WindPressureStandard Update1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.

1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

การคานวณหาหน่ วยแรงลมสาหรับอาคารสู งปานกลาง


ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50

ความนา
บทความนี้ น าเสนอวิธี ก ารค านวณหาหน่ วยแรงลม ตามมาตรฐานการค านวณแรงลมและการ
ตอบสนองของอาคาร (มยผ.1311-50) ที่เรี ยกว่า การคานวณแรงลมสถิตเทียบเท่าโดยวิธีการอย่างง่าย โดย
นามาเรี ย บเรี ย งเฉพาะในส่ วนของอาคารสู งปานกลาง ซึ่ งหมายถึ งอาคารที่มี ความสู ง 23 เมตรขึ้ นไป
แต่ไม่เกิน 80 เมตร เพื่อความสะดวกในการนาไปใช้งาน

การคานวณแรงลมสถิตเทียบเท่ าโดยวิธีการอย่ างง่ าย


หน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า (equivalent static wind pressure) หมายถึงหน่วยแรงลมที่กระทาตั้งฉาก
กับพื้นผิวภายนอกอาคาร ซึ่ งพิจารณาในสองกรณี คือ
ถ้ามีทิศเข้าหาพื้นผิว เรี ยกว่า หน่วยแรงดัน
ถ้ามีทิศพุง่ ออกจากพื้นผิว เรี ยกว่า หน่วยแรงดูด

การคานวณหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าสาหรับอาคารสู งปานกลาง สามารถใช้วธิ ี อย่างง่ายได้ ถ้า


ความสู งของอาคาร ( H ) ไม่เกินแปดสิ บเมตร และไม่เกินสามเท่าของความกว้างประสิ ทธิ ผล ( W ) ที่นอ้ ย
ที่สุด นัน่ คือ
23  H  80 m
H  3W
โดย
W  hW i i

h i

hiคือ ความสู งจากพื้นดิน ถึงพื้นชั้นที่ i


Wi ความกว้างของอาคารในทิศทางตั้งฉากกับทิศทางลม ที่ความสู ง hi
ความกว้างประสิ ทธิผลที่นอ้ ยที่สุด พิจารณาจากทิศทางลมในทุกทิศทาง

หน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ( p ) คานวณได้จาก
p  I w qCe C g C p
โดย
Iw คือ ค่าประกอบความสาคัญของแรงลม ดังตารางที่ 1
1
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

q หน่วยแรงลมอ้างอิงเนื่องจากความเร็ วลม (reference velocity pressure)


Ce ค่าประกอบเนื่ องจากสภาพภูมิประเทศ (exposure factor)
Cg ค่าประกอบเนื่ องจากผลการกระโชกของลม (gust effect factor)
Cp ค่าสัมประสิ ทธิ์ ของหน่วยแรงลมที่กระทาภายนอกอาคาร
(external pressure coefficient)

ตารางที่ 1 ค่ าประกอบความสาคัญของแรงลม ( I w )
ประเภทความสาคัญของอาคาร สภาวะจากัดด้ านกาลัง สภาวะจากัดด้ านการใช้ งาน
น้อย 0.80 0.75
ปกติ 1.00 0.75
มาก 1.15 0.75
สู งมาก 1.15 0.75
หมายเหตุ
- รายละเอียดประเภทความสาคัญของอาคาร แสดงดังตารางที่ 2
- สภาวะจากัดด้านกาลัง (ultimate limit state) หมายถึง ความสามารถขององค์อาคารในการต้านทาน
กาลังสู งสุ ดภายใต้ผลกระทบของน้ าหนักบรรทุก ซึ่ งใช้ค่านี้เป็ นหลักในการวิเคราะห์องค์อาคาร
- สภาวะจากัดด้านการใช้งาน (serviceability limit state) หมายถึง ความสามารถขององค์อาคารในการ
ใช้งานได้ดี และก่อให้เกิดความสะดวกสบายของผูใ้ ช้งาน ซึ่ งอาจใช้ค่านี้ในการวิเคราะห์เฉพาะการ
โก่งตัว/การสั่นไหว ขององค์อาคาร

