Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔

ความรู้เกี่ยวกับดนตรีสากล

จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของนักดนตรีในวัฒนธรรมต่างๆ ได้
๒. อธิบายบทบาทของดนตรีในการสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมที่เปลี่ยนแปลงไปของคนในสังคมได้
ดนตรีสากลกับสังคมไทย
ค่านิยมของสังคมไทยต่อดนตรีสากล

ค่านิยมดนตรีสากล ค่านิยมดนตรีสากล ค่านิยมดนตรีสากล


ในพิธีกรรม เพื่อความบันเทิง ในด้านการเมืองและการปกครอง
• คนไทยได้ปฏิสัมพันธ์กับชาวต่างชาติที่ • คนในสังคมไทยมีโอกาสบริโภคความ • ดนตรีที่แต่งตามหลักไวยากรณ์
เป็นศาสนิกชนของศาสนาต่างๆ บันเทิงของดนตรีสากลผ่านสื่อต่างๆ มีบทร้อง มีคาสัมผัสคล้องจอง มีเนื้อหา
ได้เรียนรู้ได้เห็นการจัดพิธีกรรมต่างๆ ดังกล่าวโดยง่าย เช่น ผ่านทางระบบ พึงประสงค์ และมีจังหวะที่เหมาะสม
• คนไทยนาเอาเครื่องดนตรีสากลและ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เข้ามามีบทบาทในค่านิยมด้านการเมือง
การขับร้องมาเป็นส่วนสาคัญของพิธี การปกครองของสังคมไทย
กรรมการ
ความเชื่อของสังคมไทยต่อดนตรีสากล

• นักดนตรีไทยมีความเคารพครู • การใช้ดนตรีสากลประกอบใน
ดนตรีและเครื่องดนตรีไทยเป็นของ พิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์อันเคร่งครัด
สูง ซึ่งหากมีความศรัทธาและ เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทย
ประพฤติตามหลักคุณธรรมก็จะ คนไทยยอมรับในความเชื่อ ความ-
ประสบความสาเร็จในอาชีพดนตรี ศักดิ์สิทธิ์และความเกรียงไกรนั้น
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่านิยมของสังคมไทยต่อดนตรีสากล

• เกิดจากอิทธิพลของ • เป็นที่นิยมของประชาชน
เสียงดนตรีที่ไม่ว่าจะทา ทั่วไปตามกระแสนิยม
อะไร อยู่ที่ไหน และ ของคนในสังคม และ
เมื่อไร เรามักจะได้ยิน กระแสของการโฆษณา
เสียงดนตรีสากล และประชาสัมพันธ์ผ่าน
สอดแทรกเข้าแวดล้อม ทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
เราอยู่เกือบทุกที่และ และโทรทัศน์
ทุกเวลา

• ดนตรีอยู่ในความต้องการของคนรุ่นใหม่ รวมทั้งดนตรีไทยและดนตรี
สากลก็ได้มีการปรับเปลี่ยนเข้าหากัน
สังคีตกวีสากล

โยฮันเนส บราห์ม

ประวัติสังเขป
• เป็นสังคีตกวีดนตรีคลาสสิกผู้ยิ่งใหญ่ในยุคโรแมนติก
• เกิดเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๖ ที่เมืองฮัมบูร์ก ประเทศเยอรมนี เป็นบุตรของนักดนตรีผู้เล่นดับเบิลเบสในวงออร์เคสตราของโรงละคร
สแต็ด ประจาเมืองฮัมบูร์ก
• บิดาและมารดาของเขาจึงส่งเสริมให้เขาเป็นเลิศทางการเล่นเปียโน โดยให้เขามอบตนเป็นศิษย์ของนักเปียโนฝีมือเอกชื่อ
“คอสเซล” (Cossel)
• พ.ศ. ๒๓๙๖ เขาได้ร่วมทัวร์คอนเสิร์ตกับนักไวโอลินชาวฮังกาเรียนชื่อ “เอ็ดเวิร์ด รีเมนยี” (Edward Remenyi) และประสบ
ความสาเร็จอย่างสูง และในปีนั้นเขาได้แต่งสังคีตนิพนธ์บทแรกของตนเอง เป็นสังคีตนิพนธ์สาหรับเปียโนชื่อ “เปียโนโซนาตา
หมายเลข ๑ ในกุญแจซี เมเจอร์” (C Major piano sonata, opus ๑) อันเป็นผลงานที่ยังคงอยู่ตราบจนถึงปัจจุบัน
• พ.ศ. ๒๔๐๐ เขารับตาแหน่งผู้อานวยการดนตรีนอกเวลาของวงเจ้าชายแห่งเด็ตโมลด์
• พ.ศ. ๒๔๐๖ ได้รับเชิญให้เป็นวาทยกรของสถาบันซิงอะคาเด็มมี (Sing akademie) ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย
• ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐ รวมอายุได้ ๖๕ ปี
ปีเตอร์ อิลิช ไชคอฟสกี

ประวัติสังเขป
• เป็นสังคีตกวีดนตรีคลาสสิกในกระบวนแบบโรแมนติกที่สร้างแนวทานองเพลงได้งดงามมากที่สุด
คนหนึ่ง เขาเป็นชาวรัสเซียน เกิดที่เมืองฟอตกินสก์ ประเทศรัสเซีย
• เป็นบุตรของหัวหน้าวิศวกรเหมืองแร่ บิดาของเขาสนับสนุนให้เรียนเปียโนมาตั้งแต่วัยเยาว์
• อายุ ๑๐ ปี บิดาของเขาจึงให้ย้ายไปเข้าโรงเรียนกฎหมาย
• อายุ ๑๔ ปี มารดาของเขาถึงแก่กรรมด้วยอหิวาตกโรค เป็นเหตุสาคัญที่ทาให้เขาเริ่มแต่งเพลง
• ครูดนตรีคนแรกของเขา คือ ซาเรมบา (Saramba) และอันโทน รูบินสไตน์ (Anton Rubinstein)
• พ.ศ. ๒๔๐๙ เขาได้เป็นศาสตราจารย์ สาขาวิชาการประสานเสียงที่สถาบันดุริยางคศาสตร์แห่งกรุงมอสโก
• เขาได้แต่งซิมโฟนีบทแรกที่ชื่อว่า “ความฝันในเหมันตฤดู” (Winter Dreams) และอุปรากรเรื่องแรกคือเรื่อง
“เดอะ โฟเยโฟดา” (The Voyevoda)
• ถึงแก่กรรม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๖ รวมอายุได้ ๕๓ ปี

You might also like