Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

วัสดุศาสตร์

และสมบัติทางวัสดุศาสตร์
(Materials Science and Properties)
วัสดุศาสตร์ และสมบัติทางวัสดุศาสตร์
(Materials Science and Properties)

วัสดุศาสตร์ (materials science)


วัสดุศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างระดับจุลภาค (microstruc-
ture) องค์ประกอบ (composition) การสังเคราะห์ (synthesis) หรือกระบวนการผลิตต่าง ๆ
(processing) กั บ สมบั ติ ข องวั ส ดุ (properties of materials) โดยศึ ก ษาทั้ ง สมบั ติ เชิ ง กล
(mechanical properties) สมบั ติ เชิ ง กายภาพ (physical properties) สมบั ติ ท างเคมี
(chemical properties) และสมบัตเิ ชิงชีวภาพ (biological properties) เนือ่ งจากไม่มวี สั ดุชนิดใด
ที่สามารถน�ำไปใช้งานได้กับทุกกรณี การเข้าใจถึงสมบัติของวัสดุจะท�ำให้สามารถน�ำวัสดุไปใช้ได้
อย่างเหมาะสมและประสบความส�ำเร็จกับงานแต่ละประเภท

การแบ่งกลุ่มวัสดุ (classification of materials)


วัสดุต่าง ๆ ที่น�ำมาใช้ในชีวิตประจ�ำวันและในร่างกายของมนุษย์แบ่งได้หลายประเภท
ขึ้ น อยู ่ กั บ เกณฑ์ ที่ ใช้ ใ นการแบ่ ง ประเภท ในที่ นี้ จ ะแบ่ ง ประเภทวั ส ดุ อ อกเป็ น กลุ ่ ม ตามชนิ ด
แต่ก็ยังสามารถแบ่งประเภทวัสดุตามโครงสร้างของวั ส ดุ โดยทั่ ว ไป ในการแบ่ ง ประเภทวั ส ดุ
ตามชนิดจะแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 4 ประเภท ดังนี้

Metal

Composite

Ceramic Polymer

รูปที่ 1.1   ประเภทวัสดุแบ่งตามชนิด

3
บทที่ 1

โลหะ (metal/alloy)
โลหะจัดเป็นสารอนินทรีย์ (inorganic substances) ซึ่งแบ่งประเภทเป็น โลหะบริสุทธิ์
(metals) และโลหะเจื อ (alloys) ส� ำ หรั บ โลหะเจื อ จะประกอบด้ ว ยธาตุ ตั้ ง แต่ 2 ชนิ ด ขึ้ น ไป
และต้องมีธาตุโลหะอย่างน้อย 1 ชนิดเป็นองค์ประกอบ เช่น เหล็ก (iron) ทองแดง (copper)
นิกเกิล (nickel) ทอง (gold) และอาจมีธาตุที่เป็นอโลหะ (non-metals) เช่น คาร์บอน (carbon)
ออกซิเจน (oxygen) เป็นองค์ประกอบอยู่ร่วม โลหะเจือที่ใช้บ่อยในทางทันตกรรม เช่น โลหะ
เจื อ ทอง (gold alloys) เหล็ ก กล้ า (steel) โลหะโคบอลต์ - โครเมี ย ม (cobalt-chromium)
สมบั ติ โ ดยทั่ ว ไปที่ ส� ำ คั ญ ของวั ส ดุ ก ลุ ่ ม โลหะคื อ มี ค วามสามารถในการน� ำ ไฟฟ้ า (electrical
conductivity) และน� ำ ความร้ อ น (thermal conductivity) ได้ ดี มี ค วามแข็ ง แรงเชิ ง กล
(mechanical strength) และความสามารถในการขึ้นรูป (forming ability) สูง ลักษณะพื้นผิว
เป็นมันวาวและสะท้อนแสง (luster and shining) โลหะมักน�ำมาใช้ในงานโครงสร้างหรืองานทีต่ อ้ ง
รับแรง ลักษณะโครงสร้างโลหะจะเป็นผลึกชัดเจน (crystalline structure) ซึ่งอะตอมจะมีการ
จัดตัวอย่างเป็นระเบียบและมีลักษณะเฉพาะ โดยยึดอยู่ด้วยกันด้วยพันธะโลหะ (metallic bond)
ที่อะตอมของโลหะมีการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอน (valence electron) ร่วมกัน ท�ำให้เกิดแรงดึงดูด
ระหว่างประจุไฟฟ้าตรงกันข้าม (รูปที่ 1.2) ด้วยเหตุที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ
และมี ก ารใช้ อิ เ ล็ ก ตรอนร่ ว มกั น ภายในโลหะจึ ง ท� ำ ให้ โ ลหะมี ส มบั ติ ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ได้ แ ก่
การน� ำ ไฟฟ้ า และความร้ อ นได้ ดี เนื่ อ งจากอิ เ ล็ ก ตรอนเคลื่ อ นที่ ไ ด้ ง ่ า ยและหลายทิ ศ ทาง และ
การทีโ่ ลหะมีอณ ุ หภูมหิ ลอมเหลวสูงเนือ่ งจากมีพนั ธะโลหะทีแ่ ข็งแรง โลหะส่วนใหญ่อยูใ่ นรูปของแข็ง
ยกเว้นธาตุปรอท (mercury) ซึ่งเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง และธาตุแกลเลียม (gallium) ที่เป็น
ของเหลว ที่อุณหภูมิประมาณ 30 oC
_
e

_ _ _ _ _
e e e e e

_
_ e _ _
e e e

_
e

รูปที่ 1.2  พันธะโลหะ โดยมีอิเล็กตรอนอิสระ (free electron) กระจายทั่วไป

4
วัสดุศาสตร์ และสมบัติทางวัสดุศาสตร์
(Materials Science and Properties)

โลหะเจือแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มส�ำคัญ คือ กลุ่มโลหะเจือที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบหลัก


(ferrous alloys) โลหะกลุ่มนี้ประกอบด้วยเหล็กเป็นองค์ประกอบหลักในเปอร์เซ็นต์สูง ซึ่งโลหะ
กลุ่มนี้จะพบได้มากและมีการน�ำไปใช้มากที่สุด เช่น โลหะเจือประเภทเหล็กกล้า (steel) และ
เหล็กหล่อ (cast iron) ที่ได้จากการเติมธาตุคาร์บอนลงไป นอกจากนี้ยังรวมถึงเหล็กกล้าไร้สนิม
(stainless steel) ที่ได้จากการเพิ่มธาตุโครเมียมเพื่อเพิ่มสมบัติการต้านทานการกัดกร่อนให้ดีขึ้น
โลหะเจืออีกกลุ่มคือโลหะเจือที่ไม่มีเหล็ก (non-ferrous alloys) หรือถ้ามีก็มีเป็นส่วนประกอบ
ในปริมาณน้อย โดยเหล็กจะไม่เป็นองค์ประกอบหลัก ตัวอย่างของโลหะเจือกลุ่มนี้ ได้แก่ โลหะที่ใช้
ในทางทันตกรรมหรือทางการแพทย์ รวมไปถึงโลหะไทเทเนียม รายละเอียดจะกล่าวต่อไป
เซรามิก (ceramic)
เซรามิกเป็นวัสดุที่มีองค์ประกอบหลักเป็นสารอนินทรีย์ ประกอบด้วยธาตุที่เป็นโลหะ
(metallic elements) และธาตุที่เป็นอโลหะ (nonmetallic elements) ที่ยึดเกาะกันด้วย
พันธะไอออน (ionic bond) หรือพันธะโคเวเลนต์ (covalent bond) วัสดุเหล่านี้ทั่วไปจะมี
ความเป็นฉนวนต่อการส่งผ่านไฟฟ้าและความร้อน ทนต่ออุณหภูมิได้ดีและทนต่อสภาพแวดล้อม
ทีร่ นุ แรงได้ดกี ว่าโลหะหรือพอลิเมอร์ มีนำ�้ หนักเบา มีความแข็งสูงแต่เปราะ และการทนความเค้นต�ำ่
(low toughness) วัสดุเซรามิกมีโครงสร้างเป็นได้ทั้งแบบมีรูปร่างเป็นผลึก และไม่มรี ปู ร่างเป็นผลึก
หรืออสัณฐาน (non-crystalline/amorphous structure) หรืออาจมีทั้ง 2 โครงสร้างอยู่ร่วมกัน
เซรามิกสามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ได้ 2 ประเภทตามองค์ประกอบของซิลิกา คือ กลุ่มที่มีซิลิกา
เป็นองค์ประกอบ (silica-based ceramic) และกลุ่มที่ไม่มีซิลิกาเป็นองค์ประกอบ (non silica-
based ceramic) หรือแบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้ 4 กลุ่ม ได้แก่
1. ซิลิเกตเซรามิก (silicate ceramics) เช่น พอร์ซเลน (porcelain)
2. ออกไซด์เซรามิก (oxide ceramics) เช่น อะลูมิเนียมออกไซด์ (aluminium oxide)
เซอร์โคเนียมออกไซด์ (zirconium oxide)
3. นอนออกไซด์เซรามิก (non-oxide ceramics) เช่น ซิลิคอนคาร์ไบด์ (silicon carbide)
ทังสเตนคาร์ไบด์ (tungsten carbide)  
4. กลาสเซรามิก (glass-ceramics) เช่น ไดคอร์กลาสเซรามิก (Dicor glass ceramic)
อย่างไรก็ตาม รายละเอียดของวัสดุเซรามิกจะไม่ขอกล่าวในที่นี้