2
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

หน่ วยแรงลมอ้างอิงเนื่องจากความเร็วลม ( q )
q 
1
V
2
หน่วย N/m2
2
โดย
 คือ ความหนาแน่ นของมวลอากาศ ซึ่ งสาหรับความดันบรรยากาศปกติ และอุณหภูมิของ
อากาศประมาณ 15 C ถึง 45 C ใช้ค่าเท่ากับ 1.25 kg/m3
V ความเร็ วลมอ้างอิง หมายถึง ค่าความเร็ วลมเฉลี่ยในช่วงเวลา 1 ชัว่ โมง ที่ความสู ง 10 m
จากพื้นดินในสภาพภูมิประเทศโล่งแบ่งเป็ น 2 สภาวะคือ

3
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

สภาวะจากัดด้านการใช้งาน (วิเคราะห์การโก่งตัว, การสั่นไหวขององค์อาคาร)


V = V50
สภาวะจากัดด้านกาลัง (วิเคราะห์กาลังขององค์อาคาร)
V = TF V50
โดย
V50 คือ ค่าความเร็ วลมที่สาหรับคาบเวลากลับ 50 ปี
TF ค่าประกอบไต้ฝุ่น
ค่าความเร็ วลมอ้างอิงในประเทศไทย แบ่งออกเป็ น 5 กลุ่ม แสดงดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ค่ าความเร็วลมอ้างอิง ( V )
กลุ่มที่ V50 TF V (m/s)
(m/s) สภาวะจากัดด้ านกาลัง สภาวะจากัดด้ านการใช้ งาน
1 25 1.0 25 25
2 27 1.0 27 27
3 29 1.0 29 29
4A 25 1.2 30 25
4B 25 1.08 27 25

แผนที่การแบ่งกลุ่มความเร็ วลมอ้างอิง แสดงดังภาพที่ 1

4
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

ภาพที่ 1 แผนที่การแบ่งกลุ่มความเร็ วลมอ้างอิง

5
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

ค่ าประกอบเนื่องจากสภาพภูมิประเทศ ( Ce )
แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ
ก) สภาพภูมิประเทศแบบ A หมายถึงภูมิประเทศแบบโล่ง หรื อ บริ เวณชายฝั่งทะเล
0.2
Ce   
z
โดยไม่นอ้ ยกว่า 0.9
 10 
ข) สภาพภูมิประเทศแบบ B หมายถึงภูมิประเทศแบบชานเมือง หรื อพื้นที่ที่มีตน้ ไม้หนาแน่น หรื อ
บริ เวณศูนย์กลางเมืองขนาดเล็ก
z 0.3
Ce  0.7   โดยไม่นอ้ ยกว่า 0.7
 12 
ข้ อยกเว้ น สาหรั บกลุ่มที่ใช้ V ไม่ เกิน 25 m/s (กลุ่ม 1 สาหรั บการวิเคราะห์ กาลัง) ให้ ใช้ เฉพาะสภาพ
ภูมิประเทศแบบ A เท่านั้น

การหาค่า Ce นี้ อาจใช้ค่าจากตารางที่ 4 ดังนี้

ตารางที่ 4 ค่ าประกอบเนื่องจากสภาพภูมิประเทศ ( Ce )
ความสู งจากพืน้ ดิน (m) สภาพภูมิประเทศแบบ A สภาพภูมิประเทศแบบ B
0-6 0.90 0.70
6-10 1.00 0.70
10-20 1.15 0.82
20-30 1.25 0.92
30-40 1.32 1.00
40-60 1.43 1.13
60-80 1.52 1.24

ค่ าประกอบเนื่องจากผลการกระโชกของลม ( C g )
กรณี แรงลมที่กระทากับพื้นผิวภายนอกอาคาร แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ
ก) โครงสร้างหลัก
Cg = 2
ป้ าย และ กาแพง
C g = 2.35
ข) โครงสร้างรอง และ ผนังภายนอกอาคาร (cladding) ที่มีขนาดเล็ก (ประมาณหน้าต่าง)
C g = 2.5

