Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 71

โครงงานวิศวกรรมการบินและอวกาศ

ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เรื่อง

การศึกษาทางวิศวกรรมและการเงินเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้ าด้วยกังหัน
แอโรเดริเวทีฟโดยใช้ก๊าซชีวภาพ
Engineering and Financial Study on Electricity Generation with
Aero-Derivative Turbine Running on Biogas

โดย

นายรัฐเสฏฐ์ อัครเดชเรืองนาม 6310500104


นายกานต์ กานตรัชต์ 6310500376
นายนิปุณ แก้วเรือน 6310501003

พ.ศ. 2566

โครงงานวิศวกรรมการบินและอวกาศ
ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บณ
ั ฑิต สาขาวิศวกรรมการบินและอวกาศ
ได้รบั การพิจารณาเห็นชอบโดย
อาจารย์ท่ปี รึกษาโครงงาน ……………………………..............วันที่.....เดือน …………....พ.ศ.……
(ผศ.ดร.ภาณุมาศ อรุณเดชาวัฒน์)

กรรมการ ………………............................……………...........วันที่.....เดือน …………....พ.ศ.……


(รศ.ดร.เวชพงศ์ ชุติชเู ดช)

กรรมการ ………………............................……………...........วันที่.....เดือน …………....พ.ศ.……


(อาจารย์ ดร.มนต์ชยั สุระรัตน์ชยั )
นายรัฐเสฏฐ์ อัครเดชเรืองนาม ปี การศึกษา 2566
นายกานต์ กานตรัชต์ ปี การศึกษา 2566
นายนิปณุ แก้วเรือน ปี การศึกษา 2566
การศึกษาความเป็ นไปได้ในการผลิตไฟฟ้าด้วยกังหันแอโณเดริเวทีฟที่ใช้ก๊าซชีวภาพ
ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (สาขาวิศวกรรมการบินและอวกาศ) ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ii
บทคัดย่อ
เขตอุตสาหกรรมตะวันออกกาลังขยายตัวและต้องการพลังงานเพิ่มขึน้ การผลิตพลังงานด้วยวิธีดงั้ เดิม
ส่งผลให้มลพิษจากก๊าซคาร์บอนเพิ่มขึน้ ทาให้เกิดภาวะโลกร้อนและมีผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และ
เศรษฐกิจ การใช้เครื่องยนต์กังหันแก๊สในการผลิตกระแสฟฟ้าเป็ นทางเลือกที่มีค วามนิยมมากขึน้ โดยใช้ก๊าซ
ธรรมชาติเป็ นเชือ้ เพลิงสะอาด และนโยบายการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนที่เข้มงวดของไทยและโลก ผูจ้ ัดทามี
ความสนใจในการศึกษาความเป็ นไปได้และความคุม้ ทุนของการใช้เครื่องยนต์กงั หันแก๊สในการผลิตกระแสไฟฟ้า
โดยใช้เชือ้ เพลิงก๊าซชีวภาพ ผ่านการสร้างแบบจาลองทางวิศวกรรมและทางธุรกิจใกล้เคียงกับการใช้จริงในพืน้ ที่
อุตสาหกรรมตะวันออก เพื่อหาความเป็ นไปได้และความคุ้ม ทุนทั้ง ในด้านวิศวกรรมและธุ รกิจ เพื่อนาไปเป็ น
แนวทางในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ในอนาคตอันใกล้
คาสาคัญ Aeroderivative Turbine, Biogas, Financial Analysis

เลขที่เอกสารอ้างอิงภาควิชา E1313-PMA-3-2566

iii
Rattaset Akaradejruangnam Academic Year 2023
Karn Karntarat Academic Year 2023
Nipun Kaewruan Academic Year 2023
Engineering and Financial Study with Aeroderivative Running on Biogas
Bachelor’s degree in aerospace engineering, Department of Aerospace Engineering
Faculty of Engineering, Kasetsart University

Abstract

Due to the expansion of the Eastern Industrial Zone, there is an increased demand for energy.
However, traditional energy production methods lead to significant carbon emissions, contributing to
global warming and impacting health, the environment, and the economy. The use of gas turbine
engines in power generation is becoming increasingly popular, utilizing natural gas as a clean fuel
source. With Thailand's and the world's stringent carbon emission reduction policies, there is interest in
studying the feasibility and cost-effectiveness of using gas turbine engines to generate electricity using
biogas as a fuel. This involves engineering and business model simulations closely resembling real-
world applications in the Eastern Industrial Zone, aiming to explore possibilities and feasibility in both
engineering and business aspects for future development and implementation.
Keywords: Aeroderivative Turbine, Biogas, Financial Analysis

Department Reference No. E1313-PMA-3-2566

iv
กิตติกรรมประกาศ

ในงานวิ จัย ฉบับ นี ้ ส าเร็จ ลุล่ว งได้อ ย่ า งสมบูร ณ์ด้ว ยความกรุ ณ าอย่ า งยิ่ ง จาก ผู้ช่ ว ยศาสตราจารย์
ดร.ภาณุมาศ อรุณเดชาวัฒน์ ที่ได้สละเวลาอันมีค่าแก่คณะผูว้ ิจยั เพื่อให้คาปรึกษาและแนะนาตลอดจนตรวจทาน
แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆด้วยความเอาใจใส่เป็ นอย่างยิ่ง จนงานวิจยั ฉบับนีส้ าเร็จสมบูรณ์ลลุ ่วงได้ดว้ ยดีคณะผูว้ ิจยั
ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี ้ จากใจจริง

นายรัฐเสฏฐ์ อัครเดชเรืองนาม
นายกานต์ กานตรัชต์
นายนิปณ ุ แก้วเรือน
ผูจ้ ดั ทา

v
สารบัญ

สารบัญ VI
สารบัญภาพ IX
สารบัญตาราง X
1) บทนา 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ........................................................................................................................ 1
วัตถุประสงค์ของโครงงาน ................................................................................................................................ 2
ขอบเขตของโครงงาน ..................................................................................................................................... 2
ผลประโยชน์ของโครงงาน ................................................................................................................................ 3
2) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 4
ก๊าซชีวภาพ ................................................................................................................................................ 4
ความหมายของก๊าซชีวภาพ 4
แหล่งวัตถุดิบ 4
เหง้ามันสาปะหลัง 5
หลักการทางานและองค์ประกอบของเครื่ องยนต์กงั หันก๊าซแบบแอโรเดริ เวทีฟ ........................................................................ 5
เครื่องยนต์กงั หันก๊าซแบบแอโรเดริเวทีฟ (Aeroderivative Gas Turbine) 5
ชุดคอมเพรสเซอร์ (Compressor) 5
ชุดห้องเผาไหม้ 7
ชุดเทอร์ไบน์ 7
ระบบไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่ วม (Combined Cycle Power Plant) 8
ตัวแปรทางการเงิน ........................................................................................................................................ 9
ต้นทุน (Cost) 9
รายได้ (Revenue) 10
กาไร (Profit) 10
กระแสเงินสด (Cash Flow) 10
ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period) 11
จุดคุม้ ทุน (Break Even Point) 11
อัตราผลตอบแทนที่ได้จากการลงทุน ( Internal Rate of Return: IRR ) 11
มูลค่าปัจจุบนั สุทธิ (The net present value: NPV) 11
แบบจาลองการประเมินราคาหลักทรัพย์ (Capital Asset Pricing Model : CAPM) 12
อัตราคิดลด (discount rate) 13
vi
ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ............................................................................................................ 13
3) เครื่ องมือที่ใช้ในการทาโครงงาน 22
โปรแกรม ASPEN PLUS ................................................................................................................................. 22
โปรแกรม MICROSOFT EXCEL .......................................................................................................................... 22
4) วิธีการดาเนินโครงงาน 23
ศึกษาข้อมูลเพื่อทาความเข้าใจภาพรวม ................................................................................................................. 24
ศึกษาทฤษฎีเชิงการเงินเพื่อออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้า (Title) 25
ศึกษาคู่มือการใช้งาน Aspen Plus (Supra) 25
ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับก๊าซชีวภาพ 26
กาหนดตัวแปรที่เกี่ยวข้อง (เหนือ, SUPRA) ............................................................................................................. 29
ตัวแปรต้น Error! Bookmark not defined.
ตัวแปรตาม Error! Bookmark not defined.
ตัวแปรควบคุม Error! Bookmark not defined.
สร้างแบบจาลองทางวิศวกรรม (SUPRA)................................................................................................................ 30
จากการใช้แบบจาลองทางวิศวกรรม ได้ผลลัพธ์จากการทดลองดังนี ้ .............................................. ERROR! BOOKMARK NOT DEFINED.
ออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้า........................................................................................................................... 31
ออกแบบโครงสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ............................................................................................................. 31
วิเคราะห์ผลลัพธ์การดาเนินการ ......................................................................................................................... 32
การวิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรม (Supra) Error! Bookmark not defined.
การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของโรงไฟฟ้า 33
สรุ ปผลการดาเนินการ ................................................................................................................................... 35
5) ผลการดาเนินโครงงานและวิจารณ์ 36
การคานวณและวิเคราะห์เชิงวิศวกรรม (SUPRA) ....................................................................................................... 36
การคานวณและวิเคราะห์เชิงการเงิน (TITLE)............................................................................................................ 37
ข้อสมมติในการศึกษา 37
ต้นทุนของโครงการ 38
ผลประโยชน์ของโครงการ 44
การหาจุดคุม้ ทุน 45
ผลวิเคราะห์ทางการเงิน 45
6) สรุ ปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ 50
ความเป็ นไปได้ดา้ นเทคนิค (SUPRA).................................................................................................................... 50
ความเป็ นไปได้ดา้ นการเงิน ............................................................................................................................. 50

vii
ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................. 51
7) บรรณานุกรม 53
8) ภาคผนวก 54
ประวัตินิสิต 60
ชื่อ-นามสกุลประวัตินิสิต 60

viii
สารบัญภาพ

รูปที่ 1 การติดตั้งใบพัดนาทางเข้า STAGE แรกของคอมเพรสเซอร์ .......................................................................................... 6


รูปที่ 2 การไหลปะทะใบพัดหมุนของอากาศททาให้เกิดผลต่างความดันระหว่างสองด้านของ ใบพัดหมุน............................................... 6
รูปที่ 3 โซนในห้องเผาไหม้ .................................................................................................................................. 7
รูปที่ 4 ระบบการทางานของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่ วม ............................................................................................. 8
รูปที่ 5 สูตรการคานวณ NPV............................................................................................................................... 12
รูปที่ 6 กฎ RULE OF SIX-TENTH............................................................................................................................. 17
รูปที่ 7 แผนผังการดาเนินงานของโครงงาน ............................................................................................................... 23

ix
สารบัญตาราง

ตารางที่ 1 ชาร์ตการดาเนินงาน (GANTT CHART) ......................................................................................... 24


ตารางที่ 2 การหาสูตรสารประกอบของเหง้ามันสาปะหลัง ................................................................................. 26
ตารางที่ 3 องค์ประกอบของแก๊สผสมของพืชแต่ละชนิด (ร้อยละ) ........................................................................ 27
ตารางที่ 4 ปริ มาณแก๊สชีวภาพที่ผลิตได้จากเศษวัสดุเหลือใช้ที่เกิดขึ้นจากเหง้ามันสาปะหลัง............................................. 27
ตารางที่ 5 การประเมินปริ มาณเศษวัสดุเหลือใช้จากเหง้าและต้นมันสาปะหลัง ............................................................ 28
ตารางที่ 6 ปริ มาตรของก๊าซชีวภาพที่ใช้ต่อปี ................................................................................................ 28
ตารางที่ 7 เปรี ยบเทียบตัวแปรจากงานวิจยั .................................................................................................. 29
ตารางที่ 8 ต้นทุนการลงทุนโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่ วม .............................................................................. 39
ตารางที่ 13 ตารางแสดงราคาต้นทุนเหง้ามันสาปะหลัง ...................................................................................... 42
ตารางที่ 14 ราคาค่าขนส่ งและค่าฝากเก็บ ..................................................................................................... 42
ตารางที่ 15 ต้นทุนการดาเนินงานทั้งหมด .................................................................................................... 43
ตารางที่ 16 ตารางการประมาณการงบกระแสเงินสดเพื่อหาจุดคุม้ ทุน ....................................................................... 45
ตารางที่ 17 ผลการวิเคราะห์ทางการเงิน ...................................................................................................... 46
ตารางที่ 18 ตารางการประมาณการงบกระแสเงินสดเพื่อหาจุดคุม้ ทุน ....................................................................... 47
ตารางที่ 19 ผลวิเคราะห์ทางการเงินในกรณีเพิ่ม ADDER เท่ากับ 6.295 บาท ............................................................ 47

x
1) บทนา
ทีม่ าและความสาคัญของโครงงาน

เนื่องจากการขยายตัวของเขตอุตสาหกรรมตะวันออกทาให้มีความต้องการพลังงานเพิ่มขึน้ ในขณะที่การผลิต
พลังงานด้วยวิธีดงั้ เดิมก่อให้เกิดมลพิษจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนเป็ นจานวนมาก นาไปสู่ภาวะโลกร้อน ผลต่อ
สุขภาพ สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ การนาเครื่องยนต์กงั หันแก๊สมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าเป็ นวิธีผลิตพลังาน
หนึ่งที่กาลังได้รบั ความนิยมมากขึน้ ในโรงไฟฟ้าและพืน้ ที่อุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยเครื่องยนต์ส่วนมากใช้เชือ้ เพลิง
จากก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็ นเชือ้ เพลิงสะอาดและผลิตได้จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และเนื่องด้วยนโยบายการ
ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนของไทยและโลก ประการข้างต้นนีจ้ ึงเป็ นเหตุให้ผจู้ ดั ทามีความสนใจในการศึกษาความ
เป็ นไปได้และความคุม้ ทุนของการนาเครื่องยนต์กงั หันแก๊สมาใช้ในการผลิตกระแสฟฟ้าโดยใช้เชือ้ เพลิงก๊าซชีวภาพ
โดยผ่านการสร่างแบบจาลองทางวิศวกรรม และแบบจาลองทางธุรกิจที่ใกล้เคียงกับการประยุกต์ใช้จริงในพืน้ ที่เขต
อุตสาหกรรมตะวันออกมากที่สุด เพื่อหาความเป็ นไปได้และความคุม้ ทุนในด้านวิศวกรรมและดั นธุรกิจเพื่อนาไป
เป็ นแนวทางในการพัฒนาและประยุกต์ใช้จริงในอนาคตอันใกล้
วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร หมายถึง วัสดุท่เี หลือจากกระบวนการผลิตทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็ นพืชหรือสัตว์ ซึ่ง
โดยปกติแล้วจะถูกมองว่าไร้ค่าและถูกกาจัดทิง้ หากกาจัดโดยวิธีท่ไี ม่เหมาะสม วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเหล่านี ้
ก็จะกลายเป็ น มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดิน มลพิษทางนา้ และยังมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอีกด้วย จาก
ข้อมูลจากกรมพัฒนาที่ดิน ในแต่ละปี ประเทศไทยมีเศษวัสดุเหลือใช้ในการเกษตรปริมาณสูง ซึ่งจากการประเมิน
ของกรมพัฒนาที่ดินพบว่ามีวสั ดุฟางข้าวทัง้ ประเทศประมาณ 26.81 ล้านตัน เศษต้นข้าวโพด 6.83 ล้านตัน เศษ
ใบอ้อย 9.75 ล้านตัน มันสาปะหลังราว 12 ล้านตัน และวัสดุจากการเกษตรอื่น ๆ มีเกษตรกรจานวนไม่นอ้ ยทาการ
กาจัดเศษวัสดุเหลือใช้การเกษตรเหล่านีโ้ ดยการเผา ด้วยวัตถุประสงค์ต่าง ๆ อาทิ เพื่อจัดการให้พืน้ ที่ทาการพรวน
ได้ง่าย กาจัดโรคและแมลงศัตรูพืช ทาให้เกิดการสูญเสียอินทรียวัตถุ ธาตุอาหารพืช และนา้ ในดิน (พระราชบัญญัติ
การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หมวด 5 เหตุราคาญ มาตรา 25 -27 หมวด 7 กิจการที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ มาตรา
31-33)(ประมวลกฎหมายอาญา ลักษณะ 6 ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน มาตรา 217-
225) วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมีศกั ยภาพที่จะนามาแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ท่มี ีมลู ค่าสูง เช่น การผลิตพลังงาน ซึ่ง
สามารถเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกร ลดมลพิษทางสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากได้อีกด้วย
ปัจจุบนั ไฟฟ้าส่วนมากมาจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน ซึ่งเป็ นหนึ่งในสาเหตุของมลพิษ มลพิษทางอากาศไม่ว่าจะเป็ น PM
2.5 สารประกอบออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) สารประกอบออกไซด์ของ (SO2) ซึ่งเป็ นส่วนประกอบหลักใน
การเกิดฝนกรด จากโรงไฟฟ้าถ่านหินสามารถแพร่กระจาย ในระยะทางหลายร้อยกิโลเมตรโดยกระแสลม มลพิษ
ทางอากาศเหล่านีเ้ ป็ นอันตรายอย่างยิ่งต่อสุขภาพ องค์การอนามัยโลกได้รวบรวมข้อมูลด้านคุณภาพอากาศพบว่า
ฝุ่นละอองขนาดเล็กที่เพิ่มปริมาณสูงขึน้ อย่างรวดเร็วในหลาย ๆ ประเทศ หนึ่งในแหล่งกาาเนิดหลักของฝุ่นละออง
เหล่านีค้ ือโรงไฟฟ้าถ่านหิน

1
แนวคิดของงานวิจยั นีค้ ือการนาก๊าซชีวภาพจะถูกนาไปใช้เป็ นเชือ้ เพลิงสาหรับเครื่องยนต์กงั หันแก๊ส ซึ่งวัสดุเหลือ
ใช้ทางการเกษตรที่นามาวิเคราะห์ได้แก่ เหง้ามันสาปะหลัง เนื่องจากเป็ นวัสดุเหลือใช้ท่ีมีการผลิตมากในบริเวณ
เขตอุตสาหกรรมตะวันออก กังหันแก๊สจะเปลี่ยนพลังงานความร้อนจากการเผาไหม้ก๊าซชีวภาพเป็ นพลังงานกล
โดยกังหันแก๊สที่ใช้วิเคราะห์คือ General Electric LM 6000 PC เพราะเครื่องยนต์ซีรี่ย์ LM 6000 มีประสิทธิภาพ
การผลิตไฟฟ้าสูง ได้มีการใช้งานที่แพร่หลาย และยังมีแนวโน้มที่จะปลดการใช้งานเนื่องจากมีค่าบารุงรักษาที่ตอ้ ง
ทาตามข้อกาหนดทางการบินสูง ซึ่งไม่คมุ้ ค่าเมื่อเทียบกับการซือ้ เครื่องยนต์ใหม่ จึงมีแนวคิดในการใช้ประโยชน์
จากจุดนี ้ เพื่อที่จะได้เครื่องยนต์ท่มี ีประสิทธิภาพที่ดีและราคาที่เหมาะสม อีกทัง้ ยังเป็ นประโยชน์ต่อสายการบินนัน้
ๆ ในการกาจัดเครื่องยนต์อีกด้วย สุดท้ายพลังงานกลจะถูกนาไปหมุนเครื่องกาเนิดไฟฟ้า โดยใช้รูปแบบโรงไฟฟ้า
พลังความร้อนร่วมซึ่งมีประสิทธิภาพสูง
งานวิจยั ชิน้ นีม้ ่งุ เน้นไปที่การออกแบบโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined-cycle power plant, CHP) ขนาด
80 เมกะวัตต์ โดยใช้ก๊าซชี วภาพเป็ นเชื ้อเพลิง ที่ไ ด้ม าจากระบบผลิ ต ก๊ าซชี วภาพโดยใช้ชี วมวลเป็ นเหง้า มัน
สาปะหลัง เป้าหมายหลักคือเพื่อผลิตไฟฟ้าสาหรับ ท่าอากาศยาน อู่ตะเภา ระยอง พัทยา ซึ่งมีความต้องการไฟฟ้า
อยู่ท่ี 80 เมกะวัตต์ ปั จจุบนั บริษัท BGRIM ได้ลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้า CHP ขนาด 80 เมกะวัตต์ แต่ใช้เครื่องยนต์
และเชือ้ เพลิงประเภทอื่น งานวิจัยนีม้ ุ่งหวังศึกษาความเป็ นไปได้ทางวิศวกรรม และเศรษฐกิจของการใช้ก๊าซ
ชีวภาพเป็ นเชือ้ เพลิง เพื่อส่งเสริมให้ประเทศไทยเปลี่ยนมาใช้พลังงานสะอาดมากขึน้

วัตถุประสงค์ของโครงงาน

1. เพื่อคานวณหาปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตจากเชือ้ เพลิงก๊าซชีวภาพในหนึ่งปี (kWh / year)


2. เพื่อคานวณหาจุดคุม้ ทุนของการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมขนาด 80 เมกะวัตต์ โดยมี
เชือ้ เพลิง
เป็ นก๊าซชีวภาพ
3. เพื่อคานวณหาปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ปี ล่อยออกมาในหนึ่งปี

ขอบเขตของโครงงาน

1. สร้างแบบจาลองทางวิศวกรรมสาหรับเครื่องยนต์ GE LM-6000PC ในรุ่นย่อยที่ถูกคัดเลือกนามาใช้ใน


โครงการเพื่อหาค่าของพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้โดยใช้เชือ้ เพลิงจากก๊าซชีวภาพ
2. เปรียบเทียบปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนของทัง้ กระบวนการกับการผลิตไฟฟ้าโดยเครื่องยนต์กังหัน
แก๊สที่ใช้ก๊าซธรรมชาติหรืออื่นๆเป็ นเชือ้ เพลิง และคานวณคาร์บอนเครดิตที่ได้เสียไป
3. เปรียบเทียบโครงสร้างต้นทุนของทั้งกระบวนการ กับการผลิตไฟฟ้าโดยเครื่องยนต์กังหันแก๊สที่ใช้ก๊าซ
ธรรมชาติหรืออื่นๆเป็ นเชือ้ เพลิง และคานวณหาจุดคุม้ ทุนของโครงการ

2
4. สร้างแบบจาลองทางธุรกิจสาหรับโครงการ และคานวณหาจุดคุม้ ทุนของโครงการ รวมถึงสรุปความเป็ นไป
ได้ในเชิงธุรกิจของโครงการ

ผลประโยชน์ของโครงงาน

1. ลดการใช้งานเชือ้ เพลิงที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งช่วยลดการเป็ นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพ


ภูมิอากาศไม่พงึ ประสงค์
2. ลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนซึ่งช่วยลดการเสื่อมสภาพภูมิอากาศ
3. ช่วยสร้างแหล่งพลังงานที่ย่งั ยืนและลดการขึน้ ราคาของเชือ้ เพลิงที่จาเป็ นต้องนาเข้า
4. ให้ข้อมูล ส าคัญ เกี่ ยวกับโครงสร้างต้นทุนและจุดคุ้ม ทุนที่จาเป็ นในการผลิตไฟฟ้าด้วยก๊ าซชี วภาพเป็ น
เชือ้ เพลิงที่ผลิตจากเหง้ามันสาปะหลัง เพื่อ เป็ นข้อมูลสาคัญในการวางแผนธุรกิจและการตัดสินใจทาง
การเงิน

3
2) ทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้อง

ก๊าซชีวภาพ

ความหมายของก๊าซชีวภาพ

ก๊าซชีวภาพ เป็ นรูปแบบพลังงานทดแทนที่สะอาดประเภทหนึ่ง ที่สามารถใช้ทดแทนแหล่งพลังงานที่ใช้อยู่ภายใน