5
บทที่ 1

พอลิเมอร์ (polymer)
พอลิเมอร์เป็นวัสดุที่อาจประกอบด้วยสารอินทรีย์ (organic O

6
วัสดุศาสตร์ และสมบัติทางวัสดุศาสตร์
(Materials Science and Properties)

รูปที่ 1.3   วัสดุพิมพ์ปากชนิดคอมพาวด์ (dental impression compound) (บริษัท Kerr® ประเทศ


สหรัฐอเมริกา)

2. เทอร์ โ มเซตติ ง พอลิ เ มอร์ (thermosetting polymers) เป็ น พอลิ เ มอร์ ที่ มี
ความแข็งแรง เพราะสายโซ่โมเลกุลเกาะยึดกันแน่นเป็นโครงข่าย หรือที่เรียกว่า เกิดการเชื่อมขวาง
(cross-link) ท�ำให้พอลิเมอร์ประเภทนี้เมื่อขึ้นรูปแล้วจะแข็งตัวเมื่อเกิดกระบวนการปฏิกิริยา
ทางเคมี (chemical reaction) และสร้างพันธะโคเวเลนต์โดยไม่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
ได้ อี ก (irreversible change) ภายหลั ง การเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี ที่ ส มบู ร ณ์ แ ล้ ว ถึ ง แม้ ว ่ า
จะถูกความร้อนอีกครั้ง พอลิเมอร์ประเภทนี้มักมีสมบัติลักษณะแข็งและเปราะ เช่น พอลิเมทิล-
เมทาคริเลต (polymethyl methacrylate หรือ PMMA) อีพอกซี (epoxy) ดังรูปที่ 1.4 แสดง
ลักษณะโครงสร้างการยึดเกาะของโมเลกุลพอลิเมอร์

a. b.

รูปที่ 1.4 ลักษณะโครงสร้างการยึดเกาะของโมเลกุล a. เทอร์โมพลาสติกพอลิเมอร์ (thermoplastic


polymer) และ b. เทอร์ โ มเซตติ ง พอลิ เ มอร์ (thermosetting polymer) ลู ก ศรในรู ป
b. แสดงพันธะเชื่อมขวาง (cross-link)

7
โลหะวิทยาพื้นฐาน
(Fundamental Metallurgy Science)
โลหะวิทยาพื้นฐาน
(Fundamental Metallurgy Science)

หลักการพื้นฐาน (fundamental concepts)


โลหะเป็นวัสดุที่มีโครงสร้างเป็นผลึก (crystalline material) ดังนั้น การศึกษาลักษณะ
การจัดเรียงตัวของอะตอมและโครงสร้างผลึกจึงมีความส�ำคัญมาก เพราะสมบัตขิ องวัสดุโลหะมีความ
สัมพันธ์โดยตรงกับโครงสร้างผลึก เช่น โลหะบริสุทธิ์ที่ผ่านกับไม่ผ่านการแปรรูปจะมีโครงสร้างผลึก
แตกต่างกัน และมีสมบัติทั้งเชิงกลหรือเชิงกายภาพแตกต่างกัน หรือวัสดุที่มีองค์ประกอบเหมือนกัน
แต่โครงสร้างต่างกัน ก็จะมีสมบัติต่างกัน เพราะฉะนั้น การเข้าใจถึงโครงสร้างผลึกและการเรียงตัว
จะท�ำให้เข้าใจถึงสมบัติของธาตุโลหะนั้น ๆ ได้ดี ในทางโลหะศาสตร์ ระบบผลึก (crystal system)
แบ่งได้เป็น 7 ระบบ (ดังตารางที่ 2.1) โดยจะสัมพันธ์กับแกนผลึก (crystal axes) แต่เมื่ออะตอม
ของโลหะมีการสร้างพันธะจะก่อตัวเป็นแลตทิซผลึก (crystal lattice) ที่มีการจัดเรียงอะตอม
ทีแ่ ตกต่างกันเรียกว่า บราเวียสแลตทิซ (Bravais lattice) ซึง่ มีทงั้ หมด 14 ชนิด ส�ำหรับแลตทิซผลึก
ในบางต�ำราอาจใช้ค�ำว่า โครงสร้างผลึก (crystal structure) ถึงแม้ว่าลักษณะโครงสร้างผลึกของ
โลหะจะมีหลากหลาย แต่ลักษณะโครงสร้างผลึกของโลหะที่พบได้บ่อยในทางทันตกรรมจะมีอยู่
3 รูปแบบหลัก ๆ คือ
ŒłdGBDFDFOUFSFEDVCJDGDD โลหะทีม่ โี ครงสร้างผลึกแบบนี้ เช่น
ทองแดง ทอง แพลเลเดียม เงิน นิกเกิล อะลูมิเนียม
ØŒłd CPEZDFOUFSFEDVCJDCDD โลหะที่มีโครงสร้างผลึกแบบนี้
เช่น เหล็ก ไทเทเนียม โครเมียม วาเนเดียม
œ IFYBHPOBMDMPTFQBDLFEIDQโลหะที่มีโครงสร้างผลึก
แบบนี้ เช่น ไทเทเนียม โคบอลต์ สังกะสี

57
บทที่ 2

ตารางที่ 2.1 ความสัมพันธ์ของระบบผลึก (crystal system) และลักษณะทางเรขาคณิตของระบบ


ผลึกทั้ง 7 รูปแบบ และแลตทิซผลึก (crystal lattice) ทั้ง 14 รูปแบบตามบราเวียส
แลตทิซ (Bravais lattice)
$SZTUBM "YJBM (FPNFUSZ 7PMVNF #BTF ’BDF
TZTUFNSFMBUJPOTIJQ DFOUFSFEDFOUFSFEDFOUFSFE
Cubic a=b=c

Simple Cubic Body-centered Face-centered


Cubic Cubic
Tetragonal a=b≠c

Simple Body-centered
Tetragonal Tetragonal
Orthorhombic a≠b≠c

Simple Body-centered Base-centered Face-centered


Orthorhombic Orthorhombic Orthorhombic Orthorhombic
Monoclinic a≠b≠c

Simple Base-centered
Monoclinic Monoclinic
Triclinic a≠b≠c

Triclinic
Hexagonal a=b≠c

Hexagonal
Rhombohedral a=b=c
(Trigonal)

Rhombohedral

58
โลหะวิทยาพื้นฐาน
(Fundamental Metallurgy Science)

จากตารางธาตุ (periodic table) สามารถแบ่งธาตุได้เป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มโลหะ


แอลคาไลน์ (alkali metal) กลุ่มโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (alkaline earth metal) กลุ่มโลหะ
แทรนซิชัน (transition metal) กลุ่มเมทัลลอยด์ (metalloid) และกลุ่มอโลหะ (non-metal)
ซึ่งจะรวมธาตุที่เป็นแก๊ส ในที่นี้จะขอกล่าวแต่ละประเภทโดยสังเขป แต่จะไม่ขอกล่าวถึงกลุ่ม
อโลหะหรือแก๊ส เนื่องจากไม่ได้เป็นองค์ประกอบหลักที่น�ำมาใช้ในทางทันตกรรม (รูปที่ 2.1)
โลหะแอลคาไลน์ เป็นโลหะที่ไวต่อการเกิดปฏิกิริยา (high reactive metal) กับน�้ำเพื่อ
สร้างเป็นแอลคาไลน์ (alkali) หรือเป็นสารประกอบไฮดรอกไซด์ (hydroxide compound)
ของธาตุโลหะเหล่านั้น เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์ (sodium hydroxide) โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
(potassium hydroxide) โดยทัว่ ไป กลุม่ แอลคาไลน์มภี าวะความเป็นด่างสูง นอกจากนีโ้ ลหะกลุม่ นี้
ยังมีจุดหลอมเหลวและความหนาแน่นค่อนข้างต�่ำเมื่อเทียบกับโลหะทั่วไป ตัวอย่างโลหะกลุ่ม
แอลคาไลน์ ได้แก่ ลิเทียม (lithium, Li) โซเดียม (sodium, Na) โพแทสเซียม (potassium, K)
รูบิเดียม (rubidium, Rb) ซีเซียม (cesium, Cs) และแฟรนเซียม (francium, Fr)
โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท โลหะกลุ่มนี้มีสมบัติคล้ายกับกลุ่มโลหะแอลคาไลน์ เกิดปฏิกิริยา
ได้เร็ว มีจุดหลอมเหลวต�่ำ ได้แก่ เบริลเลียม (beryllium, Be) แมกนีเซียม (magnesium, Mg)
แคลเซียม (calcium, Ca) สตรอนเชียม (strontium, Sr) แบเรียม (barium, Ba) และเรเดียม
(radium, Ra) แต่สาเหตุที่มีการใช้ค�ำว่า “เอิร์ท (earth)” ในโลหะกลุ่มนี้เนื่องจากในธรรมชาติ
จะพบธาตุกลุ่มนี้ในรูปของไฮดรอกไซด์เมื่อท�ำปฏิกิริยากับน�้ำ และเมื่อต้องการหลอมเหลวออกไซด์
ของธาตุกลุ่มนี้จะต้องใช้อุณหภูมิสูง เนื่องจากโลหะกลุ่มนี้สามารถอยู่ในสถานะของแข็งจึงใช้ค�ำว่า
“เอิร์ท” เพื่อบ่งบอกถึงสถานะของแข็งที่อุณหภูมิสูง ไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท
(alkaline earth metal hydroxides) มีภาวะความเป็นด่างสูง แต่ต�่ำกว่าไฮดรอกไซด์กลุ่มโลหะ
แอลคาไลน์ (alkaline metal hydroxides)
โลหะแทรนซิชัน จัดเป็นโลหะกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดและเป็นโลหะที่น�ำมาใช้มากทั้งในทาง
อุตสาหกรรม ทางการแพทย์ และทางทันตกรรม เช่น ทอง นิกเกิล หรือโคบอลต์ สมบัติของโลหะ
กลุ่มนี้มักมีจุดหลอมเหลวสูง ยกเว้นโลหะปรอท (mercury) ที่มีจุดหลอมเหลวต�่ำและเป็นโลหะ
ที่มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง (ประมาณ 27 °C) นอกจากนี้โลหะแทรนซิชันจะมีสมบัติ
การน�ำความร้อนและน�ำไฟฟ้าได้ดี รีดหรือตีให้แผ่ได้งา่ ย (good malleability) โลหะกลุม่ นีส้ ว่ นใหญ่
มีความหนาแน่นสูง และสมบัตเิ ฉพาะของโลหะกลุม่ นี้ คือความสามารถในการสร้างสถานะออกซิเดชัน
(oxidation state) ได้หลายรูปแบบ เนือ่ งจากโลหะกลุม่ นีม้ เี วเลนซ์อเิ ล็กตรอน (valence electron)
หลายชั้น ท�ำให้โลหะเจือกลุ่มนี้มีสมบัติที่แตกต่างกันไปตามสถานะของการเกิดออกซิเดชัน