6
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

ค่ าสั มประสิ ทธิ์ของหน่ วยแรงลมที่กระทาภายนอกอาคาร ( C p )


ค่า C p ขึ้นอยูก่ บั ความสู งของอาคาร (H) และความกว้างของอาคารด้านขนานกับแรงลมในแนวที่
พิจารณา (D) แสดงดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 การหาค่าสัมประสิ ทธิ์ ของหน่วยแรงลมที่กระทาภายนอกอาคาร

7
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

ข้ อสั งเกตในการใช้ สูตรคานวณหาหน่ วยแรงลม


พิจารณาจากสู ตร หน่วยแรงลม, p  I w qCe C g C p
ค่า I w , V แบ่งเป็ น 2 ค่าคือ ค่าของสภาวะจากัดด้านกาลัง และค่าของสภาวะจากัดด้านการใช้งาน
ซึ่งในการวิเคราะห์โครงสร้างหากาลังเพื่อนาไปใช้ออกแบบ ใช้ค่าของสภาวะจากัดด้านกาลัง ส่ วนการ
วิเคราะห์เพื่อหาค่าการโก่งตัว/การสั่นไหว อาจใช้ค่าสภาวะจากัดด้านการใช้งาน ซึ่ งมีค่าน้อยกว่าสภาวะ
จากัดด้านกาลัง
I w (ค่าประกอบความสาคัญของแรงลม) เมื่อพิจารณาค่าของสภาวะจากัดด้านกาลัง
อาคารพักอาศัยทัว่ ไป ใช้ค่า 1.00
อาคารสาธารณะ ใช้ค่า 1.15
q (หน่วยแรงลมอ้างอิง) มีค่าที่แตกต่างกัน 4 ค่าขึ้นอยูก
่ บั ค่า V (ความเร็ วลมอ้างอิง) ดังนี้ (ค่าของ
สภาวะจากัดด้านกาลัง)
25 m/s (กลุ่มที่ 1)
27 m/s (กลุ่มที่ 2 และ 4B)
29 m/s (กลุ่มที่ 3)
30 m/s (กลุ่มที่ 4A)
ดังนั้น เมื่อแทนค่า  = 1.25 ลงในสมการ จะได้วา่
2
q  0.625V หน่วย N/m
2

Ce (ค่าประกอบเนื่ องจากสภาพภูมิประเทศ) แบ่งเป็ นสภาพภูมิประเทศแบบ A คือแบบโล่ง และ


สภาพภูมิประเทศแบบ B คือแบบที่มีตน้ ไม้หรื ออาคารข้างเคียงอื่นกั้นแรงลมบ้าง นัน่ คือ Ce ของแบบ A จะ
มากกว่าแบบ B โดยอาจใช้ค่าจากตารางที่ 4 ได้โดยไม่ตอ้ งคานวณตามสมการ ซึ่ งค่าจากตารางที่ 4 เป็ นการ
คานวณจากสมการแล้วปัดเศษให้ง่ายขึ้นโดยแบ่งช่วงความสู งเป็ นช่วงๆ ซึ่ งค่าจากตารางที่ 4 คือ

ค่ าประกอบเนื่องจากสภาพภูมิประเทศ ( Ce )
ความสู งจากพืน้ ดิน (m) สภาพภูมิประเทศแบบ A สภาพภูมิประเทศแบบ B
0-6 0.90 0.70
6-10 1.00 0.70
10-20 1.15 0.82
20-30 1.25 0.92
30-40 1.32 1.00
40-60 1.43 1.13
60-80 1.52 1.24

8
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

ค่า Ce ตามตารางนี้ เป็ นการพิจารณาที่ดา้ นต้นลม โดยด้านท้ายลม ค่าที่ปลอดภัยอาจคิดที่ความสู ง 40 m


