Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 48

-๑-

พระราชบัญญัติ
การเดินเรือในนานน้าํ สยาม พระพุทธศักราช ๒๔๕๖

มีพระบรมราชโองการใน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว


ใหประกาศจงทราบทั่วกันวา ไดทรงพระราชดําริเห็นวา พระราชบัญญัติวาดวยการเดินเรือในนานน้ําสยาม
ที่ไดตราขึ้นไวเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน รัตนโกสินทรศก ๑๒๔ นั้น ยังมีบกพรองอยูหลายประการสมควร
จะเปลี่ยนแกใหสมกับกาลสมัย เพราะฉะนั้นจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวแทน
ดังตอไปนี้

ความเบื้องตน
และคําอธิบายบางคําที่ใชในพระราชบัญญัตินี้

มาตรา๑ พระราชบัญญัตินี้ใหเรียกวา” พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําสยามพระพุทธศักราช


๒๔๕๖ ”
มาตรา ๒ ใหใชพระราชบัญญัตินี้เปนกฎหมาย ตั้งแตวันที่ ๑ กันยายน พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
เปนตนไป
มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“ เรือ ” หมายความวา ยานพาหนะทางน้ําทุกชนิด ไมวาจะใชเพื่อบรรทุก ลําเลียง โดยสาร จูง ดัน
ยก ขุด หรือลอกรวมทัง้ ยานพาหนะอยางอื่นที่สามารถใชในน้าํ ได ทํานองเดียวกัน
“ เรือกําปน ” หมายความวา เรือที่เดินดวยเครื่องจักรกล หรือดวยใบ และไมไดใช กระเชียง แจว
หรือพาย
“ เรือกําปนไฟ ” หรือ “ เรือกลไฟ ” หมายความวา เรือที่เดินดวยเครื่องจักรจะใชใบดวยหรือไม
ก็ตาม และใหหมายความรวม ตลอดถึงเรือกําปนยนตดว ย
“ เรือกําปนยนต ” หรือ “ เรือยนต ” หมายความวา เรือที่เดินดวยเครื่องยนตจะใชกําลังอืน่ ดวย
หรือไมก็ตาม
“ เรือกําปน ใบ ” หรือ “ เรือใบ ” หมายความวา เรือทีเ่ ดินดวยใบและไมใชเครื่องจักรกล
“ เรือกล ” หมายความวา เรือที่เดินดวยเครื่องจักรกล และใชกําลังอืน่ ดวยหรือไมกต็ าม
“ เรือกลไฟเล็ก ” หมายความวา เรือที่มขี นาดต่ํากวาสามสิบตันกรอสสที่เดินดวยเครื่องจักร
“ เรือเดินทะเล ” หรือ “ เรือทะเล ” หมายความวา เรือที่มีลักษณะสําหรับใชในทะเล ตามกฎ
ขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ
“ เรือเล็ก ” หมายความวา เรือที่เดินดวยกระเชียง แจวหรือพาย
“ เรือโปะ ” หรือ “ เรือโปะจาย ” หมายความวา เรือทะเลทีม่ ีรูปรางแบบยุโรป และเครื่องเสา
เพลาใบอยางแบบจีน หรือแบบประเทศใด ๆ ในเอเซีย
-๒-

“ เรือเปดทะเลและอื่น ๆ ” หรือ “ เรือเปดทะเลและเรืออื่น ๆ ” หมายความวา เรือที่ใชใบ


ในเวลาเดินทะเล และใชใบ หรือกระเชียง แจว ในเวลาเดินในลําแมน้ํา และให หมายความรวมตลอดถึง
เรือฉลอมทะเล เรือเทงฉลอมทายเรือญวน หรือเรือสามกาวดวย
“ เรือสําเภา ” หมายความวา เรือเดินทะเลตออยางแบบจีน หรือแบบประเทศใด ๆ ในเอเชีย
“ เรือบรรทุกสินคา ” หมายความวา เรือที่ไมมีดาดฟาหรือมีไมตลอดลําเดินดวยกระเชียง แจว
หรือ พาย หรือบางทีใชใบ และใชสําหรับบรรทุกสินคา
“ เรือลําเลียง ” หมายความวา เรือทีม่ ิใชเรือกล และใชสําหรับลําเลียง หรือขนถายสินคาจาก
เรือกําปน หรือบรรทุกสินคาสงเรือกําปน
“ เรือลําเลียงทหาร ” หมายความวา เรือที่ใชในการลําเลียงทหาร ทั้งนี้ไมวาจะเปนเรือของทาง
ราชการทหาร หรือไมก็ตาม
“ เรือโดยสาร ” หมายความวา เรือที่บรรทุกคนโดยสารเกินสิบสองคน
“ เรือสินคา ” หมายความวา เรือทีม่ ิใชเรือโดยสาร
“ เรือประมง ” หมายความวา เรือที่ใชสําหรับการจับสัตวน้ํา หรือทรัพยากรทีม่ ีชีวิตอื่น ๆ ที่อยู
ในทะเล
“ เรือสําราญและกีฬา ” หมายความวา เรือที่ใชสําหรับหาความสําราญ หรือเรือที่ใชเพื่อการ
เลนกีฬาโดยเฉพาะ และไมไดใชเพื่อการคา การทหาร หรือการคนควาทางวิทยาศาสตร
“ เรือไมที่ตอแบบโบราณ ” หมายความวา เรือใบเสาเดียว เรือสําเภา หรือเรือไม ที่ตอตามแบบเรือ
ที่ใชอยูในสมัยโบราณ
“ แพ ” หมายความรวมตลอดถึงโปะ อูลอย และสิ่งลอยน้ําที่มีลกั ษณะคลายคลึงกัน
“ แพคนอยู ” หมายความวา เรือนที่ปลูกอยูบนแพ และลอยอยูในลําแมน้ําหรือลําคลอง
“ ตันกรอสส ” หมายความวา ขนาดของเรือที่คาํ นวณไดตามกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ
ตามมาตรา ๑๖๓
“ นานน้าํ ไทย ” หมายความวา บรรดานานน้าํ ที่อยูภายใตอํานาจอธิปไตยของประเทศไทย
“ เมืองทา ” หมายความวา ทําเล หรือถิน่ ที่จอดเรือเพื่อขนถายคนโดยสารหรือของ
“ นายเรือ ” หมายความวา ผูควบคุมเรือกําปน หรือเรืออืน่ ๆ แตไมรวมถึงผูนาํ รอง
“ คนประจําเรือ ” หมายความวา คนที่มหี นาทีท่ ําการประจําเรือ
“ ลูกเรือ ” หมายความวา คนประจําเรือนอกจากนายเรือ
“ คนโดยสาร ” หมายความวา คนที่อยูในเรือ เวนแต
(๑) คนประจําเรือ หรือผูอื่นที่รับจางทํางานในเรือนั้น
(๒) เด็กทีม่ ีอายุต่ํากวาหนึง่ ป
“ เจาทา ” หมายความวา อธิบดีกรมเจาทา หรือผูซงึ่ อธิบดีกรมเจาทามอบหนาที่
-๓-