ชุมชน เช่น เชือ้ เพลิงฟอสซิล และนา้ มัน เป็ นต้น ซึ่งเชือ้ เพลิงเหล่านีก้ ่อให้เกิดปั ญหาสิ่งแวดล้อมด้านนิเวศวิทยา
และในขณะเดียวกันยังเป็ นเชือ้ เพลิงที่ใช้แล้วหมดไป ก๊าซชีวภาพเป็ นพลังงานสะอาดที่เกิดจากการนาของเสีย เช่น
มูลสัตว์ นา้ เสียจากฟาร์มปศุสตั ว์ นา้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ขยะและของเหลือใช้ทางการเกษตร มาผ่าน
กระบวนการหมัก เพื่ อ ให้เ กิ ด การย่ อ ยสลายสารอิ น ทรี ย์ใ นสภาวะไร้อ อกซิ เ จน (Anaerobic Digestion) โดย
แบคทีเรียหลายชนิด เมื่อสภาวะแวดล้อมเหมาะสม

แหล่งวัตถุดิบ

การผลิ ตก๊ าซชี วภาพ ส่วนใหญ่ จ ะใช้นา้ เสี ย สิ่ง ปฏิกูล ของเสียทางการเกษตร เช่ น มูลสัตว์และขยะอิ น ทรี ย์
อุตสาหกรรม เป็ นแหล่งวัตถุดิบหลัก โดยแหล่งวัตถุดิบชีวมวลขนาดใหญ่จากอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ คือ
มูลสัตว์ ส่วนใหญ่มาจากฟาร์มวัวและฟาร์มหมู ในของเสียจากมูลสัตว์ จะมีจุลินทรียช์ นิดไม่ใช้ออกซิเจนประเภท
เ ดี่ ย ว กั บ ที่ ผ ลิ ต ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ เ ช่ น Methanobacterium Ruminantium, Methanosarcina sp. แ ล ะ
Methanococcus sp. เป็ นต้น ดังนัน้ มูลสัตว์จึงเหมาะที่จะเป็ นวัตถุดิบในการผลิตก๊าซชีวภาพ นอกจากการนามูล
สัตว์ม าใช้เ ป็ นแหล่ง วัตถุดิบในการผลิ ตก๊ าซชี วภาพแล้ว ในปั จ จุบันมี การใช้พืช พลัง งาน เช่ น ข้าวโพด เมล็ด
ทานตะวัน หญ้า และหญ้าซูดาน มาเป็ นวัตถุดิบอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งพืชเหล่านีเ้ ป็ นพืชพลังงานที่ถูกนามาใช้มากที่สุด
ในการผลิตก๊าซชีวภาพ นอกจากนีย้ ังมีการใช้พืชในเขตร้อนชืน้ เช่น ชานอ้อย เปลือกกล้วย กากปาล์ม ฟางข้าว
เปลือกข้าว และผักตบชวา เป็ นต้น เป็ นสารตัง้ ต้นในการผลิตก๊าซชีวภาพ ซึ่งในอนาคตอาจจะมีการใช้พืชพลังงาน
และมีความหลากหลายของพืชในการนามาผลิตเป็ นก๊าซชีวภาพเพิ่มขึน้
สาหรับในประเทศไทยนั้น แหล่งวัตถุดิบที่นิยมกันมาก คือ นา้ เสียจากโรงงานต่างๆ ของเสียจากอุตสาหกรรม
อาหาร ขยะอินทรีย์ มูล สัตว์จ ากอุตสาหกรรมการเลี ย้ งสัตว์ ซึ่ง เป็ นแหล่ง วัตถุดิบที่สามารถย่อยสลายโดยใช้
จุลินทรียใ์ นระบบไร้ออกซิเจน ทาให้เกิดก๊าซมีเทน นอกจากวัตถุดิบดั งกล่าวแล้ว ประเทศไทยได้มีการนาพืชผล
ทางการเกษตร (agricultural crops) เช่น มันสาปะหลัง และ ต้นข้าวโพด ซึ่งเป็ นพืชที่มีศักยภาพในการผลิตก๊าซ
ชีวภาพและมีการปลูกกันอย่างแพร่หลายภายในประเทศ

4
เหง้ามันสาปะหลัง

เหง้ามันสาปะหลัง คือ ส่วนที่แข็งของต้นมันสาปะหลังที่มักถูกตัดทิง้ เนื่องจากไม่สามารถนามาใช้เป็ นวัตถุดิบใน


การผลิตผลิตภัณฑ์จากมันสาปะหลังได้ ส่วนใหญ่เกษตรกรจะตัดทิง้ และเผาไป ซึ่งก่อให้เกิดมลพิษตามมา แต่
บางส่วนของเหง้านั้นอาจไม่ถูกตัดหมดและยังติดอยู่กับหัวมันส าปะหลังที่เกษตรกรนาไปขาย ซึ่ง เหง้านีอ้ าจ
กลายเป็ นภาระต่อโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์มนั สาปะหลัง เนื่องจากต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายในการตัดออกก่อนการ
ผลิต และอาจทาให้ผลิตภัณฑ์ไม่มีคณ ุ ภาพหรือมีราคาต่า
เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว มีแนวคิดในการนาเหง้ามันสาปะหลังที่ถูกตัดทิง้ มาเผาและอัดแท่ง เพื่อนาไปใช้เป็ นวัสดุ
เชือ้ เพลิงแทนฟื นและถ่าน โดยทาการวิเคราะห์ค่าความร้อนของเหง้ามันสาปะหลังแห้งพบว่ามีค่าความร้อนสูงถึง
3,500 – 4,058 แคลอรีต่อกรัม ซึ่งเปรียบเทียบได้กบั ค่าความร้อนของไม้ฟืน และนา้ มันเตา ดังนัน้ การนาเหง้ามัน
สาปะหลังมาใช้เป็ นวัสดุเชือ้ เพลิงเป็ นทางเลือกที่น่าสนใจในการลดปั ญหาเกี่ยวกับการจัดการเหง้ามันสาปะหลังที่
ถูกตัดทิง้ อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน อีกทัง้ ยังเป็ นการนาวั สดุท่ีเสียจากการเกษตรมาใช้ประโยชน์ให้เต็มที่และ
ลดการใช้พลังงานที่มี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย นอกจากนี ้ ยังสามารถช่วยเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรใน
รู ปแบบที่ย่ ัง ยืนได้อีกด้วย โดยการขายเหง้ามันส าปะหลัง ที่ ถูกน ามาเผาและอัดแท่ง เป็ นวัส ดุเชื ้อเพลิง ให้กับ
โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ท่ตี อ้ งการนา้ มันเชือ้ เพลิงทางเลือกโดยไม่เสียคุณภาพและปริมาณการผลิต

หลักการทางานและองค์ประกอบของเครื่องยนต์กังหันก๊าซแบบแอโรเดริเวทีฟ

เครื่องยนต์กังหันก๊าซแบบแอโรเดริเวทีฟ (Aeroderivative Gas Turbine)

กังหันก๊าซแบบแอโรเดริเวทีฟเป็ นรูปแบบที่มีนา้ หนักเบากว่าของกังหันก๊าซ แม้ว่าจะถูกจัดประเภทเป็ นกังหันแก๊ส


แต่แหล่งเชือ้ เพลิงสาหรับกังหันแบบแอโรเดริเวทีฟไม่ใช่ก๊าซจริง ๆ จริง ๆ แล้ว พวกมันได้รบั การออกแบบมาให้ผสม
เชือ้ เพลิงและอากาศแล้วจุดติดไฟเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ท่ีตอ้ งการ เครื่องยนต์กงั หันแก๊สแบบแอโรเดริเวทีฟมีลกั ษณะ
คล้ายกับเครื่องยนต์ท่ีใช้ในอุตสาหกรรมการบิน แต่มีการติดตัง้ อุปกรณ์ท่แี ปลงพลังงานจลน์ของไอพ่นเป็ นพลังงาน
กลจากการหมุน ซึ่งใช้หมุนเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า เครื่องกังหันก๊าซประกอบด้วย คอมเพรสเซอร์
ห้องเผาไหม้ เทอร์ไบน์ และอุปกรณ์เสริมอื่น ๆ ส่วนประกอบทุกอย่างมีขนาดเล็ก ดังนัน้ ตัวเครื่องโดยรวมจึงมีขนาด
ไม่ใหญ่มากนัก

ชุดคอมเพรสเซอร์ (Compressor)

การเผาไหม้ของเชือ้ เพลิงและอากาศที่บรรยากาศไม่สามารถจะให้พลังงานเพียงพอสาหรับการทางาน พลังงานที่


ได้ จากการเผาไหม้เป็ นอัตราส่วนของมวลของอากาศและความดันที่ใช้ ดังนัน้ ถ้าอากาศมีความดันที่สูงขึน้ ก็จะ
เพิ่มประสิทธิภาพ ของการเผาไหม้ และสาหรับเครื่องยนต์ก็ตอ้ งอาศัยการอัด (Compression) อากาศ

5
หนึ่ง stage ของคอมเพรสเซอร์ประกอบไปด้วยใบพัดหมุน (rotor blade) และใบพัดนิ่ง (stator blade) ใบพัดหมุน
ยึดติดกับเพลาและใบพัดนิ่งยึดติดกับโครงหุม้ และมีใบพัดนา (guide vane) ทาหน้าที่ปรับทิศทางการไหล ใบพัด
หมุนและใบพัดนิ่งมีรูปร่างคล้ายปี กเครื่องบิน (airfoil) เพื่อใช้คณ
ุ สมบัติดา้ นอากาศพลศาสตร์ของใบพัดในการอัด
ก๊าซ อัตราส่วนความดันโดยรวมของเครื่องอัดก๊าซจึงขึน้ กับจานวน stage

รู ปที่ 1 การติดตัง้ ใบพัดนาทางเข้า stage แรกของคอมเพรสเซอร์

รู ปที่ 2 การไหลปะทะใบพัดหมุนของอากาศททาให้เกิดผลต่างความดันระหว่างสองด้านของ ใบพัดหมุน

จากรูปที่ 2 การไหลปะทะใบพัดหมุน ของก๊าซซึ่งทาให้เกิดแรงยก มุมระหว่างความเร็วสัมพัทธ์ (W) กับ


เส้นคอร์ด (chord line) ของใบพัดหมุนเรียกว่า มุมปะทะ (α) แรงยกจะเพิ่มขึน้ ตามมุมปะทะตราบเท่าทีÉมุมปะทะ
ไม่มากเกินไป แต่แรงยกจะลดลงอย่างกะทันหันเมื่อมุมปะทะเพิ่มถึงค่าหนึ่ง

6
ชุดห้องเผาไหม้

ชุดห้องเผาไหม้ (combustion chamber) ถัดจากคอมเพรสเซอร์ มีหน้าที่ผสมเชือ้ เพลิงกับอากาศให้ได้


อัตราส่วนพอเหมาะ เผาไหม้ส่วนผสมของเชือ้ เพลิงกับอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งกระแสก๊าซร้อนเข้าไป
ปะทะกับชุดเทอร์ไบน
อากาศที่มีความดันสูงไหลเข้าห้องเผาไหม้โดยมีหัวฉีดพ่นเชือ้ เพลิงเข้าไปผสมกับอากาศและทาปฏิกิริยาเผาไหม้
รูปที่ 3 แสดงการไหลของอากาศและเชือ้ เพลิงในห้องเผาไหม้ อากาศบางส่วนจะใช้ในการเผาไหม้ อากาศที่เหลือ
ทาหน้าที่หล่อเย็นห้องเผาไหม้ การเผาไหม้ในห้องเผาไหม้แบ่ง เป็ นสามโซน โซนแรกคือ โซนไหลวน (recirculation
zone) อยู่ใกล้หวั ฉีดเป็ นบริเวณที่มีการผสมกันระหว่างอากาศกับเชือ้ เพลิงอย่างทั่วถึงโดยอาศัยการไหลวนอย่าง
ปั่ นป่ วนของอากาศและเชือ้ เพลิง นอกจากนีเ้ ชือ้ เพลิงบางส่วนเผาไหม้กับอากาศในโซนนีแ้ ต่การเผาไหม้อาจไม่
สมบูรณ์เพราะมีปริมาณอากาศเพียง 10% ของปริมาณอากาศที่ไหลเข้าคอมเพรสเซอร์ โซนที่สองคือ โซนเผาไหม้
(burning zone) อยู่ห่างจากหัวฉีดออกมาเป็ นบริเวณที่ได้รบั อากาศเพิ่มเติมประมาณ 20% ซึ่งทาให้การเผาไหม้
สมบูรณ์และได้ก๊าซเสียที่มีอณ ุ หภูมิสงู โซนที่สามคือโซนเจือจาง (dilution zone) อยู่ใกล้ทางออกจากห้องเผาไหม้
มีอากาศ 70% ที่เหลือเข้ามาในห้องเผาไหม้ท่โี ซนนีเ้ พื่อลดอุณภูมิก๊าซเสียที่กาลังจะออกจากห้องเผาไหม้

รู ปที่ 3 โซนในห้องเผาไหม้

ชุดเทอร์ไบน์

ชุดเทอร์ไบน์มีหน้าที่เปลี่ยนพลังงานความร้อนและพลังงานจลน์ของก๊ าซร้อนให้เป็ นพลังงานกล และ


ถ่ายทอดพลังงานนัน้ ไปตามเพลาขับชุดคอมเพรสเซอร์ และชุดเฟื องขับอุปกรณ์ชุดเทอร์ไบน์จะติดตัง้ อยู่บริเวณ
ส่วนท้ายสุดของห้องเผาไหม้ โดยในชุดเทอร์ไบน์นนั้ จะประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ ได้แก่ ชุดที่อยู่กบั ที่ (stator) ชุด
หมุน (rotor)

7
ระบบไฟฟ้ าพลังงานความร้อนร่วม (Combined Cycle Power Plant)

รู ปที่ 4 ระบบการทางานของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม

โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมเป็ นโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งมีการทางาน 2


ระบบร่วมกัน คือ ระบบของโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ ทางานร่วมกับระบบของโรงไฟฟ้ากังหันไอนา้
ส่วนประกอบที่สาคัญโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ประกอบด้วย 1. เครื่องกังหันก๊าซ (เช่นเดียวกับโรงไฟฟ้ากังหัน
ก๊าซ, Gas Turbine) 2. หม้อนา้ (Waste Heat Boiler หรือ Heat Recovery Steam Generator; HRSG) 3. เครื่อง
กังหันไอนา้ (เช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าพลังไอนา้ , Steam Turbine) หลักการทางาน 1. ใช้หลักการณ์เดียวกับโรงไฟฟ้า
กังหันก๊าซ โดยนาก๊าซธรรมชาติมาจุดระเบิดเพื่อให้เกิดพลังงานความร้อนไปขับเคลื่อน กังหันก๊าซ 2. นาไอเสีย
(Waste heat) จากเครื่องกังหันก๊าซมาใช้ตม้ นา้ ในในหม้อนา้ (HRSG) 3. ไอนา้ ได้จากการหม้อนา้ จะถูกนาไป
ขับเคลื่อนเครื่องกังหันไอนา้ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าออกมาได้ โดยใช้หลักการณ์เช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าพลังความร้อน
ร่วมทั่วไป
โรงไฟฟ้าก๊าซในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็ นแบบชนิดนี ้ เนื่องจากให้ประสิทธิภาพดีกว่า โดยจะเห็นได้ว่าโรงไฟฟ้า
กังหันก๊าซ จะมีประสิทธิภาพประมาณ 25% หากแต่โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม จะมีประสิทธิภาพสูงถึง
ประมาณ 50% เช่น โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ โรงไฟฟ้าพระนครใต้ โรงไฟฟ้านา้ พอง โรงไฟฟ้าราชบุรี เป็ นต้น

โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมถึงขับเคลื่อนด้วยระบบ Rankine Cycle และระบบ Brayton Cycle


1. Rankine Cycle เป็ นระบบที่ใช้ในการสร้างพลังงานไฟฟ้าซึ่งมักใช้ในโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนเช่น
โรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงหมุนเร็ว โดยมีขนั้ ตอนการทางานดังนี:้ 1) Heat addition: นา้ ถูกทาให้รอ้ นในเครื่องกาเนิดไอนา้
2) Isentropic expansion: ไอนา้ ทางานผ่านตัวถังขยายและทาให้เกิดการขยายแบบไอเสียทีมีปริมาณมากขึน้ 3)
Heat rejection: ไอนา้ ที่มีลกั ษณะไอเสียจะถูกทาให้เย็นลงในหม้อทาความเย็น 4) Isentropic compression: นา้

8
หนึ่งเข้าสู่เครื่องกาเนิดไอนา้ ขัน้ ตอนที่ 2 และ 4 เป็ นขัน้ ตอนที่เปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็ นงานกลมตามลาดับ
และเป็ นกระบวนการสาคัญในการสร้างไฟฟ้า
2. Brayton Cycle เป็ นระบบที่ใช้ในเครื่องสร้างกาลังไฟฟ้าที่ใช้เชือ้ เพลิงเป็ นแก๊ส เช่น เครื่องกาเนิด
ไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าแก๊สธรรมชาติ โดยมีขนั้ ตอนการทางานดังนี:้ 1) Compression: แก๊สถูกบีบอัดเพื่อเพิ่มความดัน
2) Heat addition: แก๊ ส ที่มี ความร้อนจากการบีบอัดถูกใช้ในการทางานของเครื่องกาเนิดไอนา้ 3) Isentropic
expansion: ไอนา้ ถูกขยายในเครื่องกาเนิดไอนา้ และทางานผ่านตัวถังขยาย 4) Heat rejection: ไอนา้ ที่มีลกั ษณะ
ไอเสียจะถูกทาให้เย็นลง ในหม้อทาความเย็น ขัน้ ตอนที่ 2 และ 3 เป็ นขัน้ ตอนที่แปลงพลังงานความร้อนเป็ นงาน
กลมและแก๊สไปข้ามทางละครัง้ ในรอบ

ตัวแปรทางการเงิน

ต้นทุน (Cost)

ต้นทุน คือ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ ในระหว่างการดาเนินการผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งค่าใช้จ่ายต้นทุนจะเริ่มตัง้ แต่การ


ออกแบบผลิตภัณฑ์ การผลิต การทาแบบทดสอบ การจัดเก็บ การขนส่ง เมื่อมีค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้า
และบริการเกิดขึน้ พนักงานบัญชีก็จะบันทึกบัญชีล งใน และลงบัญชีแยกประเภทลงส่วนของต้นทุน เพื่อให้ทราบ
แน่ชัดว่าสิ่งที่กาลังดาเนินการอยู่นนั้ เป็ นส่วนที่อยู่ในต้นทุนในการผลิต ซึ่งเมื่อสินค้าและบริการผลิตเสร็จแล้ว ก็
สามารถมาหารายรับเพื่อนามาหักลบกับต้นทุนได้ เมื่อหักรายรับกับต้นทุนแล้วส่วนต่างที่เหลือคือรายได้ ถ้าหากว่า
ส่วนต่างที่หักลบกันนั้นติดลบ แสดงว่ากิจการของเรานั้นผลิตสินค้าและบริการออกมาขาดทุน กิจการจะต้อง
วางแผนหากลยุทธ์วิธีการต่างๆ เพื่อไม่ให้กิจการขาดทุน และสามารถดาเนินการธุรกิจต่อไปได้
1. ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
- คือต้นทุนพืน้ ฐานที่เอสเอ็มอีตอ้ งจ่าย ไม่ว่าจะผลิตหรือขายมากน้อยเพียงใด ก็มีตน้ ทุนที่ตอ้ งจ่าย
เท่าเดิม เช่น ค่าซือ้ เครื่องจักร ค่าเช่าที่ เงินเดือนพนักงาน ค่าชัน้ วางสินค้า ดอกเบีย้ เงินกูธ้ นาคาร
ซึ่งต้นทุนคงที่จะถูกคานวณเป็ นต้นทุนต่อหน่วยได้ดว้ ยการหารเฉลี่ย ยกตัวอย่างเช่น ค่าเช่าที่ ซึ่ง
ธุรกิจต้องจ่ ายเดือนละ 10,000 บาท หากขายสินค้าได้ 1,000 ชิน้ ก็จะเท่ากับว่าสินค้า 1 ชิน้ มี
ต้นทุนค่าเช่าที่เฉลี่ยชิน้ ละ 10 บาท และหากขายได้ 10,000 บาท นั่นก็เท่ากับว่าเดือนนัน้ เอสเอ็มอี
ไม่ตอ้ งจ่ายค่าเช่าที่เลย แต่หากเกิดโรคระบาดทาให้ขายสินค้าไม่ได้ ธุรกิจก็ยังต้องจ่ายค่าเช่าที่
10,000 บาทอยู่ดี ดังนัน้ ต้นทุนคงที่จึงเป็ นต้นทุนที่สามารถนามาใช้วางแผนการขายได้ เพราะเอส
เอ็มอีรูอ้ ยู่แล้วว่าต้นทุนส่วนนีม้ ีเท่าไหร่แล้วต้องผลิตและขายเท่าไหร่ถึงจะคุม้ ทุน
2. ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)
- คือต้นทุนที่จะแปรผันไปตามปริมาณการผลิตหรือการขาย เรียกได้ว่าผลิตมากก็จ่ายมาก หรือไม่
ผลิตก็ไม่ตอ้ งจ่าย เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่านา้ ค่าไฟ ค่าคอมมิชชั่น ตัวอย่างเช่น ในการผลิตสินค้า 1 ชิน้

9
มีค่าพลาสติกที่ใช้เป็ นวัตถุดิบ 0.25 บาท เมื่อขายดีจนต้องมีการผลิตเพิ่มอีก 1,000 ชิน้ จึงต้องจ่าย
ต้นทุนค่าพลาสติกเพิ่ม 250 บาทนั่นเอง ซึ่งต้นทุนประเภทนีท้ าให้เอสเอ็มอีวางแผนบริหารต้นทุน
ค่อนข้างยาก เพราะไม่รูว้ ่าเมื่อไหร่จะต้องผลิตสินค้าเพิ่มมากขึน้ ยกเว้นกรณีท่เี ป็ นสินค้าที่มีฤดูกาล
เช่น เสือ้ ลายดอกสงกรานต์ หมวกซานตาครอส ที่สามารถวางแผนการผลิตล่วงหน้าได้ เพราะเป็ น
เทศกาลประจาปี นอกจากนีต้ น้ ทุนผันแปรอาจมีราคาผันผวนไม่คงที่ เช่น ราคานา้ มัน ราคาเหล็ก
เป็ นต้น เอสเอ็ม อีจึ ง ต้องหมั่น ติ ด ตามสถานการณ์เ ศรษฐกิจ เพื่ อ วางแผนการผลิต รวมถึง วาง
แผนการซือ้ วัตถุดิบด้วย
-
รายได้ (Revenue)

รายได้ คือ เงินที่ได้มาจากการดาเนินกิจกรรมต่างๆของบริษัท โดยในแต่ละอุตสาหกรรมอาจมีแหล่งที่มาของ


รายได้ต่างกัน เช่น ธุรกิจอาหารจะมีรายได้มาจาก ยอดขาย (Sales) ในขณะที่บางอุตสาหกรรม เช่นกลุ่มธุรกิจ
การเงิน มีรายได้มาจาก รายได้ดอกเบีย้ (Interest Income)

กาไร (Profit)

กาไรเป็ นยอดคงเหลือหลังจากหักลบรายจ่ายอื่น ๆ ไปแล้ว สามารถแบ่งออกได้หลายชนิดเพื่อใช้วิเคราะห์ผลการ


ดาเนินงานของบริษัทนั้น ๆ นั่นคือกาไรขั้นต้น (Gross Profit) และกาไรจากการดาเนินงาน (Operation Profit)

กระแสเงินสด (Cash Flow)

