Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

บทที่ 2 แคลคูล ส ้

ั เบืองต้

ลิมิต


ชือ-นามสกุ ้
ล ……………………………………………………………ชัน…….
ลิมิตและความต่อเนื่อง

ลิมิต และ ความต่อเนื่อง

แนวคิดของลิมิตเริ่มปรากฏครั้งแรกในปี ค.ศ. 1680 โดย เซอร์ไอแซก นิวตัน และกอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม


ไลบ์นิทซ์ เนื่องมาจากการกำเนิดของแคลคูลัส เพื่อกำหนดแนวคิดของฟังก์ชันและแนวคิดของขนาดมากน้อย
“ใกล้ชิด” ของสิ่ง ๆ หนึ่ง

2.1. ลิมิตของฟังก์ชัน

บทนิยาม 2.1.1. ฟังก์ชัน


คือความสัมพันธ์จากเซตหนึ่งไปยังอีกเซตหนึ่งโดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน

ตัวอย่างที่ 1. กำหนดให้ ฟังก์ชัน f : ℝ → ℝ ที่ f (x) = 2x – 1


พิจารณาค่าของฟังก์ชันเมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 1 จะมีค่าเท่าใด

พิจารณาค่า x  1
x
f (x)

พิจารณาค่า x  1
x
f (x)

จากตารางข้างต้น เราจะเห็นได้ว่าเมื่อค่าของ x มีค่าเข้าใกล้ 1 ค่าของ f(x) มีค่าเข้าใกล้…………………………………


เราสามารถกล่าวได้ว่า ลิมิตของฟังก์ชัน f (x) = 2x – 1 มีค่าเข้าใกล้……….. เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้…………………….
โดยใช้สัญลักษณ์……………………………………………………………………………………………………………………………………

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 1
ลิมิตและความต่อเนื่อง

หรือสามารถ พิจารณาค่าของ f (x) เมื่อ x เข้าใกล้ 1 ได้จากรูปกราฟต่อไปนี้

(รูปที่ 1 กราฟของ ฟังก์ชัน f )

ตัวอย่างที่ 2. กำหนดให้ ฟังก์ชัน g : ℝ → ℝ ที่ g(x) = {2 เมื่อ x ≠ 0


0 เมื่อ x = 0

พิจารณากราฟฟังก์ชัน g(x) เมื่อ x เข้าใกล้ 0

( รูปที่ 2 กราฟของฟังก์ชัน g )

จากกราฟกราฟของฟังก์ชัน g จะเห็นว่าเมื่อ x เข้าใกล้ศูนย์ทั้งสองด้าน ( x  0 และ x  0) ค่าของ g(x) จะ


เข้าใกล้ ……………. หรือสามารถเขียนได้อยู่ในรูปของ lim g(x) = ………. แต่ค่าของ g(0) = ………………………….
x→0
ดังนั้นเราจึงสามารถสรุปได้ว่า…………………………………………………………………………………………………………………

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 2
ลิมิตและความต่อเนื่อง

ตัวอย่างที่ 3 กำหนดให้ ฟังก์ชัน h : ℝ → ℝ ดังรูป พิจารณากราฟ h(x) เมื่อ x เข้าใกล้ 2

( รูปที่ 3 กราฟของฟังก์ชัน h )

จากกราฟกราฟของฟังก์ชัน h จะเห็นว่าเมื่อ x เข้าใกล้ศูนย์ทั้งสองด้าน ( x  2 และ x  2) ค่าของ h(x) จะ


เข้าใกล้……หรือสามารถเขียนได้อยู่ในรูปของ lim h(x) = ……………แต่ค่าของ h(0) = …………………………………
x→2
ดังนั้นเราจึงสามารถสรุปได้ว่า…………………………………………………………………………………………………………………