“ เจาพนักงานออกใบอนุญาต ” หมายความวา อธิบดีกรมเจาทาหรือผูซงึ่ อธิบดีกรมเจาทา


มอบหมายใหทําการออกใบอนุญาต
“ พนักงานตรวจ ” หมายความวา ผูซงึ่ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมแตงตัง้ ใหมีหนาที่ตรวจ
เรือตามพระราชบัญญตินี้
หมายเหตุ ความในมาตรา ๓ เดิม ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดย ป.ว. ฉบับที่ ๕๐ ถูกยกเลิกและใชความใหมนี้แทน
โดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๓ ) พ.ศ. ๒๕๒๕
ความในมาตรา ๕ มาตรา ๖ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือในนานน้ําไทย ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย ป.ว.
ฉบับที่ ๕๐ ลงวันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ถูกยกเลิกโดยมาตรา ๔ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือใน
นานน้าํ ไทย (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๒๕
มาตรา ๘ ในพระราชบัญญัติแหงใดมีบญ ั ญัติวาดวยการออกอนุญาตอยางใด ๆ ตามซึง่ เจาทา
เห็นจําเปนจะตองออกเปนหนังสือ ใหเจาทามีอาํ นาจเรียกคาธรรมเนียมสําหรับใบอนุญาตเชนนัน้ ตามอัตรา
ที่กําหนดโดยกฎกระทรวงแตไมเกินหนึง่ รอยบาท
ความในมาตรา ๘ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือใน
นานน้าํ ไทย (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๔๙๐ ตอมาถูกยกเลิกและใชความใหมนี้แทนอีกครัง้ หนึ่ง โดยมาตรา ๓ แหง
พ.ร.บ. การเดินเรือในนานน้าํ ไทย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๑๐
มาตรา ๙ พระราชบัญญัติ วาดวยการเดินเรือในนานน้ําสยาม รัตนโกสินทรศก ๑๒๔ ประกาศ
ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม รัตนโกสินทรศก ๑๒๕ วาดวยการตั้งศาลทะเล ประกาศลงวันที่ ๑๙ มีนาคม
รัตนโกสินทรศก ๑๒๕ วาดวยการออกใบอนุญาตสําหรับเรือบรรทุกสินคา และเรือเล็กและประกาศลงวันที่
๒๒ เมษายน รัตนโกสินทรศก ๑๒๙ วาดวยเรือกลไฟที่ใชสําหรับรับจางนั้นทานใหยกเลิกเสีย แตการยกนี้
ทานวามิไดเกีย่ วแกการอยางใดที่ไดมีผูกระทําไวแตกอน หรือแกความผิดอยางใดซึ่งไดกระทําไวแตกอนเวลา
ประกาศใหใชพระราบัญญัตินี้
ความในมาตรา ๙ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยประกาศแกไข พ.ร.บ. วาดวยการ
เดินเรือในนานน้าํ สยาม พ.ศ. ๒๔๕๖
มาตรา ๑๐ กฎสําหรับปองกันมิใหเรือโดยกัน พุทธศักราช ๒๔๕๖ นัน้ (ปจจุบัน พ.ร.บ. ปองกัน
เรือโดกัน พ.ศ. ๒๕๒๒) ทานวามิใชสําหรับแตเรือกําปนสยามฝายเดียว ใหใชไดตลอดถึงเรือกําปน ทัง้ หลาย
ที่เดินในบรรดาเขตทา และเขตที่ทอดจอดเรือของพระราชอาณาจักรสยามแตอยาใหขัดกับพระราชบัญญัตินี้
เมื่อจะตองเปนการขัดเชนนัน้ ไซรตองใหถอื เอาขอบังคับในพระบัญญัตินี้เปนใหญ ดังไดวาไวในขอ ๓๐ แหง
กฎนี้ และทานวาผูเปนเจาของและนายเรือทุกลํา ตองถือและกระทําตามกฎนัน้ จงทุกประการ
มาตรา ๑๑ การลงโทษจําคุกหรือปรับนัน้ ถาจําเลยเปนคนในบังคับตางประเทศ ซึ่งมีกงสุล แทนที่มีอาํ นาจ
ฝายตุลาการสําหรับประเทศนั้นตัง้ อยูในพระราชอาณาจักรสยาม ทานวาตองเปนหนาที่ของศาล กงสุลนั้น
บังคับใหเปนไปตามโทษานุโทษ
ขณะนี้ไมมีกงสุลแลว คงขึ้นศาลยุติธรรม เชนเดียวกับคนไทยทั้งสิน้
ฯลฯ
-๔-

หมวดที่ ๒
หนาที่นายเรือเมื่อเวลาเรือเขามาหรือออกจากนานน้ําไทย
มาตรา ๑๗ เรือกําปน ลําใด เมื่อเขามาในนานน้าํ ไทย นายเรือตองชักธงสําหรับเรือนั้นขึ้นไวให
ปรากฏในเวลากลางวัน จนกวาเจาทามาขึ้นบนเรือ
มาตรา ๑๘ เรือกลที่เปนเรือเดินทะเล และเปนเรือไทยขนาดตัง้ แตหกสิบตันกรอสสขึ้นไป และ
เรือกําปนตางประเทศ เมื่อเขามาในเขตทาเรือใด ๆ ในนานน้ําไทยนายเรือตองรายงานการเขามาถึงตอเจาทา
ตามแบบพิมพของกรมเจาทาภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมง นับแตเวลาที่จอดเรือเรียบรอย
มาตรา ๑๙ เรือกลที่เปนเรือเดินทะเลและเปนเรือไทยขนาดตั้งแตหกสิบตันกรอสสขึ้นไป และ
เรือกําปนตางประเทศที่เตรียมจะออกไปจากเขตทาเรือใด ๆ ในนานน้าํ ไทยนายเรือตองชักธงลา (คือธงที่
เรียกวาบลูปเตอร) ถาเรือกําหนดออกในเวลาบายใหชักธงขึ้นในเวลาเชาถาเรือกําหนดออกในเวลาเชาให
ชักธงขึน้ ในเวลาบายของวันกอน
มาตรา ๒๐ เรือกําปนตางประเทศ เมือ่ เขามาในเมืองทาของประเทศไทย ซึง่ มิไดกําหนดเปนเขต
ทาเรือ นายเรือตองรายงานการเขามาหรือออกไปตอเจาทาภายในเวลายี่สิบสีช่ ั่วโมง นับแตเรือเขามาหรือ
กอนเรือออกไป และตองปฏิบัติตามคําสั่งเจาทา
มาตรา ๒๑ เรือกลที่เปนเรือเดินทะเลและเปนเรือไทยขนาดตั้งแตหกสิบตันกรอสสขึ้นไป เมื่อจะออก
จากเขตทาเรือใด ๆ ในนานน้าํ ไทย นายเรือตองแจงกําหนดออกเรือตอเจาทากอนออกเรือเปนเวลาไม
นอยกวาหกชัว่ โมง เพื่อใหเจาทาตรวจสอบวาปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายหรือไมเสียกอน เมื่อเห็นวาถูกตอง
แลวจึงอนุญาตใหออกเรือได
มาตรา ๒๒ เรือกําปนที่ใชเดินทะเลระหวางประเทศลําใดที่ตองมีใบสําคัญตามทีก่ ําหนดในกฎ
ขอบังคับสําหรับการตรวจเรือตามมาตรา ๑๖๒ เมื่อจะออกจากเขตทาเรือใด ๆ ในนานน้ําไทย นายเรือ
ตองแจงกําหนดออกเรือตอเจาทากอนออกเรือเปนเวลาไมนอยกวาหกชั่วโมง เพือ่ ใหเจาทาตรวจใบอนุญาต
ใชเรือและในสําคัญดังกลาว ตลอดจนอุปกรณและเครื่องมือเครื่องใชใหถูกตองและใชการได
มาตรา ๒๓ เรือกลที่เปนเรือเดินทะเลและเปนเรือไทย และเรือกําปน ตางประเทศที่ตองมีใบสําคัญ
ตามทีก่ ําหนดในกฎขอบังคับ สําหรับการตรวจเรือตามมาตรา ๑๖๓ เมื่อจะออกจากเขตทาเรือใด ๆ ใน
นานน้าํ ไทยยังเมืองทาตางประเทศ นายเรือจะตองไดรับอนุญาตเรือออกจากทาจากเจาทาเสียกอน
มาตรา ๒๔ ผูใดฝาฝนมาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒
หรือ มาตรา ๒๓ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท
ความในหมาดที่ ๒ ของภาค ๑ เดิมซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. แกไขเพิ่มเติม ฯ พ.ศ. ๒๔๗๗
ถูกยกเลิก และใชความใหมนี้แทนโดย มาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือในนานน้าํ ไทย ( ฉบับที่ ๑๓ )
พ.ศ. ๒๕๒๕ ความใหมแทนมีเพียงมาตรา ๑๗ ถึง มาตรา ๒๔ ฉะนัน้ ตั้งแต มาตรา ๒๕ ถึง มาตรา ๒๘
จึงถูกยกเลิกไปโดยไมมีความใหมเขามาแทน