59
บทที่ 2

เมทัลลอยด์ เป็นกลุ่มธาตุที่มีสมบัติไม่ชัดเจนระหว่างโลหะและอโลหะ ธาตุในกลุ่มนี้


ได้แก่ โบรอน (boron, B) ซิลคิ อน (silicon, Si) เจอร์เมเนียม (germanium, Ge) สารหนู (arsenic,
As) พลวง (antimony, Sb) เทลลูเรียม (tellurium, Te) อาจรวมไปถึงบิสมัท (bismuth, Bi)
และพอโลเนียม (polonium, Po) มักมีสมบัติที่เปราะกว่าโลหะทั่วไปและธาตุบางชนิดมีสมบัติ
ความเป็นวัสดุกึ่งตัวน�ำ (semiconductor) เช่น ซิลิคอน (silicon) แต่โลหะกลุ่มนี้มักไม่ได้น�ำมาใช้
ในทางทันตกรรม

H Alkali metals Non-metal hcp: hexagonal closc pack He


Alkaline earth metals Metalloid bcc: body-centered cubic
Li Be Transition metals fcc: face-centered cubic B C N O F Ne
bcc hcp Other metals rho: rhombohedral
bct: body-centered tetragonal
Na Mg ortho: orthorhombic Al Si P S Cl Ar
bcc hcp fcc
K Ca Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br Kr
bcc fcc hcp hcp* bcc bcc ** bcc hcp fcc fcc hcp ortho
Rb Sr Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd In Sn Sb Te I Xe
bcc fcc hcp hcp* bcc bcc hcp hcp fcc fcc fcc hcp bct bct
Cs Ba Lu Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At Rn
bcc bcc hcp* bcc bcc hcp hcp fcc fcc fcc hcp hcp fcc rho
Fr Ra Lr Rf Db Sg Bh Hs Mt Ds Rg Cn Nh Fl Mc Lv Ts Uuo
ทัbcc
นตกรรม
bcc hcp* bcc bcc hcp hcp fcc bcc bcc hcp hcp fcc ** **
* เป็น hcp ที่อุณหภูมิต�่ำ แต่เป็น bcc ที่อุณหภูมิสูง
** โครงสร้างผลึกยังไม่ชัดเจน

รูปที่ 2.1 ตารางธาตุแสดงกลุ่มธาตุ และโครงสร้างผลึกเฉพาะกลุ่มที่เป็นโลหะ

60
โลหะวิทยาพื้นฐาน
(Fundamental Metallurgy Science)

กลไกการสร้างผลึก และการเกิดนิวคลี ไอของโลหะ


(crystallization and nucleation of metal)
กระบวนการสร้างผลึกของโลหะจะเริ่มขึ้นเมื่อโลหะเริ่มเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็น
ของแข็ง หรือเรียกว่าเกิดกระบวนการกลายเป็นของแข็ง (solidification) โดยที่โลหะหลอมเหลว
เริ่มเย็นตัวลง ภายในโลหะที่หลอมเหลวนั้นจะเกิดการสร้างนิวคลีไอ (nuclei) จากนิวเคลียส
(nucleus) ของอะตอมธาตุโลหะ ซึ่งเป็นการเริ่มต้นของกระบวนการที่เรียกว่า “นิวคลีเอชัน
(nucleation)” ดังนัน้ การเริม่ ก่อตัวของของแข็งจากโลหะทีห่ ลอมเหลวจึงคล้ายคลึงกับน�ำ้ ทีเ่ ย็นจัด
จนถึงจุดเยือกแข็ง น�้ำก็จะเกิดอนุภาคเล็ก ๆ ของน�้ำแข็งอยู่ภายใน โดยขณะที่โลหะหลอมเหลว

61
บทที่ 2

62
โลหะวิทยาพื้นฐาน
(Fundamental Metallurgy Science)

อุณหภูมิหลอมเหลวและอุณหภูมิเยือกแข็งของโลหะ
(melting and freezing temperature of metal)
โลหะเจือประกอบด้วยธาตุโลหะ และ/หรือธาตุอโลหะตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ดังนั้น อุณหภูมิ
หลอมเหลวของโลหะบริสุทธิ์และโลหะเจือเมื่อกลายเป็นของแข็งจึงแตกต่างกัน เนื่องจากโลหะเจือ
ประกอบด้วยธาตุหลายชนิด และธาตุแต่ละชนิดก็มีจุดหลอมเหลว (melting point) ที่แตกต่างกัน
ดังนั้น โลหะเจือจึงไม่สามารถก�ำหนดจุดหลอมเหลวได้ แต่จะก�ำหนดเป็นช่วงอุณหภูมิหลอมเหลว
(melting range) หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า “อุ ณ หภูมิห ลอมเหลว (melting temperature)” ขณะที่
โลหะบริสุทธิ์จะสามารถก�ำหนดจุดหลอมเหลวได้ จากรูปที่ 2.3 แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิกับเวลา เปรียบเทียบกันระหว่างโลหะบริสุทธิ์กับโลหะเจือ ขณะก่อตัว
จากโลหะเหลวเป็นสถานะของแข็ง

Temperature Temperature A
A
TL
B
Tm TS C
B C
Plateau stage D
D

Time Time

a. การเย็นตัวลงของโลหะบริสุทธิ์ b. การเย็นตัวลงของโลหะเจือ
รูปที่ 2.3 ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและเวลาขณะเกิดกระบวนการกลายเป็นของแข็งระหว่างโลหะ
บริสุทธิ์ (a) และโลหะเจือ (b) (Tm: melting temperature, TL: liquidus temperature,
TS: solidus temperature)

จากรู ป ข้ า งต้ น ช่ ว ง A-B เป็ น ช่ ว งที่ โ ลหะบริ สุ ท ธิ์ แ ละโลหะเจื อ อยู ่ ใ นสถานะของเหลว
เมื่ อความร้อนระบายออกและอุณหภูมิล ดลงเรื่อย ๆ จนถึงอุณ หภูมิที่จุด B ส�ำหรับโลหะบริสุทธิ์
(รูปที่ 2.3 a) จะเรียกอุณหภูมิ ณ จุดนี้ว่า “อุณหภูมิหลอมเหลว หรือจุดหลอมเหลว (melting tem-
perature (Tm) หรือ melting point)” ซึ่งอุณหภูมิ ณ จุดนี้จะมีความหมายเดียวกับจุดเยือกแข็ง
หรืออุณหภูมิเยือกแข็ง (freezing point/temperature) ของโลหะเหลว ซึ่งหมายถึงจุดอุณหภูมิ

