรวด โขดหิน อ่าว
ภูมิประเทศที่เกิดจากการกระทาของคลื่นและกระแสน้าชายฝั่ง
พื้นที่ของเขาหินที่เคยเชื่อมต่อกัน
เกาะขนาดเล็กใกล้ชายฝั่ง คลื่นและลมกร่อนหินผุพังทลายลงไป
ที่หินยอดเกาะมีลักษณะโด่ง
เกิดจากแหลมหินที่ยื่นไปในทะเล
แต่เดิมถูกคลื่นเซาะทั้ง 2 ข้าง
จนส่วนปลายถูกตัดออก
เหลือเพียงเกาะโขดหินขนาดเล็ก

? รู้หรือไม่ ลานคลื่นเซาะในช่วงเวลาน้าขึ้นน้าลง
สถานที่นี้คือที่ใด ทาให้ส่วนฐานของเขาหินแคบลึกเข้าไป
แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศตามลักษณะอุณหภูมิจากเส้นอุณหภูมิเท่า
แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศตามลักษณะปริมาณฝนจากเส้นน้าฝนเท่า
เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล
แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศโลกแบบเคิปเปน

มีอุณหภูมิสูงตลอดปี Af Am Aw
A เฉลี่ยเกินกว่ำ 18℃
ภูมิอากาศเขตร้อน และมีฝนตกชุก ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ภูมิอากาศแบบมรสุม ภูมิอากาศแบบสะวันนา
แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศโลกแบบเคิปเปน

B มีค่ำระเหยเกินกว่ำค่ำเฉลี่ยของปริมำณฝน BS BW
ภูมิอากาศเขตแห้งแล้ง มีค่ำอุณหภูมิระหว่ำงวันแตกต่ำงกันมำก ภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทราย ภูมิอากาศแบบทะเลทราย
แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศโลกแบบเคิปเปน

C มีอุณหภูมิเดือนที่หนำวที่สุด Cf Cs
เฉลี่ยต่ำกว่ำ 18℃
ภูมิอากาศเขตอบอุ่น แต่ไม่ต่ำกว่ำ -3℃ ภูมิอากาศแบบชื้นกึ่งเขตร้อน ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศโลกแบบเคิปเปน

D มีอุณหภูมิเดือนที่หนำวที่สุด Df Dw
เฉลี่ยต่ำกว่ำ -3℃ และเดือน
ภูมิอากาศเขตหนาว ที่อุ่นที่สุดสูงกว่ำ 10℃ ภูมิอากาศชื้นภาคพื้นทวีป ภูมิอากาศแห้งภาคพื้นทวีป
แผนที่แสดงเขตภูมิอากาศโลกแบบเคิปเปน

E มีอุณหภูมิเดือนที่ร้อน EF ET H
ที่สุดต่ำกว่ำ 10℃
ภูมิอากาศเขตขั้วโลก ไม่มีฤดูร้อน ภูมิอากาศแบบพืดน้าแข็ง ภูมิอากาศแบบทุนดรา ภูมิอากาศแบบที่สูง

You might also like