ฯลฯ
-๕-

หมวดที่ ๓
วาดวยทําเลทอดจอดเรือ
มาตรา ๒๙ ภายในเขตทาเรือกรุงเทพฯ ถาเรือกําปนลําใดที่มิไดผูกจอดเทียบทาเรือ หรือทาโรงพัก
สินคา เรือกําปนลํานั้นตองทอดสมอจอดอยูกลางลําน้ําดวยสมอสองตัว มีสายโซใหพอทั้งสองตัว เพื่อกันมิให
เรือเกาสมอเคลื่อนจากทีน่ ั้นได
มาตรา ๓๐ เรือเก็บสินคาเรือทองแบน และเรือใด ๆ ทีท่ อดจอดประจําอยูน ั้น ตองผูกจอดอยูกับ
สมอทุนอยางมั่นคงสมกับกําลังของสายโซที่ทอดอยูน นั้
มาตรา ๓๑ หามมิใหเรือกําปน เรือ เก็บสินคา เรือทองแบนอยางใด ๆ ทอดสมอหรือผูกจอดอยู
ในทางเรือเดินในลําแมน้ําเปนอันขาด
มาตรา ๓๒ หามมิใหเรือกําปนลําใดที่ผูกจอดเทียบเทียบทาเรือ ทาพักสินคาหรือเทียบฝงนั้น
ทอดสมอลงไปในแมนา้ํ หางจากหัวเรือเกินกวาสามสิบเมเตอร
มาตรา ๓๓ เรือลําใดที่เจาทาไมยอมออกใบอนุญาตให หรือเรียกคืน หรือยึดใบอนุญาตไว โดยเรือ
นั้นมีความไมสมประกอบสําหรับเดินทะเล ตองใหผกู จอดทอดไวในทีใ่ ดที่หนึ่ง ซึ่งเจาทาจะกําหนดให
มาตรา ๓๔ เรือโปะ หรือเรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือสําเภา เรือบรรทุกสินคา เรือเปดทะเล และ
เรืออื่น ๆ ตองจอดทอดสมอกลางแมนา้ํ และถาไมเปนการขัดขวางก็ใหทอดจอดคอนขางฝงตะวันตก แต
ตองไวชองทางเรือเดินไมนอยกวารอยเมเตอร ในระหวางเรือกับฝงตะวันตก หรือกับบรรดาเรือที่จอดเทียบ
ฝงตะวันตก หรือกับแพคนอยูที่ถกู เทียบอยูกับฝงตะวันตก
มาตรา ๓๕ บรรดาเรือโปะ หรือเรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือสําเภา เรือบรรทุกสินคา เรือเปดทะเล
และเรืออื่น ๆ ที่ไมไดใชการนั้น ตองใหถอยไปอยูทที่ ําเลสําหรับทอดจอดเรือ แหงใดแหงหนึง่ ในเขตทาตามที่
เจาทาเห็นสมควรจะกําหนดตามครั้งคราว และประกาศใหทราบทั่วกันในหนังสือราชกิจจานุเบกษาและ
ในหนังสือพิมพจดหมายเหตุในทองที่ตั้งแตสองรายขึ้นไป
มาตรา ๓๖ หามมิใหเรือกําปนเดินทะเลลําใดจอดทอดสมอตามลําแมนา้ํ ในระหวางสองตําบลนั้น
เปนทีท่ อดจอดเรือรบสยามและบรรดาเรือกําปนเดินทะเล หรือเรือรบตางประเทศจะแลน หรือมีเรืออื่นจูง
ผานคลองสะพานหันขึ้นไปตามลําแมน้ํานั้นใหถือวาเปนการมิชอบดวยกฎหมายเวนแตจะไดรับอนุญาต
พิเศษจากเจาทาและโดยอาศัยขอบังคับกํากับอนุญาตนัน้ อยูดวยตามซึ่งเจาทาจะเห็นสมควร
มาตรา ๓๗ ถาไมมีเหตุฉุกเฉินอันจําเปนที่จะตองทําเชนนัน้ หามมิใหเรือกําปน ลําใดจอดทอดสมอ
ในลําแมน้ําระหวางวัดบุคคโลกับในระยะทางสองรอยเมเตอรใตปากคลองบางปะแกวและระหวาง
ปากคลองผดุง กับคลองสําเพ็ง เพราะในระหวางตําบลเหลานี้เปนทําเลยกเวนไวสําหรับทางใหเรือเดิน
ขึ้นลอง
มาตรา ๓๘ เรือกําปนทุกลําที่บรรทุกคนโดยสารหรือของจากเมืองทาหรือตําบลใด ๆ ในตางประเทศ
เขามาในแมนา้ํ เจาพระยา หรือเรือใด ๆ ทีเ่ ขามาในแมน้ําเจาพระยาโดยขนถายคนโดยสารหรือของจาก
เรือกําปนที่มาจากตางประเทศ เมื่อผานสมุทรปราการแลว ถาจะสงคนโดยสารหรือของที่บรรทุกมานัน้ ขึ้นบก
-๖-

ตองจอด ณ ทีจ่ อดเรือหรือเทียบทาเทียบเรือของการทาเรือแหงประเทศไทย เวนแตเมื่อที่จอดเรือ หรือ


ทาเทียบเรือไมวางพอจะจอดหรือเทียบได หรือเพราะเหตุจําเปนอยางอืน่ ซึง่ ถาตรงตามหลักเกณฑที่
คณะกรรมการกําหนดไว และอธิบดีกรมเจาทาลงนามอนุญาตแลว จึงจะเขาจอดหรือเทียบในทีท่ ี่ไดรับ
อนุญาตได
คณะกรรมการดังกลาวในวรรคหนึ่งใหมีจาํ นวนหาคน ประกอบดวยอธิบดีกรมเจาทาเปนประธาน
กรรมการ อธิบดีกรมศุลกากรและผูอํานวยการการทาเรือแหงประเทศไทยเปนกรรมการโดยตําแหนง และ
บุคคลอื่นอีกคน ซึง่ รัฐมนตรีกระทรวงคมนาคมแตงตั้ง
ความในมาตรา ๓๘ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๔ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๔๙๓ ตอมาถูกยกเลิกและใชความใหมนี้แทนอีกครั้งหนึ่งโดยมาตรา ๗
แหง พ.ร.บ. การเดินเรือในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๑๐
มาตรา ๓๘ ทวิ การประชุมของคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติการตามความในมาตรา ๓๘ ตองมี
กรรมการมาประชุมไมนอยกวากึง่ จํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเปนองคประชุม
ในกรณีที่ประธานกรรมการไมสามารถมาประชุม ใหที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึง่ เปนประธาน
การลงมติวินิจฉัยของคณะกรรมการใหถือเสียงขางมากเปนประธานถามีคะแนนเสียงเทากัน ใหผนู ั่ง
เปนประธานออกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด
มาตรา ๓๘ ตรี ภายใตบังคับมาตรา ๓๘ ใหเจาทามีอาํ นาจทีจ่ ะกําหนดที่ทอดจอดเรือสําหรับ
เรือกําปน และเรือเล็กทุกลําและนายเรือตองเอาเรือไปทอดจอดตามที่เจาทาจะชีใ้ หและหามเอาเรือไปจาก
ที่นนั้ หรือยายไปทอดจอดที่อื่นโดยมิไดรับอนุญาตจากเจาทา เวนแตเมื่อมีเหตุจาํ เปนซึ่งเจาทาจะพิเคราะห
เห็นสมควรเมือ่ เรือกําปนลําใดกําลังเขามา นายเรือจะตองยอมใหเจาทาขึ้นไปบนเรือและถาจําเปนจะหยุด
เรือรอรับก็ตองหยุด
มาตรา ๓๘ จัตวา นายเรือลําใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๓๘ หรือมาตรา ๓๘ ตรี มีความผิดตองระวาง
โทษปรับไมเกินหนึ่งหมืน่ บาท
มาตรา ๓๘ ทวิ มาตรา ๓๘ ตรี มาตรา ๓๘ จัตวา เพิ่มขึ้นโดยมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๔๙๓
ความในมาตรา ๓๘ จัตวา เดินถูกยกเลิกและใชความใหมนี้แทนโดยมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๑๐
มาตรา ๓๙ เรือกําปนลําใดเมื่อเขามาถึงในเขตทาแลว มิไดกระทําการถายสินคาหรือขนสินคาขึ้น
เรืออยางหนึง่ อยางใด นับตัง้ แต ๑๐ วันขึ้นไปก็ดี ทานวาถาจะตองการเอาที่ซึ่งเรือลํานัน้ จอดอยู ใหเรืออื่น
ที่ใชในการคาขายทอดจอด ก็ใหถอยเรือที่ไมไดทําการเชนวานัน้ ไปทอดจอดในทีอ่ ื่นภายในเขตทา ตามที่
เจาทาจะกําหนดให
มาตรา ๔๐ เรือกําปนลําใดตองการที่จะเปลี่ยนทีท่ อดจอดหรือเรือกําปนลําใดที่เทียบทาเรือ หรือ
ทาสินคา ตองการจะหาที่ทอดจอดในลําแมน้ําก็ใหชกั ธงสัญญาณอักษร “B. A. Z. ( บี เอ แซด ) ตามแบบ
-๗-

ขอบังคับระหวางนานาประเทศ สําหรับการใชธงสัญญาณ แลวเจาทาจะไดขึ้นไปบนเรือลํานัน้ และชี้ให