63
บทที่ 2

ทีโ่ ลหะเหลวเริม่ ก่อตัวเป็นของแข็ง (เฉพาะโลหะบริสทุ ธิเ์ ท่านัน้ ทีจ่ ะมีจดุ หลอมเหลว หรือจุดเยือกแข็ง
ทีอ่ ณ
ุ หภูมเิ ดียวกัน) กล่าวคือ ความแตกต่างระหว่างจุดหลอมเหลวและจุดเยือกแข็งคือ จุดหลอมเหลว
เป็นจุดอุณหภูมิที่เริ่มการเปลี่ยนสถานะของโลหะแข็งเป็นของเหลว ขณะที่จุดเยือกแข็งเป็นจุด
อุณหภูมิที่เริ่มการเปลี่ยนสถานะของโลหะเหลวเป็นสถานะของแข็ง ดังนั้น จุดอุณหภูมิทั้งสองนี้
ของโลหะบริสทุ ธิจ์ งึ เป็นอุณหภูมเิ ดียวกัน นอกจากนีอ้ ณ ุ หภูมหิ ลอมเหลวยังมีความหมายเช่นเดียวกับ
อุณหภูมขิ องเหลว (liquidus temperature) ซึง่ หมายถึง อุณหภูมติ ำ�่ สุดทีท่ ำ� ให้โลหะอยูใ่ นสถานะ
ของเหลวหมด กล่ า วคื อ อุ ณ หภู มิ สู ง สุ ด ก่ อ นที่ โ ลหะเหลวจะเริ่ ม ก่ อ ตั ว เป็ น ของแข็ ง หรื อ เริ่ ม
กระบวนการนิวคลีเอชัน (first start of nucleation)
หลังจากโลหะเหลวเย็นตัวลง อุณหภูมิของโลหะบริสุทธิ์จะคงที่ในช่วง B-C ซึ่งจะเกิด
กระบวนการสร้างผลึก เรียกช่วงอุณหภูมิที่คงที่นี้ว่า “ระยะแพลตโท (plateau stage)” เนื่องจาก
เป็นช่วงทีโ่ ลหะเหลวเริม่ คายความร้อนแฝงของการหลอม (latent heat of fusion) ขณะก่อตัวเป็น
ของแข็ง (รายละเอียดหัวข้อความร้อนแฝงของการหลอม ศึกษาได้ในบทที่ 1) เมือ่ สิน้ สุดกระบวนการ
การสร้างผลึกที่เสร็จสมบูรณ์ (complete solidification) ณ จุด C โลหะบริสุทธิ์จะเย็นตัวลงสู่
อุณหภูมหิ อ้ ง (solid cooling down) จึงเรียกจุดอุณห4ูม C

64
โลหะวิทยาพื้นฐาน
(Fundamental Metallurgy Science)

การจ�ำแนกประเภทของโลหะ (classification of metal)


การจ�ำแนกประเภทโลหะสามารถแบ่งตามหลักโลหะวิทยา (metallurgy) จ�ำแนกตามระบบ
โครงสร้างวัฏภาค (equilibrium-phase diagram) หรือจ�ำแนกตามการใช้งานทางทันตกรรม

จ�ำแนกประเภทโลหะทางโลหะวิทยา (metallurgical classification)


การจ�ำแนกประเภทของโลหะตามโลหะวิทยา สามารถจ�ำแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
โลหะเจือกลุ่มเหล็ก (ferrous alloys) และโลหะเจือนอกกลุ่มเหล็ก (non-ferrous alloys)
โดยสามารถดูแผนผังสรุปการแบ่งโลหะประเภทต่าง ๆ ตามหลักโลหะวิทยาได้ในรูปที่ 2.4

Plain
Low carbon High strength
Plain
Low alloy Medium carbon
Heat treatable
Steel
High carbon Plain
Ferrous Tool
High alloy
Stainless
Metals Cast-Irons Gray iron
Ductile iron
White iron
Malleable iron
Non-Ferrous

รูปที่ 2.4   แผนผังการแบ่งประเภทโลหะตามหลักโลหะวิทยา

65
บทที่ 2

โลหะเจือกลุ่มเหล็ก (ferrous alloys)


โลหะเจือกลุม่ เหล็กจะมีธาตุเหล็ก (iron, Fe) เป็นองค์ประกอบหลัก และเป็นกลุม่ โลหะเจือ
ที่น�ำมาใช้ในงานอุตสาหกรรมและชีวิตประจ�ำวันมากที่สุด เนื่องจากเหล็กเป็นธาตุที่พบมากเป็น
อันดับที่ 2 รองจากอะลูมิเนียม และพบมากกว่าแมกนีเซียมและไทเทเนียมตามล�ำดับ นอกจากนี้
โลหะกลุ่มเหล็กยังสามารถขึ้นรูปได้หลายวิธี โดยมีค่าใช้จ่ายไม่สูงเกินไป รวมถึงสมบัติที่สามารถ
ปรับแต่งได้หลากหลายเพื่อให้เหมาะกับการน�ำไปใช้งาน ข้อด้อยของโลหะเจือกลุ่มเหล็กคือความ
ต้านทานการกัดกร่อนจะต�ำ่ กว่าโลหะเจือนอกกลุม่ เหล็ก โลหะเจือกลุม่ เหล็กสามารถแบ่งเป็นกลุม่ ใหญ่
ได้ 2 กลุ่ม ได้แก่
1. เหล็กกล้า (steel) หมายถึง โลหะกลุ่มเหล็กที่มีคาร์บอน (carbon) เป็นส่วนประกอบ
ซึ่งปริมาณของคาร์บอนจะมีผลโดยตรงต่อสมบัติเชิงกลของโลหะเหล็กกล้า โดยทั่วไป เหล็กกล้า
จะมีองค์ประกอบของคาร์บอนระหว่าง 0.05-2.0 wt% ในขณะที่เหล็กหล่อ (cast iron) จะมี
คาร์บอนเป็นองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 2.0-4.5 wt%
ส�ำหรับโลหะเหล็กกล้าสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ โลหะเจือต�่ำ (low alloys) และ
โลหะเจือสูง (high alloys) โดยกลุ่ม โลหะเจือต�่ำ จะเป็นโลหะเหล็กกล้าที่มีองค์ประกอบคาร์บอน
แตกต่างกันตัง้ แต่เหล็กกล้าคาร์บอนต�ำ  ่ (low carbon steel) (มีปริมาณคาร์บอนไม่เกิน 0.25 wt%)
เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง (medium carbon steel) (มีปริมาณคาร์บอนอยู่ระหว่าง 0.25-
0.6 wt%) และเหล็ ก กล้ า คาร์ บอนสู ง (high carbon steel) (มีปริม าณคาร์บอนอยู่ระหว่าง
0.6-1.4 wt%) โดยโลหะกลุ่มเหล็กกล้าคาร์บอนต�่ำมีสมบัติสภาพดึงยืดได้ (ductility) ค่อนข้างดี
ขึ้นรูปได้ง่าย ค่าใช้จ่ายในการผลิตต�่ำ ในขณะที่เหล็กกล้าคาร์บอนสูงจะเป็นกลุ่มเหล็กกล้าคาร์บอน
ที่มีความแข็งแรงสูงสุด รวมถึงมีสมบัติสภาพดึงยืดได้ต�่ำสุด (least ductility) เนื่องจากมีคาร์บอน
เป็นองค์ประกอบมากกว่า ส่วนโลหะเหล็กกล้ากลุ่ม โลหะเจือสูง ที่คุ้นเคยมากที่สุดก็คือโลหะ
เหล็กกล้าไร้สนิม โลหะกลุ่มนี้จะมีความแข็งแรงและทนต่อการกัดกร่อนได้ดี สมบัติต้านทาน
การกัดกร่อนของโลหะเหล็กเจือจะได้จากธาตุโครเมียมที่เป็นองค์ประกอบเพิ่มเข้าไปประมาณ
11 wt% เป็นหลัก นอกเหนือจากผลจากองค์ประกอบนิกเกิลหรือโมลิบดีนมั นอกจากธาตุโครเมียม
จะเพิ่ ม สมบั ติ ต ้ า นทานการกั ด กร่ อ นแล้ ว ยั ง ช่ ว ยเพิ่ ม สมบั ติ ต ้ า นความร้ อ น (heat-resistant
property) และเพิ่มความสามารถในการชุบแข็ง (hardenability) ให้แก่โลหะเหล็กกล้า 1 โลหะ
เหล็กกล้าไร้สนิมสามารถแบ่งตามโครงสร้างได้เป็น 3 กลุ่ม คือ โลหะเหล็กกล้าไร้สนิมมาร์เทนซิติก

66
โลหะวิทยาพื้นฐาน
(Fundamental Metallurgy Science)

(martensitic stainless steel) โลหะเหล็กกล้าไร้สนิมเฟอร์ริติก (ferritic stainless steel)