Cash Flow คือกระแสเงิ นสดที่ไ หลเข้าไหลออกจากธุ รกิจ ของคุณ ลองนึกภาพตามว่า ถ้ามี เงิ นไหลเข้าธุ รกิจ
มากกว่าไหลออกไป หรือว่ามีรายรับมากกว่ารายจ่ าย ก็เท่ากับว่ากระแสเงินสดของธุ รกิจ คุณเป็ นบวก แต่ถ้า
เมื่อไหร่ก็ตามที่คณ ุ มีรายจ่ายมากกว่ารายรับ เมื่อนัน้ คือกระแสเงินสดติดลบและถ้า เป็ นเช่นนีต้ ่อไปในระยะยาวจะ
ไม่สง่ ผลดีต่อธุรกิจ
1. กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดาเนินงาน (Operating Cash Flow)
- สาหรับกระแสเงินสดนีจ้ ะเป็ นกระแสเงินสดที่เป็ นรายได้และรายจ่ายในองค์กร มาจากกิจกรรมหลัก
ที่ก่อให้เกิดรายได้และรายจ่าย ควรที่จะมีการบริหารให้เป็ นบวก นั่นคือมีรายได้มากกว่ารายจ่าย จะ
แสดงถึงสภาพคล่องที่ดีของธุรกิจ
2. กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน (Investing Cash Flow)
- กระแสเงินสดนีเ้ ป็ นกระแสเงินสดจากการลงทุน แสดงให้เห็นถึงการลงทุนเพิ่มขององค์กรหรือว่า
การขายทรัพย์สิน ซึ่งกระแสเงินสดนีค้ วรมีค่าเป็ นลบ ทาให้เห็นว่าองค์กรมีการลงทุนอย่างต่อเนื่อง
นั่นเอง
10
3. กระแสเงินสดจากกิจกรรมการเงิน (Financing Cash Flow)
- ปิ ดท้ายด้วยกระแสเงินสดจากกิจกรรมการเงิน เพื่อดูว่าองค์กรของคุณต้องมีการกูย้ ืมเงินมากน้อง
แค่ไหนหรือว่าถ้าเกิดกระแสเงินสดตัวนีต้ ิดลบ แสดงว่าคุณมี การจ่ ายเงิ นปั นผลหรือว่าจ่ า ยหนี ้
แสดงว่าเป็ นเรื่องที่ดี
ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period)

Payback Period คือ ระยะเวลาคืนทุน เป็ นระยะเวลาที่ใช้บอกว่าธุรกิจจะได้เงินที่ลงทุนไปในตอนต้นคืนมาใน


ระยะเวลาเท่ า ไหร่ โดย Payback Period จะใช้เ ป็ น ตัว เลขส าหรับ การประมาณระยะเวลาในการลงทุ น ว่ า
จาเป็ นต้องลงทุนนานเท่าไหร่จึงจะคืนทุน เพื่อพิจารณาว่าควรลงทุนหรือไม่
สูตรการคานวณ Payback Period = เงินลงทุนในตอนต้น ÷ ผลตอบแทนจากการลงทุน

จุดคุ้มทุน (Break Even Point)

Break Even Point คื อ จุด คุ้ม ทุน ซึ่ง เป็ น จุด ที่ เ ท่ า ทุน ซึ่ง เป็ น จุด ที่ ไ ม่ ไ ด้ก าไรและไม่ เ กิ ด การขาดทุน เนื่ อ งจาก
จุดคุม้ ทุนคือจุดที่รายรับเท่ากับต้นทุน เป็ นจุดที่ธุรกิจจะได้กาไรจนคืนทุนพอดี กล่าวคือ หากว่าต้องการที่จะได้
กาไรก็ตอ้ งผ่านจุดคุม้ ทุน (Break Even Point) ให้ได้ก่อน

อัตราผลตอบแทนทีไ่ ด้จากการลงทุน ( Internal Rate of Return: IRR )

Internal Rate of Return คือ การประเมินว่า “การลงทุนให้อตั ราผลตอบแทนเท่าใด” เป็ นการสุม่ อัตราคิดลด
(Discount Rate) ที่ทาให้ NPV มีค่าเท่ากับศูนย์ กล่าวคือ ทาให้เงินสดสุทธิในอนาคตทอนมูลค่ากลับมาปัจจุบนั
แล้ว มีค่าเท่ากับเงินลงทุนก้อนแรก ดังนัน้ IRR ควรมีค่ามากกว่าต้นทุนทางการเงิน และยิ่งมีค่ามากยิ่งดี
มูลค่าปั จจุบันสุทธิ (The net present value: NPV)

The net present value คือ ส่วนแตกต่างระหว่าง มูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดรับสุทธิกบั มูลค่าปั จจุบนั
ของกระแสเงินสดจ่ายลงทุนสุทธิ ซึ่งเรียกโดยย่อว่า มูลค่าปั จจุบนั สุทธิ รวมถึงเป็ นตัวชีว้ ดั ว่าการตัดสินใจลงทุนใน

11
โครงการหนึ่งๆ นัน้ จะก่อให้เกิดมูลค่าตลาดเพิ่มขึน้ หรือลดลงกับบริษัท โดยที่ r นัน้ จะสะท้อนถึงความเสี่ยงของ
กระแสเงินสดในอนาคต

รู ปที่ 5 สูตรการคานวณ NPV

โดยที่ cost = เงินลงทุนครัง้ แรก


CFt = กระแสเงินสดสุทธิในปี ที่ t
r = ต้นทุนของเงินทุนของโครงการ ซึ่งจะใช้เป็ นอัตราคิดลดค่า

มูลค่าปัจจุบนั สุทธิ = - ค่าใช้จ่ายลงทุน + มูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดในอนาคตตลอดอายุของโครงการ

แบบจาลองการประเมินราคาหลักทรัพย์ (Capital Asset Pricing Model : CAPM)

Capital Asset Pricing Model (CAPM) ใช้ ใ นการประเมิ น ราคาของหลั ก ทรั พ ย์ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนต้องการกับความเสี่ยงของสินทรัพย์หรือ ความไม่แน่นอนของ
ผลตอบแทนนั้น เองโดยแบบจ าลองนี ้มี แ นวคิ ด ว่ า ระดับ ผลตอบแทนซึ่ ง สมควร ได้ รับ จากการลงทุ น หรื อ
ผลตอบแทนที่ผูล้ งทุนต้องการควรขึน้ อยู่กับความเสี่ยงจากการลงทุน การลงทุนใดที่มีความเสี่ยงสูง ผลตอบแทน
จากการลงทุนนัน้ น่าจะสูงด้วยเช่นกัน โดยหลักการ ลงทุนตามตัวแบบจาลองตัง้ ราคาในหลักทรัพย์อธิบายว่านัก
ลงทุนจะได้รบั การชดเชยเฉพาะความ เสี่ยงที่เป็ นระบบ (Systematic Risk) หรือความเสี่ยงทางการตลาด (Market
Risk) เนื่องจากเป็ นความ เสี่ยงที่นกั ลงทุนไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ดังนัน้ การลงทุนใด ๆ ที่มีความเสี่ยง ควรได้รบั
ผลตอบแทน อย่างน้อยเท่ากับอัตราผลตอบแทนที่ไม่ มีความเสี่ยง (Risk free Rate) บวกด้วยส่วนชดเชยความ
เสี่ยง ซึ่งเป็ นสัดส่วนกับอัตราชดเชยความเสี่ยงของตลาด (Market Risk Premium) โดยสัดส่วนดังกลาว แสดงด้วย
ค่าสัมประสิทธิเ์ บต้า สามารถเขียนสมการได้ดงั นี ้

E(Ri) คือ อัตราผลตอบแทนที่ผลู้ งทุนต้องการจากหลักทรัพย์ i


βi คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการลงทุนในหลักทรัพย์
E(Rm) คือ อัตราผลตอบแทนที่ผลู้ งทุนได้รบั หรือผลตอบแทนของตลาด (Market Return)
Rf คือ อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ท่ไี ม่มีความเสี่ยง

12
อัตราคิดลด (discount rate)

discount rate คือ อัตราการที่ใช้ในการแปลงมูลค่าในอนาคตมาเป็ นมูลค่าในปั จจุบนั ซึ่งสามารถช่วยให้


เราสามารถเปรี ย บเทีย บมูล ค่ าสองมูล ค่ าที่ อ ยู่ในช่ ว งเวลาต่า งกันได้ง่ า ยขึ น้ อัตราคิดลดยัง สามารถสะท้อ น
พฤติกรรมความอดทนของบุคคลได้ ซึ่งมีนัยยะต่อการเปรียบเทียบทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนต่าง ๆ ในเวลาที่
แตกต่างกัน เช่น ในการวิเคราะห์ตน้ ทุน -ผลประโยชน์ (cost-benefit analysis) หรือการประเมินความคุม้ ค่าของ
นโยบายสาธารณะ บทความนีแ้ สดงให้เ ห็นว่ า อัตราคิดลดส่วนบุค คลสูง กว่า อัต ราดอกเบี ย้ ในตลาดอย่ า งมี
นัยสาคัญ และยังขึน้ อยู่กบั ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม

ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง

Evaluating Livestock Manures for Biogas Production: a GIS Based Method, (2004)
F.A. Batzias, D.K. Sidiras, และ E.K. Spyrou ได้ศกึ ษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับการนาเศษซากจากปศุสตั ว์ในพืน้ ที่
ไปใช้ในกระบวนการการผลิดแก๊สชีวะภาพ ผูศ้ ึกษาได้จาแนกปศุสตั ว์ออกเป็ นหกกลุ่ม ได้แก่ โคกระบือ สุกร แกะ
และแพะ สัตว์ปีก ม้า กระต่าย และศึกษาปริมาณการผลิตของก๊าซชีวภาพของสัตว์ในพืน้ ที่เหล่านี ้ โดยสัตว์ท่ี ผลิต
ก๊าซชีวภาพได้มากที่สุดสองรายคือกลุ่มสัตว์ท่ีเป็ นสุกร (34.4%) และแกะ/แพะ (33.4%) ต่อมาคือลุ่มสัตว์ปีก
(16.8%) และโคกระบือ (15%) ในขณะที่ปริมาณก๊าซชีวภาพจากกระต่ายและม้านัน้ มีนอ้ ยมาก จากการประเมิน
ของผูศ้ ึกษา ค้นพบว่าผลผลิตทัง้ หมดมีอยู่ท่ีประมาณ 0.42 พันล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งเป็ นปริมาณก๊าซประมาณ
เท่ากับ 20% ของยอดขายก๊าซธรรมชาติในกรีซปี 2544

การศึกษาความเป็ นไปได้ในการผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษผักโรงคัดบรรจุผลิตผลโครงการหลวงแม่เหียะ,
(พ.ศ. 2556)
นายสุรพล คาวงษา ได้ศกึ ษาเกี่ยวกับความเป็ นไปได้ในการผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษผัก โดยนาเศษพืชผัก
ที่เหลือทิง้ จากกระบวนการคัดบรรจุผลิตผลมาจากโรงคัดบรรจุผลิตผลโครงการหลวงแม่เหียะ เพื่อนาพลังงานมา
ลดค่าในจ่ายของโรงงาน ด้วยวิธีการสร้างชุดทดลองระบบผลิตก๊าซและใช้เครื่องทานา้ อุ่นแบบใช้ก๊าซเป็ นตัวทา
ความร้อนเพื่อทดสอบประสิทธิภาพที่ได้ ผลที่ได้คือก๊าซที่ได้เข้มข้นสูงสุดถึง 96% ภายในระยะเวลา 15 วัน

Impact Study on the use of the Biomass-Derived Fuels in Gas Turbines for Power Generation, (1994)
Dr. Clifford A. Moses และ Dr. Henry Bernstein ได้วิเคราะห์กระบวนการ Gasification ในการใช้ไบโอ
มาสเป็ นกระบวนการย่อยสลายด้วยความร้อนของวัสดุในสภาวะที่มีการจ่ายอากาศเพียงมากเล็กน้อย, หรือก็คือ
การเกิดการออกซิเดชันบางส่วนเพื่อผลิตแก๊สเชือ้ เพลิงที่เชื่อได้จากกระบวนการนี ้ ในกรณีท่กี ระบวนการนีเ้ กิดขึน้ ใน
อากาศ แก๊สเชือ้ เพลิงผลิตประกอบไปด้วยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนและสารอินทริกที่เป็ นสารหมุนเวียน

13
รวมถึงนา้ คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน เป็ นสารเจือจาง เนื่องจากสารเจือจางนี ้ ค่าความร้อนของเชือ้ เพลงนีจ้ ะ
สูงน้อยเป็ นระดับประมาณ 200 Btu/scf ซึ่งทาให้มนั อยู่ในหมวด "แก๊สคุณภาพต่า" หากใช้ออกซิเจนแทนที่จะใช้
อากาศ ไนโตรเจนจะถูกขจัดออกและค่าความร้อนจะเพิ่มขึน้ ไปอยู่ระดับประมาณ 350 Btu/scf ซึ่งทาให้มนั อยู่ใน
หมวด "แก๊สคุณภาพกลาง" ขึน้ อยู่กบั วัสดุท่ีนามาใช้อาจมีของเหลวจากกระบวนการไฟโรไลซิส ที่ถกู สร้างขึน้ พร้อม
กับสารเหนี่ยว ชาร์และของเหลวช่วยเพิ่มของชาร์ซ่งึ นัน้ ถูกคาดหวังว่าจะถูกเอาออกแต่อาจถูกส่งไปพร้อมกับแก๊ส
เป็ นสารปนเปื ้อน

LM2500 gas turbine modifications for biomass fuel operation, (1998)


Charles E Neilson ได้วิจยั แนวทางในการปรับเปลี่ยนสิ่งที่จาเป็ นสาหรับเครื่องยนต์กงั หันก๊าซแบบแอร์โร
เดอริเวทิฟ เครื่องยนต์ทาการศึกษาคือเครื่องยนต์ของ General Electric รุ่น LM2500PH โดยที่ใช้เชือ้ เพลิงชีวมวล
ที่มีค่าความร้อนต่า ผูศ้ ึกษางานวิจัยนีไ้ ด้ออกแบบท่อในการลาเลียงก๊าซ ห้องเผาไหม้ท่ีจะต้องรองรับกับหัวฉีด
นา้ มันเชือ้ เพลิง ออกแบบฮาร์ดแวร์ใหม่ และทดสอบการทางานของเครื่องยนต์ ซึ่งเป็ นองค์ประกอบหลังในการที่จะ
ทาให้เ ครื่องยนต์ใช้ง านร่วมกับเชื อ้ เพลิ งชี วมวลที่มีค่าความร้อนต่ าได้ จากการปรับเปลี่ยนนี ้ เครื่องยนต์ GE
LM2500PH ได้ถงู นาไปใช้ในโรงงานผลิตไฟฟ้าที่มีกาลังผลิตถึง 30 MW

Biofuels for the Gas Turbine: A review, (2010) และ Liquid Biofuels in the Aeroderivative Gas Turbine,
(2009)
K.K. Gupta, A. Rehman b, และ R.M. Sarviya ได้ศึกษาคุณ สมบัติ ต่าง ๆ ของเชือ้ เพลิง ชี วภาพ จาก
วารสาร Renewable & Sustainable Energy Reviews โดยผู้เขียน Lawrence L. Kazmerski เชือ้ เพลิง ชี ว ภาพ
ที่ศีกษา ได้แก่ เชือ้ เพลิงชีวภาพที่มาจากนา้ มันจากพืช ไบโอดีเซล ไบโอเอธานอล ไบโอเมทานอล ซินกาสที่ได้มา
จากชีวมวล ไบโอก๊าซ และไดเมทีลอีเทอร์ (DME) ซึ่งพลังงานทางเลือกทัง้ หมดมีคณ ุ สมบัติท่ีสามารถนามาใช้กัน
เครื่องยนต์กงั หันก๊าซได้ เชือ้ เพลิงชีวภาพที่อยู่ในรู ปของเหลวมีความสะอาดมากกว่าเชือ้ เพลิงที่อยู่ในรู ปของก๊าซ
แต่งานวิจยั โดย Joe F Schornick, Rachel T. Farr, และ James K. DiCampli ที่ศึกษาเกี่ยวกับเชือ้ เพลิงชีวภาพที่
เป็ นของเหลวในเครื่องยนต์ พบว่าการใช้เชือ้ เพลิงชีวภาพที่เป็ นของเหลวต้องเพิ่มอัตราการไหลมากขึน้ 10% ถึง
50% ในการที่จะได้ผลผลิตที่ใกล้เคียงกับเชือ้ เพลิงชีวภาพที่เป็ นก๊าซถึงแม้จะสร้างเชือ้ เพลิงทางเลือกที่มีคณ
ุ สมบัติ
ที่ตรงตามเงื่ อนไข เมื่ อพิจ ารณาถึง ปริม าณเชือ้ เพลิงที่ต้องใช้รวมไปถึง ต้นทุนการผลิต สรุ ปได้ว่าการเลือกใช้
เชือ้ เพลิงทางเลือกอื่นเป็ นทางเลือกที่ประหยัดกว่าในการจัดหาพลังงานหมุนเวียน อย่างไรก็ตามเครื่องยนต์ตอ้ งมี
การปรับแต่งเพื่อให้เข้ากับคุณสมบัติของเชือ้ เพลิงชีวภาพแต่ละชนิด

Cost Analysis of Biomass-Based Integrated Gasification Combined-Cycle Power Systems, (1996)

14
Kelvin R. Craig และ Margaret K. Mann ได้วิจัยศึกษาศักยภาพของการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล โดยใช้
ระบบก๊ าซซิ ฟิ เคชันแบบรวมวงจร integrated gasification combined cycle (IGCC) ผลการศึกษาชีใ้ ห้เห็นว่า
เทคโนโลยี IGCC ที่ใช้ชีวมวลเป็ นเชือ้ เพลิงมีศักยภาพสูงทั้งด้านเศรษฐกิจและประสิทธิภาพการทางาน โดยมี
ประเด็นสาคัญได้แก่ การใช้ชีวมวลผลิตไฟฟ้าจะช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เทคโนโลยี IGCC ที่ใช้
ชีวมวลมีประสิทธิภาพสูงกว่าโรงไฟฟ้าชีวมวลแบบดัง้ เดิม ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล IGCC นัน้ ใกล้เคียงกับ
โรงไฟฟ้าถ่านหิน เทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่ น กัง หันแก๊ สขั้นสูง และระบบเซลล์เชือ้ เพลิง จะช่ วยลดต้นทุนและเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล
งานวิจัยนีศ้ ึกษาระบบ IGCC ที่ใช้ชีวมวล 3 รู ปแบบ คือ ก๊าซซิฟิเคอร์อัดอากาศแรงดันสูง ก๊าซซิฟิเคอร์
ความร้อนทางอ้อมแรงดันต่า ก๊าซซิฟิเคอร์อัดอากาศแรงดันต่า ระบบ IGCC ทั้งหมดใช้กังหันแก๊สแบบใช้ก๊าซ
ธรรมชาติ (utility gas turbine) ผลการศึ ก ษาพบว่ า ระบบ IGCC ที่ ใ ช้ก๊ า ซซิ ฟิ เคอร์อั ด อากาศแรงดั น สู ง มี
ประสิทธิภาพสูงสุด ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจากระบบ IGCC ที่ใช้ชีวมวลนัน้ ใกล้เคียงกับโรงไฟฟ้าถ่านหิน เทคโนโลยี
ใหม่ ๆ เช่น กังหันแก๊สขัน้ สูงและระบบเซลล์เชือ้ เพลิง จะช่วยลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจากชีว
มวล
จากผลการทดลองของงานวิ จัย นี ้จ ะเห็ น ได้ว่ า High pressure direct gasifier, aero-derivative gas
turbine มี output 56 MW ประสิ ท ธิ ภ าพ 36.01% ต้ น ทุ น ทุ น สร้ า ง $1,588/kW ต้ น ทุ น การด าเนิ น งาน
$13,433,000/year ราคาไฟฟ้า 7.91 cent/kWh High pressure direct gasifier, greenfield plant มี output 56
MW ประสิทธิภาพ 36.01% ต้นทุนทุนสร้าง $1,696/kW ต้นทุนการดาเนินงาน $13,675,000/year ราคาไฟฟ้า
8.2 cent/kWh High pressure direct gasifier, advanced utility gas turbine มี output 132 MW ประสิทธิภาพ
39.7% ต้นทุนทุนสร้าง $1,371/kW ต้นทุนการดาเนินงาน $28,702,000/year ราคาไฟฟ้า 6.99 cent/kWh Low-
pressure indirectly-heated gasifier, advanced utility gas turbine มี output 122 MW ประสิทธิ ภ าพ 35.4%
ต้นทุนทุนสร้าง $1,108/kW ต้นทุนการดาเนินงาน $27,983,000/year ราคาไฟฟ้า 6.55 cent/kWh Low-pressure
direct gasifier, advanced utility gas turbine มี output 105 MW ประสิ ท ธิ ภ าพ 37.9% ต้ น ทุ น ทุ น สร้ า ง
$1,350/kW ต้นทุนการดาเนินงาน $23,442,000/year ราคาไฟฟ้า 7.03 cent/kWh
งานวิ จัย นี ้ชี ้ใ ห้เ ห็ น ว่ า เทคโนโลยี IGCC ที่ ใ ช้ชี ว มวลมี ศัก ยภาพสูง ในการผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ ส ะอาดและมี
ประสิทธิภาพ การพัฒนาเทคโนโลยีนตี ้ ่อไปจะช่วยลดต้นทุนและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
Combined Cycle Power Plant Capital Cost Estimates, Bechtel Power Corporation, Stanley Vejtasa
(1997)
งานวิจยั นีน้ าเสนอการประเมินค่าต้นทุนทางกิจการสาหรับโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมที่ใช้นา้ มันเชือ้ เพลิง
เป็ นหลัก โดยใช้ระบบที่รวมกันระหว่างเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแก๊สทัง้ เครื่องกาเนิดไอนา้ ในส่วนของการผลิตพลังงาน
ไฟฟ้าสูงประสิทธิภาพในอเมริกา

15
ประสิ ท ธิ ภ าพของโรงไฟฟ้ า รวมรอบที่ ใ ช้ร ะบบก าลัง ไฟฟ้ า แบบรวมรอบมากที่ สุด มัก จะขึ น้ อยู่ กับ
ส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่มีอณ ุ หภูมิสงู กว่ามากกว่าส่วนของเครื่องกาเนิดไอนา้ ที่มีอณ
ุ หภูมิสงู ในระดับ
ปกติ ดังนัน้ ส่วนนีเ้ น้นไปที่สว่ นของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแก๊สโดยเฉพาะ พร้อมกับการอภิปรายเกี่ยวกับเชือ้ เพลิงและ
วิธีทางเลือกในการใช้พลังงานขัน้ สูง
งานวิจัยนีแ้ สดงให้เห็นถึงส่วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมที่มีขนาดมากกว่า 10 เมกะ
วัตต์ขึน้ ไป รวมถึงวิธีการประเมินตุน้ ทุนโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม รวมไปถึงประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าที่จะ
ขึน้ อยู่กบั อุณหภูมิและประสิทธิภาพของเครื่องกังหันก๊าซ

รายงายการประเมินราคาหลักทรัพย์โรงไฟฟ้ าและระบบผลิตก๊าซชีวภาพ โดยบริษัทโนเบิล้ พร็อพเพอร์