ทอดจอด
อักษรโรมัน B.A.Z. ในมาตรา ๔๐ นี้ เดิมเปนอักษร T. ถูกแกเปน B.A.Z. โดยมาตรา ๙ แหง
พ.ร.บ. การเดินเรือในนานน้าํ ไทย แกไขเพิม่ เติม พ.ศ. ๒๔๗๗
มาตรา ๔๑ เรือกําปนลําใดตองการใหกองตะเวนมาชวยก็ใหชกั ธงสัญญาณหมายอักษร “ST.”
ตามแบบขอบังคับระหวางนานาประเทศ สําหรับการใชธงสัญญาณ ถามีเหตุสําคัญขัดขืนตอการบังคับ
บัญชาเกิดขึ้นในเรือ ฉะนั้นแลวใหชักธงสัญญาณหมายอักษร “RX.”
ในมาตรา ๔๑ นี้อกั ษรโรมัน ST. เดิมเปนอักษร NY. ถูกแกเปน ST. และอักษร RX. เดิมเปนอักษร
YF. ถูกแกเปน RX. โดยมาตรา ๑๐ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือในนานน้าํ ไทย แกไขเพิม่ เติม พ.ศ. ๒๔๗๗
มาตรา ๔๒ กอนทีเรือกําปนไฟหรือเรือกําปนใบเดินทะเลลําใดจอดทอดหรือผูกจอดเปนปกตินั้น
หามมิใหเรืออืน่ เขาไปเทียบขาง ใหเขาเทียบไดแตเฉพาะเรือไฟเล็กและเรือเล็กของกรมเจาทา หรือของ
เจาพนักงานแพทยอาสา หรือของกรมศุลกากร หรือของผูนํารอง หรือเรือของกระทรวงทหารเรือซึ่งจะมีหนาที่
พิเศษ
ในเวลาที่เรือกําปนลําใดที่กาํ ลังแลนขึน้ หรือลองในลําแมน้ํานั้น หามเปนอันขาดมิใหเรือจาง
เรือบรรทุกสินคา หรือเรือเล็ก หรือเรืออยางใด ๆ เขาไปเกี่ยวพวงขาง เวนแตจะไดรับอนุญาตพิเศษของ
นายเรือลํานัน้
มาตรา ๔๓ เมื่อจะทอดจอดเรือกําปนลําใด นายเรือหรือผูนํารองตองทอดจอดเรือนั้น โดยใหกิน
เนื้อที่อยางนอยที่สุดทีจ่ ะเปนได และความบังคับขอนี้เจาทาตองระวังเปนธุระอยูเสมอใหมีผปู ฎิบัติตาม
โดยถูกตอง
มาตรา ๔๔ ตามลําแมน้ําเล็ก และในคลองตาง ๆ นั้นอนุญาตใหจอดเรือตาง ๆ ไดทั้งสองฟาก
แตอยาใหเปนที่กีดขวางแกทางเรือขึ้นลองที่กลางลําน้าํ และหามไมใหจอดซอนลําหรือจอดขวางหรือ
ตรงกลางลําน้าํ ลําคลองเปนอันขาด
มาตรา ๔๕ เรือกําปนเรือเล็กและแพตาง ๆ ที่จอดเทียบฝงแมน้ําหรือเทียบทาสินคาหรือทาเรือนั้น
หามมิใหจอดขวางลําน้าํ ตองจอดใหหวั เรือทายเรือ หัวแพทายแพหันตามยาวของทางน้ํา
มาตรา ๔๖ ตามทาขนสินคาและทาขึน้ ทั้งสองฟากแมน้ําเจาพระยา หรือตามสองขาง เรือกําปน ก็ดี
หามมิใหเรือบรรทุกสินคา เรือไฟเล็ก เรือเปดทะเล เรืออื่น ๆ จอดหรือผูกเทียบซอนกันเกินกวาสองลํา ถาเปน
แพคนอยูห ามมิใหจอดเทียบหนาแพเกินกวาลําหนึง่
มาตรา ๔๖ ทวิ ใหเจาทามีอํานาจสั่งหามใช และใหแกไขทารับสงคนโดยสารทารับสงสินคา
ทาเทียบเรือ และแพในแมน้ําลําคลอง บึง อางเก็บน้าํ ทะเลสาบ อันเปนทางสัญจรของประชาชน หรือ
ที่ประชาชนใชประโยชนรว มกันหรือทะเลภายในนานน้ําไทย ซึง่ มีสภาพไมปลอดภัยในการใช หรืออาจ
เกิดอันตรายแกประชาชนหรือแกการเดินเรือ โดยแจงใหเจาของหรือผูครอบครองทราบเปนหนังสือ ในกรณีที่
-๘-

ไมปรากฏตัวเจาของหรือผูครอบครอง ใหปดคําสั่งไว ณ ทารับสงคนโดยสาร ทารับสงสินคา ทาเทียบเรือ


หรือแพนัน้ และใหถือวาเจาของหรือผูครอบครองไดรับคําสั่งนั้นแลว
เจาของหรือผูครอบครองซึ่งไดรับคําสั่งจากเจาทาตามความในวรรคหนึ่ง มีสทิ ธิอทุ ธรณตอรัฐมนตรี
วาการกระทรวงคมนาคมภายในสิบหาวันนับแตวนั ที่ไดรับคําสั่ง คําชี้ขาดของรัฐมนตรีเปนที่สุดแตในระหวาง
ที่รัฐมนตรียงั มิไดชี้ขาด คําสั่งหามใชนั้นมีผลใชบังคับได ในกรณีไมมอี ุทธรณคําสั่ง หรือมีอุทธรณแตรัฐมนตรี
สั่งใหยกอุทธรณ และเจาของหรือผูครอบครองไมปฎิบัติตามคําสั่งภายในเวลาที่เจาทากําหนด หรือภายใน
สิบหาวันนับแตวันไดรับทราบคําวินจิ ฉัยอุทธรณ ใหเจาทามีอํานาจจัดการแกไขใหเปนไปตามคําสั่งโดย
ดิดคาใชจายจากเจาของหรือผูครอบครอง
เมื่อเจาของหรือผูครอบครองไดแกไขเสร็จเรียบรอยตามคําสั่งแลว ใหเจาทาเพิกถอนคําสัง่ หามใช
ในกรณีที่เจาทาจัดการแกไขเองจะรอการเพิกถอนคําสัง่ หามใชไวจนกวาเจาของหรือผูครอบครองจะชําระ
คาใชจายใหเจาทาก็ได เจาของหรือผูครอบครองคนใดใชเองหรือยินยอมใหอื่นใชทารับสงคนโดยสาร ทา
รับสงสินคา ทาเทียบเรือหรือแพซึ่งเจาทามีคําสัง่ หามใชและยังมิไดเพิกถอนคําสัง่ นั้น ตองระวางโทษปรับ
ไมเกินสองพันบาท
มาตรา ๔๖ ทวินี้ ไดเพิ่มขึ้นโดยขอ ๓ แหงประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๕๐
มาตรา ๔๗ หามมิใหแพไมซุงที่กวางยี่สบิ ตนซุง จอดผูกเทียบขางเรือกําปน หรือเทียบทาขนสินคา
หรือทาขึน้ และหามมิใหเรือโปะจาย เรือลําเลียงหรือเรือสําเภา ผูกจอดผูกเทียบขางเรือกําปนมากกวาขางละ
หนึง่ ลํา และหามมิใหเรือเชนวานี้จอดผูกทาขนสินคา หรือทาขึ้นมากกวาสองลํา
มาตรา ๔๘ หามมิใหเรือโปะจาย เรือลําเลียงเรือสําเภา เรือบรรทุกสินคา เรือกลไฟเล็ก และเรือ และ
แพไมตาง ๆ จอดผูกกับฝงแมนา้ํ มากลําโดยอยางทีใ่ หล้ําออกมาในทางเรือเดิน หรือจนเปนที่กีดขวางแก
การเดินเรือ
มาตรา ๔๙ เรือกําปน หรือเรือเล็กที่จอดมากกวาสองลําในแมน้ํานอกแนวเรือ อืน่ ๆ หรือนอกแนว
แพคนอยู ซึ่งจอดอยูในทองทีเ่ ดียวกันนัน้ ทานใหถือวาเรือกําปนหรือเรือเล็กนัน้ เทากับจอดล้ําออกมาใน
ทางเรือเดิน
มาตรา ๕๐ ขอหามตาง ๆ ที่วา มาแลวในมาตรา ๔๖ และ ๔๗ นั้นเจาทาจะเห็นสมควรลดหยอนโดย
ใหอนุญาตพิเศษก็ได
มาตรา ๕๑ นายเรือ หรือผูควบคุมกําปน หรือเรือเล็ก หรือแพไมมีความละเมิดตอบัญญัติอยางใด ๆ
ในหมวดที่ ๓ นี้ ทานวามีความผิดตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวารอยหาสิบบาท

หมวดที่ ๔
วาดวยทางเรือเดินในลําแมน้ํา
มาตรา ๕๒ ในเขตทากรุงเทพฯ นัน้ ใหมที างเดินเรือสองสายดังนี้ คือ
(๑) สายตะวันออกเรียกวาสายใหญ สายนีม้ ีเขตโดยกวางตัง้ แตเรือกําปนที่จอดอยูกลาง
แมน้ํา จนถึงฝง ตะวันออก หรือถึงแคมเรือกําปนหรือแพคนอยูที่จอดเทียบฝง ตะวันออก
-๙-

(๒) สายตะวันตก สายนีม้ ีเขตโดยกวาง ตั้งแตเรือกําปนที่จอดอยูก ลางแมน้ํา จนถึงฝง


ตะวันตก หรือถึงแคมเรือกําปน หรือแพคนอยูทจี่ อดเทียบฝงตะวันตก
มาตรา ๕๒ ทวิ เมื่อมีเหตุจําเปนเพื่อความปลอดภัยแกการเดินเรือ ใหเจาทามีอํานาจประกาศ
กําหนดทางเดินเรือและควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพฯ และในแมน้ําลําคลองเปนการเฉพาะคราวได
นายเรือผูใดฝาฝนหรือไมปฎิบัติตามประกาศกําหนดทางเดินเรือหรือประกาศควบคุมการเดินเรือ
ตามวรรคหนึ่งตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาทและเจาทาจะสั่งยึดประกาศนียบัตรควบคุมเรือ
มีกําหนดไมเกินหกเดือนก็ได
นายเรือที่ถกู ยึดประกาศนียบัตรควบคุมเรือตามวรรคสอง มีสทิ ธิอทุ ธรณ ตอรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงคมนาคมภายในหนึ่งเดือนนับแตวันที่ไดรับทราบคําสั่ง คําชี้ขาดของรัฐมนตรีเปนทีส่ ุด แตใน
ระหวางที่รัฐมนตรียังมิไดชี้ขาด คําสัง่ นัน้ มีผลบังคับได
มาตรา ๕๒ ตรี นายเรือที่ถูกยึดประกาศนียบัตรควบคุมเรือผูใด ปฏิบัติหนาที่ในระหวางที่
ประกาศนียบัตรควบคุมเรือถูกยึดตามมาตรา ๕๒ ทวิ วรรคสอง ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึง่ หมืน่ บาท
มาตรา ๕๒ ทวิ และมาตรา ๕๒ ตรี นี้เปนความที่เพิม่ ขึ้นโดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือ ใน
นานน้าํ ไทย (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๒๐
มาตรา ๕๓ แนวลําแมน้ําทั้งสองฟากภายในระยะสามสิบเมตร หางจากฝง หรือจากแคมเรือกําปน
ที่จอดผูกเทียบฝง หรือจากแพคนอยูท ี่จอดผูกเทียบฝง นั้นใหหวงหามไวสําหรับเปนทางเดินเรือเล็ก
หามมิใหเรือกําปนใชแนวนัน้ เปนอันขาด นอกจากเปนเวลาจําเปน เพื่อปองกันมิใหเรือโดนกัน หรือ
เพื่อกลับหรือเคลื่อนเรือจากที่จอด
มาตรา ๕๔ นายเรือผูใดฝาฝนมาตรา ๕๓ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท
ความในมาตรา ๕๔ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๒