ตัวอย่างที่ 4 ฟังก์ชัน k : ℝ → ℝ ดังรูป พิจารณากราฟ k(x) เมื่อ x เข้าใกล้ 3

( รูปที่ 4 กราฟของฟังก์ชัน k )
จากกราฟกราฟของฟังก์ชัน k จะเห็นว่าเมื่อ x เข้าใกล้ 3 ด้านที่ x  3 ฟังก์ชัน k มีค่าเข้าใกล้……………………..
แต่เมื่อ x เข้าใกล้ 3 ด้านที่ x  3 ฟังก์ชัน k มีค่าเข้าใกล้…………………ดังนั้น lim k(x) ………………………………
x→3
โดยจะใช้สัญลักษณ์ lim - k (x) = …… แทนค่าของฟังก์ชัน k เมื่อเข้าใกล้ 3 ทางด้าน………………………………….
x→3
และใช้สัญลักษณ์ lim+ k (x) = …….. แทนค่าของฟังก์ชัน k เมือ่ เข้าใกล้ 3 ทางด้าน…………………………………..
x→3

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 3
ลิมิตและความต่อเนื่อง

บทนิยาม 2.1.2. ลิมิตของฟังก์ชัน


กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันบนช่วง (a,b) เมื่อ c ∈ (a,b) จะกล่าวว่า lim f(x) = L
x→c
ก็ต่อเมื่อ สำหรับแต่ละ 𝜀  0 มี 𝛿  0 ซึ่งทุกๆ x เป็นจำนวนจริง ถ้า 0 <|x-c|< δ
แล้ว |𝑓(𝑥) − 𝐿| < 𝜀
พิมพ์สมการที่นี่

ทฤษฎีบทที่ 2.1.3. กำหนดให้ f (x) เป็นฟังก์ชันที่หาค่าได้ในช่วงเปิด (a,b) เมื่อ c ∈ (a,b)


lim f (x) = L ก็ต่อเมื่อ lim - f (x) = L = lim+ f (x)
x→c x→c x→c

จากตัวอย่างข้างต้นที่กล่าวมาเราสามารถหาลิมิตได้จากการคำนวณค่าของฟังก์ชันหรือ
พิจารณากราฟของฟังก์ชันซึ่งจะเห็นว่าการหาลิมิตโดยการคำนวณค่ามีความยุ่งยากและสามารถ
เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย หรือบางครั้งฟังก์ชันมีความซับซ้อนยากต่อการวาดกราฟ จึงทำให้เกิด
ทฤษฎีบทที่ช่วยในการหาค่าลิมิตดังนี้

ทฤษฎีบทที่ 2.1.4. กำหนดให้ lim f(x) = A และ lim f(x) = B จะได้ว่า A =B


x→c x→c

ทฤษฎีบทที่ 2.1.5. กำหนดให้ k เป็นค่าคงที่


1. lim k = k
x→c
2. lim xn = cn เมื่อ n ∈ ℕ
x→c

ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่าลิมิตของฟังก์ชันต่อไปนี้
5.1 lim 5 5.2 lim x 5.3 lim x2
x→2 x→127 x→4

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 4
ลิมิตและความต่อเนื่อง

ทฤษฎีบทที่ 2.1.6. ถ้า f (x) และ g(x) เป็นฟังก์ชันซึ่ง lim f (x) = A และ lim g(x) = B และ k
x→c x→c
เป็นค่าคงที่ จะได้ว่า
1. lim [k f(x)] = k lim f (x) = kA
x→c x→c

2. lim [f (x) ± g(x)] = lim f (x) ± lim g(x) = A ± B


x→c x→c x→c

3. lim [f (x) × g(x)] = lim f (x) × lim g(x) = A ×B


x→c x→c x→c

f (x)) lim f (x) A


x→c
4. lim [ ] = = เมื่อ B  0
x→c g(x) lim g(x) B
x→c

n
5. lim [f (x)]n = [ lim f (x) ] = An เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก
x→c x→c

n
n
6. lim √ n
f (x) = √ lim f (x) = √ A เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกคู่และ A  0
x→c x→c

n n n
7. lim √ f (x) = √ lim f (x) = √ A เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวกคี่
x→c x→c

lim g(x)
8. lim [f (x)]g(x) = [ lim f (x) ] x→c
= AB เมื่อ A  0
x→c x→c

ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าลิมิตของฟังก์ชันต่อไปนี้
3 3x2 + 1
6.1 lim (5x-2) 6.2 lim ( ) 6.3 lim (2x + 9)(1-5x) 6.4 lim ( )
x→2 x→-2 x+1 x→5 x→5 √x3 + 7