ตี้ แวลูเอชั่นจากัด (พ.ศ 2558)
รายงานนีก้ ล่าวถึง บมจ.ธนาคารกรุงไทย ที่ได้ว่าจ้าง บริษัท โนเบิล้ พร็อพเพอร์ตี ้ แวลูเอชั่น จากัด ให้เป็ นผู้
ประเมินราคาทรัพย์สินของธนาคาร ซึ่งได้แก่โรงไฟฟ้าผลิตจากก๊าซชีวภาพ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากนา้ เสีย และ
เครื่องจักรชนิดอื่นๆ บริษัท โนเบิล้ พร็อพเพอร์ตี ้ แวลูเอชั่น จากัด จะต้องปฏิบตั ิตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ
วิชาชีพที่กาหนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย กลต. หรือสมาคมวิชาชีพที่ได้รบั การรับรองจากทางราชการ กรณี
เป็ นทรัพย์ท่ีสร้างรายได้ จะประเมินราคาโดยวิธีรายได้ (Income Approach) และวิธีตน้ ทุน (Cost Approach)
รายงานการประเมินราคาต้องระบุให้ชดั เจนว่า ธนาคารกรุงไทยเป็ นผูว้ ่าจ้าง บริษัท โนเบิล้ พร็อพเพอร์ตี ้ แวลูเอชั่น
จากัด จะต้องแจ้งให้ธนาคารทราบภายใน 2 วัน หากมีเหตุขัดข้องในการดาเนินการประเมินราคา หรือ เอกสาร
ประกอบไม่ครบถ้วน
งานวิจยั นีแ้ สดงให้เห็นถึงส่วนประกอบที่ใช้ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าและระบบผลิตก๊าซชีวภาพ รวมไปถึง
การวิ เ คราะห์ท างการเงิ น ที่ ไ ด้มี ก ารใช้วิ ธี ป ระเมิ น ราคาโดยวิ ธี ร ายได้ (Income Approach) วิ ธี ต้น ทุน (Cost
Approach) และวิธีเปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach)
Process Equipment Cost Estimating By Ratio And Proportion, Randall W. Whitesides, PE, 2020
กฎหกส่วนสิบ (Rule of Six-tenth) เป็ นวิธีการประเมินค่าใช้จ่ายของสินค้าใหม่โดยประมาณจากข้อมูล
ค่าใช้จ่ายของสินค้าที่มีขนาดหรือความจุใกล้เคียงกัน กฎนีอ้ า้ งอิงจากการวิเคราะห์ขอ้ มูลค่าใช้จ่ายในอดีต พบว่า
ความสัมพันธ์ระหว่างขนาด/ความจุกบั ค่าใช้จ่ายนัน้ สอดคล้องกับหลักการที่ว่า การเพิ่มขนาด/ความจุเป็ นสองเท่า
จะทาให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึน้ ประมาณ 60% โดยมีความแม่นยาอยู่ท่ี +/- 20% แม้ว่าจะไม่ทราบแน่ชัดว่าใครเป็ นผู้
ริเริ่มกฎนี ้ แต่เชื่อกันว่าเกิดขึน้ จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลค่าใช้จ่ายจานวนมากในช่วงเวลาที่ผ่านมา หลักฐานที่เก่า แก่
ที่สดุ พบในบทความตีพิมพ์ในนิตยสาร Chemical Engineering ฉบับเดือนธันวาคม พ.ศ. 2490 เขียนโดย Roger
Williams Jr. ในหัวข้อ "Six-tenths Factor Aids in Approximating Costs"

16
รู ปที่ 6 กฎ Rule of Six-tenth

Energy Yields of Fuel Gas from Cassava Rhizome in a Fluidised-Bed Reactor, พ.ศ. 2561
วิริยะ แดงทน และเกยูร ดวงอุปมาได้ทาการวิจยั เกี่ยวกับการผลิตแก๊สเชือ้ เพลิงจากเหง้ามันสาปะหลังใน
เครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบด เพื่อศึกษาหาปริมาณผลได้ของผลิตภัณฑ์และปริมาณพลังงานของแก๊สเชือ้ เพลิง โดย
การปรับความสาคัญของอุณหภูมิในการทดลองที่ต่างกันเพื่อศึกษาอุณหภูมิปฏิกิริยา ซึ่งระดับอุณหภูมิมีค่าต่าง ๆ
คือ 500, 600, 700, 800, และ 900 องศาเซลเซียสต่อปริมาณผลได้ของผลิตภัณฑ์และปริมาณพลังงานของแก๊ส
เชือ้ เพลิง
ผลการทดลองพบว่าอุณหภูมิปฏิกิริยาที่ 900 องศาเซลเซียสให้ปริมาณผลได้ของแก๊สสูงสุดร้อยละ 90.9
โดยนา้ หนัก แต่แก๊สที่ได้มีค่าความร้อนต่าสุดเป็ น 12 เมกะจูลต่อกิโลกรัม ในขณะที่อณ ุ หภูมิปฏิกิริยาที่ 800 องศา
เซลเซียสคืออุณหภูมิท่ีเหมาะสาหรับผลิตแก๊สเชือ้ เพลิงเนื่องจากมีปริมาณผลได้ของแก๊สและปริมาณพลังงานของ
แก๊สร้อยละ 85 โดยนา้ หนัก

โครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมเชือ้ เพลิงชีวภาพอากาศยานอย่างยั่งยืน, พ.ศ. 2563


ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรได้ทาศึกษาการพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
เพื่อรองรับการเติบโตของจานวนประชากรโลกทาให้ความต้องการใช้พลังงานเพิ่มขึน้ ในขณะเดียวกันแหล่ง
พลัง งานหลักของโลกมี จ ากัดและมี แ นวโน้ม ลดลงเรื่ อ ยๆ ซึ่ง เป็ นปั ญหาส าคัญเนื่ องจากผลกระทบที่เ กิ ด กับ
สิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อนที่เกิดจากการปล่อยก๊ าซเรือนกระจกทั่วโลก การเติบโตของประชากรและความ
ต้องการพลังงานที่เพิ่มขึน้ นีเ้ รียกให้ปฏิบตั ิการเร่งรัดและมีมาตรการในการควบคุมอย่างเร่งด่วน

Sustainable Process Design of Biofuels: Bioethanol Production from Cassava Rhizome, 2013
Mangnimit, S Malakul, P และ Gani, Rafiqul ได้ทาการศึกษาที่ม่งุ เน้นการออกแบบกระบวนการที่ย่งั ยืน
ของการผลิตเอทานอลจากเหง้ามันสาปะหลัง โดยรวมประกอบด้วยหลายขัน้ ได้แก่ การจาลองกระบวนการ การ
ทาจาลองกระบวนการการผลิตเอทานอลเพื่อเข้าใจและปรับปรุงกระบวนการเพื่อทาให้มีประสิทธิภาพและเป็ นไป

17
อย่างยั่งยืน การวิเคราะห์ความยั่งยืน การวิเคราะห์ตัวบ่งชีท้ ่ีเกี่ยวข้องในความยั่งยืน เพื่อกาหนดเป้าหมายการ
ออกแบบ/ดั ด แปลงเพิ่ ม เติ ม ส าหรับ การปรับ ปรุ ง กระบวนการ การประเมิ น ทางเศรษฐกิ จ การวิ เ คราะห์
ความสามารถในการทากาไรของกระบวนการ โดยการใช้ขอ้ มูลทางเศรษฐกิจเพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ที่เกี่ยวข้อง การประเมินวงจรชีวิต (LCA) การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของกระบวนการผลิต เพื่อตัดสินใจ
ในการออกแบบที่เป็ นไปอย่างยั่งยืนที่สดุ การออกแบบทางเลือก การสร้างและเปรียบเทียบการออกแบบที่ต่างกัน
เพื่อเปรียบเทียบการผลิตเอทานอลและการประมาณผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ
ในสรุป, การศึกษานีม้ ่งุ เน้นการพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลที่ย่งั ยืนที่สดุ โดยพิจารณาผลกระทบทัง้
ด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายในการลดการสิน้ เปลืองและปรับปรุงศักยภาพของกระบวนการใน
อนาคต จากแนวทางนี ้ ผลการวิจยั พบว่า การนานา้ เสียกลับมาใช้ใหม่โดยใช้เมมเบรนและการเผาไหม้ลิกนินด้วย
การรวมความร้อน เป็ นการออกแบบที่ดีท่ีสุดส าหรับการผลิตเอทานอลจากเหง้ามันส าปะหลัง เนื่องจากการ
ออกแบบนีช้ ่วยประหยัดนา้ และพลังงานมากที่สดุ และให้ผลกาไรสูงสุด พร้อมรักษาความเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

Conversion of cassava rhizome to alternative biofuels via catalytic hydrothermal liquefaction, พ.ศ. 2564
ปริญวดี ชูแก้วและคณะ ได้ทาการศึกษาที่ศกึ ษาศักยภาพของการผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพทางเลือกจากเหง้า
มันสาปะหลังโดยใช้กระบวนการเร่งปฏิกิริยาไฮโดรเทอร์มอลเหลวที่อณ ุ หภูมิ 250 และ 300°C เป็ นเวลา 15 นาที
โดยใช้ K2CO3 เป็ นตัวเร่งปฏิกิรยิ า 4.0 เปอร์เซ็นต์โดยนา้ หนัก ตรวจสอบคุณสมบัติของนา้ มันไบโอครูดและไฮโดร
ชาร์ในพารามิเตอร์ขององค์ประกอบองค์ประกอบ กลุ่มฟั งก์ชนั ทางเคมี องค์ประกอบทางเคมี และสัณฐานวิทยา
ของพืน้ ผิว
ผลการวิจยั การเร่งปฏิกิริยาการทาให้เป็ นของเหลวด้วยความร้อนด้วยนา้ ของเหง้ามันสาปะหลังได้รบั การ
ดาเนินการโดยใช้ K2CO3 4.0% โดยนา้ หนัก ที่อุณหภูมิกระบวนการ 250 และ 300°C เป็ นเวลา 15 นาที การ
ปฏิกิริยาไฮโดรเทอร์มอลแบบเร่งปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 300°C ได้ผลิตภัณฑ์รวมที่มีประสิทธิภาพการนาพลังงาน
กลับคืนสูงสุด (83.98 wt.%) ดัชนีและองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับพลังงานของผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายระบุว่าทัง้
นา้ มันไบโอดิเซลและไฮโดรชาร์สามารถใช้เป็ นเชือ้ เพลิงชีวภาพทางเลือกได้

ศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้ าด้วยไบโอแก๊ส ทีผ่ ลิตจากเศษวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร, พ.ศ. 2555


นา้ เพชร พันธุพ์ ิพฒ
ั น์ และ สุภวัฒน์ วิวรรธ์ภทั รกิจ ได้ศกึ ษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากแก๊สชีวภาพ ด้วย
ฟางข้าวและต้นและเหง้ามันสาปะหลัง หญ้าเนเปี ยร์ยกั ษ์ ศึกษาการบริหารจัดการศักยภาพของวัตถุดิบ และแก๊ส
ชีวภาพที่ผลิตได้ ให้เพียงพอต่อการนาไปผลิตเป็ นกระแสไฟฟ้าสาหรับชุมชนขนาด 1 เมกะวัตต์ และศึกษาถึง
ความเป็ นไปได้ในการบริหารการจัดการพืน้ ที่ผลิตเศษวัสดุเหลือใช้สาหรับการจัดตัง้ โรงไฟฟ้าสาหรับชุมชน
โดยวิธีการสารวจและรวบรวมข้อมูลการผลิตเศษวัสดุเหลือใช้จากข้าว มันสาปะหลัง และหญ้าเนเปี ยร์ยกั ษ์ จาก
ตารา เอกสาร บทความที่เกี่ยวข้องเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพสาหรับการผลิตไฟฟ้า และศึกษา วิเคราะห์พืน้ ที่ วิเคราะห์

18
เชิงปริมาณ และวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ของพืชพลังงาน 3 ชนิด ได้แก่ ข้าว, มันสาปะหลัง, หญ้าเนเปี ยร์ยกั ษ์ ที่จะ
นามาใช้ผลิตไฟฟ้ าด้วยแก๊สชีวภาพ ขนาด 1 MW
การนาเศษวัสดุเหลือใช้ทงั้ 3 ชนิดมาบริหารการจัดการวัตถุดิบ จะใช้พืน้ ที่เพาะปลูกข้าว มันสาปะหลัง
และหญ้าสาหรับการผลิตไฟฟ้ าต้องใช้พืน้ ที่ 21,417 71,993 และ 940 ไร่ ตามลาดับและราคาต่อ หน่วยวัตถุดิบ
ในการผลิตไฟฟ้าคือ 4.44 3.87 และ 1.381 บาทกิโลวัตต์ช่ ัวโมง ตามลาดับสาหรับวัตถุดิบที่จะสามารถผลิต
กระแสไฟฟ้า 1 MW ภายในระยะเวลา 1 ปี ซึ่งหญ้าเนเปี ยร์ยกั ษ์มีศกั ยภาพด้านพืน้ ที่และราคาการผลิตที่เหมาะต่อ
การผลิตไฟฟ้า ซึ่งมีความเป็ นไปได้ในการผลิตหญ้าเนเปี ยร์ยกั ษ์ในการผลิตไฟฟ้าสาหรับชุมชน

Thermodynamic Analysis of Gas Turbine Systems Fueled by a CH4/H2 Mixture, 2013


ในการศึกษาเครื่องกังหันก๊าซนี ้ Laith Mustafa, Rafal Slefarski และ Radoslaw Jankowski ได้ดาเนินการ
วิเคราะห์ทางอุณหพลศาสตร์และการปล่อยก๊าซของกังหันก๊าซที่ใช้เชือ้ เพลิง โดยพิจารณาส่วนผสมของ CH4 และ
H2 รวมถึงไฮโดรเจนบริสทุ ธิ์ ซึ่งการศึกษานีใ้ ช้วิธีการคานวณเชิงตัวเลขเพื่อประเมินพารามิเตอร์การทางานจริงของ
กังหันก๊าซ LM6000 ทัง้ ในวงจรเชิงเดี่ยวและวงจรรวม โดยใช้ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ Aspen Hysys และ Chemkin-
Pro 2023R1 เป็ นเครื่องมือในการคานวณ ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าเมื่อตัง้ อุณหภูมิขาเข้าของกังหันที่คงที่ไว้
ที่ 1,723 K ประสิทธิภาพเชิงความร้อนเพิ่มขึน้ จาก 39.4% เป็ น 40.2% สาหรับวงจรกังหันก๊าซ และจาก 49% เป็ น
49.4% สาหรับกังหันก๊าซรอบรวม การปล่อยก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ถูกคานวณโดยใช้เครือข่ายเครื่องปฏิกรณ์ ซึ่ง
เผยให้เห็นว่าปริมาณ H2 เพิ่มขึน้ มากกว่า 20% โดยปริมาตรในนา้ มันเชือ้ เพลิง
นอกจากนี ้ ปริมาณการปล่อยไอเสียจะสูงกว่า CH4 มากกว่าสามเท่า สาเหตุหลักสาหรับการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกที่เพิ่มขึน้ นีถ้ กู ระบุว่าเกิดจากการมีอนุมลู H2O และ OH มากขึน้ ในเขตปฏิกิริยา ซึ่งทาให้เกิดการเร่งใน
การก่อตัวของไนตริกออกไซด์

A Study on the Potential of Electricity Generation from Cassava Rhizome in Eastern Region Area of
Thailand, 2563
งานวิจยั นีน้ าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาคุณภาพและความเหมาะสมของการประมวลผลและปรับปรุง
คุณภาพชีวมวลเสียจากการปลูกมันสาปะหลังในภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยใช้ขอ้ มูลจากฐานข้อมูลการ
ใช้ประโยชน์ท่ดี ิน และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ พร้อมทัง้ การศึกษาคุณภาพทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมี
ของเหง้ามันสาปะหลังจากการวิเคราะห์ตัวอย่างในห้องปฏิบตั ิการ ผลการศึกษาพบว่าพืน้ ที่ภาคตะวันออกของ
ประเทศไทยมีขนาดใหญ่ท่ีสดุ ในการปลูกมันสาปะหลัง และมีอตั ราส่วนของเหง้ามันสาปะหลังที่ซากพืชผลเท่ากับ
0.112 โดยมี ปริม าณคงเหลื อ รวมทั้ง หมดประมาณ 636,003.35 ตัน ต่อปี โดยมี พ ลัง งานเทียบเท่ า ประมาณ

19
1,113.01 GJ หรือ 26.58 ktoe สามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 61.8 GWh หรือใช้เพื่อการผลิตไฟฟ้าโดยโรงไฟฟ้า
ที่มีกาลังการผลิตรวม 8.8 MW
ผลลัพธ์ท่ีได้จากงานวิจัยนี ้สามารถนามาใช้ในการวิเคราะห์วัตถุดิบเหง้ามันสาปะหลังได้คือ 1. ข้อมูล
เกี่ยวกับปริมาณและคุณภาพของเหง้ามันสาปะหลังที่สามารถใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตก๊าซชีวภาพหรือเชือ้ เพลิง
ที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2. ข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานที่สามารถผลิตได้จากเหง้ามันสาปะหลัง ที่สามารถใช้ใน
การประเมินศักยภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้า และ 3. ข้อมูลทางเคมีและกายภาพของเหง้ามันสาปะหลัง ที่
สามารถใช้ในการปรับปรุงกระบวนการการผลิตหรือการใช้งานให้มีประสิทธิภาพมากขึน้ ดังนัน้ ข้อมูลและข้อสรุป
จากงานวิจัยนีเ้ ป็ นประโยชน์อย่างมากในการวิเคราะห์และวางแผนการใช้เหง้ามันสาปะหลังเพื่อผลิตพลังงาน
ไฟฟ้าในอนาคต

REVIEW OF THE POTENTIAL FOR CO-FIRING OF CASSAVA RHIZOME FOR GENERATING HEAT
AND POWER IN CASSAVA BASED BIO-ETHANOL PLANT IN THAILAND, 2556
Natikorn Prakobboon และ Maria Vahdati ได้ศึกษาศักยภาพในการเผาร่วมของเหง้ามันสาปะหลังเพื่อ
ผลิตความร้อนและพลังงานในโรงงานไบโอเอทานอลจากมันสาปะหลังในประเทศไทย อุตสาหกรรมไบโอเอธานอล
ในประเทศไทยได้เติบโตอย่างรวดเร็วในช่วงสิบปี ท่ีผ่านมา และมีการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลในปริมาณไม่มากนักเพื่อ
การผลิตไฟฟ้าและไอนา้ ณ ปัจจุบนั มีโรงงานผลิตเอทานอลจากมันสาปะหลังจานวน 4 แห่งในประเทศไทย และมี
แผนที่จะเพิ่มโรงงานเหล่านีอ้ ีกประมาณ 20 แห่งในอนาคต ในขณะเดียวกันเหง้ามันสาปะหลังเป็ นเชือ้ เพลิงชีวมวล
ที่สาคัญสาหรับพืชเหล่านี ้ ซึ่งการใช้เหง้ามันสาปะหลังและถ่านหินอาจเป็ นทางเลือกที่ดีในการลดต้นทุนเชือ้ เพลิง
และปั ญหาของเสียในฟาร์ม รวมทัง้ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสาหรับโรงงานผลิตเอธานอลชีวภาพจากมัน
สาปะหลัง
เทคโนโลยีแกนเชื่อมโยงชีวมวลพร้อมระบบความร้อนและพลังงานร่วมเป็ นวิธีการที่มีศกั ยภาพสาหรับการ
แก้ปัญหาดังกล่าวในโรงงานผลิตเอธานอลชีวภาพจากมันสาปะหลังในประเทศไทย การประสบความสาเร็จของวง
แหวนดังกล่าวจะขึน้ อยู่กบั ปั จจัยหลายประการ เช่น ลักษณะของเชือ้ เพลิง ราคาเชือ้ เพลิง ความพร้อมของสารชีว
มวลที่ตกค้าง ตลาดพลังงานหมุนเวียน และนโยบายของรัฐบาล

การศึกษาต้นทนทางเศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้ าชีวมวลขนาดเล็กสาหรับชุมชน, 2551


วีรชัย อาจหาญ และ คณะ ได้ทาการศึกษามุ่งหาวิเคราะห์ตน้ ทุนการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาด
เล็ กที่ใช้ไ ม้โตเร็วเป็ นเชื อ้ เพลิ ง ส าหรับชุม ชนขนาด 100 kW พบว่าต้นทุนส่วนใหญ่ (70-80%) เกิดจากต้นทุน
เชือ้ เพลิงชีวมวล ซึ่งรวมถึงค่าใช้จ่ายในการเตรียมเชือ้ เพลิงด้วย การผลิตไฟฟ้าจากไม้โตเร็วมีตน้ ทุนการผลิตไฟฟ้า
ประมาณ 3.27 บาท/kWh โดยการน าผลกระทบทั้ง หมดมาวิ เ คราะห์เ พื่ อ หาผลกระทบภายนอกและท าการ
วิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ พบว่าในกรณีของโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดกาลังการผลิต 1,200 kW จะเกิดผลกระทบ

20
ภายนอกที่มีมูลค่ามากกว่า 100 ล้านบาทต่อปี การพิจารณาต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการนีแ้ ละการ
วิเคราะห์ความเป็ นไปได้ของการลงทุน พบว่าจาเป็ นต้องเพิ่มการสนับสนุนจากรัฐบาลเพื่อให้โครงการดาเนินการ
และมีผลตอบแทนที่คมุ้ ค่า โดยมีระยะเวลาคืนทุนภายใน 7 ปี การเพิ่มอัตราการสนับสนุนจาก 0.294 บาท/kWh
เป็ น 0.65 - 3.00 บาท/kWh ส่งผลให้เกิดผลกระทบบวกต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมของชุมชน ในกรณีท่ีเกิดการ
เปลี่ยนแปลงไม่ดีมากที่สดุ ดังนัน้ การเพิ่มเงินสนับสนุนจากรัฐบาลให้กบั โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยโรงไฟฟ้า
ชีวมวลขนาดเล็กจะมีผลต่อผลกระทบที่เกิดขึน้ ในด้านบวกต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวมของชุมชน โดยมีค่า external
cost อยู่ในช่วง 10.47 - 11.87 บาท/kWh ในกรณีท่เี กิดการเปลี่ยนแปลงไม่ดีมากที่สดุ

การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ, 2554


นางสาวกิตติญา กฤติยรังสิต ได้ทาการประเมินต้นทุนและผลตอบแทนของการนาพืชผลทางเกษตรมา
ผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อนาไปผลิตพลังงานไฟฟ้าขนาด 100 ถึง 1,000 กิโลวัตต์ และสรุปได้ว่าโรงไฟฟ้าแต่ละขนาด
200 กิโลวัตต์ มีความคุมท้ นุ ที่อตั ราการให้ก๊าซมีเทน 0.4 - 0.6 ลบ.ม.CH4 / กก.และมีค่าใช้จ่ายการจัดซือ้ วัตถุดิบ
ไม่เกิน 0.2 บาท / กก. ในขณะที่กาลังการผลิต 500 กิโลวัตต์ มีความคุม้ ทุนที่อตั ราการให้ก๊าซมีเทน 0.1 - 0.6 ลบ.
ม.CH4 / กก. และค่าใช้จ่ายการจัดซือ้ วัตถุดิบไม่เกิน 0.5 บาท / กก. และที่กาลังการผลิต 1,000 กิโลวัตต์ มีความ
คุม้ ทุนที่อตั ราการให้ก๊าซมีเทน 0.1 - 0.6 ลบ.ม.CH4 / กก. และมีค่าใช้จ่ายการจัดซือ้ วัตถุดิบไม่เกิน 0.6 บาท / กก.