(ก.) วาดวยทางเรือเดินสายตะวันออกหรือสายใหญ
มาตรา ๕๕ เรือกําปนไฟทุกขนาด (นอกจากที่วา ไวในมาตรา ๕๘) และเรือกําปนใบทุกอยางที่มี
ขนาดเกินกวาหาสิบตัน เมือ่ ขึ้นลองในลําแมน้ํา ตองเดินในทางเรือเดินสายตะวันออก เวนไวแตเมื่อมีเหตุ
จําเปน หรือเพือ่ จะเขาจอดหรือออกจากทาหรือฝงจึงเดินนอกสายนัน้ ได และบรรดาเรือที่วามานี้ ตองเดินโดย
ชาที่สุดที่พอสมควรแกการเดินเรืออยางระวังและเพื่อปองกันอันตรายแกเรือ และอันตรายทีอ่ าจเกิดจาก
ละลอกคลื่นของเรือนัน้
มาตรา ๕๖ นายเรือผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๕๕ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท
ความในมาตรา ๕๖ เดิมถูยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๒๐
- ๑๐ -

(ข) วาดายทางเรือเดินสายตะวันตก
มาตรา ๕๗ บรรดาเรือใบขนาดต่ํากวาหาสิบตันและเรือทุกอยางนอกจากไดกลาวไวในมาตรา
๕๕นั้น ตองเดินในทางเรือเดินสายตะวันตก
มาตรา ๕๘ บรรดาเรือกําปนไฟที่จงู เรืออื่นที่มีขนาดต่ํากวาสามสิบหาตันเดินกวาหนึ่งลําขึ้นไป
ตองเดินในทางเรือเดินสายตะวันตก
หามมิใหเรือกําปนลําใด จูงเรือกําปน หรือเรืออยางอืน่ ในเขตทากรุงเทพฯ มากลําจนเกินกวากําลัง
ของเรือกําปน ไฟลํานัน้ จะจูงไปไดระยะทางชัว่ โมงละสองไมลเปนอยางนอยและหามมิใหเรือกําปนลําใด
ที่จูงเรือยูน นั้ เดินไปโดยระยะทางเกินกวาชัว่ โมงละหกไมลในเวลาทวนน้ําหรือเดินเร็วกวาชัว่ โมงละสี่ไมล
ในเวลาตามน้าํ
หามเปนอันขาดมิใหจูงเรือเล็กเกินกวาคราวละสามสิบสองลําเปนอยางมากและหามมิใหเรือทีถ่ ูกจูง
นั้นผูกเทียบซอนลํากันเกินกวาตับละสี่ลาํ
ความในมาตรา ๕๘ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยประกาศแกไข พ.ร.บ. วาดวยการ
เดินเรือในนานน้าํ สยาม พ.ศ. ๒๔๒๖
มาตรา ๕๙ ในเวลาทีก่ ําลังจะโยงหรือผูกเรือบรรทุกเขากับสายโยงนัน้ หามมิใหเรือกลไฟลาก หรือ
เรือไฟเล็กที่เปนเรือจูงนั้นแลนรออยูในสายทางเรือเดินเปนอันขาด ถาจะใชสายทางเรือเดินในการจูงเรือจูง
เหลานั้นตองแลนอยูเสมอใหไดระยะทางไมนอยกวาชั่วโมงละสองไมล
มาตรา ๖๐ นายเรือผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ หรือมาตรา ๕๙ ตองระวาง
โทษปรับไมเกินสองพันบาท
ความในมาตรา ๖๐ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยมาตรา ๖ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๒๐
(ค) วาดวยสวนทางเรือเดินทั้งสองสายที่หวงไวสําหรับใหเรือเล็กเดิน
มาตรา ๖๑ เรือเล็กทั้งหลาย เดินในทางเรือเดินไดทั้งสองสาย
มาตรา ๖๒ นอกจากมีเหตุจาํ เปนหรือเพื่อจะขามฟากไปจอดที่ทาหรือทีฝ่ งบรรดาเรือเล็กตองเดิน
อยูในแนวน้าํ ในระหวางระยะสามสิบเมตร จากฝงหรือจากเรือกําปนที่จอดเทียบฝง หรือจากแพคนอยูท ี่
ผูกจอดกับฝงแมน้ํา
มาตรา ๖๓ เรือบรรทุกขาวตองเดินไดแตในแนวน้ําที่กาํ หนดไวสําหรับเปนทางเดินของเรือเล็ก
ในทางเรือเดินสายตะวันตก และหามมิใหไปเดินในทางเรือเดินสายตะวันออกในตอนใดตอนหนึง่ เปนอันขาด
มาตรา ๖๔ เมื่อมีเหตุจาํ เปนหรือเพื่อจะขามฟากไปจอดที่ทา หรือที่ฝง และเรือบรรทุกขาวหรือ
เรือเล็กจะตองทํานอกเหนือที่บังคับไวในมาตรา ๖๒ และมาตรา ๖๓ ฉะนั้นก็ใหทําดวยความระวังทุกอยาง
ที่จะมิใหเปนการกีดขวางแกการเดินเรือได
- ๑๑ -

มาตรา ๖๕ หามมิใหเรือบรรทุกขาวหรือเรือเล็กผานหนาเรือกําปน ไฟที่กาํ ลังแลนขึ้นหรือลองใน


แมน้ําใกลกวาระยะรอยเมตร และถาจะขามฟากไปยังทาหรือโรงสี หามมิใหตดั ขามเหนือแหงที่จะไปนัน้
เกินกวาที่ควร
มาตรา ๖๖ บรรดาเรือยนตที่ยาวไมเกินกวาหกเมตรนั้น ยอมใหเดินในแนวลําแมน้ําทัง้ สองสาย
ที่กําหนดไวสําหรับใหเรือเล็กเดิน แตถา จะเดินหางจากฝงภายในระยะสามสิบเมตร ตองเดินโดยชาที่สุด
พอสมควรแกการควรระวังเหตุในการเดินเรือ และการควรระวังมิใหเปนอันตรายแกเรือเล็กที่ใชกรรเชียง
หรือแจวพาย
มาตรา ๖๗ นายเรือผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา ๖๒ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕ หรือ มาตรา
๖๖ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึง่ พันบาท
ความในมาตรา ๖๗ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยมรตรา ๗ แหง พ.ร.บ. การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๒๐

(ฆ) วาดวยทางคลองตาง ๆ
มาตรา ๖๘ ในแมนา้ํ ลําคลองตาง ๆ นอกเขตทา บรรดาเรือที่เดินตามน้ําใหเดินกลางแมนา้ํ หรือ
ลําคลอง เรือทีเ่ ดินทวนน้ําใหเดินแอบฝง ถาไมสามารถจะทําอยางหนึ่งอยางใดดั่งวามานี้ ใหเดินกลางรองน้ํา
และใหปฏิบัติตามขอบังคับการเดินเรือแหงทองถิน่ ซึ่งตั้งขึ้นเพื่อควบคุมการเดินเรือในลําแมน้ํา เรือคลอง
นั้น ๆ ดวย
ใหเจาทาหรือขาหลวงประจําจังหวัดในทองถิ่นที่ไมมีเจาทา มีอาํ นาจออกขอบังคับควบคุมการ
เดินเรือในแมน้ําและลําคลองใด ๆ ซึง่ อยูใ นเขตทองถิ่นของตนได ขอบังคับนัน้ เมื่อไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรี
เจาหนาที่และไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
ความในมาตรา ๖๘ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือ
ในนานน้ําสยาม แกไขเพิม่ เติม พ.ศ. ๒๔๗๗
มาตรา ๖๙ นายเรือผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๖๘ หรือฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอบังคับทีอ่ อก
ตาม มาตรา ๖๘ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท
ความในมาตรา ๖๙ เดิมถูกยกเลิก และใชความใหมนแี้ ทนโดยมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๒๐
- ๑๒ -