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 5
ลิมิตและความต่อเนื่อง

ทฤษฎีบทที่ 2.1.7. กำหนดให้ p(x) เป็นฟังก์ชันพหุนามใดๆ โดยที่


p(x) = an xn + an-1 xn-1 +…+ a1 x + a0
จะได้ว่า lim p(x) = an cn + an-1 cn-1 +…+ a1 c + a0
x→c

จากทฤษฎีบท 2.17 จะเห็นว่าเราสามารถหาค่าลิมิตจากฟังก์ชันพหุนามเมื่อ x เข้าใกล้ c นั้นสามารถ


หาลิมิตได้โดยการแทน x ด้วย c ในพหุนามได้เลย ซึ่งจากทฤษฎีบท 2.17 และ ทฤษฎีบท 2.16 ข้อ 4 ทำให้เกิด
ทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบทที่ 2.1.8. กำหนดให้ p(x) และ q(x) เป็นฟังก์ชันพหุนามใดๆ

f(x) f(c)
จะได้ว่า lim [g(x)] = lim [g(c)] เมื่อ q(c)  0
x→c x→c

ตัวอย่างที่ 7 จงหาค่าลิมิตของฟังก์ชันต่อไปนี้
3
x2 +8x+2 √2x+7
7.1 lim (4x3 -6x2 +9) 7.2 lim 7.3 lim
x→1 x→1 x-6 x→-2 √x3 +4x2 +2

f(x) 0
กำหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันของ x เราเรียก lim g(x) อยู่ในรูป 0 เมื่อ f(a) = 0 = g(a) ซึ่งเราจะ
x→a
f(x) 0
เห็นว่า lim g(x) ที่อยู่ในรูป จะไม่สามารถใช้ทฤษฎีบท 2.16 ข้อ 4 ได้ และเรายังไม่สามารถสรุปได้ในทันที
x→a 0
f(x) 0
ว่ามีลิมิตหรือไม่มีลิมิต โดยหัวข้อต่อไปนี้จะศึกษาวิธีดำเนินการเพื่อพิจารณาหาว่า lim g(x) ที่อยู่ในรูป มี
x→a 0
ลิมิตหรือไม่มีลิมิต ถ้ามีลิมิตแล้วค่าของลิมิตเป็นเท่าใด

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 6
ลิมิตและความต่อเนื่อง

0
2.2. การหาลิมิตของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป
0

0
2.2.1 การหาลิมิตของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป โดยวิธีการแยกตัวประกอบ
0

สูตรการแยกตัวประกอบ

ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าลิมิตของฟังก์ชันต่อไปนี้
x2 + 3x -10 x2 - 4
8.1 lim 8.2 lim
x→-5 x+5 x→2 2-x

(x-2)2 x2 -3x-10
8.3 lim 8.4 lim
x→2 x3 -8 x→5 x2 -10x+25

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 7
ลิมิตและความต่อเนื่อง

0
2.2.2 การหาลิมิตของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป โดยวิธีคูณสังยุค
0

บทนิยาม 2.2.1 สังยุค(Conjugate)


กำหนดให้ √a และ √b หาค่าได้
1. สังยุคของ ( √a + √b ) คือ ( √a - √b )
2. ( √a + √b ) ( √a - √b ) = a - b
3.
ตัวอย่างที่ 9 จงหาค่าลิมิตของฟังก์ชันต่อไปนี้
√14 + x - 4 √h + x - √x
9.1 lim 9.2 lim
x→2 x-2 h→0 h