21
3) เครื่องมือที่ใช้ในการทาโครงงาน
โปรแกรม Aspen Plus

การศึกษาครัง้ นีม้ ่งุ เน้นการใช้โปรแกรม Aspen Plus เพื่อออกแบบและวิเคราะห์โมเดลทางวิศวกรรมเคมี


ของระบบโรงไฟฟ้า โดยมุ่งเน้นศึกษาและวิเคราะห์ตวั แปรต่างๆ ที่มีผลต่อผลผลิตของระบบโรงไฟฟ้า เช่น ความชืน้
อุณหภูมิ หรือตัวแปรทางวิศวกรรมเคมีอ่นื ๆ โดยที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้เข้าใจและพัฒนาโมเดลของระบบโรงไฟฟ้า
ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสูง ขึน้ โดยใช้โ ปรแกรม Aspen Plus เพื่ อ ศึก ษาการผสมผสานระบบโครงสร้า งหลัก ๆ ของ
เครื่องยนต์กัง หันก๊ าซในรู ปแบบของระบบ Rankine Cycle และเครื่องกัง หันนา้ ในรู ปแบบของระบบ Brayton
Cycle เพื่อให้ได้กาลังไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพและตอบสนองต่อความต้องการของตลาดอย่างเหมาะสม
การใช้โปรแกรม Aspen Plus ในการออกแบบและวิเคราะห์โรงไฟฟ้าช่วยให้เราสามารถหาค่ากาลังไฟฟ้า
ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดและลดค่าใช้จ่ายในการผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้ นอกจากนี ้ ผลลัพธ์ท่ไี ด้
จากโปรแกรม Aspen Plus ยังสามารถนาไปใช้ในการคานวณหารายได้ในการขายไฟฟ้า รวมถึงต้นทุนไฟฟ้าต่อ
หน่วย ซึ่งช่วยให้เราสามารถออกแบบโครงสร้างทางการเงินให้มีประสิทธิผลสูง สุดและมี ความยืดหยุ่นในการ
ปรับเปลี่ยนตามเงื่อนไขของตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็ นการพัฒนาระบบโรงไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพและ
ยั่งยืนในระยะยาว
โปรแกรม Microsoft Excel

การคานวณและวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณเป็ นขั้นตอนสาคัญที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ในกระบวนการวิจัย ใน


งานวิจยั นี ้ ผูว้ ิจยั ใช้โปรแกรม Microsoft Excel เป็ นเครื่องมือหลักในการทาคานวณและวิเคราะห์ขอ้ มูลที่เกี่ยวข้อง
กับด้านวิศวกรรมและการเงิน เพื่อประเมินโครงสร้างต้นทุนและรายได้ของโครงการ เพื่อให้เกิดการตัดสินใจทาง
การเงินอย่างมีประสิทธิภาพ
ในขัน้ ตอนแรก ผูว้ ิจยั ใช้ Microsoft Excel เพื่อคานวณและวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยใช้สตู รทางคณิตศาสตร์และฟั งก์ชนั
ทางสถิติ เพื่อประมวลผลข้อมูลเพื่อหาค่าต่างๆ ที่สาคัญ เช่น ต้นทุนโครงการ และรายได้ท่ีคาดว่าจะได้รบั ใน
ขัน้ ตอนถัดไป ผูว้ ิจัยนาข้อมูลที่ได้มาสร้างกราฟและชาร์ต เพื่อเปรียบเทียบและวิเคราะห์ขอ้ มูล ซึ่ งช่วยให้เข้าใจ
ข้อมูลอย่างชัดเจนมากยิ่งขึน้ ผลลัพธ์ท่ีได้มาจากการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วย Microsoft Excel มีความแม่นยาและ
เชื่อถือได้ ผูว้ ิจยั สามารถใช้ขอ้ มูลเหล่านีใ้ นการตัดสินใจทางวิศวกรรมและการเงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ Microsoft Excel เป็ นเครื่องมือหลักในการคานวณและวิเคราะห์ขอ้ มูลเป็ นการสนับสนุนที่ดีในการตัดสินใจ
ทางวิศวกรรมและการเงินในโครงการต่างๆ และช่วยเพิ่มความเชื่อถือและความถูกต้องในการวิเคราะห์ขอ้ มูลอย่าง
มีประสิทธิภาพ

22
4) วิธีการดาเนินโครงงาน

โครงงานเรื่อง การศึกษาทางวิศวกรรมและการเงินเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าด้วยกังหันแอโรเดริเวทีฟโดยใช้
ก๊าซชีวภาพ มีแผนการดาเนินงานดังต่อไปนี ้

ศึกษาข้อมูลเพื่อทาความเข้าใจภาพรวม

ศึกษาทฤษฎีเชิงการเงินเพื่อ ศึกษาคู่มือการใช้งาน Aspen ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับก๊าซชีวภาพ


ออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้า Plus

กาหนดตัวแปรที่เกี่ยวข้อง

สร้างแบบจาลองทางวิศวกรรม
N
o

ประเมินผลลัพธ์
ออกแบบโครงสร้างระบบ
ออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้า ผลิตก๊าซชีวภาพ
Yes

วิเคราะห์ผลลัพธ์เชิงวิศวกรรม วิเคราะห์ผลลัพธ์เชิงการเงิน

สรุ ปผลการดาเนินการ

จัดทารู ปเล่มรายงาน

รู ปที่ 7 แผนผังการดาเนินงานของโครงงาน

23
ตารางที่ 1 ชาร์ตการดาเนินงาน (GANTT CHART)

พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567


การดาเนินงาน
ก.ค ส.ค ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
ขั้นตอนการเตรียมโครงงาน
ศึกษาทฤษฎีเชิงการเงินเพื่อออกแบบ
โครงสร้างโรงไฟฟ้า
ศึกษาคู่มือการใช้งาน Aspen Plus
ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับก๊าซชีวภาพ
ขั้นตอนการดาเนินโครงงาน
กาหนดตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
สร้างแบบจาลองทางวิศวกรรม
ประเมินผลลัพธ์
ออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้า
ออกแบบโครงสร้างระบบผลิต
ก๊าซชีวภาพ
วิเคราะห์ผลลัพธ์เชิงวิศวกรรม
วิเคราะห์ผลลัพธ์เชิงการเงิน
สรุปผลการดาเนินการ
จัดทารูปเล่มรายงาน

ศึกษาข้อมูลเพื่อทาความเข้าใจภาพรวม

งานวิจยั นีป้ ระกอบไปด้วยหลายทฤษฎีท่ีเป็ นทัง้ เชิงเทคนิคและเชิงการเงิน เนื่องจากฉะนัน้ การศึกษาข้อมูลแต่ละ


ส่วนอย่างถี่ถว้ นเป็ นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง โดยที่จุดประสงค์หลักของการศึกษาครัง้ นีค้ ือการรวบรวมและนาความรู ใ้ น
แต่ละองค์ประกอบมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์สุดท้ายที่มีคุณ ภาพ โดยที่การศึกษาครัง้ นีจ้ ะแบ่งออกเป็ น 3 ส่วนหลักๆ
ได้แก่ การศึกษาทฤษฎีเชิงการเงินเพื่อออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้า การศึกษาคู่มือการใช้งาน Aspen Plus และ
การศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับก๊าซชีวภาพ

24
ศึกษาทฤษฎีเชิงการเงินเพื่อออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้ า

การศึกษาทฤษฎีเชิงการเงินเพื่อออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้ามีความสาคัญสาคัญอย่างยิ่งในกระบวนการวิจยั ที่
เป็ นมากมาย โดยเฉพาะเมื่อเกี่ยวข้องกับการประเมินต้นทุนและรายได้ท่ีมาจากการขายพลังงานไฟฟ้า โดยที่
เป้าหมายสุดท้ายของโครงการนีค้ ือการขายพลัง งานไฟฟ้าให้กับ สนามบิน อู่ตะเภา เพื่อให้เกิดผลลัพ ธ์ท่ีเป็ น
ประโยชน์ต่อภาพลักษณ์ของประเทศ
การศึกษานีจ้ ะรวบรวมข้อมูลจากการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมทัง้ ในประเทศไทยและ
ต่างประเทศ เพื่อศึกษาราคาและโครงสร้างทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับฐานรายได้ของประเทศไทย นอกจากนีย้ ังมี
การศึกษาโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมที่จะช่วยให้เราเข้าใจส่วนประกอบที่สาคัญในการสร้างโรงไฟฟ้า ที่มี
คุณ ภาพ ซึ่ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ค วามส าคัญ และมี ค วามจ าเป็ น ในประเทศไทย เนื่ อ งจากมี ก ารน าเข้า มาจาก
ต่างประเทศโดยหน่วยงานต่างๆ ดังนัน้ การศึกษาข้อมูลจากทัง้ สองส่วนนีเ้ ป็ นสิ่งจาเป็ นอย่างยิ่ง การวิเคราะห์ตัว
แปรที่เกี่ยวข้องในการคานวณด้านการเงิน เช่น อัตราเงินเฟ้อ มูลค่าปัจจุบนั สุทธิ(Net Present Value) อัตราผลการ
ตอบแทน (Interest of Return) และตัวแปรอื่นๆ เป็ นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งในการตัดสินใจของนักลงทุน ดังนัน้ เป็ น
สิ่งจาเป็ นที่จะคานวณข้อมูลให้เป็ นไปตามความเป็ นจริงเพื่อช่วยให้ผลู้ งทุนสามารถตัดสินใจในการลงทุนโรงไฟฟ้า
พลังความร้อนร่วมได้อย่างเชื่อถือได้

ศึกษาคู่มือการใช้งาน Aspen Plus

เริ่มต้นด้วยการศึกษาวิธีการใช้งาน Aspen Plus ผ่านสื่อการสอนทางอินเทอร์เน็ตที่เชื่อถือได้ เช่น งาน


เขียนและวิดีโอที่พบจากต่างประเทศ ต่อมาเราได้คน้ หาตัวอย่างการใช้ซอฟท์แวร์ในการจาลองกระบวนการทางาน
ของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม เพื่อเพิ่มความเข้าใจในการใช้งานและการประยุกต์ใช้ จากนัน้ เราได้ปรึกษา
สอบถาม และสังเกตการใช้งานซอฟท์แวร์กบั ผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีความรูใ้ นแวดวงของซอฟท์แวร์ Aspen Plus ที่มาจาก
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เมื่อมีความรูแ้ ละความเข้าใจในการใช้งานซอฟท์แวร์แล้ว เรานาไปใช้ในการสร้างแบบจาลองกระบวนการ
ผลิตกระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมขนาด 80 เมกะวัตต์ ซึ่งเป็ นเป้าหมายของงานวิจยั ในขัน้ ตอน
นีย้ ังมีการปรึกษาและแก้ไขปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึน้ ในการสร้างแบบจาลอง โดยการเรียนรู แ้ ละปรับปรุ งตามความ
ต้องการและความเหมาะสมของโปรเจค

25
ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับก๊าซชีวภาพ

การผลิตก๊าซชี วภาพจากสารชี วมวลหรือวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็ นกระบวนการที่มี ความซับซ้อนและมี


ขัน้ ตอนหลายขัน้ ตอน เพื่อให้เกิดก๊าซชีวภาพที่มีคณุ ภาพสูงพอสมควรสาหรับการผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น 80 เม
กะวัตต์ ต่อหนึ่งโรงไฟฟ้า
ขัน้ ตอนแรกของการผลิตก๊าซชีวภาพเริ่มจากการนาสารชีวมวลมาปรับสภาพแล้วไปหมักในถังหมัก นา้ เสียที่ได้จาก
การหมักเข้าไปยังระบบ Upflow Anaerobic Sludge Blanket (UASB) ระบบยูเอเอสบี เป็ นระบบที่มีการป้อนนา้
เสียเข้าระบบจากด้านล่างของถังปฏิกรณ์ขึน้ สู่ดา้ นบน (Up-flow Feeding) โดยหัวใจสาคัญของระบบยูเอเอสบีอ
ย่างหนึ่งคือ เม็ดตะกอนจุลินทรียใ์ นระบบที่เจริญเติบโตอยู่ในลักษณะเเขวนลอย ซึ่งอาศัยการยึดเกาะกันเองของ
จุลินทรียจ์ ากคุณสมบัติและลักษณะการทางานของถังยูเอเอสบี ทาให้สามารถแบ่งส่วนประกอบภายในถังยูเอเอส
บีได้เป็ น 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็ นถังปฏิกิริยาพร้อมด้วยระบบกระจายนา้ เสียซึ่งจะอยู่ทางด้านล่างของถังและส่วน
ตกตะกอนและแยกก๊าซบริเวณด้านบน โดยมีกลไกและลักษณะการทางานของส่วนต่าง ๆ

รู ปที่ 8 สมการการคานวณปริมาณของมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้สมการดังนี ้

4𝑎 − 𝑏 − 2𝑐 + 3𝑑
𝐶𝑎 𝐻𝑏 𝑂𝑐 𝑁𝑑 + (( )) 𝐻2 𝑂
4
4𝑎 + 𝑏 − 2𝑐 − 3𝑑 4𝑎 − 𝑏 + 𝑐 + 3𝑑
→ (( )) 𝐶𝐻4 + (( )) 𝐶𝑂2
8 8
+ 𝑑𝑁𝐻3 (1)

ตารางที่ 2 การหาสูตรสารประกอบของเหง้ามันสาปะหลัง

ธาตุ เหง้ามันสาปะหลัง
ร้อยละ โมล
C 46.12 3.84 (46.12/12)
H 7.50 7.50 (7.5/1)
O 54.83 3.37 (54.16)
N 1.13 0.0807 (1.13/14)
ที่มา: ศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยไบโอแก๊สที่ผลิตจากเศษวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร, 2555

26
ตารางที่ 3 องค์ประกอบของแก๊สผสมของพืชแต่ละชนิด (ร้อยละ)

ชนิดชีวมวล 𝐶𝐻4 𝐶𝑂2 𝑁𝐻3


เหง้ามันสาปะหลัง 56.716 40.978 2.306

ปริมาณ 𝐶𝐻4 𝐶𝑂2 และ 𝑁𝐻3 จากเหง้ามันสาปะหลัง ที่ได้จากการคานวณจากสมการที่ (1) โดย


องค์ประกอบของแก๊สผสมของเหง้ามันสาปะหลังมาค่า 56.716% 40.978% และ 2.306% ตามลาดับ

ตารางที่ 4 ปริมาณแก๊สชีวภาพที่ผลิตได้จากเศษวัสดุเหลือใช้ท่เี กิดขึน้ จากเหง้ามันสาปะหลัง

ชนิดชีวมวล ปริมาณแก๊สที่เกิด (ลบ.ม/ตันเหง้ามัน) การผลิตไฟฟ้า (กิโลวัตต์/ตัน)


เหง้ามันสาปะหลัง 164 196.8

จากการประเมินปริมาณแก๊สชีวภาพที่ผลิตได้จากเศษวัสดุเหลือใช้ท่ีเกิดขึน้ จากเหง้ามันสาปะหลัง ได้แก่


164 ลบ.ม/ตันเหง้ามัน และแก๊สชีวภาพมีมีเทนร้อยละ 60 โดยการผลิตไฟฟ้า 196.8 กิโลวัตต์/ตัน
ที่มา: ศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยไบโอแก๊สที่ผลิตจากเศษวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร, 2555
หมายเหตุ: การผลิตไฟฟ้า = [ปริมาณแก๊สชีวภาพที่เกิด ลบ.ม.X 1.200 กิโลวัตต์]

27
ตารางที่ 5 การประเมินปริมาณเศษวัสดุเหลือใช้จากเหง้าและต้นมันสาปะหลัง

ชนิดชีวมวล ผลผลิตต่อไร่ (ตัน) เศษวัสดุเหลือใช้ ปริมาณการใช้สารชีวมวลในการ พท.การผลิตเศษ


(ตัน/ไร่/ปี ) ผลิตไฟฟ้า 80 MW (ตัน/ปี ) วัสดุเหลือใช้ (ไร่)
เหง้ามัน 2.972 0. 559 3,356,097.561 6,003,752.345
สาปะหลัง

การประเมินปริมาณเศษวัสดุเหลือใช้จากเหง้าและต้นมันสาปะหลัง จากสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
พบว่ามันสาปะหลังมีผลผลิตต่อไร่เท่ากับ 2.972 ตัน และมีเศษวัสดุเหลือใช้ต่อไร 0.559 ตันต่อปี เมื่อต้องการนาไป
ผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพจะได้ว่า ปริมาณการใช้สารชีวมวลเท่ากับ 3,356,097.561ตัน/ปี และที่มีพนื ้ ที่ท่ใี ช้ในการ
เพาะปลูกเท่ากับ 6,003,752.345 ไร่ จากปริมาณแก๊สที่เกิด และปริมาณการใช้สารชีวมวลในการผลิตไฟฟ้า 80 เม
กะวัตต์ พบว่า ปริม าณก๊ า ซชี วภาพที่ใช้เ ท่ ากับ 528,000,000 ลบ.ม/ปี จากพืน้ ที่ ปลูก มันส าปะหลัง ทั้ง หมดใน
ประเทศไทยปี 2565 จานวน 10,861,975 ไร่ โดยแบ่งเป็ นภาคเหนือ 2,832,129 ไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
5,884,274 ไร่ ภาคกลาง 2,145,572 ไร่ จังหวัดที่จานวนพืน้ ที่ท่ีมีการเพาะปลูกมันสาปะหลังมากที่สดุ ได้แก่จงั หวัด
นครราชสีมาจานวน 1,481,929 ไร่ และมีผลผลิตทัง้ หมด 34,068,005 ตัน โดยภาคเหนือมีผลผลิต 8,510,509 ตัน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18,687,677 ตัน และภาคกลาง 6,869,819 ตัน ดังนัน้ เศษวัสดุเหลือใช้จากมันสาปะหลัง
ทัง้ หมดมีจานวนเท่ากับ 6,407,811.169 ตัน จะสังเกตได้ว่าเศษวัสดุเหลือใช้จากมันสาปะหลังมีจานวนที่เพียงพอ
ต่อการนาไปใช้ผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อผลิตไฟฟ้า 80 เมกะวัตต์
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยไบโอแก๊สที่ผลิตจากเศษวัสดุเหลือทิง้ ทาง
การเกษตร, 2555
หมายเหตุ: พืน้ ที่การผลิ ตเศษวัส ดุเ หลือใช้ส าหรับผลิตไฟฟ้าจากแก๊ สชี วภาพขนาด 80 เมกะวัตต์= 80 x
[{[ชั่วโมงการทางาน x จานวนวันทางาน x1000 ]/[1.2 กิโลวัตต์-ชั่วโมง]}/ปริมาณก๊าซที่เกิด ลบ.
ม./ตัน] / [เศษวัสดุเหลือ ใช้ ตัน/ไร่/ปี ]ชั่วโมงการทางาน = 24 ชั่วโมง
จานวนวันทางาน = 344 วัน
ปริ ม าณการใช้ส ารชี ว มวล = 80 x [{[ชั่ ว โมงการท างาน x จ านวนวั น ท างาน x1000 ]/[1.2
กิโลวัตต์-ชั่วโมง]}/[ปริมาณแก๊สที่เกิด]

ตารางที่ 6 ปริมาตรของก๊าซชีวภาพที่ใช้ต่อปี

28
ชนิดชีวมวล ปริมาณการใช้สารชีวมวล ปริมาณแก๊สที่เกิด ปริมาณการใช้ ปริมาณการใช้ก๊าซ
ในการผลิตไฟฟ้า 80 MW (ลบ.ม/ตันเหง้ามัน) ก๊าซชีวภาพต่อ ชีวภาพต่อปี (ลบ.ม)
(ตัน/ปี ) วัน (ลบ.ม)
เหง้ามัน 3,356,097.561 164 1,600,000 550,400,000
สาปะหลัง

การประเมินหารปริมาณสารชีวภาพที่ใช้ต่อวันเท่ากับ 1,600,000 ลบ.ม ต่อวัน ซึ่งจานวนวันที่ทางานต่อปี


เท่ากับ 344 วัน ดังนัน้ จะได้จานวนปริมาณการใช้สารชีวมวลต่อวันเท่ากับ 550,400,000 ลบ.ม ต่อปี
ที่มา: ศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยไบโอแก๊สที่ผลิตจากเศษวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร, 2555
หมายเหตุ: ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ใช้ต่อปี = [ปริมาณการใช้สารชีวมวลในการผลิตไฟฟ้า 80 MW] x [ปริมาณ
แก๊สที่เกิด]
ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ใช้ต่อวัน = [ปริมาณการใช้สารชีวมวลในการผลิตไฟฟ้า 80 MW] x
[ปริมาณแก๊สที่เกิด]/[จานวนวัน]

กาหนดตัวแปรทีเ่ กี่ยวข้อง (เหนือ, Supra)

ในการศึกษาตัวแปรที่มาใช้ในการวิเคราะห์แบบจาลองทางวิศวกรรมของเครื่องยนต์กงั หันก๊าซแอโรเดริเวทีฟ GE
LM 6000 PC จาเป็ นต้องกาหนดตัวแปรที่จะทาการทดลอง โดยได้สรุปไว้ในตารางที่ 7 ดังนี ้

ตารางที่ 7 เปรียบเทียบตัวแปรจากงานวิจยั

งานวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม


Thermodynamic ค่าอุณหภูมิ ความดัน ค่าพลังงานที่ผลิตได้ Compression ratio,
Analysis of Gas และ อัตราการสิน้ เปลืองเชือ้ เพลิง Compressor isentropic
Turbine Systems อุณหภูมิของเชือ้ เพลิง ค่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนได efficiency, Turbine
Fueled by a CH4/H2 ออกไซด์ isentropic, Combustion
Mixture chamber efficiency, and fuel
inlet pressure
ค่าคุณสมบัติของเครื่องยนต์
ตารางสภาพอากาศ ค่าอุณหภูมิ ความดัน ค่าพลังงานที่ผลิตได้ -
จังหวัด ระยอง ย้อนหลัง และความชืน้ อัตราการสิน้ เปลืองเชือ้ เพลิง ค่าคุณสมบัติของเครื่องยนต์
ของบรรยากาศ

29
3 ปี โดยเว็บไซต์ ค่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนได
Wunderground.com ออกไซด์

Potentials Study of ส่วนประกอบโครงสร้าง ค่าพลังงานที่ผลิตได้ Productivity per Rai,


Electricity Generation ทางโมเลกุลของเหง้ามัน อัตราการสิน้ เปลืองเชือ้ เพลิง Cassava rhizome
with Biogas from สาปะหลัง ค่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนได productivity
agricultural wastes ออกไซด์

Northeastern Tapioca ราคาในการขนส่งเหง้ามัน โครงสร้างต้นทุน Distance and amount of


Trade Association สาปะหลัง และราคาใน biomass used
การกักเก็บเหง้ามัน
สาปะหลัง
Office of Agricultural พืน้ ที่ท่ใี ช้การปลูกมัน โครงสร้างต้นทุน -
Economics, 2565 ปริมาณผลผลิตที่ได้ต่อไร่

สร้างแบบจาลองทางวิศวกรรม

การสร้างโรงไฟฟ้าพลัง ความร้อนร่วมขนาดใหญ่ เพื่อให้ไ ด้ผลผลิต ที่มี ประสิทธิ ภ าพสูง นั้น เริ่ม ต้นจากการใช้
แบบจาลองทางวิศวกรรมที่ถกู พัฒนาขึน้ มาจากแผนภูมิของเครื่องยนต์กงั หันก๊าซและเครื่องกังหันนา้ โดยมีรูปแบบ
ของระบบ Rankine Cycle และ Brayton Cycle ตามลาดับ เพื่อนามาสร้างโรงไฟฟ้าแบบ Combined Cycle ที่มี
ประสิทธิภาพสูง การจาลองทัง้ หมดจึงถูกดาเนินการในรู ปแบบของโรงไฟฟ้านีโ้ ดยใช้โปรแกรม Aspen Plus เป็ น
เครื่องมือที่สาคัญในการสร้างแบบจาลองทางวิศวกรรมให้เป็ นจริง แบบจาลองทางวิศวกรรมดังกล่าวประกอบด้วย
ส่วนประกอบหลายชิน้ ที่มีความสาคัญต่อการทางานของโรงไฟฟ้า ซึ่งได้แก่
1. เครื่องยนต์กังหันก๊าซ รุ่น GE LM-6000 จานวนสองเครื่อง ประกอบด้วย ชุดคอมเพรสเซอร์ ห้องเผา
ไหม้ ชุดกังหันก๊าซ (เทอร์ไบน์)
2. ชุดกังหันไอนา้
3. ปั๊มเชือ้ เพลิง
4. อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน
การสร้างแบบจาลองทางวิศวกรรมที่ครบถ้วนและแม่นยาเป็ นสิ่งที่จาเป็ นเพื่อให้การดาเนินงานของโรงไฟฟ้า
สามารถทาได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ดังนัน้ การพัฒนาและจาลองด้วยโปรแกรมชัน้ นาเช่น Aspen

30
Plus เป็ นเครื่องมือที่สาคัญที่ช่วยให้ผวู้ ิเคราะห์และวิศวกรสามารถสร้างแบบจาลองที่มีความแม่นยาและเชื่อถือได้
เพื่อให้การวิเคราะห์และการวางแผนด้านวิศวกรรมของโรงไฟฟ้ามีความเป็ นไปตามเป้าหมายอย่างแท้จริง
ออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้ า