และโลหะเหล็กกล้าไร้สนิมออสเทนนิติก (austenitic stainless steel) โดยรายละเอียดจะขอ
ไม่กล่าวในที่น้ี
ถึงแม้จะมีการน�ำนิกเกิลมาใช้เป็นองค์ประกอบในโลหะเจือหลายชนิด โดยเฉพาะโลหะเหล็กกล้า
แต่ยังมีความกังวลถึงความปลอดภัยของโลหะนิกเกิลอยู่ จึงมีการพัฒนาโลหะเหล็กกล้าไร้สนิม
ที่ปราศจากนิกเกิล โดยเพิ่มไนโตรเจนทดแทนลงไป โดยเรียกโลหะเหล็กกล้าไร้สนิมประเภทนี้ว่า
โลหะเหล็ ก กล้ า ไร้ ส นิ ม ชนิ ด มี ไ นโตรเจนสู ง และปลอดนิ ก เกิ ล (nickel-free high-nitrogen
stainless steel) โดยโลหะเหล็กกล้าออสเทนนิติกชนิดไนโตรเจนสูง (high-nitrogen austenitic
steel) คิดค้นและพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรกที่ National Institute for Materials Science (NIMS)
ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์กรระดับโลกส�ำหรับฐานข้อมูลด้านวัสดุ (material databases)
โลหะเหล็กกล้าชนิดนี้มีความแข็งแรงเชิงกลและความต้านทานการกัดกร่อนสูง รวมไปถึงมีสมบัติ
ไม่เป็นแม่เหล็ก (non-magnetic property) อีกทัง้ โลหะเหล็กกล้าชนิดนีส้ ามารถลดปริมาณนิกเกิล
ในโลหะเจือโดยการทดแทนด้วยไนโตรเจน ซึ่งไนโตรเจนจะเข้าไปช่วยทั้งสมบัติเชิงกลและทางด้าน
การต้านทานการกัดกร่อนให้กบั โลหะเหล็กกล้าไร้สนิม ดังนั้น โลหะชนิดนี้จึงเป็นโลหะทางเลือกอีก
ตัวหนึ่งที่น�ำมาใช้ในวงการแพทย์ 2
2. เหล็กหล่อ (cast iron) หมายถึง โลหะเจือกลุ่มเหล็กที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ
ร้ อ ยละน�้ ำ หนั ก มากกว่ า 2.0 wt% โดยส่ ว นมากจะมี ค าร์ บ อนอยู ่ ป ระมาณร้ อ ยละน�้ ำ หนั ก
3.0-4.5 wt% โลหะเหล็กหล่อแบ่งได้อีกเป็น 4 กลุ่มย่อย ได้แก่ เหล็กหล่อเทา (gray cast iron)
เหล็ ก หล่ อ ขาว (white cast iron) เหล็ ก หล่ อ ดึ ง ยื ด ได้ (ductile cast iron) และเหล็ ก หล่ อ
ตีให้แผ่ได้ (malleable cast iron) โลหะกลุ่มนี้จะไม่น�ำมาใช้ในทางทันตกรรม เนื่องจากโลหะ
เหล็กหล่อมีธาตุองค์ประกอบคาร์บอนค่อนข้างสูงกว่าโลหะเหล็กกล้า และมีอุณหภูมิหลอมเหลว
ต�่ำกว่าเหล็กกล้า (ประมาณ 1,150-1,300 °C) ท�ำให้การขึ้นรูปด้วยวิธีการหลอมได้ง่ายกว่าโลหะ
เหล็กกล้า แต่อาจจะสูญเสียความยืดหยุ่น ท�ำให้โลหะกลุ่มนี้มีสมบัติเปราะกว่าโลหะเหล็กกล้า
และการขึ้นรูปด้วยวิธีการกลึงหรือวิธีขึ้นรูปที่อุณหภูมิต�่ำ (working/wrought) ท�ำได้ยากกว่า
โลหะเหล็กกล้า

67
โลหะเจือในทางทันตกรรม
(Metal Alloys in Dentistry)
โลหะเจือในทางทันตกรรม
(Metal Alloys in Dentistry)

โลหะบริสุทธิ์สามารถแบ่งเป็นโลหะมีสกุลและโลหะพื้นฐาน ดังนั้น โลหะเจือที่ใช้ในทาง


ทันตกรรมจึงสามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ คือ โลหะเจือมีสกุล (noble alloys) และโลหะเจือพืน้ ฐาน
(base alloys) โลหะเจือทองซึง่ จัดอยูใ่ นกลุม่ โลหะเจือมีสกุลนัน้ น�ำมาใช้ในทางทันตกรรมมายาวนาน
เพราะเป็นโลหะเจือทีม่ สี มบัตติ า้ นทานการกัดกร่อนได้สงู ขึน้ รูปเพือ่ น�ำไปใช้งานได้ไม่ยงุ่ ยาก มีความ
ยืดหยุ่นที่ดี รวมถึงความแข็งแรงเชิงกลที่ดี ในขณะที่โลหะเจือพื้นฐานมีความแข็งแรงเชิงกลค่อนข้าง
สูงมากเมื่อเทียบกับโลหะเจือมีสกุล นอกจากนี้ยังมีราคาที่ต่�ำกว่า จึงท�ำให้ทั้งโลหะเจือทองและ
โลหะเจือพืน้ ฐานถูกน�ำมาใช้กนั อย่างแพร่หลายในทางทันตกรรม โลหะเจือในทางทันตกรรมทีแ่ บ่งตาม
องค์ประกอบของโลหะ โดยพิจารณาจากปริมาณองค์ประกอบของโลหะมีสกุล (content of noble
metals) จากการแบ่งของ American Dental Association (ADA) ปี 2003 (ตารางที่ 3.1)
ถูกใช้มาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งไม่มีการก�ำหนดสมบัติของโลหะ ดังนั้น ปัจจุบัน ADA ได้ยกเลิก
การรับรองการแบ่งโลหะทางทันตกรรมตามปริมาณโลหะมีสกุล อย่างไรก็ตาม การแบ่งโลหะ
ด้วยวิธีนี้ยังน�ำมาใช้อ้างอิง โดยเฉพาะบริษัทผู้ผลิตโลหะซึ่งจ�ำเป็นต้องออกใบรับรององค์ประกอบ
ของโลหะ (alloy certificate) เพื่อผลประโยชน์ทางการประกันภัย (insurance) รวมถึงการน�ำไป
ใช้สื่อสารกับผู้ป่วยและแล็บทันตกรรม ดังนั้น การแบ่งตามปริมาณโลหะมีสกุลยังคงพบในต�ำรา
ทั่วไป จึงมีความส�ำคัญที่จะต้องน�ำมากล่าวถึงในหนังสือเล่มนี้

Œł ł‘œ‘œŒłłŒł"%"DMBTTJsDBUJPO
Noble metal (wt%) Gold (wt%) Titanium (wt%)
High noble alloy ≥ 60 ≥ 40
Noble alloy ≥ 25
Titanium/Titanium alloy ≥ 85
Predominantly base alloy ≤ 25

85
บทที่ 3

โลหะเจือมีสกุล (noble metal alloys)


โลหะเจือที่ใช้ในทางทันตกรรมมีอยู่หลากหลาย ดังตัวอย่างในตารางที่ 3.2 และ 3.5
โดยตารางทั้งสองจะแสดงให้เห็นตัวอย่างโลหะที่ใช้อยู่ในประเทศไทยและองค์ประกอบของธาตุ
เพื่ อ ที่ ส ามารถเข้ า ใจภาพรวมถึ ง โลหะที่ ใช้ อ ยู ่ เพื่ อ ที่ จ ะได้ พิ จ ารณาเลื อ กใช้ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ
ลักษณะงานที่ท�ำ ในทางปฏิบัติ เมื่อทันตแพทย์สื่อสารกับผู้ป่วยหรือช่างทันตกรรมมักจะไม่ใช้การ
แบ่งเช่นนี้ แต่จะแบ่งโดยอ้างอิงตามมูลค่าของโลหะที่ใช้ ดังนั้น จึงแบ่งเป็นกลุ่มโลหะเจือมีค่าสูง
(high precious alloys) โลหะเจื อ กึ่ ง มี ค ่ า (semi-precious alloys) โลหะเจือแพลเลเดียม
(palladium alloys) และโลหะเจือไม่มีค่า (non-precious alloys) ในความเป็นจริงแล้วโลหะเจือ
มีค่าสูง และโลหะเจือกึ่งมีค่าหลาย ๆ ชนิดจัดอยู่ในกลุ่มของโลหะเจือที่มีโลหะมีสกุลปริมาณสูง
(high noble alloys) เพราะกลุ่มโลหะทั้งสองนี้มีทองเป็นองค์ประกอบมากกว่า 40% ในขณะ
เดียวกันโลหะเจือแพลเลเดียมจะจัดอยู่ในกลุ่มโลหะเจือมีสกุล (noble metal) ถึงแม้โลหะบางชนิด
ไม่มโี ลหะทองผสม เช่น โลหะเจือ Pd-Ag นอกจากนีโ้ ลหะเจือไม่มคี า่ หรือทีเ่ รียกว่า โลหะเจือพืน้ ฐาน
(predominantly base alloys) ที่มีใช้อยู่ในท้องตลาดมักจะไม่มีโลหะมีสกุลเป็นองค์ประกอบ
นอกจากการแบ่งประเภทของโลหะเจือตามปริมาณขององค์ประกอบของโลหะมีสกุลแล้ว
ยังมีการแบ่งเฉพาะโลหะหล่อเจือทอง (cast gold alloys) ตามสมบัตเิ ชิงกล ได้แก่ ความแข็งแรงคราก
(yield strength) เปอร์ เซ็ น ต์ ก ารยื ด (percent elongation) และจ� ำ แนกตามการใช้ ง าน
ที่แตกต่างกันไป ส�ำหรับสมบัติเชิงกลของโลหะเจือทองที่แตกต่างกันนั้นเป็นผลมาจากปริมาณของ
โลหะทอง (gold content) ซึ่ ง เป็ น องค์ ป ระกอบหลั ก ที่ ไ ม่ เ ท่ า กั น โดยอ้ า งอิ ง ตามมาตรฐาน
ISO 1562:2002 หรือ ANSI/ADA Specification No 5 ดังตารางที่ 3.3 จึงกล่าวได้ว่า โลหะเจือ
Type 1 มีปริมาณทองมากที่สุด และมีความแข็งแรงเชิงกลต�่ำที่สุด