3
x2 - 4x+3 (1+h)2 - 1
9.3 lim 9.4 lim
x→ 1 √ x2 +3 - 2 h→0 h

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 8
ลิมิตและความต่อเนื่อง

sin(x)
กำหนดให้ ฟังก์ชัน f : ℝ → ℝ ที่ f (x) = พิจารณาค่าของฟังก์ชันเมือ่ x มีค่าเข้าใกล้ 0 จะมีค่าเท่าใด
x

พิจารณาค่า x  0
x
f(x)

พิจารณาค่า x  0
x
f(x)

จากตารางข้างต้น เราจะเห็นได้ว่าเมื่อค่าของ x มีค่าเข้าใกล้ 0 ค่าของ f(x) มีค่าเข้าใกล้…………………………………


sin(x)
เราสามารถกล่าวได้ว่า ลิมิตของฟังก์ชัน f(x) = มีค่าเข้าใกล้……….. เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้…………………………
x

0 sin(x)
2.2.3 การหาลิมิตของฟังก์ชันที่อยู่ในรูป โดยใช้ความรู้ lim =1
0 x→0 x
ตัวอย่างที่ 10 จงหาค่าลิมิตของฟังก์ชันต่อไปนี้

10sin(x) sin(2x)
10.1 lim ( ) 10.2 lim ( )
x→0 2x x→0 4x

sec(x)tan(5x) xsin(x)
10.3 lim ( ) 10.4 lim ( )
x→0 x x→0 1-cosx

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 9
ลิมิตและความต่อเนื่อง

2.3. ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

พิจารณากราฟฟังก์ชัน f ต่อไปนี้

จากกราฟฟังก์ชัน f จะเห็นว่า ( f (a) ) หาค่าได้ และ lim f (x) = f(a) ในลักษณะเช่นนี้จะเรียก


x→a
ฟังก์ชัน f ว่าเป็นฟังก์ชันต่อเนือ่ งที่ x = a ซึ่งมีบทนิยามดังนี้

บทนิยาม 2.3.1. ฟังก์ชันต่อเนื่อง


กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันบนช่วง (a,b) เมื่อ c ∈ (a,b) จะกล่าวว่าฟังก์ชัน f(x) ต่อเนื่องที่
จุด x = c ก็ต่อเมื่อ
1. f(c) หาค่าได้
2. lim f(x) หาค่าได้
x→c
3. lim f(x) = f(c)
x→c

ตัวอย่างที่ 11 จงแสดงว่ากราฟของฟังก์ชัน f ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชนั ไม่ต่อเนื่อง

11.1

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 10
ลิมิตและความต่อเนื่อง

11.2

11.3

ตัวอย่างที่ 12 จงพิจารณาว่าฟังก์ชัน f ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันต่อเนือ่ งที่ x = 2 หรือไม่ เมือ่ กำหนดให้


x2 -4
เมื่อ x≠2
12.1 f(x) = { 2
4 เมื่อ x =2

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 11
ลิมิตและความต่อเนื่อง

12.2 f(x) = |x - 2|

5x - 6 เมื่อ x <2
12.3 f(x) = {4 เมื่อ x = 2
x2 -4
x-2
เมื่อ x > 2

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 12
ลิมิตและความต่อเนื่อง

ตัวอย่างที่ 13 จงหาค่า a ที่ทำให้ f (x) มีความต่อเนื่องที่ x = 1

ax2+a2 x - a -3 เมื่อ x < 1


13.1 f(x) = { 2x-1 เมื่อ x =1
x2 -1
2x-2
เมื่อ x >1

2
13.2 f(x) = { x +2ax+6 เมื่อ x≤1
5x+a เมื่อ x >1

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 13
ลิมิตและความต่อเนื่อง

ทฤษฎีบทที่ 2.3.2. กำหนดให้ f (x) และ g(x) มีความต่อเนื่องที่ x = c จะได้ว่า

1. f(x) + g(x) มีความต่อเนื่องที่ x = c

2. f(x) - g(x) มีความต่อเนื่องที่ x = c

3. f(x) × g(x) มีความต่อเนื่องที่ x = c

f(x)
4. มีความต่อเนื่องที่ x = c เมือ่ g(c)  0
g(x)