(ครึ่ งหนึ่งของระยะสู งสุ ดของอาคารสู งปานกลาง, 80/2) นัน่ คือ
Ce ด้านท้ายลม = 1.32 สาหรับสภาพภูมิประเทศแบบ A
Ce ด้านท้ายลม = 1.00 สาหรับสภาพภูมิประเทศแบบ B
C g (ค่าประกอบเนื่องจากผลการกระโชกของลม) กรณี แรงลมที่กระทากับพื้นผิวภายนอกอาคาร
Cg = 2 สาหรับโครงสร้างหลัก
C g = 2.35 สาหรับป้ าย และ กาแพง
C g = 2.5 สาหรับโครงสร้างรอง และ ผนังภายนอกอาคารที่มีขนาดเล็ก
C p (ค่าสัมประสิ ทธิ์ ของหน่วยแรงลมที่กระทาภายนอกอาคาร) สาหรับอาคารทรงสี่ เหลี่ยมที่มีความ
สู งมากกว่าความกว้างของอาคาร (H/D > 1)
C p ด้านต้นลม = 0.8
C p ด้านท้ายลม = -0.5

ตัวอย่างการคานวณ
คานวณหน่วยแรงลมสาหรับอาคารพักอาศัยที่มีขนาดดังภาพด้านล่าง

กาหนด
ความเร็ วอ้างอิง 27 m/s
อาคารตั้งอยูบ่ ริ เวณสภาพภูมิประเทศแบบโล่ง

9
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

วิธีทา
H = 80 m, W = 30 m
80 < 3(30)
ดังนั้น อาคารนี้ จดั เป็ นอาคารสู งปานกลาง สามารถใช้วิธีอย่างง่ ายในการคานวณหาหน่ วยแรงลม
และเมื่อพิจารณาอัตราส่ วน H/D สาหรับหาค่า C p ของทั้งทิศทาง xx และ yy คือ 80/45 เท่ากับ 1.78 และ
80/30 เท่ากับ 2.67 ซึ่ งมากกว่า 1 นัน่ คือค่า C p เท่ากันทั้งสองทิศทาง ทาให้ได้ค่าหน่ วยแรงลมเท่ากันทั้ง
สองทิศทาง (เพราะค่าตัวแปรอื่นในสู ตรหาหน่วยแรงลมมีค่าเท่ากันทั้งสองทิศทาง)

หน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า, p  I w qCe C g C p
I w = 1.00 (อาคารพักอาศัยทัว่ ไป)
2 2
q = 0.625V = 0.625(27) = 455.625 N/m
2

Ce สภาพภูมิประเทศแบบ A (แบบโล่ง)
ด้านต้นลม
ความสู งจากพืน้ ดิน (m) สภาพภูมิประเทศแบบ A
0-6 0.90
6-10 1.00
10-20 1.15
20-30 1.25
30-40 1.32
40-60 1.43
60-80 1.52
ด้านท้ายลม = 1.32 (คิดที่ 40 m)
Cg = 2 (โครงสร้างหลัก)
C p ด้านต้นลม = 0.8
ด้านท้ายลม = -0.5

ดังนั้น p ด้านต้นลม = (1.00)(455.625) Ce (2)(0.8) = 729 Ce


p ด้านท้ายลม = (1.00)(455.625)(1.32)(2)(-0.5) = -601 N/m2

10
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

ตารางหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า ด้านต้นลม ท้ายลม และรวมหน่วยแรงลม


หน่ วยแรงลม
ความสู งจากพืน้ ดิน (m)
ด้ านต้ นลม ด้ ายท้ายลม รวมด้ านต้ นลมและท้ายลม
(N/m2) (N/m2) (N/m2)
0-6 658 -601 1259
6-10 729 -601 1330
10-20 837 -601 1439
20-30 908 -601 1509
30-40 963 -601 1563
40-60 1043 -601 1644
60-80 1105 -601 1706