86
โลหะเจือในทางทันตกรรม
(Metal Alloys in Dentistry)

Œł d ł Œ Œ ‘ œ œ Œ łł a
ł
’PS1PSDFMBJOGVTFEUPNFUBMSFTUPSBUJPO
’PS’VMMNFUBMSFTUPSBUJPO
5SBEF )JHIOPCMF /PCMF )JHIOPCMF /PCMF
OBNF "VSJVN"VSJVN8CZ 4QBSUBO p
8 )BSNPOZ ®
.JOJHPME
®

#JP ® : ® *WPDMBS 1MVT 1E"H 1’


Au 88.0 73.8 54 2.0 72.0 40.0
Pt 9.0 8.5 3.6
Pd 5.4 26.4 78.8 53.3 4.0
Ag 8.98 15.5 37.7 13.7 47.0
Ta <1.0 <1.0
Nb <1.0
Cu 10.0 9.8 7.5
Mg <1.0
Fe <1.0
Sn <1.0 2.5 8.5
Zn <1.0 1.0
In 1.5 1.9 1.5 <1.0 <1.0
Ga 9.0
Rh <1.0
Ru <1.0 <1.0 <1.0
Ir <1.0 <1.0 <1.0 <1.0
Re <1.0 <1.0
Li <1.0 <1.0 <1.0
Others <1.0
ที่มา: ข้อมูลได้รับความอนุเคราะห์จากแล็บทันตกรรมเคอิชิคาอิ (Keishikai Dental Laboratory)

87
บทที่ 3

Œł ł ‘ ł ı œ œ‘ Œ *40 Œ œ Ø œ
h ‘Œ Łd ł ‘ ł ı œ œ‘Œ "/4*"%"4QFDJsDBUJPO
/P
5ZQF4USFOHUI )BSEOFTT :JFME .JOJNVN $MJOJDBMVTF
* *
TUSFOHUI.1BFMPOHBUJPO
1 Low Soft 80  (< 140) 18  (18) Inlays, Low stress areas
2 Medium Medium 180 (140-200) 10  (18) Inlays or Onlays
3 High Hard 270  (201-340) 5  (12) Onlays, Crowns or
Short-span bridges
4 Extra high Extra hard 360  (> 340) 3 (10) Crowns, Long-span bridges,
Partial denture framework
*
ตาม ANSI/ADA Specification No 5 จะเป็นค่า annealed strength และ annealed % elongation

การแบ่งประเภทของโลหะตามที่กล่าวมาข้างต้น ปัจจุบัน การแบ่งประเภทของโลหะที่ใช้


ในทางทันตกรรม ไม่ว่าจะส�ำหรับงานบูรณะชนิดติดแน่น (fixed prosthesis) หรืองานบูรณะ
ชนิดถอดได้ (removable prosthesis) มักจะอ้างอิงตามมาตรฐานการแบ่งของ ISO:22647
(2016)  ซึง่ เป็นการแบ่งโลหะตามลักษณะการใช้งาน และความแข็งแรงเชิงกลทัง้ ความแข็งแรงคราก
และเปอร์เซ็นต์การยืด โดยไม่พิจารณาปริมาณของโลหะมีสกุล โดยสามารถจ�ำแนกเป็น 6 กลุ่ม
ดังแสดงในตารางที่ 3.4

Œł ł‘łıœŒŒºłdłałŁØŒØ‘œ
łŁØºØØaŒŒł"/4*"%"4UBOEBSE/P*40
.FUBMMJDNBUFSJBMTGPSsYFEBOESFNPWBCMFSFTUPSBUJPOTB
5ZQF :JFMETUSFOHUI 1SPPG &MPOHBUJPO
.1B * TUSFOHUI
BGUFSGSBDUVSF
.1B
0 – –
Including metal-ceramic crowns produced by
electroforming or sintering
1 80 18
one-surface inlays, veneered crowns.

88
โลหะเจือในทางทันตกรรม
(Metal Alloys in Dentistry)

5ZQF :JFMETUSFOHUI 1SPPG &MPOHBUJPO


.1B * TUSFOHUI
BGUFSGSBDUVSF
.1B
2 180 10
without restriction on the number of surfaces.
3 270 5
4 Appliances with thin sections subject to very high 360 2

veneered crowns, wide-span bridges or bridges with


small cross sections, bars, attachments, implant-
retained superstructures.
5 Appliances in which parts required the combination 500 2
of high stiffness (Young’s modulus about 150 GPa) and

with thin cross sections, clasps.

โลหะเจือทองทีใ่ ช้ในทางทันตกรรมจะประกอบด้วยองค์ประกอบของธาตุหลายชนิดเพือ่ เพิม่


สมบั ติ บ างประการของโลหะเจื อ ทองให้ เ หมาะสมกั บ การใช้ ง าน เช่ น การใช้ ธ าตุ แ พลทิ นั ม
หรือแพลเลเดียม เพือ่ เพิม่ อุณหภูมหิ ลอมเหลวของโลหะเจือทองให้สงู ขึน้ โดยเฉพาะในโลหะเจือทอง
ทีใ่ ช้ในงานบูรณะฟันทีเ่ ป็นชนิดโลหะเคลือบพอร์ซเลน อีกทัง้ เพือ่ ป้องกันการเปลีย่ นแปลงรูปร่างขณะ
เผาเคลือบพอร์ซเลน หรือที่เรียกว่า sag deformation นอกจากโลหะทั้ง 2 ชนิดนี้จะเพิ่มอุณหภูมิ
หลอมเหลวของโลหะเจือทองแล้ว ยังช่วยลดค่าสัมประสิทธิ์ของการขยายตัวเหตุความร้อนให้แก่
โลหะเจือทองเพือ่ ให้เข้ากันได้กบั พอร์ซเลน ในขณะเดียวกันธาตุอริ เิ ดียม (iridium) ทีม่ จี ดุ หลอมเหลว
สูงกว่าทองมากแต่ถูกน�ำมาเจือในปริมาณน้อย จึงไม่มีผลต่ออุณหภูมิหลอมเหลวของโลหะเจือทอง
หากแต่จะมีผลต่อการควบคุมขนาดของเกรนของโลหะเจือทอง ส่วนธาตุโลหะบางตัวที่มีความ
หนาแน่นต�่ำกว่าทอง เช่น เงิน แพลเลเดียม ส่งผลให้ความหนาแน่นของโลหะเจือทองลดลงมีผลต่อ
ความสามารถในการหล่อ ส�ำหรับความแข็งผิวเป็นสมบัติหนึ่งที่มีผลจากการเจือโลหะและส่งผลต่อ
การสึกของฟันคู่สบ (ค่าความแข็งผิวของวัสดุแสดงในตารางที่ 1.8) จากตารางจะพบว่า เมื่อ
เปรียบเทียบความแข็งผิวของวัสดุกับฟัน โลหะเจือทองมีความแข็งผิวต�่ำกว่าผิวเคลือบฟัน ซึ่งส่งผล
ให้ฟันคู่สบสึกน้อยกว่าเมื่อเทียบกับโลหะเจือพื้นฐานที่มีความแข็งผิวสูงมาก

89
บทที่ 3

โลหะเจือพื้นฐาน (base metal alloys)