ทฤษฎีบทที่ 2.3.3. กำหนดให้ p(x) เป็นฟังก์ชันพหุนามใดๆ โดยที่


p(x) = an xn + an-1 xn-1 +…+ a1 x + a0
จะได้ว่า p(x) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง

จากทฤษฎีบท 2.3.2 และ 2.3.3 จะได้ทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบทที่ 2.3.4. กำหนดให้ p(x) และ q(x) เป็นฟังก์ชันพหุนามใดๆ


p(x)
ถ้า f เป็นฟังก์ชันที่ f(x) = q(x) แล้ว f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c เมื่อ c เป็นจำนวนจริงด้วย
ซึ่ง q(c)  0

ตัวอย่างที่ 14 พิจารณาว่าฟังก์ชัน f ที่กำหนดให้ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่จดุ x = 2 หรือไม่

x2 -1 x2 - 4
14.1 f (x) = (x+1)(x+2) 14.2 f (x) = 14.3 f (x) =
2x - 2 x-2

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 14
ลิมิตและความต่อเนื่อง

ตัวอย่างที่ 15 จงหาจุดที่ทำให้ฟังก์ชัน f ไม่ต่อเนื่อง

x x2 + x - 2
15.1 f (x) = 15.2 f (x) =
|x|- 5 x2 - 3x + 2

x2 + 10x + 24
x+4
เมื่อ x > -4
15.3 f (x) = { x2 - 6
x+5
เมื่อ x ≤ -4

จากตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้นเราได้ศึกษาในเรื่องของความต่อเนื่องของฟังก์ชัน ณ. จุดใดจุดหนึ่งแล้ว
นั้นในหัวข้อต่อไปเราจะศึกษาว่าเมื่อเราเพิ่มช่วงของฟังก์ชันหรือจำกัดขอบเขตแล้วฟังก์ชันดังกล่าวยังคง
ต่อเนื่องในช่วงที่เรากำหนดหรือไม่

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 15
ลิมิตและความต่อเนื่อง

บทนิยาม 2.3.5. ความต่อเนื่องบนช่วง (a,b)


กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันบนช่วง (a,b) เมื่อ c ∈ (a,b) จะกล่าวว่าฟังก์ชัน f ต่อเนื่องบน
ช่วง (a,b) ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องทุกจุดในช่วง (a,b) นั่นคือ
4. f(c) หาค่าได้
5. lim f(x) หาค่าได้
x→c
6. lim f(x) = f(c)
x→c

บทนิยาม 2.3.6. ความต่อเนื่องบนช่วง [a,b]


f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [a,b] ก็ต่อเมื่อ
1. f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องทุกจุดในช่วง (a,b)
2. lim f(x) = f (a) และ lim - f(x) = f (b)
x→a+ x→b

บทนิยาม 2.3.7. ความต่อเนื่องบนช่วง (a,b]


f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (a,b] ก็ต่อเมื่อ
5. f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องทุกจุดในช่วง (a,b)
6. lim f(x) = f (b)
x→b-

บทนิยาม 2.3.8 ความต่อเนื่องบนช่วง [a,b)


f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [a,b] ก็ต่อเมื่อ
3. f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องทุกจุดในช่วง (a,b)
4. lim f(x) = f (a)
x→a+

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 16
ลิมิตและความต่อเนื่อง

1
ตัวอย่างที่ 16 กำหนดให้ f (x) = จงพิจารณาว่า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงต่อไปนี้หรือไม่
√ x2 - 4

16.1 (-∞,-2) 16.2 (2,3] 16.3 [2,3] 16.4 [-2,3)

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ค33207 17

You might also like