11
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

ตารางหน่ วยแรงลมสถิตเทียบเท่า
- สาหรับอาคารสู งปานกลาง (23-80 m) รู ปทรงสี่ เหลี่ยม
- ความสู งมากกว่าความกว้าง และไม่เกิน 3 เท่าของความกว้างประสิ ทธิ ผลที่นอ้ ยที่สุด
- ประเภทความสาคัญปกติ (อาคารพักอาศัย)
- ค่าประกอบเนื่ องจากสภาพภูมิประเทศ ( Ce ) ด้านท้ายลมคิดที่ความสู ง 40 m
- หน่วยแรงลมในตารางเป็ นค่ารวมหน่วยแรงลมด้านต้นลม และท้ายลม มากระทาที่ดา้ นต้นลม
- ถ้า อาคารเป็ นประเภทความส าคัญ แบบอื่ น (น้อ ย หรื อ มาก หรื อ สู ง มาก) ให้ ใ ช้ค่ า ประกอบ
ความสาคัญของแรงลม ( I w ) ของอาคารประเภทนั้นคูณค่าที่ได้จากตาราง
- ค่าจากตารางด้านล่างนี้ เป็ นค่าที่ได้จากการคานวณโดยยังไม่ได้ปัดตัวเลขให้ลงตัว (เลขหลักหน่วย
เป็ น 0 หรื อ 5) ซึ่ งทาให้ค่าตัวเลขมีความแตกต่างจากตารางในตัวอย่างที่ 2 ของมยผ.1311-50
เล็กน้อย ซึ่ งในการใช้งานตัวเลขนี้ถือเป็ นค่าต่าสุ ด นัน่ คือผูใ้ ช้สามารถเลือกตัวเลขที่มากกว่านี้ได้
- การแปลงหน่วยจาก N/m2 เป็ น kg/m2 ใช้เทียบว่า 9.806 N เท่ากับ 1 kg

12
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

หน่ วยแรงลมสถิตเทียบเท่ า สาหรับออกแบบโครงสร้ างหลักของอาคารสู งปานกลาง ประเภทพักอาศัย


สภาพภูมิประเทศแบบ A สภาพภูมิประเทศแบบ B
ความเร็วอ้างอิง 25 m/s
ความสู งจากพืน้ ดิน หน่ วยแรงลม
(m) (N/m2) (kg/m2)
0-6 1080 110
6-10 1140 116
10-20 1233 126
20-30 1294 132
30-40 1340 137
40-60 1410 144
60-80 1463 149
ความเร็วอ้างอิง 27 m/s
ความสู งจากพืน้ ดิน หน่ วยแรงลม หน่ วยแรงลม
(m) (N/m2) (kg/m2) (N/m2) (kg/m2)
0-6 1259 128 968 99
6-10 1330 136 968 99
10-20 1439 147 1053 107
20-30 1509 154 1129 115
30-40 1563 159 1190 121
40-60 1644 168 1285 131
60-80 1706 174 1359 139

13
การคานวณหาหน่วยแรงลมสาหรับอาคารสูงปานกลาง ตามมาตรฐาน มยผ.1311-50 สรกานต์ ศรี ตองอ่อน

หน่ วยแรงลมสถิตเทียบเท่ า สาหรับออกแบบโครงสร้ างหลักของอาคารสู งปานกลาง ประเภทพักอาศัย (ต่ อ)


สภาพภูมิประเทศแบบ A สภาพภูมิประเทศแบบ B
ความเร็วอ้างอิง 29 m/s
ความสู งจากพืน้ ดิน หน่ วยแรงลม หน่ วยแรงลม
(m) (N/m2) (kg/m2) (N/m2) (kg/m2)
0-6 1453 148 1117 114
6-10 1535 156 1117 114
10-20 1660 169 1214 124
20-30 1741 178 1303 133
30-40 1803 184 1373 140
40-60 1897 193 1482 151
60-80 1968 201 1568 160
ความเร็วอ้างอิง 30 m/s
ความสู งจากพืน้ ดิน หน่ วยแรงลม หน่ วยแรงลม
(m) (N/m2) (kg/m2) (N/m2) (kg/ m2)
0-6 1555 159 1195 122
6-10 1642 167 1195 122
10-20 1776 181 1299 133
20-30 1863 190 1394 142
30-40 1930 197 1469 150
40-60 2030 207 1586 162
60-80 2106 215 1678 171

อ้างอิง
กรมโยธาธิการและผังเมือง. มยผ.1311-50 มาตรฐานการคานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคาร.
เอส.พี.เอ็ม การพิมพ์, 2550.

14

You might also like