หมวดที่ ๕
วาดวยแพไม แพคนอยู ฯลฯ
ก.แพไม
มาตรา ๗๐ แพไมตาง ๆ ตองมีคนประจําใหพอแกการที่จะควบคุมรักษาแพโดยเรียบรอย และ
คนประจําแพตองระวังอยางที่สุดจะเปนไดเพื่อไมใหแพกีดขวางแกการเดินเรือหรือโดนกับแพคนอยู หรือ
เรือที่ทอดจอดอยูในลําแมนา้ํ แพไมทกุ ๆ แพตองชักธงเครื่องหมายของเจาของแพ และธงสําหรับเชนนี้ตอง
จดทะเบียนทีก่ รมเจาทา แพใดมีซุงกี่ตนและกําหนดจะมาถึงเขตทากรุงเทพ ไดเมื่อใดนั้นเจาของแพตอง
ทําหนังสือแจงความลวงหนาใหเจาทาทราบ
มาตรา ๗๑ หามมิใหแพไมจอดผูกติดกับเรือกําปน หรือหลักเทียบแพคนอยู โดยไมไดรับอนุญาต
จากนายเรือหรือเจาของหลักเจาของแพนัน้ ๆ
มาตรา ๗๒ ภายในเขตทากรุงเทพฯ แพไมตาง ๆ ที่จะลองหรือจูงลงมานัน้ ตองเดินในทางเรือ
เดินสายตะวันตก ถาจะเดินสายตะวันออกตองเดินใหแตแพไมที่มีเรือจูง แพไมแพหนึ่งตองมีซงุ ไมเกินกวา
สองรอยตน หรือกวางเกินกวายี่สิบเมตร
มาตาม ๗๓ หามมิใหลองแพไมขึ้นลงในลําแมนา้ํ ในระหวางเวลาตั้งแตพระอาทิตยตกจนถึง
พระอาทิตยขึ้น
มาตรา ๗๔ ในคลอง หามมิใหลองแพไมที่มซี ุงผูกเทียบกันเกินกวาสี่ตน และที่ผูกติดตอกันยาว
เกินกวาสองชัว่ ซุง และสวนแพไมไผนนั้ ไมใหยาวเกินกวาสิบหกเมตร และกวางเกินกวาที่พอจะใหแพนั้น
เดินในคลองไดโดยไมกีดขวางแกการเดินเรือ
แตถาขาหลวงประจําจังหวัดไดพิจารณาเห็นวาในคลองใด หรือในคลองตอนใด ซึง่ ใชเรือกลไฟหรือ
เรือยนตลากจูงแพเกินกวาทีไ่ ดกําหนดใหในวรรคกอนโดยไมเปนภัยแกการจราจรทางน้าํ ก็อาจผอนผันให
ผูกติดตอกันไดไมเกิน ๓๐ เมตร
เมื่อขาหลวงประจําจังหวัดไดผอนผันใหตามวรรคกอนแลว ภายหลังปรากฏวาเปนภัยแกการจราจร
ทางน้าํ จะถอนเสียก็ได
ความตอทาย มาตรา ๗๔ นี้เพิม่ ขึ้นโดย พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้ําสยาม แกไขเพิม่ เติม
พ.ศ. ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๓)
มาตรา ๗๕ ผูใดละเมิดตอขอบังคับอยางหนึง่ อยางใดในมาตรา ๗๐, ๗๑, ๗๒, ๗๓ และ ๗๔
ทานวามีความผิดตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวารอยบาท แตสวนการฟองรองเอาโทษในความผิด
ตอขอบังคับในมาตรา ๗๑ นั้น ใหฟองไดตอเมื่อมีคํารองมาแตผทู เี่ ปนเจาของเรือกําปนหรือหลัก หรือแพ
คนอยูที่เกี่ยวของ
- ๑๓ -

(ข) แพคนอยู
มาตรา ๗๖ หามมิใหจอดแพคนอยูในลําแมนา้ํ หางจากฝงเกินกวาพอดีสําหรับมิใหแพนัน้ คางแหง
ในเวลาน้าํ ลงงวด
มาตรา ๗๗ เสาหลักสําหรับผูกแพคนอยูน ั้น หามมิใหปกพนแนวหนาแพออกไปมากกวา
หนึง่ เมตรครึ่ง
มาตรา ๗๘ หามมิใหปลูกเรือนทีป่ ก เสาลงเลนตามฝงแมน้ําหางออกมาจากฝงจนเกินกวาพอดี
สําหรับไมใหมนี ้ําคางอยูใตเรือนเมื่อเวลาน้ําลงงวด
มาตรา ๗๙ ภายใตเขตทากรุงเทพฯ หามมิใหแพคนอยูใดมีขนาดกวางหรือยาวเกินกวา สิบหกเมตร
นับรวมทั้งชานและแพเล็กที่เปนสวนติดตอกับแพนัน้ ดวย
มาตรา ๘๐ ตามลําคลองหามมิใหแพคนอยูใดมีขนาดกวางเกินกวาสิบสองเมตรและหามมิใหแพใด
ที่ผูกจอดกับฝง ยื่นล้าํ ออกมาจนอาจเปนทีก่ ีดขวางแกการเดินเรือ
มาตรา ๘๑ หามมิใหจูงแพคนอยูขึ้นลองในตอนใตหลักเขตเหนือของทากรุงเทพฯ ในระหวางตั้งแต
พระอาทิตยตกจนถึงพระอาทิตยขึ้น
มาตรา ๘๒ แพคนอยูท ี่จะจูงขึ้นลองในลําแมน้ําตองเดินในทางเดินเรือสายตะวันตกตอเมื่อมีเหตุอนั
จําเปนจึงใหเดินในทางเรือเดินสายตะวันออกได
มาตรา ๘๓ หามมิใหจอดผูกแพคนอยูใดกับฝงแมน้ําเจาพระยาภายในเขตทากรุงเทพฯ โดยมิไดรับ
อนุญาตจากเจาทา
มาตรา ๘๔ ภายในเขตทากรุงเทพฯ ถาแพคนอยูแพใดยื่นออกมาในลําแมนา้ํ จนอาจเปนเหตุนากลัว
อันตรายแกการเดินเรือในเวลากลางคืนได ใหเจาทามีอํานาจบังคับใหแพนัน้ จุดโคมไฟสีขาวไวในที่เดนและ
เห็นไดงา ย ในระหวางเวลาตั้งแตพระอาทิตยตกจนถึงพระอาทิตยขึ้นเพื่อปองกันมิใหเรือใหญเล็กแลนมา
โดนแพนั้น
มาตรา ๘๕ ตั้งแตวันที่ใหใชพระราชบัญญัตินี้เปนกฎหมาย ถาจะจอดแพคนอยูห รือปลูกเรือนมีเสา
ปกเลน ตามฝง แมนา้ํ ภายในเขตทากรุงเทพฯ ก็ดี หรือตามลําคลองในแขวงกรุงเทพฯ ก็ดี ตองไดรับอนุญาต
จากเจาทากอนจึงทําได
มาตรา ๘๖ คําอนุญาตนั้นตองเปนหนังสือ และมีแผนที่ฝง น้าํ แพคนอยูห รือเรือนปกเสาลงเลน
ที่ขางเคียง และทําเลที่จะจอดแพและปกหลักผูกแพนัน้ ดวย
มาตรา ๘๗ เมื่อรับคําขออนุญาตแลวเจาทาตองตรวจภายในเวลาหนึ่งเดือน และถาเห็นวาเปน
การปฏิบัติถูกตองตามขอบังคับในมาตรา ๘๕ และ ๘๖ ทุกอยางแลวก็ใหออกใบอนุญาตใหตามทีข่ อ
มาตรา ๘๘ หามมิใหลงมือทําการปลูกสรางกอนที่จะไรับอนุญาตตามที่รองขอนัน้ เปนอันขาด
มาตรา ๘๙ ภายในเขตทากรุงเทพฯ ใหเจาทามีอาํ นาจและภายนอกเขตนั้นใหเจาทีพ่ นักงานทองที่
มีอํานาจที่จะบังคับใหรื้อถอนแพคนอยูหรือหลักผูกแพหรือเรือนที่ปกเสาลงชายฝง น้าํ ทีจ่ อดหรือปกหรือ
สรางผิดตอขอบังคับในมาตราตั้งแต ๗๖ ถึง ๗๙ จะเปนแพหรือหลักหรือเรือนทีต่ ั้งอยูนนั้ เมื่อกอนหรือใน
- ๑๔ -

ภายหลังเวลาใชพระราชบัญญัตินี้ก็ตาม และใหมอี ํานาจบังคับใหรื้อถอนบรรดาแพคนอยูห รือหลักผูกแพ