รายงานนี ้มุ่ง เน้น ไปที่ ก ารออกแบบโรงไฟฟ้ า พลัง ความร้อ นร่ ว ม (CHP) ขนาด 80 เมกะวัต ต์ ซึ่ง ใช้
เครื่องยนต์ กัง หันก๊ าซ Aeroderivative GE LM6000 PC ผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิง ก๊ าซชี วภาพอันเป็ นพลังงาน
หมุนเวียน โครงการนีม้ ่งุ หวังตอบสนองความต้องการด้านพลังงานไฟฟ้าของสนามบินอู่ตะเภา ส่วนประกอบหลัก
โรงไฟฟ้า CHP ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3 ประการดังนี ้ 1. เครื่องยนต์กังหันก๊าซ GE LM6000 PC: ทา
หน้าที่เผาไหม้เชือ้ เพลิงก๊าซชีวภาพเพื่อผลิตก๊าซร้อน หม้อนา้ (HSRG: Heat Steam Recovery System): ก๊าซร้อน
จากเครื่องยนต์กังหันก๊าซจะถูกนามาใช้ตม้ นา้ กลายเป็ นไอนา้ แรงดันสูง กังหันไอนา้ (Steam Turbine): ไอนา้
แรงดันสูง จากหม้อ น ้าจะหมุน กัง หันไอนา้ เพื่ อผลิ ตไฟฟ้า 2. โครงสร้างอื่ นๆ ในโรงไฟฟ้า ( Balance of Plant)
นอกเหนือจากส่วนประกอบหลักแล้ว โรงไฟฟ้า CHP ยังประกอบด้วยระบบอื่นๆ ดังนี ้ ระบบบาบัดนา้ (Water
Treatment): เตรียมนา้ สาหรับใช้ในหม้อนา้ ระบบหล่อเย็น (Cooling Water): ระบายความร้อนจากอุปกรณ์ต่างๆ
ในโรงไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า (Electrical Equipment): ควบคุมและจ่ายไฟฟ้า
ในการออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมนีส้ ามารถแบ่งออกเป็ น 3 ขึน้ ตอนหลักๆ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อนาไฟฟ้าที่ผลิตได้ไปสร้างเป็ นรายได้
1. รวบรวมข้อมูลที่ศึกษาจากงานวิจยั และรายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของโรงไฟฟ้าพลังงานความ
ร้อน
ร่วม มาใช้ในการออกแบบเพื่อเลือก ส่วนประกอบของโรงไฟฟ้าที่เหมาะสมกับขนาด 80 เมกะวัตต์
2. เลือกส่วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมที่สามารถทางานร่วมกันโดยที่ใช้เครื่องยนต์กงั หัน
ก๊าซ GE LM 6000PC เป็ นตัวในการขับเคลื่อนพลังงานไฟฟ้า
แหล่งอ้างอิง การออกแบบโครงสร้างโรงไฟฟ้า CHP นี ้ อ้างอิงจากงานวิจัยการประเมินราคาต้นทุนของ
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน โดย Bechtel Power Corporation บริษัทลงทุนในอุตสาหกรรมโรงไฟฟ้าจากเมือง
San Francisco รัฐ California ประเทศอเมริกา การออกแบบนีจ้ ะถูกนาไปใช้ในการวิเคราะห์ตัวแปรทางการเงิน
โดยอ้างอิงจากงานวิจัยเดียวกัน และรายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของระบบผลิตก๊าซชีวภาพที่จัดทาโดย
บริษัทโนเบิล้ พร็อพเพอร์ตี ้ แวลูเ อชั่น จ ากัด ได้รับความไว้วางใจจากธนาคารกรุ ง ไทย ได้ถูกนามาใช้ในการ
ออกแบบโรงไฟฟ้าเช่นกัน
ออกแบบโครงสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพ

ในการออกแบบโครงสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพ สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ขัน้ ตอนดังนี ้ โดยที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อนา


เชือ้ เพลิงที่ผลิตได้ไปใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า
1. หาปริมาณก๊าซชีวภาพที่ใช้สาหรับผลิตไฟฟ้าขนาด 80 เมกะวัตต์

31
2. หาปริมาณถังหมักและถังเก็บแก๊ส
3. เลือกแบบถึงและหาปริมาตรถัง
การออกแบบโครงสร้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าในงานวิจยั นีไ้ ด้ อา้ งอิงจากงานวิจยั
ของ กิตติญา กฤติยรังสิต ซึ่งได้ศึกษาและวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพอย่างละเอียด
และนาเสนอข้อมูลที่มีประโยชน์เกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของระบบผลิตก๊าซชีวภาพ
ในรายงานของบริษัทโนเบิล้ พร้อมเพอร์ตี ้ แวลูเอชั่น จากัด รายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของระบบ
ผลิตก๊าซชีวภาพที่จดั ทาโดยบริษัทโนเบิล้ พร้อมเพอร์ตี ้ แวลูเอชั่น จากัด ได้รบั ความไว้วางใจจากธนาคารกรุงไทย
และได้ให้ขอ้ มูลสาคัญเกี่ยวกับการประเมิน ราคาทรัพย์สิน อย่างเป็ นรายละเอียด ซึ่งเป็ นข้อมูลที่สาคัญในการ
พิจารณาและตัดสินใจในการลงทุนในโครงการผลิตก๊าซชีวภาพ การนาเสนอข้อมูลจากงานวิจัยและรายงานการ
ประเมินมูลค่าทรัพย์สินเหล่านีจ้ ะเป็ นประโยชน์อย่างมากในการออกแบบและวางแผนโครงสร้างระบบผลิตก๊าซ
ชีวภาพที่มีประสิทธิภาพและมีความคุม้ ค่าทางเศรษฐกิจ

วิเคราะห์ผลลัพธ์การดาเนินการ

การวิเคราะห์ผลลัพ ธ์ผูว้ ิจัยได้แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทได้แก่การวิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรม และการวิเคราะห์


ทางด้านการเงินที่ประกอบไปด้วยต้นทุนของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมและระบบผลิตก๊าซชีวภาพและรายได้
จากโรงไฟฟ้า

จากการใช้แบบจาลองทางวิศวกรรม ได้ผลลัพธ์จากการทดลองดังนี้

การวิเคราะห์และการทดลองด้วยแบบจาลองโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมขนาด 80 เมกะวัตต์ โดยใช้ซอฟท์แวร์


Aspen Plus เป็ นเครื่องมือในการประมวลผลมีความสาคัญต่อการวิเคราะห์ความแปรปรวนของตัวแปรต้นที่มีผล
ต่อประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้า โดยตัวแปรต้นที่ถูกพิจารณาคืออุณหภูมิบรรยากาศ ความดันบรรยากาศ ความชืน้
สัมพัทธ์ของบรรยากาศ และองค์ประกอบทางเคมีของเชือ้ เพลิง การทดลองได้ดาเนินการจานวน 48 ครัง้ โดยแบ่ง
ช่วงเวลาการเก็บข้อมูลตัวแปรต้นทุกๆ 2 สัปดาห์ เป็ นระยะเวลา 1 ปี โดยใช้ขอ้ มูลตัวแปรต้นในอดีต 3 ปี เพื่อหา
ค่าเฉลี่ยมาตรฐานของตัวแปรต้นที่ถกู พิจารณา โดยมีตวั แปรตามได้แก่ พลังงานที่ผลิตได้จากแบบจาลองโรงไฟฟ้า
และค่าการปล่อยก๊ าซคาร์บอนไดออกไซด์การวิเคราะห์และการทดลองที่ดาเนินการนีช้ ่วยให้ผูว้ ิเคราะห์และผู้
ตัดสิ นใจทางวิศวกรรมมี ข้อมูล ที่มี ประสิ ทธิ ภ าพในการตัดสินใจและวางแผนในการพัฒนาโรงไฟฟ้าเพื่อให้มี
ประสิทธิภาพและคุม้ ค่าในการใช้งานในระยะยาว

32
ผลลัพธ์ท่ไี ด้จากการคานวณในซอฟท์แวร์ Aspen Plus มีความสาคัญมากในการวิเคราะห์ตน้ ทุนของ
โครงการ ซึ่งประกอบไปด้วย 2 องค์ประกอบหลักดังนี ้
1. ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ได้ออกมา โดยขึน้ อยู่กบั ปัจจัยที่แตกต่างต่างกัน ซึ่งประกอบไปด้วย อุณหภูมิ
ความชืน้ และช่วงเวลาที่ทาการทดสอบ ซึ่งจะสามารถนาไปวิเคราะห์ต่อได้ว่าช่วงไหนเป็ นช่วงที่เหมาะ
กับการดาเนินของโรงไฟฟ้า
2. ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีถูกปล่อยออกมาในหนึ่งปี ซึ่งจะได้จากอัตราการไหลของอากาศที่
ไหลออกมาจากเครื่องยนต์กังหัน ก๊าซแอโรเดริเวทีฟ ซึ่งจะทาการนาไปเปรียบเทียบกับปริมาณก๊า ซ
คาร์บอนไดออกไซด์ท่ีปล่อยโดยพลังงานหมุนเวียนชนิดอื่นๆ รวมไปถึง ก๊าซธรรมชาติ หรือเชือ้ เพลิง
ฟอสซิลเป็ นต้น

การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของโรงไฟฟ้ า

การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของโครงการนีม้ ีจุดประสงค์เพื่อประเมินความเป็ นไปได้ของการลงทุนใน


โครงการนีโ้ ดยการวิเคราะห์ตวั แปรต่าง ๆ เกี่ยวกับต้นทุนและรายได้ ซึ่งจะช่วยให้ผบู้ ริหารและนักวิเคราะห์สามารถ
หาจุดคุม้ ทุนในการพิสจู น์ว่าโครงการนีม้ ีความเป็ นไปได้ทางการเงินมากน้อยแค่ไหน การวิเคราะห์นีจ้ ะถูกนาไปใช้
ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุนในโครงการ การศึกษาครัง้ นีจ้ ะช่วยให้ผบู้ ริหารเข้าใจถึงความเสี่ยงและประโยชน์
ที่เกี่ยวข้องกับโครงการและจะช่วยให้ทาการตัดสินใจในการลงทุนได้อย่างมั่นใจและมีเหตุผลอย่างเป็ นระบบ
ต้นทุนและค่าใช้จ่ายของโครงการ

ต้นทุนและค่าใช้จ่ายของโครงการ หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรที่นามาใช้ ภายในโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ หรือ


ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ ตัง้ แต่เริ่มโครงการตลอดระยะเวลาที่ดาเนิน กิจการต้นทุนของโครงการหรือกิจการ สามารถจา
แนวได้ 2 กลุม่ หลัก ได้แก่ ต้นทุนเบือ้ งต้น (Capital Cost) และ ต้นทุนดาเนินการ (Operating costs) ซึ่งในหัวข้อจะ
กล่าวถึงที่มาของต้นทุนหรือ ค่าใช้จ่ายของโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ
1) ต้นทุนเบือ้ งต้น (Capital Cost) ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับที่ดินและการก่อสร้าง ค่าระบบผลิตก๊าซ
ชี ว ภาพจากเหง้า มัน ส าปะหลัง ค่ า ระบบโรงไฟฟ้ าพลัง งานความร้อ นร่ว ม และสิ่ ง ปลูก สร้า งอื่ น ๆ
ค่าใช้จ่ายจัดซือ้ อุปกรณ์ครุ ภัณฑ์โรงงาน ค่าใช้จ่ายจัดซื อ้ อุปกรณ์ครุ ภัณฑ์สานักงาน ค่าใช้จ่ายจัดซื ้อ
อุปกรณ์ครุภณ ั ฑ์หอ้ งปฏิบตั ิการ
2) ต้นทุนดาเนินการ (Operating Costs) ประกอบด้วย ค่าต้นทุนการผลิตก๊าซชีวภาพ ค่าจ้างแรงงาน ค่า
การบารุงรักษา และค่าพืน้ ที่ในการจัดเก็บเหง้ามันสาปะหลังรายปี
a. ค่าใช้จ่ายจัดหาวัตถุดิบ การประเมินค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนวัตถุดิบนัน้ มีความจาเป็ นต้องทราบ
ถึงปริมาณวัตถุดิบที่นามาใช้ในการผลิตก่อนอันแรก สาหรับวัตถุท่ีใช้ กบั โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ

33
งานวิจัยนีก้ าหนพืชเป็ นวัตถุ ซึ่งวัตถุดิบก็คือ ปริมาณสารอินทรีย์ ท่ีเข้าระบบหมักก๊าซชีวภาพ
เพื่อแปลงรูปให้เป็ นก๊าซชีวภาพ ที่นาไปเป็ นเป็ นแหล่งพลังงานเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้านัน้ เอง
b. ค่าจ้างแรงงาน หมายถึงเงินเดือนค่าจ้างพนักงานของโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม
และโรงผลิตก๊าซชีวภาพโดยเหง้ามันสาปะหลัง
c. ค่าบารุงรักษา ส่วนประกอบของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม ซึ่งจะประกอบไปด้วย เครื่อง
กังหันก๊าซที่เป็ นส่วนประกอบที่สาคัญที่สดุ ของโครงการนี ้ และค่าบารุงรักษาในอุปกรณ์อ่นื ๆ
d. ค่าพืน้ ที่ในการจัดเก็บรายปี สาหรับเหง้ามันสาปะหลัง
การประเมินต้นทุนของโครงการนีจ้ ะนาเสนอผลการใช้วิธี Rule of Six-tenth เข้ามาเพื่อประเมินต้นทุนใน
ส่วนของค่าใช้จ่ายในการสร้างโรงไฟฟ้า โดยที่โรงไฟฟ้าเหล่านีม้ ีลกั ษณะคล้ายกันแต่มีขนาดที่แตกต่างกัน
นอกจากนีย้ งั นาเสนอการใช้วิธีคิดจากราคาตลาด (the market approach) ซึ่งได้มาจากการประเมินโรงไฟฟ้าโดย
บริษัท Noble Property Valuation ซึ่งได้ทาการประเมินโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพให้กบั บริษัท สุวิทย์เกษตรผลจากัด
เพื่อให้การประเมินต้นทุนนีม้ ีความถูกต้องและมีความเชื่อถือได้ในการตัดสินใจและวางแผนการลงทุนขององค์กร
ในอนาคต
แนวทางการประเมินผลตอบแทน
ผลตอบแทนหรือรายได้ของโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพมาจากการขายไฟฟ้าให้กับท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา
(ระยอง-พัทยา) โดยรายได้จะประกอบด้วยค่าพลังงานไฟฟ้า (capacity payment) ซึ่งเป็ นช่องทางหลักของรายได้
ราคาไฟฟ้าในทุกช่วงเวลา Off peak และ On peak จะถูกอ้างอิงจากราคาการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ) ซึ่งเป็ น
อัตราราคาไฟฟ้าเดียวกันกับที่ท่าอากาศยานนานาชาติอ่ตู ะเภาซือ้ จากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็ นการประกันความ
เสี่ยงทางการเงินที่ม่ นั คงและมีความเท่าเทียมกันในการซือ้ ขายไฟฟ้า โดยการนาเสนอรายได้ตามราคาอ้างอิงที่
เกี่ยวข้องกับการใช้งานจริงของท่าอากาศยาน ช่วยให้การวิเคราะห์ในส่วนนีม้ ีความน่าเชื่อถือและเป็ นที่ยอมรับใน
วงการวิจยั และการวางแผนการลงทุนในโครงการด้านพลังงานได้อย่างแม่นยาและเชื่อถือได้
การหาจุดคุ้มทุน
เมื่อได้รบั ข้อมูลเกี่ยวกับรายได้และต้นทุนที่สมบูรณ์แบบแล้ว ขัน้ ตอนถัดไปคือการหาจุดคุม้ ทุนของโครงการโดยใช้
เครื่องมือทางการเงิน เช่น NPV (Net Present Value) IRR (Internal Rate of Return) อัตราส่วนส่วนลด (Discount
rate) และ CAPM (Capital Asset Pricing Model) โดยสมมติฐานของโครงการถูกกาหนดไว้ท่ีมีอายุสญ ั ญา 25 ปี
เครื่องมือเหล่านีจ้ ะช่วยให้ผบู้ ริหารสามารถประเมินความเป็ นไปได้ของโครงการในระยะยาวได้อย่างเป็ นระบบและ
มีเชื่อมั่น ทาให้การตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุนในโครงการเป็ นไปอย่างมั่นใจและมีพืน้ ฐานทางการเงินที่ม่นั คงและ
ถูกต้องอย่างมาก

34
สรุปผลการดาเนินการ

ในขั้นตอนสุด ท้า ยของโปรเจคนี ้คื อ การสรุ ปผลลัพ ธ์ท่ีไ ด้ซ่ึง ประกอบไปด้วยปริม าณพลัง งานไฟฟ้ า ที่
สามารถผลิตได้ในหนึ่งปี ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในระยะเวลาเดียวกัน , และจุดคุม้ ทุนของ
โครงการ. จุดคุม้ ทุนเป็ นตัวบ่งบอกถึงความเป็ นไปได้ของโครงการว่ามีความสามารถที่จะเป็ นผลประโยชน์หรือไม่
หลังจากที่ได้รบั ข้อมูลจากการศึกษาทางวิศวกรรมและการเงินเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าด้วยกังหันแอโรเดอริเวทีฟ
โดยใช้ก๊าซชีวภาพทัง้ หมดแล้ว ผูว้ ิจยั อาจมีขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่มีผลต่อความเป็ นไปได้ของ
โครงการนีท้ ่คี วรสื่อสารเพื่อให้ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสียเข้าใจอย่างชัดเจนได้ดีขนึ ้ เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจขององค์กร
ที่สนใจในตลาดลงทุนของโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน

35
5) ผลการดาเนินโครงงานและวิจารณ์
การคานวณและวิเคราะห์เชิงวิศวกรรม

จากการประมวลผลตัวแปรต้นด้วยแบบจาลองโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่ วมขนาด 80 เมกกะวัตต์ พบว่า ตลอดระยะเวลา


การดาเนินการของโรงไฟฟ้าในช่วงเวลา 1 ปี โดยมีชวั่ โมงการดาเนินการทั้งสิ้ น 8,256 ชัว่ โมงต่อปี โรงไฟฟ้าพลังความ
ร้อนร่ วมดังกว่า มีอตั ราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ 0.368175 กิโลกรัมของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อ
กิโลวัตต์-ชัว่ โมงของพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ หรื อมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 268,055 ตันต่อปี
และด้วยอิธิพลจากการแปรผันของค่าตัวแปรต้น ทาให้ค่าพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้มีการแปรผันตามไปด้วย ความแปรผัน
ของตัวแปรตามนี้จะใช้ประกอบการตัดสิ นในเชิงวิศวกรรมว่า โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่ วมดังกล่าว มีประสิ ทธิภาพ
เพียงพอต่อการใช้งานจริ งหรื อไม่

36
การคานวณและวิเคราะห์เชิงการเงิน (Title)

การศึกษาความเป็ นไปได้ทางด้านการเงินในการลงทุนผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมจะวิเคราะห์
ผลประโยชน์สทุ ธิดา้ นการเงินที่เจ้าของกิจการจะได้รบั โดยวิเคราะห์จากต้นทุนและผลประโยชน์ท่เี กิดขึน้ จากการมี
โครงการ ซึ่งจะวิเคราะห์ในด้านต่างๆ คือ
1. มูลค่าปัจจุบนั สุทธิ (Net Present Value: NPV)
2. อัตราผลตอบแทนภายในโครงการ (Internal Rate of Return: IRR)
3. การวิเคราะห์ความอ่อนไหว (Sensitivity Analysis) ของโครงการ
ข้อสมมติในการศึกษา

1. การศึกษาครัง้ นีไ้ ด้กาหนดให้มีระยะเวลาดาเนินโครงการผลิตไฟฟ้าได้ 25 ปี กาหนดมาจากอายุการใช้


งานตลอดซึ่งเป็ นจานวนปี เดียวกันที่อา้ งอิงจากสัญญาลักษณะการรับซื อ้ ไฟฟ้าจาก Small Power Producers
(SPPs) ของโรงไฟฟ้าที่ มาปริมาณพลังงานไฟฟ้าเสนอขายไม่เกิน 90 เมกะวัตต์ โดยมีระยะเวลาการก่อสร้าง
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม รวมกับระบบผลิตก๊าซชีวภาพ เป็ นระยะเวลา 1 ปี โดยก่อสร้างในปี พ.ศ. 2567 ถึง
พ.ศ. 2569 โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมมีกาลังการผลิตไฟฟ้า 80 เมกะวัตต์ (80,000 กิโลวัตต์) มีกาลังการ
ผลิต 344 วัน เป็ นจานวน 8,256 ชั่วโมงต่อปี
2. การศึกษาครัง้ นีไ้ ด้กาหนดสถานนีส้ าหรับการก่อสร้างโครงการที่อาเภอฉาง จังหวัดระยอง ซึ่งเป็ นพืน้ ที่ๆ
ท่ากาศยานอู่ตะเภา ระยอง พัทยาตัง้ อยู่ โดยได้มีการอ้างอิงพืน้ ที่ของค่าใช้จ่ายจาก Living Insider ซึ่งเป็ นแพล็ต
พอร์มออนไลน์ท่กี าหนดราคาพืน้ ที่ในด้านของอสังหาริมสรัพย์ประเทศไทย
3. อัตราค่าเงินเฟ้อต่อปี เท่ากับร้อยละ 3
4. ผลตอบแทนและต้นทุนตลอดอายุโครงการให้เป็ นจานวนคงที่ (Real Cash Flow) เนื่องจากต้นทุนและ
ผลตอบแทนไม่เปลี่ยนแปลงตามอัตราเงินเฟ้อ ด้วยโครงการมีอายุท่ยี าวนานจึงเป็ นเรื่องยากสาหรับการคาดการณ์
ต้นทุนและผลตอบแทนในอนาคตด้วยความแม่นยา การประมาณกระแสเงินสดในส่วนของต้นทุนจะรวมไว้ตอนต้น
ปี ผลตอบแทนและต้นทุนการดาเนินการจะรวมไว้ตอนท้ายปี
5. เครื่องจักรและอาคารสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวลสามารถใช้ได้ตลอดอายุโครงการและ
มีมลู ค่าเท่ากับศูนย์ในปี ท่คี รบอายุโครงการโดยไม่มีการเก็บภาษี นาเข้าเครื่องจักร (ได้รบั การยกเว้นอากรจากพืน้ ที่
การลงทุนใน เขตพัฒนาพิเศษภาคะวันออก (EEC)
6. รายได้ค่าพลังงานไฟฟ้า จะคิดราคาค่าพลังงานไฟฟ้าเท่ากับราคารับซือ้ ไฟฟ้าที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
จ่ายให้กับผูผ้ ลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็ก (SPP) ขนาด 10 - 90 เมกะวัตต์ ที่ขายให้กับการไฟฟ้าส่วน
ภูมิภาค โดยจะคิดในอัตราค่าไฟฟ้าตามช่ วงเวลาของการใช้ (Term of Use :TOU ) ณ ระดับแรงดันไฟฟ้า 69

37
มากกว่ากิโลวัตต์ ที่การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทยขายให้กับการไฟฟ้าฝ่ ายจาหน่าย ซึ่งเป็ นไปตามประกาศ
เรื่องการรับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP)
7. ค่าพลังงานไฟฟ้าเป็ นไปตามประกาศของการไฟฟ้าภูมิภาคเมื่อ เมษายน 2566 คิดตาม ช่วงเวลา โดย
ช่วง Peak คือวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.00-22.00 มีจานวนวันเท่ากับ 238 วัน ราคา 4.1025 บาทต่อหน่วย และ
ช่วง Off Peak คือวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 22.00-9.00 มีจานวนวันเท่ากับ 238 วัน วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 00.00-
24.00 วันแรงงานแห่งชาติ และวันหยุดราชการ มีจานวนวันเท่ากับ 115 วัน ราคา 2.5849 บาทต่อหน่วย
8. จานวนวันเดินเครื่องของเครื่องยนต์ของโรงไฟฟ้า 344 วันต่อปี เป็ นจานวนวันทางาน จันทร์-ศุกร์ 229
วันต่อปี เป็ นจานวนวันหยุด เสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ 115 วันต่อปี และจานวนวันที่ ทาการซ่อมบารุง
ประจ าปี 14 วัน โดยี่ ไ ม่ ร วมอยู่ใ นจ านวนวัน เดิ น เครื่ อ งของเครื่ อ งยนต์ข องโรงไฟฟ้า และคิ ด จ านวนวัน เดิ น
เครื่องยนต์ของโรงไฟฟ้าเท่ากันทุกปี ตลอดอายุ โครงการ
9. ค่าใช้จ่ายการดาเนินงานในหมวดการบารุงรักษาของเครื่องกังหันก๊าซ GE LM 6000 PC เท่ากับร้อยละ
5 ของต้นทุนเครื่องกังหันก๊าซ GE LM6000 PC และส่วนประกอบอื่นๆ ของโรงไฟฟ้าและระบบผลิตก๊าซชีวภาพ
เท่ากับร้อยละ 1 ของต้นทุนค่าลงทุน
10. ค่ารือ้ ถอนโครงการไม่ได้ถกู นามาพิจารณาในการศึกษาครัง้ นี ้
ต้นทุนของโครงการ

ต้นทุนของโครงการถูกแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ ต้นทุนในการลงทุน และต้นทุนในการดาเนินงานโดยมีรายละเอียด


ดังนี ้
1. ต้นทุนการลงทุน (Capital Cost) คือ ต้นทุนที่เกิดขึน้ ก่อนการดาเนินในการดาเนินโครงการสร้างโรงไฟฟ้า
พลังงานความร้อนร่วมและระบบผลิตก๊าซชีวภาพ มูลค่า 5,609,482,805.35 บาท ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี ้
1.1 ต้นทุนโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม มูลค่าเท่ากับ 4,478,898,266.20 บาท โดยจะสามารถดูตารางที่
8 เป็ นตัวประกอบเพื่อทาความเข้าใจ
ซึ่งจะประกอบไปด้วย 5 ส่วนหลักๆ ได้แก่
1.1.1 ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า รัว้ หม้อแปลงไฟฟ้าและอาคาร Switch Gear โดยที่ใช้
พืน้ ที่ทงั้ หมด 12,391 ตารางเมตร
1.1.2 ค่าใช้จ่ายอุปกรณ์หลักที่มีผลในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ซึ่งจะประกอบไปด้วยเครื่องกังหัน
ก๊ า ซ (GE LM6000) หม้อ น ้า (Heat Steam Recovery Generator) เครื่ อ งกัง หัน น ้า และ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
1.1.3 Balance of Plant ซึ่งเป็ นค่าใช้จ่ายที่จะประกอบไปด้วยระบบต่างๆ ที่เอือ้ อานวยความ
สะดวกแก่โรงฟ้าพลังความร้อนร่วม
1.1.4 ส่วนประกอบทางด้านไฟฟ้า เช่นหม้อแปลง สวิตช์เกียร์ สายไฟ เป็ นต้น
1.1.5 ค่าใช้การดาเนินงานก่อสร้าง ความเสี่ยงของโครงการและภาษี
38
ตารางที่ 8 ต้นทุนการลงทุนโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม

รายการที่ รายระเอียด จานวน ราคา (บาท)


1 ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า 1 530,385,102.57
2 เครื่องกังหันก๊าซ GE LM 6000 PC 2 1,610,000,000.00
3 หม้อนา้ (HSRG) 2 513,986,799.71
4 เครื่องกังหันนา้ (Steam Turbine) 1 55,247,265.00
5 เครื่องกาหนดไฟฟ้า 3 152,250,000.00
6 ระบบอานวยความสะดวก (Balance of Plant) 1 700,466,716.56
7 ส่วนประกอบทางด้านไฟฟ้า 3 152,109,405.99
8 ค่าใช้จ่ายอื่นเพิ่มเติม (ค่าการดาเนินงาน ความเสี่ยง 927,656,860.90
และภาษี )
รวม 4,478,898,266.20

1.2 ต้นทุนระบบผลิตก๊าซชีวภาพ มูลค่าเท่ากับ 1,130,584,539.15 บาท ได้รบั การอ้างอิงจากมาจากรายงาน


การประเมินทรัพย์สินของบริษัท โนเบิล้ พร็อพเพอร์ตี ้ แวลูเอชั่นจากัด ซึ่งได้ใช้วิธีเปรียบเทียบตลาดในการประเมิน
มูลค่าของระบบผลิ ตก๊ าซชี วภาพ โดยงานวิจัยนีไ้ ด้มี การคานวณค่าใช้จ่ายใหม่ โดยใช้ Rule of Six-tenth (การ
เปรียบเทียบต้นทุนกับกาลังการผลิตสามารถประยุกต์ใช้กบั เครื่องจักรในอุตสาหกรรมการผลิตที่คล้ายคลึงกัน แต่มี
ขนาดความสามารถที่ต่างกัน) ในการคานวณต้นทุน ซึ่งสามารถดูได้จากตารางดังต่อไปนี ้
การประเมินค่าใช้จ่ายในการผลิตก๊าซชีวภาพ เมื่อกาลังการผลิตเพิ่มขึน้ ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ใช้เพิ่มขึน้
ขนาดระบบถังหมักก๊าซชีวภาพเพิ่มขึน้ ระยะเวลาหมักหรือระยะเวลาเก็บกัก ของเหง้ามันสาปะหลังเท่ากับ 55 วัน
ปริมาณสารอินทรียท์ ่ีเข้าสูถ้ ังหมักเท่ากับ 39.024 ลบ.ม./วัน โดยที่ความหนาแน่นของเหง้ามันมีค่าเท่ากับ 250
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จะได้ขนาดความจุของถังหมักก๊าซชีวภาพ 2,146.3414 ลบ.ม. โดยที่ถงั หมักก๊าซชีวภาพ
ขนาด 1,000 ลบ.ม. ราคาถังละ 2,264,846.40 บาท ดังนัน้ จานวนถังหมักก๊าซชีวภาพได้แก่ 3 ถัง และค่าใช้จ่าย
ทัง้ หมด 6,794,539.20 บาท ซึ่งอยู่ในหมวดงานโยธาและโครงสร้าง
ค่าก่อสร้างและค่าอุปกรณ์ต่าง ๆ แปรผันตามขนาดของโรงไฟฟ้าที่ตอ้ งการผลิต ในที่นคี ้ ือโรงไฟฟ้า 80 MW อ่างอิง
รายระเอียดค่าก่อสร้างขอโครงการระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากรายงานการประเมินราคาหลักทรัพย์ บริษัทสุวิทย์
เกษตรผล จากัด เพื่อนาไปใช้ในโครงการผลิตระบบไฟฟ้า โดยการนาราคามาคานวนด้วยวิธี Rule of six-tenth มา
ประเมินราคาของอุปกรณ์และโครงสร้างตามขนาดที่ตอ้ งการใช้ในโครงการจริง ค่าใช้จ่ายแบ่งเป็ น 4 หมวด ได้แก่
39
งานโยธาและโครงสร้าง งานเครื่องจักรและอุปกรณ์ ระบบท่อ และระบบไฟฟ้าของ Biogas Production system
ซึ่งมีค่าใช้จ่ายทัง้ หมด 318,302,887.12 บาท 183,790,093.93 บาท 11,774,000.00 บาท และ 10,307,000.00
บาท ตามลาดับ รายละเอียดค่าใช้จ่ายมีดงั นี ้ โดยมีพนื ้ ที่ทงั้ หมด 129,078.45 ตารางเมตร หรือ 80.67 ไร่
ที่มา: การวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลตอบแทนของโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ, 2554
หมายเหตุ: การประเมินมูลค่าและขนาดที่ดินโดยการใช้ Rule of six-tenth

ตารางที่ 9 งานโยธาและโครงสร้าง
รายการที่ รายระเอียด จานวน ราคา (บาท)
1 Sump 100 m3 Polyethylene 4 2,179,972.87
2 บ่อ Acidification ขนาด 186,662 ลบ.เมตร 1 38,945,252.84
3 ถังปรับ pH ปริมาตร 1,120 ลบ.เมตร 1 3,241,303.32
4 ถัง UASB 131,946 ลบ.เมตร 1 243,183,064.15
5 Recycle tank 3,050 ลบ.เมตร 1 23,484,754.75
6 ห้องควมคุมไฟฟ้า 1 474,000.00
7 ถังหมัก 1,000 ลบ.เมตร 3 6,794,539.20
รวม 318,302,887.12

ตารางที่ 10 งานเครื่องจักรและอุปกรณ์
รายการที่ รายระเอียด จานวน ราคา (บาท)
1 ชุดเครื่องสูบนา้ เสียและตะกอน 1 14,126,707.44
2 ถังเก็บ membrane gas holder ปริมาตรกัก 1 37,862,444.30
เก็บ 79,980 ลบ.เมตร
3 งานมิเตอร์ก๊าซชีวภาพและนา้ เสีย 1 11,767,475.59
4 ระบบกาจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์จาก UASB 1 61,261,148.03
5 Portable gas analyzer 1 396,000.00
6 Filtration system 1 1,305,124.60
7 Gas Dryer system 1 10,828,231.58
8 Gas Blower 2,400 ลบ.เมตร/ชั่วโมง 2 21,455,674.75
9 Gas Blower 1,300 ลบ.เมตร/ชั่วโมง 4 9,140,287.64
10 ระบบ Gas Flare 850 Nm3/hr 1 1,625,000.00

40
11 Submersible mixer 2 2,266,000.00
12 GSS + gutter + plate settler 3 11,063,000.00
13 Blow out (Automatic function) 1 198,000.00
14 Preventing form (SUS) 1 297,000.00
15 Condensate tank 4 198,000.00
รวม 183,790,093.93

ตารางที่ 11 ระบบท่อ
รายการที่ รายระเอียด ราคา (บาท)
1 งานระบบท่อก๊าซชีวภาพ 4,623,000.00
2 Valve ก๊าซชีวภาพ 388,000.00
3 งานระบบท่อนา้ เสีย (HDPE) 6,006,000.00
4 Valve นา้ เสีย 757,000.00
รวม 11,774,000.00

ตารางที่ 12 ระบบไฟฟ้าของ BIOGAS PRODUCTION SYSTEM


รายการที่ รายระเอียด ราคา (บาท)
1 Electric control panel -
2 wiring + conduit + fitting -
3 Lighting system -
4 Grounding system -
5 PLC and SCADA system -
รวม 10,307,000.00
หมายเหตุ:
ปริมาณสารอินทรียท์ ่เี ข้าสูถ้ งั หมัก = [ปริมาณการใช้สารชีวมวลในการผลิตไฟฟ้า 80 MW]/[ จานวนวัน
ทางาน] / [ความหนาแน่น]
ขนาดความจุของถังหมักก๊าซชีวภาพ = [ปริมาณสารอินทรียท์ ่เี ข้าสูถ้ งั หมัก] X [ระยะเวลาเก็บกักของเหง้ามัน
สาปะหลัง]

2. ต้นทุนในการดาเนินงาน (Operating Cost) คือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ ระหว่างการดาเนินการผลิตและ


ต่อเนื่องจนกระทั่งสิน้ สุดโครงการ ซึ่งมีรายละเอียด ดังต่อไปนี ้
41
2.1. ต้นทุนเชือ้ เพลิงก๊าซชีวภาพ
ต้นทุนเชือ้ เพลิงก๊าซชีวภาพนัน้ จะคานวณตัง้ แต่การประเมินปริมาณต้นทุนค่าวัตถุดิบที่ได้จากเหง้ามัน
สาปะหลังโดยสามารถดูได้จากตารางถัดไป

ตารางที่ 13 ตารางแสดงราคาต้นทุนเหง้ามันสาปะหลัง

ชนิดชีวมวล ราคาเชือ้ เพลิง (บาท/ตัน) เชือ้ เพลิง (พันตัน/ MW/ ต้นทุนเชือ้ เพลิง(ล้านบาท/
ปี ) MW/ปี )
เหง้ามันสาปะหลัง 739.96 41.951 31.04

การประเมินปริมาณต้นทุนค่าวัสดุเชือ้ เพลิงสาหรับใช้ในโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพจากเหง้ามันสาปะหลัง ราคา


เชือ้ เพลิงชีวภาพเท่ากับ 739.96 บาท/ตัน ปริมาณเชือ้ เพลิง ชี วภาพที่ใช้เท่ากับ 41.951 พันตัน/ MW/ปี ต้นทุน
เชือ้ เพลิง 31.04 ล้านบาท/MW/ปี ดังนั้นเมื่อต้องการสร้างโรงไฟฟ้าขนาด 80 MW ต้นทุนเชือ้ เพลิง ชีวภาพที่ใช่
เท่ากับ 2,483.38 ล้านบาทต่อปี
ที่มา: ศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยไบโอแก๊สที่ผลิตจากเศษวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร, 2555
หมายเหตุ: ราคาเชือ้ เพลิงปัจจุบนั คานวณ (2567) ตามอัตราเงินเฟ้อ 3% ต่อปี
ปริมาณเชือ้ เพลิงชีวภาพที่ใช้ = [ชั่วโมงการทางาน x จานวนวันทางาน x1000 ]/[1.2 กิโลวัตต์-
ชั่วโมง] x เศษวัสดุเหลือใช้
ต้นทุนเชือ้ เพลิง = ปริมาณเชือ้ เพลิงชีวภาพที่ใช้ x ราคาเชือ้ เพลิงชีวภาพ

ตารางที่ 14 ราคาค่าขนส่งและค่าฝากเก็บ

ราคาค่าขนส่ง ราคาค่าขนส่งทัง้ หมด ค่าฝากเก็บ (รวมประกันภัย) ราคาฝากเก็บเหง้ามันสาปะหลัง


(บาท/ตัน/กม.) (บาท/ปี ) (บาท/ตัน/เดือน) (บาท/เดือน)
1.019 1,152,889,830.43 21.90 6,124,878.05

จากสมาคมโรงงานผูผ้ ลิตมันสาปะหลัง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 2555 ราคาค่าขนส่งขนส่งต่อตันต่อ


กิโลเมตร และค่าฝากเก็บเหง้ามันรวมประกันภัยเท่ากับ 21.90 บาทต่อตันต่อเดือน จะได้ราคาค่าขนส่งเหง้า
ทั้ง หมด 1,152,889,830.43 บาทต่ อ ปี และราคาฝากเก็ บ ต่ อ เดื อ นเท่ า กับ 6,124,878.05 บาทต่ อ เดื อ น หรื อ
73,498,536.59 บาทต่อปี
42
ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
หมายเหตุ: [ราคาค่าขนส่งทัง้ หมด]=[ราคาค่าขนส่ง] x [ปริมาณการใช้สารชีวมวล]
[ราคาฝากเก็บเหง้ามันสาปะหลัง]=[ค่าฝากเก็บ] x [ปริมาณการใช้สารชีวมวล]

2.2. ต้นทุน
การประเมินต้นทุนแรงงานในงานวิจัยนีใ้ ช้วิธีการประเมินจากรายได้ท่ีสามารถทาได้ในช่วงเวลาหนึ่งปี
ผูว้ ิจัยได้มีการอ้างอิง จากงานวิจัยเรื่อง Combined Cycle Power Plant Capital Cost Estimates จาก Bechtel
Power Corporation เพื่อการประมาณค่าต้นทุนแรงงานต่อปี ท่ีรอ้ ยละ 15 ของรายได้ท่ีมาจากการขายพลังงาน
ไฟฟ้าให้แก่ท่าอากาศยานอู่ตะเภา วิธีการนีไ้ ด้รบั การยอมรับในการประเมินต้นทุนแรงงานในตลาดเนื่องจากมักมี
ค่าอยู่ในช่วงร้อยละ 10 - 15 ของรายได้ท่ีได้รบั จากการขายสินค้าหรือบริการ ดังนัน้ การประเมินต้นทุนแรงงานใน
งานวิจยั นีม้ ีความเชื่อถือและนาเสนอผลลัพธ์ท่ีมีความน่าเชื่อถือสูง ทาให้เราสามารถวางแผนการใช้ทรัพยากรที่มี
ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลได้อย่างมั่นใจได้

2.3. ต้นทุนค่าบารุงรักษา
การประเมินต้นทุนค่าบารุงรักษาสามารถแบ่งออกเป็ นค่าบารุงรักษาของเครื่องยนต์แ อโรเดริเวทีฟ และค่า
บารุ งรักษาของโรงไฟฟ้าและระบบพลิตก๊าซชีวภาพ ที่มีการอ้างอิงจากงานวิจัยเรื่อง Combined Cycle Power
Plant Capital Cost Estimates จาก Bechtel Power Corporation เพื่อการประมาณค่าบารุ งรักษาต่อปี ท่ีรอ้ ยละ
5 ขอต้นทุนเครื่องยนต์กงั หันก๊าซเนื่องจากเป็ นเครื่องยนต์ท่ีถูกถอดออกมาจากเครื่องบิน จึงจาเป็ นต้องมีค่าบารุ ง
ในส่วนนี ้ และร้อยละ 1 ของค่าใช้จ่ายต้นทุนทัง้ หมดสาหรับการบารุงทัง้ โครงการ

ตารางที่ 15 ต้นทุนการดาเนินงานทัง้ หมด

รายการที่ รายระเอียด ราคา (บาท)


1 ค่าแรงงานทัง้ หมด (โรงไฟฟ้าและระบบผลิตก๊าซชีวภาพ) 251,220,934.8
2 ค่าเชือ้ เพลิงก๊าซชีวภาพ 2,483,377,951.22
3 ค่าบารุงรักษาเครื่องยนต์กงั หันก๊าซ GE LM 6000PC 80,500,000.00
4 ค่าบารุงรักษาในส่วนอื่นๆ 48,450,298.29
5 ค่าฝากเก็บเหง้ามันสาปะหลัง 73,498,536.59
6 ค่าขนส่งเหง้ามันสาปะหลัง 1,152,889,830.43
รวม 4,089,937,551.32

43
ผลประโยชน์ของโครงการ

จากข้อสมมุติในการศึกษา สามารถวิเคราะห์ผลตอบแทนของการศึกษาครัง้ นี ้ โดยแบ่งเป็ น 3 ส่วนดังนี ้


1. มีรายได้จากการขายไฟฟ้าให้กบั ท่าอากาศยานอู่ตะเภา ระยอง-พัทยา โดยเป็ นไปตามระเบียบการรับ
ซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กมาก (Small Power Producer: SPP) โดยมีการ
คานวณ
1.1. จานวนเวลาของการผลิตไฟฟ้าช่วง Peak (ชั่วโมง) ใน 1 ปี ช่วง Peak = เวลา 09.00 น. - 22.00
น. (ชั่วโมง/วัน) x จานวนวันผลิตในรอบปี (วันจันทร์-ศุกร์ และวันพืชมงคล (วัน/ปี ))
= 12 ชั่วโมงต่อวัน x 243 วัน
= 2,916 ชั่วโมง
1.2. ช่วง Off Peak = เวลา 22.00 - 09.00 น. (ชั่วโมง/วัน) x จานวนวันผลิตในรอบปี (วันจันทร์-ศุกร์
และวันพืชมงคล (วัน/ปี ) + เวลา 00.00 - 24.00 น. x จานวนวันผลิตในรอบปี (วันเสาร์-อาทิตย์
วันแรงงานแห่งชาติ วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันหยุดชดเชย) และวันพืชมงคลที่ตรงกับ
วัน เสาร์-อาทิตย์)
= (12 ชั่วโมงต่อวัน x 243 วัน) + (24 ชั่วโมงต่อวัน x 115 วัน)
= 2,916 ชั่วโมง + 2,760 ชั่วโมง
= 5,676 ชั่วโมง
1.3. ช่วงบารุงรักษาโรงไฟฟ้าเป็ นเวลา 14 วัน ซึ่งมีค่าเท่ากับ 336 ชั่วโมงซึ่งเป็ นช่วงก่อนทางานที่ ช่วง
Peak และช่วงหลัง Peak เพื่อเป็ นการเตรียมพร้อมระบบสาหรับการทางานที่มีประสิทธิภาพและ
พักเครื่องเพื่อบารุงรักษาหลังจากที่ทางานหนักมา
= 5,676 ชั่วโมง – (24 ชั่วโมงต่อวัน x 14 วัน)
= 5,676 ชั่วโมง – 336 ชั่วโมง
= 5,340 ชั่วโมง
1.4. คานวณหารายได้จากการจาหน่ายไฟฟ้าที่ผลิตได้ต่อปี
ช่วง Peak = (จานวนพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ (กิโลวัตต์ช่วั โมง) x อัตราค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/
กิโลวัตต์ช่วั โมง))
= 2,916x80,000 กิโลวัตต์ช่ วั โมง x 4.1025 บาทต่อกิโลวัตต์
ชั่วโมง
= 957,031,200 บาท
ช่วง Off Peak = (จานวนพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ (กิโลวัตต์ช่วั โมง) x อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าก
(บาท/กิโลวัตต์ช่วั โมง)

44
= 5,340x80,000 กิโลวัตต์ช่ วั โมง x 2.5849 บาทต่อกิโลวัตต์
ชั่วโมง x 0.65 (ไฟฟ้าที่รนั ช่วง Off Peak)
= 717,775,032 บาท

= 957,031,200 บาท + 717,775,032 บาท


= 1,674,806,232 บาท (510,960,000 kWh / ปี )
การหาจุดคุ้มทุน

การหาจุดคุม้ ทุน ของการศึกษาครัง้ นีท้ างด้านการเงินจะมีการใช้ตัวแปรทางการเงิน มาใช้ในการวิเคราะห์ไ ด้แก่


NPV IRR และ Discount rate ซึ่งผลลัพธ์จะถูกโชว์ในตารางถัดไป โดยจะเป็ นวิธีการประมาณกระแสเงินสดรับ
และเงินสดจ่ายตลอดชั่วอายุของโครงการ โดยอาศัยข้อมูลจากข้อสมมติดา้ นต้นทุนและผลประโยชน์ของโครงการ
ซึ่งมีรายละเอียดการประมาณการงบกระแสเงินสดของโครงการนี ้ ดังแสดงในตารางที่ 8

ตารางที่ 16 ตารางการประมาณการงบกระแสเงินสดเพื่อหาจุดคุม้ ทุน

ผลวิเคราะห์ทางการเงิน

จากการประมาณการต้นทุนและผลตอบแทนของโครงการโดยงบกระแสเงินสดนั้ น สามารถ ประเมินความคุม้ ค่า


ของโครงการ และทุกหลักเกณฑ์ได้กาหนดอัตราการคิดลดให้กระแสเงินสดเป็ นมูลค่า 12.38 % ปั จจุบัน โดย
กาหนดอัตราส่วนลดที่เหมาะสมที่ได้มาจากการใช้วิธี CAPM ในการหาค่า ในบทสรุปสามารถคานวณเกณฑ์การ

45
ตัดสินใจทางด้านการเงินได้คือ มูลค่าปั จจุบันสุทธิของโครงการ (NPV) มีค่าเท่ากับ -24,551,693,716.68 บาท
อัตราผลตอบแทนภายใน โครงการ (IRR) มีค่าเท่ากับร้อยละ 0% ทาให้สามารถวิเคราะห์ออกมาได้ว่าความเป็ นได้
ทางด้านการลงทุนยังไม่มีความน่าสนใจ

ตารางที่ 17 ผลการวิเคราะห์ทางการเงิน

ตัวชีว้ ดั ค่าจากการประมาณการ หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจ การตัดสินใจ

NPV -24,551,693,716.68 บาท NPV < 0 ไม่น่าลงทุน

IRR 0% IRR < DISCOUNT RATE ไม่น่าลงทุน

สาเหตุท่ีปัญหาในการขายราคาไฟฟ้าต่อหน่วยในอัตราเดียวกับการไฟฟ้าภูมิภาคไม่มีความคุม้ ค่าในการ
ลงทุนเนื่องจากต้นทุนในการผลิตก๊าซชีวภาพจากเหง้ามันสาปะหลังมีราคาสูง และมีความซับซ้อนในกระบวนการ
การขนส่ง ซึ่งเป็ นผลมาจากความหนาแน่นของเหง้ามันสาปะหลังที่ต่า จึงเกิดความจาเป็ นในการใช้ปริมาตรและ
นา้ หนักที่มากขึน้ ในการขนส่ง นอกจากนีก้ ระบวนการแปรรูปเหง้ามันสาปะหลังเป็ นก๊าซชีวภาพยังเผชิญกับความ
ท้าทายในด้านการจัดการโลจิสติก ส์ เพื่อแก้ไขปั ญหานี ้ เราสามารถพิจารณาการปรับปรุงกระบวนการโลจิสติก ส์
เช่น การศึกษาหาเทคโนโลยีในการขนส่งที่มีประสิทธิภาพมากขึน้ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งหรือการเพิ่มความ
หนาแน่ น ของเหง้า มั น ส าปะหลั ง ผ่ า นการเลื อ กพั น ธุ์ท่ี มี ผ ลผลิ ต สูง หรื อ การใช้เ ทคโนโลยี ก ารเก็ บ เกี่ ย วที่ มี
ประสิทธิภาพ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานทางด้านการเก็บเกี่ยวและขนส่ง ดังนั้น การแก้ไขปั ญหาทาง
โลจิ ส ติก ส์อาจจะเป็ นวิธีท่ีมี ประสิทธิ ภาพในการเพิ่มความคุ้ม ค่าในการลงทุนในโครงการผลิตก๊ าซชีวภาพใน
อนาคต