American Dental Association ได้ระบุเกี่ยวกับการจ�ำแนกกลุ่มโลหะไว้ว่าโลหะเจือ
พืน้ ฐานจะต้องไม่มอี งค์ประกอบของโลหะมีสกุลเกินกว่า 25% แต่ในความเป็นจริง โลหะเจือพืน้ ฐาน
ที่ใช้ในท้องตลาดส่วนใหญ่โดยทั่วไปมักไม่มีส่วนประกอบโลหะมีสกุลเป็นองค์ประกอบอยู่เลย หรือมี
ในปริ ม าณน้ อ ยมาก ส� ำ หรั บ แล็ บ ทั น ตกรรม ในประเทศไทยมั ก ไม่ น� ำ โลหะเจื อ พื้ น ฐานที่ มี
ส่ ว นผสมของโลหะมี ส กุ ล มาใช้ จากตารางที่ 3.5 แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง องค์ ป ระกอบของโลหะเจื อ
พืน้ ฐาน ถึงแม้วา่ จะไม่มโี ลหะมีสกุลเป็นองค์ประกอบ แต่โลหะเจือกลุม่ นีถ้ กู น�ำมาใช้ในทางทันตกรรม
ค่อนข้างมาก นอกจากราคาที่ถูกกว่า สมบัติเชิงกลยังสูงกว่าโลหะเจือทองหรือโลหะเจือมีสกุลอื่น ๆ
ไม่ว่าจะเป็นค่ามอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น (elastic modulus) หรือความต้านแรงดึง (tensile
strength) ท� ำ ให้ โ ลหะกลุ ่ ม นี้ น� ำ มาใช้ ใ นงานบู ร ณะฟั น ที่ ต ้ อ งการความแข็ ง แรงขณะบดเคี้ ย ว
หรื อ ชิ้ น งานฟั น เที ย มที่ ต ้ อ งรั บ แรงเค้ น สู ง โลหะเจื อ พื้ น ฐานที่ ใช้ ใ นปั จ จุ บั น จะมี ทั้ ง กลุ ่ ม โลหะ
เจือโคบอลต์-โครเมียม (Co-Cr) นิกเกิล-โครเมียม (Ni-Cr) โคบอลต์-โครเมียม-นิกเกิล (Co-Cr-Ni)
โลหะไทเทเนียมรวมถึงเหล็กกล้าไร้สนิม โลหะเจือพืน้ ฐานสามารถแบ่งเป็น 2 กลุม่ หลัก คือ โลหะเจือ
พื้นฐานส�ำหรับงานฟันเทียมชนิดติดแน่น และโลหะเจือพื้นฐานส�ำหรับงานฟันเทียมชนิดถอดได้
เมื่ อ เที ย บระหว่ า งโลหะ Co-Cr กั บ โลหะ Ni-Cr แล้ ว โลหะ Co-Cr จะเป็ น โลหะที่ ถู ก น� ำ มา
ใช้ในงานฟันเทียมถอดได้ฐานโลหะมาก นอกเหนือจากการน�ำไปใช้ในงานครอบฟันชนิดติดแน่น
เนื่ อ งจากเป็ น โลหะที่ มี ค วามแข็ ง แรงเชิ ง กลสู ง และน�้ ำ หนั ก เบา ขณะที่ โ ลหะ Ni-Cr จะถู ก
น�ำไปใช้ในงานครอบฟันชนิดติดแน่น ไม่ว่าจะเป็นครอบฟันหรือสะพานฟันมากกว่า ความแตกต่าง
ระหว่างโลหะเจือ Co-Cr ที่ใช้ในงานฟันเทียมถอดได้ กับโลหะเจือ Co-Cr ที่ใช้ในงานครอบฟันชนิด
ติดแน่นที่ชัดเจนประการหนึ่งคือ โลหะเจือ Co-Cr ที่ใช้ในงานฟันเทียมถอดได้จะมีคาร์บอนเป็น
องค์ประกอบ ในขณะที่โลหะเจือ Co-Cr ที่ใช้ในงานครอบฟันชนิดติดแน่นมักไม่พบองค์ประกอบ
ของคาร์บอน หรือมีในปริมาณน้อยมาก

90
โลหะเจือในทางทันตกรรม
(Metal Alloys in Dentistry)

ł ี า อ า หะ อ ี า (
)( ี า า า า ั ี า )

ในการออกแบบฟันเทียมบางส่วนถอดได้จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน ได้แก่


ส่วนโยงหลัก (major connector) ที่ต้องการสมบัติความแข็งแรงเชิงกลสูง โดยเฉพาะค่ามอดุลัส
ของสภาพยืดหยุ่น หรือค่าขีดจ�ำกัดสัดส่วน (proportional limit) แต่ไม่ต้องการสมบัติสภาพ
ดึงยืดได้ที่สูง รวมถึงมีน�้ำหนักเบาเนื่องมาจากสมบัติความหนาแน่นต�่ำ และส่วนของตะขอเกาะ
(retentive clasp) ที่ต้องการทั้งสมบัติความแข็งแรงและสภาพดึงยืดได้ที่มาก เพื่อให้ตะขอโลหะ
สามารถเข้าไปยึด ณ ส่วนคอด (undercut) ของฟันหลักได้ ในความเป็นจริง ทั้งส่วนโยงหลัก
และส่วนตะขอเกาะถูกสร้างขึ้นมาด้วยโลหะชนิดเดียวกัน ดังนั้น ในบางการใช้งานโลหะตะขอของ
ฟันเทียมถอดได้อาจแตกหักได้เพราะความเปราะของสมบัติวัสดุโลหะ ในการซ่อมแซมส่วนที่
แตกหั ก พบว่ า ถึ ง แม้ ว ่ า การใช้ เ ลเซอร์ ใ นการเชื่ อ ม (laser welding) จะเป็ น วิ ธี ที่ ส ะดวกและ
รวดเร็ว และใช้กันอยู่ในปัจจุบัน แต่การศึกษาของ Eutrirak et al. 2 พบว่า การเชื่อมด้วยเลเซอร์
ของโลหะเจือ Co-Cr จะพบความพรุนตรงต�ำแหน่งทีซ่ อ่ มเพิม่ ขึน้ และความต้านทานในการกัดกร่อน
ลดน้อยลงกว่าการเชื่อมด้วยวิธีดั้งเดิมที่ใช้วิธีการบัดกรี (soldering)

91
บทที่ 3

Œł dł Œ Œ ‘ œ Œ łł a
ł
’PS3FNPWBCMFEFOUVSF ’PS’JYFESFTUPSBUJPO
5SBEF $P$S $P$S $P$S $P$S $P$S /J$S /J$S5J
OBNF 7JUBMMJVN
®
%BO$PCBMU
®
3PCVS+FMCPOE %BO$PCBMU
®
#FGSFF 5J1MVT
,PVTIJUTV ®
1SFNJFS #POE 4UBS-PZ
® ®
N 5JMJUF ®

Co 60.6 60.7 62.5 59.5 60.0 0.1-0.95


Cr 31.5 31.3 28.9 31.5 24 25.8 12.0-15.0
Ni 61.0 74.0-78.0
MO 6.0 6.0 6.0 5.0 7.1 11.0 4.5-6.5
W 0.6 5.0 <0.5
Nb
Al <0.4 1.5-2.5
Fe <0.1 <1.0
C <1.0 0.47 <1.0
Be
Si <1.0 0.5 2.0 1.5 1.5-2.5
Mn <1.0 0.6 <1.0
Ga 3.1
B
Ru
Ti 0.1-2.0
Others 2.0 <0.1 0.8
ทีม่ า: ข้อมูลได้รับความอนุเคราะห์จาก แล็บทันตกรรมสายน�้ำทิพย์ แล็บทันตกรรมวีระพงษ์ และแล็บทันตกรรม
เคอิชคิ าอิ
*
โลหะกลุ่ม Ni-Cr-Ti แสดงองค์ประกอบของธาตุเป็นช่วง เพราะโลหะกลุ่มนี้มีหลายประเภท

92
โลหะเจือในทางทันตกรรม
(Metal Alloys in Dentistry)

ความแตกต่างในการขึน้ รูปชิน้ งานระหว่างโลหะเจือพืน้ ฐานและโลหะเจือมีสกุลประการหนึง่


คือ เมื่อขึ้นรูปชิ้นงานโลหะด้วยวิธีการหล่อโลหะเจือมีสกุลจะมีเปอร์เซ็นต์การหดตัว (percentage
of linear solidification shrinkage) ประมาณ 1.4-1.6% ซึ่งน้อยกว่าเมื่อเทียบกับโลหะเจือ
พื้นฐานที่มีเปอร์เซ็นต์การหดตัวอยู่ประมาณ 2.3% ซึ่งจะส่งผลถึงขนาดรูปร่างของชิ้นงาน ในทาง
ปฏิบัติจะมีกระบวนการที่ช่วยชดเชยการหดตัวของโลหะเหล่านี้ ซึ่งจะขอไม่กล่าว ณ ที่นี้ จากตาราง
ที่ 3.5 จะเห็นได้ว่า โลหะเจือพื้นฐานจะมีองค์ประกอบของธาตุโลหะที่หลากหลาย และแต่ละชนิด
มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันไป โดยสามารถสรุปได้ดังนี้

Œł łaŒœhdłœCBTFNFUBM
BMMPZT
$PCBMU ำห า ี ห ั ิ า ิ ะ า ิ ั หะ ือ
$ISPNJVN ำห า ี ห ั ิ า า า อ า ห อ ะ า ั อ ะ
ห า า า ิ า า ี า (
carbide formation)
$BSCPO ิ า ิ ห หะ ือ า ิ า า ิ ะ ำ ห หะ ือ
ี า าะ ิ ะ ี ิ า อ า ( %) าะ หะ
ี า อ ะะ า
/JDLFM ำห า ี ห า หะ ือ ิ ึ ำห า ี
อ ะ ิ า า า อา ั อ
.PMZCEFOVN ำห า ี ห ั ิ า หะ ือ า
อ หะ ือ ะ ิ า า า า ั อ
"MVNJOVN ือ ั ั ิ ิ ะ ิ า ั า า ึ
( ) ะ า า ( )
ห หะ ือ
#FSZMMJVN.BOHBOFTF
ำห า ี ิ ัิา า ห ( ) ะ า าา าหอ
ห ั หะ ือ

93
บทที่ 3

ł อ ิ หะ อื อ (porcelain fused to metal crowns)

โลหะเจือในงานโลหะเคลือบพอร์ซเลน (ceramo-metal alloys)