หรือเรือนที่ปก เสาลงในชายฝงน้าํ ซึ่งไดปลูกขึ้นโดยมิไดรบั อนุญาตโดยถูกตองหรือทีป่ ลูกโดยไมถูกตอง
ตามขอความในอนุญาตที่ไดออกใหนนั้ ดวย
มาตรา ๙๐ ถาผูใดไมกระทําตามคําสัง่ ที่กลาวในมาตรา ๘๙ ผูน ั้นตองระวางโทษปรับเปนเงิน
ไมเกินกวาวันละสิบบาท สําหรับทุกวันทีจ่ ะไดตัดสินวาผูนั้นไดมีความขัดขืน และใหเจาทาหรือเจาพนักงาน
ผูมีอํานาจหนาที่มีอาํ นาจบังคับใหรื้อถอนแพคนอยูห รือเรือนที่ปกเสาลงในชายฝง น้าํ โดยใหผูทเี่ ปนเจาของ
เสียคารื้อถอนนั่นเอง
มาตรา ๙๑ ผูใดละเมิดตอขอบังคับอยางหนึ่งอยางใดในมาตรา ๘๑, ๘๒, ๘๓, และ๘๔ ทานวา
มีความผิดตองระวางโทษปรับไมเกินกวารอยบาท

(ค) วาดวยเรือจับสัตวนา้ํ และโพงพางที่ขวางแมนา้ํ


มาตรา ๙๒ การจับสัตวน้ํา ดวยอวนแหโดยทอดสมอจอดเรือเรียงรายลําติดกันขวางลําน้าํ หรือ
ทอดทุน หรือปกหลักโพงพางเปนแถวจากฝงถึงกลางลําน้าํ นัน้ การจับสัตวน้ําดวยวิธีเหลานี้หา มมิใหกระทํา
ในเขตทากรุงเทพฯ ถาพนเขตทากรุงเทพฯ ออกไปจะทําโดยไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานก็ได
มาตรา ๙๓ ในระหวางเวลาตั้งแตพระอาทิตยตก จนถึงเวลาพระอาทิตยขนึ้ เจาของเรือจับสัตวน้ํา
หรือทุน หรือหลักโพงพางเชนวามาแลว ตองจุดเปนไฟแสงโพลงไวบนฝงตรงกับแถวเรือหรือทุน หลักเหลานัน้
และตองจุดโคมไฟไวบนเรือหรือทุน หรือหลักโพงพางที่หา งที่สุดออกมาจากฝง นั้นดวยและตองเปาเขากระบือ
หรือแตรเสียงกอง สําหรับใหเรือที่เดินขึ้นลองรูวามีของกีดกันเชนนั้นอยูในลําน้ําดวย
รั้วหรือหลักทีป่ กเรียงรายตามแนวชายฝงทะเลที่ปากน้าํ หรือที่ใกลทางจะเขาปากน้าํ นั้นในระหวาง
เวลาตั้งแตพระอาทิตยตกจนถึงพระอาทิตยขึ้น ตองจุดโคมใหเห็นแสงไฟสีขาวที่ปลายรัว้ หรือหลักสุดแถว
ทั้งสองขาง
มาตรา ๙๔ ทุนหรือหลักสําหรับจับสัตวน้ํานั้น หามมิใหผูกโยงถึงกันดวยลําไมไผใหใชผูกดวยเชือก
เพียงอยางเดียวตามธรรมเนียมที่เคยทํากันอยูและหามมิใหผูกโยงจากฝงดวยเชือกหัวดวยไมยาวใหเปนที่
กีดขวางแกทางเดินเรือของเรืออื่น
มาตรา ๙๕ ผูใดละเมิดตอขอบังคับอยางหนึ่งอยางใดในมาตรา ๙๒, ๙๓, และ ๙๔ ทานวามัน
มีความผิดตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวาสองรอยบาท

หมวดที่ ๖
ขอบังคับเบ็ดเตล็ด

(ก.) วาดวยการผูกเรือกับฝงดวยเชือกลวดและเชือกตาง ๆ
มาตรา ๙๖ ในแมนา้ํ หรือเขตทาใด ๆ ถานอกจากเรือทีจ่ อดผูกเทียบทาขนสินคาทาขึ้นหรือเทียบฝง
หามมิใหเรือกําปนลําใดผูกโยงกับฝง ดวยเชือกลวด หรือเชือกอยางอืน่ จนไมเหลือชองน้าํ ในระหวางเรือลํา
นั้นกับฝงสําหรับเรืออื่นเดินได
- ๑๕ -

มาตรา ๙๗ หามมิใหเอาเชือกอยางใด ๆ ทอดจากเรือกําปนลําใดที่จอดเทียบทา ไปผูกกับทุน โยง


ในลําน้ําหรือเขตทาจนกวาจะถึงเวลาที่เรือเตรียมออกจากทาที่จอดเทียบอยูนนั้ จึงใหทาํ เชนนัน้ ได
มาตรา ๙๘ ผูใดละเมิดตอของบังคับอยางหนึง่ อยางใดในมาตรา ๙๖ และ ๙๗ ทานวามีความผิด
ตองระวางโทษปรับไมเกินกวาสองรอยบาท

(ข) วาดวยฝเทาเรือ – เกิดเหตุอันตราย - โคมไฟ


มาตรา ๙๙ หามมิใหนายเรือกลับลําเรือกําปนในลําแมน้ํา รองน้ํา เรือในสายทางเรือเดิน เวนไวแต
ในเวลาทีท่ างน้ํานั้น ๆ วางไมมีเรืออื่นแลนเขาออก และหามมิใหนายเรือกําปน ลําใดที่จอดเทียบทาขนสินคา
หรือทาขึน้ เคลือ่ นเรือออกจากทา เวนไวแตในเวลาที่ลําแมน้ํา รองน้าํ ชองน้าํ หรือสายทางเรือเดินอันเปน
ทองที่นนั้ วางไมมีเรืออื่นแลนเขาออก
มาตรา ๑๐๐ นายเรือกําปนลําใดที่กาํ ลังเขาหรือออกที่เขตทา หรือชองแคบตองลดฝเทาเรือให
เดินชาลงพอสมควรแกการเดินเรืออยางระวัง และอยางปองกันเหตุอนั ตรายแกเรือนั้นเอง
มาตรา ๑๐๑ เรือที่จะเขาเทียบหรือจอดยังทานายเรือจะตองใชความเร็วต่ํา และดวยความ
ระมัดระวังเรือที่เดินอยูในแมน้ําหรือลําคลองตองใชความเร็วไมเกินอัตราที่เจาทากําหนด และหามมิใหแลน
ตัดหนาเรือกลที่กําลังเดินขึ้นลองอยูในระยะหนึง่ รอยเมตรผูใดฝาฝนตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท
และใหเจาทามีอํานาจยึดใบอนุญาตใชเรือหรือประการศนียบัตรควบคุมเรือทั้งนี้มีกาํ หนดไมเกินหกเดือนก็ได
เจาของเรือหรือผูถือประกาศนียบัตรควบคุมเรือที่ถูกยึดใบอนุญาตมีสทิ ธิอุทธรณตอรัฐมนตรี
วาการกระทรวงคมนาคมภายในหนึ่งเดือนนับแตวนั ที่ไดทราบคําสัง่ คําชี้ขาดของรัฐมนตรีเปนทีส่ ุด แตใน
ระหวางที่รัฐมนตรียังมิไดชี้ขาดคําสั่งนั้นมีผลบังคับได
มาตรา ๑๐๒ นายเรือที่ไดรับประกาศนียบัตรแสดงความรูทุกคนตองใชความระมัดระวังในการ
ควบคุมเรือโดยเต็มความสามารถเพื่อมิใหเรือเกิดอุบัติเหตุ หรืออันตรายอยางใด ๆ เกิดขึ้นในหนาที่ขณะที่ตน
กระทําการควบคุมเรือนั้นอยูนายเรือลํานัน้ ตองรายงานเหตุที่เกิดขึ้นนัน้ ตอเจาพนักงานผูมหี นาที่ดังตอไปนี้
๑. สําหรับเรือที่ยังไมออกจากเขตทาไปทะเลในทันทีทนั ใด ถัดเวลาที่เกิดเหตุใหยนื่ รายงานตอเจาทา
ภายในเวลายีส่ ิบสี่ชั่วโมง แตถาเรือลํานัน้ กําลังจะออกจากทาไปสูทะเลก็ใหสงรายงานโดยทางไปรษณีย
ลงทะเบียนในโอกาสแรกที่สง ได หรือแวะแจงความตอกรมการอําเภอ หรือตํารวจทองที่ใกลเคียงหรือฝาก
รายงานนั้นไวแกเจาพนักงานศุลกากร ณ ตําบลใกลเคียงเพื่อสงใหเจาทาตอไป
รายงานนั้นตองใหชัดเจนถึงขอเหลานี้
- ตําบลที่เกิดเหตุพรอมทั้งแผนที่สงั เขปถาสามารถทําได
- วัน เดือน ป ที่เกิดเหตุ
- ชื่อเจาของเรือหรือตัวแทน และเลขทะเบียนเรือ
- สาเหตุที่เกิด และกรณีแวดลอม
- ความเสียหายที่ไดรับ
- ๑๖ -

- ถาเปนเรือทีม่ ีสมุดปูมก็ในคัดขอความประจําวันที่จดไวในสมุดปูมทัง้ ปากเรือและทองเรือ