เพื่อเพิ่มความเป็ นไปได้ในการลงทุนในโครงการนีอ้ ย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ การพิจารณาเพิ่มราคา


ไฟฟ้าต่อหน่วย หรือที่เรียกว่า "Adder" เป็ นเรื่องสาคัญ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อส่งเสริมแหล่งพลังงานที่หลากหลาย
และส่งเสริมการลงทุนในโครงการพลังงานที่มีผลกระทบต่าต่อสิ่งแวดล้อม การเพิ่มราคาไฟฟ้า Adder นีจ้ ะช่วย
สร้างสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยโอกาสทางการเงินที่มีความเสถียรสาหรับผูล้ งทุนในโครงการพลังงานที่มีความ
ยั่งยืนในระยะยาว มีการเรียกเก็บราคาไฟฟ้าเพิ่มขึน้ นี ้อาจเป็ นก้าวส าคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้
พลังงานที่สะอาดและมีประสิทธิภาพในปัจจุบนั และอนาคต

46
ตารางที่ 18 ตารางการประมาณการงบกระแสเงินสดเพื่อหาจุดคุม้ ทุน

จากการประมาณการต้นทุนและผลตอบแทนโดยใช้งบกระแสเงินสดใหม่ท่ีมีการเพิ่มราคาไฟฟ้าต่อหน่วย
ขึ น้ มา 6.295 บาท สามารถประเมิ น ความคุ้ม ค่ า ของโครงการได้ว่ า มี ค วามเป็ น ไปได้ใ นการลงทุน และทุก
หลักเกณฑ์ได้ทาการคิดลดให้กระแสเงินสดเป็ นมูลค่า 12.38% ปั จจุบัน ในบทสรุ ปสามารถคานวณเกณฑ์การ
ตัดสินใจทางด้านการเงินได้คือ มูลค่าปั จจุบนั สุทธิของโครงการ (NPV) มีค่าเท่ากับ 675,709,903.93 บาท อัตรา
ผลตอบแทนภายใน โครงการ (IRR) มีค่าเท่ากับร้อยละ 12.38% จึงทาให้โครงการดังกล่าวมีความเป็ นไปได้ทาง
การเงิน โดยใช้หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจตามตารางที่ 11

ตารางที่ 19 ผลวิเคราะห์ทางการเงินในกรณีเพิ่ม ADDER เท่ากับ 6.295 บาท

ตัวชีว้ ดั ค่าจากการประมาณการ หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจ การตัดสินใจ

NPV 675,709,903.93 บาท NPV > 0 น่าลงทุน

IRR 12.38% IRR = DISCOUNT RATE น่าลงทุน

47
48
49
6) สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ
ความเป็ นไปได้ด้านเทคนิค (Supra)

การพิจารณาความเป็ นไปได้ทางด้านวิศวกรรมเกี่ยวกับปริมาณการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม
มัก พึ ง พอใจกับ ความแตกต่ า งในเงื่ อ นไขสภาพอากาศต่ า ง ๆ อาทิ เ ช่ น อุณ หภู มิ แ ละความชื ้น ซึ่ ง มี ผ ลต่ อ
ประสิทธิภาพของการผลิตพลังงานไฟฟ้า โดยเครื่องยนต์กงั หันก๊าซรุ่น GE LM 6000 PC เป็ นตัวอย่างของเครื่อง
กาเนิดไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูงในเงื่อนไขดังกล่าว ความถี่ของการทางานของเครื่องยนต์กงั หันก๊าซ GE LM 6000
PC ถูกพิจารณาเนื่องจากประสิทธิภาพของระบบจะมีความสูงสุดในเงื่อนไขที่มีอณ ุ หภูมิต่าและความชืน้ สูง ทาให้
ความแตกต่างของสภาพอากาศเป็ นปั จจัยสาคัญในการวิเคราะห์และประเมินประสิทธิภาพของการผลิตไฟฟ้า
ดังนัน้ การจาลองและการวิเคราะห์จาเป็ นต้องคานึงถึงการแปรผันของพารามิเตอร์นใี ้ นช่วงเวลาที่แตกต่างกัน
ในส่วนของปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีค่าเท่ากับ XXX ตันต่อปี โดยที่มีค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซเรือน
กระจกที่ XXX 𝑘𝑔 𝐶𝑂2 𝑒/𝑀𝐽 หรือ XXX 𝑘𝑔 𝐶𝑂2 𝑒/𝑘𝑊ℎ

ความเป็ นไปได้ด้านการเงิน

การศึกษาความเป็ นไปได้ดา้ นการเงินสาหรับการลงทุนโครงการครัง้ นี ้ เป็ นการประมาณการ ผลตอบแทน โดยขาย


ไฟฟ้าผ่านสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าระหว่างผูผ้ ลิตไฟฟ้าขนาดเล็กกับ ท่าอากาศยานอู่ตะเภา ระยอง-พัทยา สามารถ
คานวณรายได้จากการจาหน่ายไฟฟ้าเป็ นไปตามอัตราการรับซื อ้ ไฟฟ้าที่มีการตัง้ สมมติฐานอัตราเท่ากับกับการ
ไฟฟ้าภูมิภาค โดยได้รบั สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี อากรนาเข้าเนื่องจากเป็ นโครงการที่พฒ ั นาในพืน้ ที่เขตพัฒนา
พิเศษตะวันออก
สาหรับการประมาณการต้นทุน แบ่งเป็ น 2 ส่วน คือ ต้นทุนในการลงทุนและต้นทุนในการดาเนินการ โดยต้นทุนใน
การลงทุนเท่ากับ 4,478,898,266 บาท และต้นทุนในการดาเนินการตลอด 25 ปี เท่ากับ 4,089,937,551.32 บาท
ต่อไป โดยจะมีการบารุงรักษา 2 สัปดาห์ใน 1 ปี ในส่วนของการประมาณผลตอบแทน การคานวณหาอัตราคิดลด
เพื่อให้มูลค่าเงินแต่ละช่วงเวลาเป็ นมูลค่าเงินปั จจุบัน โดยจะทาการวิเคราะห์เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการตัดสินใจ
ลงทุนโครงการ
การลงทุนจะใช้อตั ราคิดลดที่ได้จากการคานวณด้วยวิธีการ CAPM ซึ่งได้ผลลัพธ์ออกมาเท่ากับ 12.38 %การศึกษา
ความเป็ นไปได้ทางด้านการเงิน ภายใต้เงื่อนไขต่างๆ ที่กาหนด คือ อายุโครงการ 25 ปี (2569 - 2594) ต้นทุนและ
ค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็ นไปตามข้อกาหนด สามารถสรุปผลได้ว่าการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้า พลังงานร่วมโดยใช้เชือ้ เพลิง
ก๊าซชีวภาพที่ผลิตจากเหง้ามันสาปะหลังไม่มีความคุม้ ค่าในการลงทุน โดยมีผลการศึกษาดังนี ้
1. มูลค่าปัจจุบนั สุทธิของผลตอบแทนเท่ากับ -24,551,693,716.68 บาท

50
2. อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการเท่ากับร้อยละ 0 %
ตามผลลัพธ์ท่ไี ด้มาข้างต้น โครงการยังไม่มีความน่าสนใจที่จะลงทุน ดังนัน้ ปัจจัยที่จะทาให้โรงไฟฟ้า
พลังงานความร้อนร่วมที่ผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพมีความคุม้ ค่าในการลงทุน จะต้องมีการเพิ่มราคารับซือ้ อย่าง
น้อย 6.295 บาท / kWh ซึ่งจะทาให้ค่า IRR มีค่าที่ใกล้เคียงหรือเท่ากับอัตราการคิดลด (Discount rate) ส่งผลให้
การลงทุนมีความคุม้ ค่า โดยใช้เวลาคืนทุนเท่ากับ 16.18 ปี หรือประมาณ 16 ปี 1 เดือน 2 สัปดาห์
ข้อเสนอแนะ

ในการศึกษาความเป็ นไปได้ครัง้ นี ้ ความสาคัญของการประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่งเหง้ามันสาปะหลังใน


วงการเกษตรไม่สามารถเนินไปข้างหน้าได้โดยไม่คานึงถึงเหตุผลทางการเศรษฐกิจและความยั่งยืนของธุ รกิจ
เกษตรกรรมเอง ปั ญหาความสูงของค่าใช้จ่ายในการขนส่งเหง้ามันสาปะหลังมีตน้ เหตุมาจากปั จจัยหลายประการ
ซึ่งส่งผลกระทบต่อกลวงหน้าของธุรกิจนีอ้ ย่างมีนยั สาคัญ หนึ่งในปั จจัยสาคัญที่มีผลต่อการเพิ่มขึน้ ของค่าใช้จ่าย
ในการขนส่งเหง้ามันสาปะหลังคือความหนาแน่นที่ต่าของสินค้าเอง การเพิ่มปริมาณขนส่งโดยใช้รถบรรทุกมี
ข้อจากัดเนื่องจากความจุของรถที่จากัด การค้นหาวิธีการส่งที่มีประสิทธิภาพมากขึน้ โดยใช้รถไฟอาจเป็ นทางเลือก
ที่เหมาะสม เนื่องจากมีความสามารถในการบรรทุกปริมาณมากขึน้ ต่อหนึ่ง ครัง้ และมี ระยะทางการเดินทางที่
รวดเร็วกว่ารถบรรทุก อย่างไรก็ตามการใช้รถไฟในการขนส่งจาเป็ นต้องพิจารณาความเหมาะสมของพืน้ ที่จั ดส่ง
และสภาพการขนส่งเอง การพิจารณาแนวทางในการสั่งซือ้ เหง้ามันสาปะหลังจากเขตตะวันออกเพื่อลดค่าใช้จ่าย
ในการขนส่งก็เป็ นทางเลือกหนึ่งที่ควรพิจารณาอย่างใกล้ชิด การกระจายความเสี่ยงในกระบวนการขนส่งจะช่วย
ลดความเสี่ยงทางการเงินและเพิ่มความยืดหยุ่นในการดาเนินธุรกิจของผูป้ ระกอบการในภาพรวม
นอกจากนีย้ งั มีวิธีการที่สามารถใช้เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งอย่างเช่นการผสมเหง้ามันสาปะหลัง
เพื่อพยุงราคา หรือการปรับปรุงขัน้ ตอนในการขนส่งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พนื ้ ที่และทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
มีประสิทธิภาพที่สุด โดยการศึกษาและการวิจัยอย่างละเอียดเป็ นสิ่งสาคัญในการตัดสินใจในการนาแนวทาง
ดังกล่าวไปใช้ในการดาเนินธุรกิจอย่างเป็ นระบบและยั่งยืน
การศึกษาความเป็ นไปได้ในการผลิตไฟฟ้าด้วยกังหันแอโรเดริเวทีฟที่ใช้ก๊าซชี วภาพ ณ พืน้ ที่บริเวณ
ใกล้เคียงท่ากาศยานอู่ตะเภา อาเภอฉาง จังหวัดระยอง ผูว้ ิจัยมีขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลกระทบให้
โครงการไม่สามารถดาเนินการได้อยู่ 3 ปัจจัยดังนี ้
1. เทคโนโลยีระบบหมักแบบไร้อากาศมีหลากหลาย ควรมีการศึกษาและเปรียบเทียบเทคโนโลยีระบบ
หมักแบบไร้อากาศอื่นๆ
2. จากผลการวิจยั ควรพิจารณาศึกษาเชือ้ เพลิงชีวมวลอื่นๆ เนื่องจากเหง้ามันสาปะหลัง เป็ นชีวมวลที่มี
ความหนาแน่ น ต่ า เพื่ อ เที ย บกับ ชี ว มวลประเภทอื่ น ๆ ท าให้อ าศัย ที่ เ ก็ บ ที่ มี ข นาดใหญ่ รวมถึ ง มี
ค่าใช้จ่ายการเก็บและขนส่งที่สงู การลงทุนจึงอาจไม่สนใจเมื่อเปรียบเทียบกับเชือ้ เพลิงชนิดอื่นๆ
3. การโน้มน้าวนักลงทุน โดยพูดถึงประโยชน์ท่ไี ด้ในการลงทุนโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ

51
4. นโยบายราคารับซือ้ ไฟฟ้าที่มีความผันผวนตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ผูล้ งทุนต้องพิจารณา
ศึกษาต้นทุนการรับซือ้ ไฟฟ้าที่ต่าสุดที่สามารถทาให้โครงการดาเนินกิจการตลอดอายุ โครงการได้โดย
ไม่มีเหตุท่ตี อ้ งหยุดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอัตราการรับซือ้
5. ราคาวัตถุดิบปรับตัวขึน้ อย่างมีนยั ยะ เนื่องจากผูผ้ ลิตวัตถุดิบต้องการขายให้กบั ผูป้ ระกอบการที่รบั ซือ้
ในราคาที่สูง กว่า แม้ว่าทางผู้ลงทุนได้ทาสัญญากับทางเกษตรกร หรือ ผู้ผลิตแล้วก็ตาม ผู้ลงทุน
จะต้องพิจารณาหาแหล่งวัตถุดิบใหม่ๆที่สามารถป้อนเข้าระบบการผลิตโดยที่ระบบไม่ได้เกิดการหยุด
การดาเนินการ สารองไว้ให้มากที่สุดทัง้ ในเขตพืน้ ที่และนอกพืน้ ที่โดยพิจารณาเพิ่มราคาค่าขนส่งใน
กรณีท่แี หล่งพืน้ ที่นนั้ อยู่ไกลกันกับจุดรับซือ้
6. นโยบายราคารับซือ้ ไฟฟ้าที่มีความผันผวนตามการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ผูล้ งทุนต้องพิจารณา
ศึกษาต้นทุนการรับซือ้ ไฟฟ้าที่ต่า สุดที่สามารถทาให้โครงการดาเนินกิจการตลอดอายุโครงการได้โดย
ไม่มีเหตุท่ตี อ้ งหยุดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอัตราการรับซือ้

52
7) บรรณานุกรม

ในส่วนนีใ้ ห้นิสิตเรียบเรียงเอกสารทัง้ หมดที่ใ ช้้อา้ งอิงในโครงงานนี ้ โดยให้เขียนตามหลักมาตรฐานและความ


เหมาะสม โดยตัวอย่างบางส่วนของกรณีเอกสารในแต่ละรูปแบบ ได้แสดงไว้ดงั นี ้
กรณีผแู้ ต่งคนเดียว
[1] สสกุล, 2521. สถิติการวางแผนการทดลองเบือ้ งต้น. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 145 น.
[2] Thorne 1967. The Design and Analysis of Experiments. Robert E. Krieger
Huntington, New York. 631. p.
กรณีผแู้ ต่งตัง้ แต่สองคนขึน้ ไป
[3] Cochran, W.G. and G.M. Cox.1968. Experimental Designs. 2nd., John Wiley and Sons, New
York. 611 p.
[4] เสาวนีย์ อุดมสิน และวีรปภา เหรียญอารีย.์ การศึกษาออกแบบระบบผลิตก๊ าซชีวภาพจากหญ้าเนเปี ยร์.
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2559.
[5] Kittiya Kittiyarangsit. Investment and return analysis of biogas plants. Degree of Master of
Engineering in Environmental Engineering Suranaree University. 2011.
[6] บริษัท โนเบิล้ พร็อพเพอร์ตี ้ แวลูเอชั่น จากัด. รายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน โรงไฟฟ้าและระบบผลิตก๊าซ
ชีวภาพ. 2558
[7] Bechtel Power Corporation. Combined Cycle Power Plant Capital Cost Estimates. 1997
[8] Dirl Pauschert. Study of Equipment Prices in the Power Sector. Energy Sector Management
Assistance Program 2008
[9] Japan International Cooperation Agency. Preparatory Study on Gas-Fired Power Plant Development
in Southern Mozambique. 2013
[10] พรสุดา พฤฒพงษ์. การประเมินการลงทุนเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นในการเดินเครื่องของโรงไฟฟ้า พลังความ
ร้อนร่วมด้วยกาบริหารต้นทุนตลอดอายุ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2020
[11] รัฐศาสตร์ วรรณเศวต การศึกษาความเป็ นไปได้เบือ้ งต้นการลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวลโดยใช้วัตถุดิบ
จากเศษไม้ สาขาวิ ช าเทคโนโลยี แ ละการจัด การพลัง งาน สหสาขาวิ ช าเทคโนโลยี แ ละการจัด การพลัง งาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2561

53
8) ภาคผนวก

8.1 หลักฐานจดหมายรายงานการประเมินราคาหลักทรัพย์ โดยบริษัท โนเบิล้ พร็อพเพอร์ตี ้ แวลูเอชั่นจากัด

54
8.2 ต้นทุนโรงผลิตก๊าซชีวภาพ อ้างอิงจากรายงานการประเมินราคาหลักทรัพย์ โดยบริษัท โนเบิล้ พร็อพเพอร์ตี ้
แวลูเอชั่นจากัด

55
8.3 ต้นทุนโรงไฟฟ้า อ้างอิงจากรายงานการประเมินราคาหลักทรัพย์ โดยบริษัท โนเบิล้ พร็อพเพอร์ตี ้ แวลูเอชั่น
จากัด

8.4 โครงสร้างต้นทุนโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม อ้างอิงจาก Combined Cycle Power Plant Capital Cost


Estimate. Bechtel Power Corporation

56
57
ตารางที่ 20 ตารางค่าสภาพอากาศ

Temperature (C) Humidity (%)


Month Week 2021 2022 2023 Average 2021 2022 2023 Average
1 23.80 23.80 24.10 23.90 54.60 54.60 59.30 56.17
2 26.70 26.70 26.50 26.63 70.10 70.10 54.90 65.03
January
3 23.00 23.00 25.70 23.90 75.00 75.00 81.30 77.10
4 23.80 23.80 25.90 24.50 71.00 71.00 55.90 65.97
1 25.80 28.40 25.20 26.47 69.30 73.20 65.50 69.33
2 26.80 27.50 26.80 27.03 80.40 78.20 81.00 79.87
February
3 26.80 26.20 23.50 25.50 80.60 87.50 88.00 85.37
4 25.80 25.10 21.50 24.13 76.60 81.40 74.50 77.50
1 26.90 27.40 28.10 27.47 82.00 72.80 60.40 71.73
2 28.00 26.00 26.60 26.87 77.80 75.30 79.80 77.63
March
3 28.60 28.80 25.40 27.60 76.60 81.30 81.00 79.63
4 26.80 28.20 28.90 27.97 88.90 82.20 78.20 83.10
1 23.80 28.70 29.80 27.43 54.60 74.10 75.60 68.10
2 26.70 28.20 29.60 28.17 70.10 53.60 78.80 67.50
April
3 23.00 29.80 30.40 27.73 75.00 79.20 78.70 77.63
4 23.80 29.20 31.10 28.03 71.00 74.50 75.30 73.60
1 29.90 28.20 29.80 29.30 76.20 74.80 75.60 75.53
2 27.60 27.90 29.60 28.37 83.40 78.70 78.80 80.30
May
3 28.30 30.10 30.40 29.60 84.20 79.80 78.70 80.90
4 28.00 27.50 31.10 28.87 86.40 80.30 75.30 80.67
1 30.30 29.30 31.30 30.30 76.00 79.80 69.30 75.03
2 29.70 29.20 29.50 29.47 72.00 72.80 75.90 73.57
June
3 29.20 29.60 29.10 29.30 73.40 78.10 76.60 76.03
4 29.90 28.00 28.40 28.77 71.30 84.80 81.80 79.30
July 1 29.20 29.10 29.80 29.37 75.30 74.50 80.30 76.70

58
2 29.00 28.60 27.70 28.43 75.00 77.80 89.60 80.80
3 27.00 29.30 30.40 28.90 86.50 76.90 68.60 77.33
4 29.60 28.30 26.90 28.27 74.80 80.30 91.60 82.23
1 29.80 27.50 29.60 28.97 74.30 87.30 79.70 80.43
2 29.90 27.70 29.30 28.97 75.50 78.00 78.60 77.37
August
3 27.80 27.70 29.80 28.43 83.90 83.30 73.40 80.20
4 29.10 28.70 28.40 28.73 80.00 77.30 81.60 79.63
1 27.10 27.70 29.50 28.10 85.00 82.50 76.20 81.23
2 26.60 26.40 26.70 26.57 89.50 86.40 92.80 89.57
September
3 26.60 27.60 28.30 27.50 88.70 84.30 79.90 84.30
4 28.00 27.00 28.00 27.67 78.70 85.60 81.50 81.93
1 28.80 28.50 28.40 28.57 84.20 80.00 83.30 82.50
2 27.90 27.10 28.00 27.67 87.10 84.70 78.00 83.27
October
3 28.40 25.60 28.00 27.33 80.20 8.10 81.50 56.60
4 27.10 27.10 27.30 27.17 84.70 79.50 85.60 83.27
1 27.10 26.40 27.70 27.07 82.20 60.50 81.70 74.80
2 27.80 27.40 27.20 27.47 83.30 68.80 77.20 76.43
November
3 27.50 27.60 27.80 27.63 77.30 80.50 80.40 79.40
4 27.70 28.50 26.20 27.47 85.20 75.80 72.80 77.93
1 27.10 28.00 27.70 27.60 82.20 83.40 80.50 82.03
2 27.80 27.30 27.90 27.67 83.30 77.30 74.00 78.20
December
3 27.50 24.80 28.50 26.93 77.30 62.50 72.40 70.73
4 27.70 25.50 24.60 25.93 85.20 68.80 67.00 73.67

59
ประวัตินิสิต

ชื่อ-นามสกุลประวัตินิสิต

1. ชื่อ-นามสกุล รัฐเสฏฐ์ อัครเดชเรืองนาม เลขประจาตัวนิสิต 6310500104


ภาควิชาวิศวกรรม การบินและอวกาศคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่อยู่ปัจจุบนั 491 ซอยบรมราชชนนี 4 แขวงบางบาหรุ เขตบางพลัด 10700 กรุงเทพ
โทรศัพท์ ที่บา้ น 024342760 โทรศัพท์เคลื่อนที่ 0947499892
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
คุณวุฒิการศึกษา จากโรงเรียน/สถาบัน ปี การศึกษาที่จบ
มัธยมศึกษาตอนปลาย มัธยมวัดนายโรง 2563
มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมวัดนายโรง 2560

2. ชื่อ-นามสกุล กานต์ กานตรัชต์ เลขประจาตัวนิสิต 6310500376


ภาควิชาวิศวกรรม การบินและอวกาศคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่อยู่ปัจจุบนั 344 หมู่ 3 ตาบลมวกเหล็ก อาเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
โทรศัพท์ ที่บา้ น – โทรศัพท์เคลื่อนที่ 0982617526
E-mail karn.neua123@hotmail.co.th
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
คุณวุฒิการศึกษา จากโรงเรียน/สถาบัน ปี การศึกษาที่จบ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม 2563
มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม 2563

60
3. ชื่อ-นามสกุล...........................................................................เลขประจาตัวนิสิต........................................
ภาควิชาวิศวกรรม ............................................................คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่อยู่ปัจจุบนั .............................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………….…………………….……..
โทรศัพท์ ที่บา้ น.................................................................โทรศัพท์เคลื่อนที่...............................................
สถานที่ทางาน(ถ้ามี) ………......................................................................................................................
................................................................................................................................................................
โทรศัพท์ท่ที างาน (ถ้ามี)......................................................E-mail……………………………….…………
ระดับการศึกษา:
คุณวุฒิการศึกษา จากโรงเรียน/สถาบัน ปี การศึกษาที่จบ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ……………………................................ ….................................
มัธยมศึกษาตอนต้น ............................................................. .....................................

61

You might also like