วัสดุเซรามิกหรือพอร์ซเลนน�ำมาใช้ในงานทางทันตกรรมเนื่องจากมีข้อดีกว่าโลหะคือ
มี ค วามสวยงามใกล้ เ คี ย งกั บ ฟั น ธรรมชาติ ม าก รวมทั้ ง มี ค วามเข้ า กั น ได้ ท างชี ว ภาพที่ ดี ม าก
แต่ข้อด้อยของพอร์ซเลนก็คือ มีความเปราะ ดังนั้น เพื่อเพิ่มความสวยงามและความแข็งแรง
ให้แก่พอร์ซเลน จึงต้องน�ำพอร์ซเลนมาเคลือบบนโลหะเพื่อใช้บูรณะทดแทนฟันที่เรียกว่า วัสดุ
บูรณะฟันชนิดโลหะเคลือบพอร์ซเลน โดยมีชื่อเรียกต่าง ๆ เช่น วัสดุบูรณะฟันชนิดเมทัล-เซรามิก
(metal ceramic restoration: MCR) วั ส ดุ บู ร ณะฟั น ชนิ ด เซราโม-เมทั ล (ceramo-metal
restoration) หรือวัสดุบูรณะฟันชนิดโลหะเคลือบพอร์ซเลน (porcelain fused to metal
restoration: PFM) ปัจจัยส�ำคัญข้อหนึ่งที่ท�ำให้ชิ้นงานครอบฟันโลหะเคลือบพอร์ซเลนน�ำไป
ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพคือ การเชื่อมยึดระหว่างโลหะและพอร์ซเลนที่ดี ซึ่งขึ้นกับปัจจัย
หลายประการ

สมบัติที่ส�ำคัญของโลหะเจือที่ ใช้ในงานโลหะเคลือบพอร์ซเลน
(properties of alloy for porcelain fused to metal restoration)
1. องค์ประกอบ (composition)
ถึ ง แม้ ว ่ า โลหะเจื อ มี ส กุ ล จะมี ส มบั ติ ต ้ า นทานการกั ด กร่ อ นที่ ดี แ ละเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย ากั บ
สิ่งแวดล้อมได้ค่อนข้างต�่ำ (low oxidation reaction) แต่ผลที่ตามมาคือ โลหะกลุ่มนี้มีการสร้าง

94
โลหะเจือในทางทันตกรรม
(Metal Alloys in Dentistry)

ชั้นออกไซด์ค่อนข้างต�่ำ หากจะน�ำโลหะกลุ่มนี้มาใช้ในงานครอบฟันชนิดโลหะเคลือบพอร์ซเลน
จ�ำเป็นต้องเติมธาตุบางชนิด เช่น อินเดียม หรือดีบุก เพื่อช่วยเพิ่มออกไซด์ในการเชื่อมยึดกับ
พอร์ซเลน ขณะเดียวกันหากโลหะเจือมีสกุลมีส่วนประกอบของธาตุเงินมากเกินไปอาจจะต้อง
พิจารณาถึงปัญหาการเปลี่ยนสีในชั้นพอร์ซเลน นอกจากนี้ที่โลหะเจือพื้นฐานยังเกิดปฏิกิริยาได้ง่าย
ท�ำให้ชนั้ ออกไซด์ของโลหะมีความหนา และอาจจ�ำเป็นต้องมีขนั้ ตอนการก�ำจัดออกไซด์ทหี่ นาเกินไป
ก่อนน�ำไปเชื่อมยึดกับพอร์ซเลนเพื่อให้เกิดการเชื่อมยึดที่ดี
2. สมบัติเชิงกลและเชิงกายภาพ (mechanical and physical properties)
สมบัติเหล่านี้ ได้แก่ มอดุลัสของสภาพยืดหยุ่น ความแข็งแรงคราก เปอร์เซ็นต์การยืด หรือ
ความแข็งผิว รวมถึงอุณหภูมิการหลอม (fusion temperature) จะมีผลต่อการน�ำมาใช้งาน
เช่น ความแข็งแรงคราก ซึ่งจะเป็นตัวก�ำหนดความแข็งแรงของชิ้นงานเมื่อมีแรงบดเคี้ยวมากระท�ำ
ว่าสามารถทนได้มากเท่าใดก่อนที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างถาวร ส่วนสมบัติด้านการยืด
(elongation) มี ผ ลต่ อ การขั ด แต่ ง ของชิ้ น งานและการน� ำ ไปใช้ ง าน ส่ ว นอุ ณ หภู มิ ก ารหลอม
จะสัมพันธ์กับการเกิดการคืบตัว (creep) หรือที่เรียกว่า sag deformation ขณะเผาร่วมกับ
พอร์ซเลน กล่าวคือ อุณหภูมิหลอมเหลวของโลหะจะต้องสูงกว่าอุณหภูมิหลอมของพอร์ซเลน
(fusion temperature of porcelain) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างถาวรจากการ
คืบตัวของโลหะขณะเผาพอร์ซเลน (porcelain firing)
3. ค่าสัมประสิทธิก์ ารขยายตัวเหตุความร้อน (coefficient of thermal expansion)
ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารขยายตั ว เหตุ ค วามร้ อ นระหว่ า งโลหะและพอร์ ซ เลนจะต้ อ งมี ค ่ า
ใกล้เคียงที่เหมาะสมแต่ไม่เท่ากัน เพื่อให้เกิดการเชื่อมยึดระหว่างโลหะและพอร์ซเลนทนต่อแรง
บดเคี้ยว รวมถึงอุณหภูมิขณะเผาชั้นพอร์ซเลนโดยไม่เกิดความเสียหายกับชิ้นงาน รายละเอียด
จะกล่าวต่อไป
4. สมบัติอื่น ๆ
ได้แก่ เรื่องของสีของพอร์ซเลนที่อาจมีผลมาจากองค์ประกอบของธาตุบางตัวในโลหะเจือ
หรือธาตุองค์ประกอบทีอ่ าจก่อให้เกิดการแพ้ และสมบัตกิ ารขึน้ รูป เช่น ความสามารถในการหล่อทีด่ ี
ซึ่งจะสัมพันธ์กับสมบัติเชิงกายภาพของโลหะนั้น ๆ

95
บทที่ 3

ประเภทโลหะเจือในงานโลหะเคลือบพอร์ซเลน (types of ceramo-metal alloys)


ประเภทโลหะเจือที่ใช้ในงานวัสดุครอบฟันหรือสะพานฟันชนิดโลหะเคลือบพอร์ซเลน
จะมีการแบ่งที่คล้ายคลึงกับการจัดประเภทโลหะเจือตามการแบ่งของ ADA (2003) ได้แก่

1. โลหะเจือทองปริมาณสูง (high gold alloys)


โลหะเจือกลุ่มนี้จะมีทองเป็นส่วนประกอบหลัก ประมาณ 78-87% โดยน�้ำหนัก แต่โลหะ
เจือทองบางตัวอาจมีโลหะมีสกุลสูงถึง 97% และส่วนองค์ประกอบอื่น ได้แก่ ดีบุกหรือเหล็ก โลหะ
เจือทองปริมาณสูงอาจจะมีหรือไม่มีธาตุเงินหรือทองแดงเป็นองค์ประกอบ ดังนั้น ด้วยองค์ประกอบ
ของโลหะกลุ่มนี้จ�ำเป็นต้องอาศัยโลหะบางชนิดเจือเข้าไปในโลหะทองเพื่อท�ำให้มีสมบัติที่เหมาะสม
ส�ำหรับใช้กับพอร์ซเลนได้ เช่น ธาตุแพลทินัม แพลเลเดียม ดีบุก อินเดียม หรือเหล็ก เพื่อท�ำให้
โลหะเจือทองมีอุณหภูมิหลอมเหลวสูงขึ้น และสร้างชั้นออกไซด์โลหะบนผิวโลหะเจือทอง

ข้อดีและข้อด้อยของโลหะเจือทองสูง
aØ aØa
า อื ึ ะห า อ ั หะ า า ือ า อ ะ อ หะ อ
า ิ า ำห ั า ะ า ิ หี า าา
ำห ึอ า า า า ื ั ำ 
า า า ั อ ีา ีอ ห ิ ะ ิ า ื ั ( )
ีอ อ ั ะ ี ือ ำ า า ือ า ีอ ห หิ อ ห า
ั หะ ี

2. โลหะเจือทอง-แพลเลเดียม (gold-palladium alloys)


โลหะเจือกลุ่มนี้ไม่ก่อให้เกิดการแพ้ เพราะมีโลหะมีสกุลเป็นองค์ประกอบหลัก อาจจะมี
หรือไม่มีองค์ประกอบเงินขึ้นอยู่กับประเภทโลหะเจือ สมบัติโดยทั่วไปใกล้เคียงกับโลหะเจือทอง
ปริมาณสูง โลหะกลุ่มนี้พัฒนาขึ้นมาในยุคต้นทศวรรษ 1970 เนื่องจากปัญหาของราคาทองและ
แพลทินัมที่สูงขึ้น โดยทั่วไป โละเจือกลุ่มนี้จะประกอบด้วยทองประมาณ 50% และแพลเลเดียม
ประมาณ 40% จุดเด่นของโลหะเจือกลุม่ นี้ คือจะมีความแข็งแรงเชิงกลสูงกว่าโลหะเจือทองปริมาณสูง

96

You might also like