แนบมาดวย
๒. สําหรับเรืออื่น ๆ นอกจากใน อนุมาตรา ๑ ใหรายงานที่เกิดเหตุที่เกิดขึน้ นัน้ ตอเจาทาหรือ
แจงความตอกรมการอําเภอ หรือตํารวจทองที่ใกลเคียงภายในเวลาสี่สบิ แปดชั่วโมง
๓. กรมการอําเภอหรือตํารวจทองที่เมื่อไดรับแจงความแลวใหไตสวน และจัดการไปตามหนาที่และ
ใหรีบสงสําเนาการไตสวนไปใหเจาทาทองถิ่นหรือกรมเจาทาทราบ
มาตรา ๑๐๓ นายเรือคนใดละเมิดตอขอบังคับอยางหนึ่งอยางใดในมาตรา ๙๙, ๑๐๐, และ ๑๐๒
ทานวามีความผิดตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวารอยบาท
มาตรา ๑๐๔ เรือกลไฟเล็ก และเรือยนตทุกลําเมื่อเวลาเดินตองมีโคมไฟสีเขียวไวขางขวาดวงหนึง่
โคมไฟสีแดงขางแคมซายดวงหนึ่ง และโคมไฟสีขาวอยางแจมแขวนไวในที่เดนสูงกวาดาดฟาใหถูกตอง
ตามทีก่ ําหนดไวในกฏขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ
มาตรา ๑๐๕ เรือทุกลําและแพไมทุกแพทีท่ อดสมอ หรือผูกกับหลักหรือกําลังเดินหรือลองอยูนนั้ ตอง
แขวนโคมสีขาวดวงหนึ่งไวในที่เดนใหเปนที่แลเห็นไดจากทุกทิศ แตถาจอดผูกเทียบอยูกับฝงแมนา้ํ ไม
จําเปนตองมีโคมไฟไวเชนนีก้ ็ได
มาตรา ๑๐๖ เรือลําเลียง และเรือโปะจายทุกลําถาเปนเรือที่เดินดวยเครื่องจักรอยางเรือไฟ ตองมี
โคมไฟเหมือนอยางที่บัญญัติไวสําหรับเรือกลไฟ ถาเปนเรือเดินดวยใบฉะนั้นตองใชโคมไฟตามอยางที่
บัญญัติไวสําหรับเรือใบที่กาํ ลังเดิน
มาตรา ๑๐๗ เรือทุกลําทีอ่ ยูในพวงที่กาํ ลังเดินหรือทอดสมออยูก็ดีตองจุดโคมไฟสีขาวไวในที่เดน
และเห็นงายในระหวางเวลาตั้งแตพระอาทิตยตกจนถึงพระอาทิตยขนึ้ เพื่อใหเปนที่สงั เกตไดชัดเจนวา
หมูเรือพวงนั้นยาวและกวางเทาใด
มาตรา ๑๐๘ ที่ตําบลสําเภาจมปากน้าํ เจาพระยานัน้ เมื่อมีเรือกําปนสองลําแลนมาถึงเห็นวาจะ
สวนกันที่ตรงหรือเกือบตรงขางเรือทุน ไฟหมายตําบลสําเภาจมก็ใหเรือลําทีท่ วนน้าํ นั้นหยุดรอชา ๆ จนกวา
เรืออีกลําหนึ่งจะไดแลนพนเรือทุนไฟนั้นโดยเรียบรอยแลว
มาตรา ๑๐๙ เรือโปะจายและเรือใบทุกอยาง เมื่อแลนกาวขึน้ ลองตามแมน้ําหรือตามชองแคบ ถามี
เรือกลไฟลําใดเดินอยูในฟากน้ํา หรือลองที่ไมผิดหรือเดินแอบฝงอยางใกลพอสมควรแกที่จะใหเปนอันตราย
แกเรือลํานัน้ หามมิใหเรือทีแ่ ลนกาวนัน้ แลนตัดหนาเรือหรือแลนกาวใกลตัดหนาเรือกลไฟนัน้ เปนอันขาด
ในแมนา้ํ หรือในชองน้ําที่แคบหามมิใหเรือกลไฟเล็ก หรือเรือยนตพยายามแลนผานหนาเรือกําปน ไฟ
โดยอยางที่อาจใหเกิดโดยกันขึ้นได
มาตรา ๑๑๐ นายเรือคนใดละเมิดตอขอบังคับอยางหนึ่งอยางใดในมาตรา ๑๐๔, ๑๐๕, ๑๐๖,
๑๐๗, ๑๐๘ และ ๑๐๙ ทานวามีความผิดตองระวางโทษจําคุกไมเกินกวาหกเดือนหรือปรับไมเกินพันบาท
หรือทั้งจําทั้งปรับดวยกันทัง้ สองสถาน
- ๑๗ -

(ค) วาดวยเรือถอยออกจากอู
มาตรา ๑๑๑ ในตอนลําน้ําเจาพระยาซึง่ เรือเดินทะเลเดินใดนนั้ เมื่อมีเรือลําใดกําลังถอยออกจากอู
หรือถอยลงจากทาลาดในเวลากลางวัน ตองมีทนุ รูปกลมสีดําลูกหนึง่ ชักขึ้นไวที่เสา หรือที่เดนแหงหนึง่ ที่
ปากอูหรือทาลาดนัน้ ใหเรือตาง ๆ ทีเ่ ดินขึน้ ลองในแมนา้ํ แลเห็นไดชัด เมื่อกอนหนาจะถอยออกอู หรือทาลาด
ใหชกั ทุน ขึน้ ไวเพียงครึ่งเสา เมื่อกําลังถอยออกใหชัดขึน้ ถึงปลายเสา ถาเปนเวลาค่ําคืนใหใชโคมไฟสีแดงแทน
และทําอยางวิธีเดียวกันกับลูกทุน สีดํา
มาตรา ๑๑๒ ผูใดละเมิดตอขอบังคับอยางหนึ่งอยางใดในมาตราที่วา มานีท้ านวามีความผิดตอง
ระวางโทษปรับเปนเปนเงินไมเกินกวาหารอยบาท

(ฆ) วาดวยทุน และเครื่องหมายสําหรับผูกจอดเรือ


มาตรา ๑๑๓ หามมิใหผูใดมีหรือวางทุนหรือเครื่องสําหรับผูกจอดเรือในนานน้าํ แมนา้ํ หรือทําเล
ทอดจอดเรือใด ๆ เวนไวแตไดรับอนุญาตจากเจาทาหรือจากเจาพนักงานผูมีหนาที่ และโดยตองถือและ
กระทําตามขอบังคับกํากับอนุญาตและตองเสียคาธรรมเนียมตามซึ่งเจาทาหรือเจาพนักงานผูมีหนาทีน่ ั้น
จะกําหนด แตบัญญัติที่วานี้ไมใชตลอดถึงทุน และเครื่องหมาย หรือเครื่องผูกจอดเรือของกระทรวงทหารเรือ
ซึ่งจอดไวชั่วคราวในลําน้าํ สําหรับการตรวจเซอรเวยทําแผนที่
มาตรา ๑๑๔ หามมิใหผูใดเอาเรือเก็บสินคาหรือเรือชนิดใด ๆ ที่คลายเรือเก็บสินคาซึ่งใชเปนเรือทุน
หรือสําหรับบรรจุสิ่งของตาง ๆ ทอดสมออยูเปนการประจําในนานน้ํา ลําแมนา้ํ หรือทะเลทอดสมอจอดเรือ
ตําบลใด ๆ เวนไวแตไดรับอนุญาตจากเจาทาหรือจากเจาพนักงานผูม ีหนาที่และโดยตองถือและกระทําตาม
ขอบังคับกํากับอนุญาตและตองเสียคาธรรมเนียมตามซึง่ เจาทาหรือเจาพนักงานผูมหี นาทีน่ นั้ จะกําหนด
มาตรา ๑๑๕ ทุนหรือเครื่องหมายสําหรับผูกจอดเรือ ซึ่งจะไดอนุญาตตามความในมาตรา ๑๑๓ นั้น
ใหใชสําหรับเรือของผูที่ไดรับอนุญาตฝายเดียว ถาเรือนัน้ จะอาศัยใชผกู จอดตองไดรับอนุญาตของผูนั้นกอน
จึงทําได
มาตรา ๑๑๖ ผูใดละเมิดตอขอบังคับอยางหนึ่งอยางใดในมาตรา ๑๑๓, ๑๑๔ และ ๑๑๕ ทานวามี
ความผิดตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินวาสองรอยบาทและอาจจะตองถูกบังคับใหรื้อถอนทุน หรือเครื่อง
สําหรับผูกจอดเรือที่เกี่ยวของนัน้ โดยเสียเงินของตนเองดวย

(ค) วาดวยการลวงล้ําแมน้ํา
มาตรา ๑๑๗ หามมิใหผูใดปลูกสรางอาคารหรือสิ่งใดลวงล้ําเจาไปเหนือน้ําในน้าํ และใตน้ํา ของ
แมน้ํา ลําคลอง บึง อางเก็บน้ํา ทะเลสาบ อันเปนทางสัญจรของประชาชน หรือที่ประชาชนใชประโยชน
รวมกัน หรือทะเลภายในนานน้าํ ไทย เวนแตจะไดรับอนุญาตจากเจาทา
มาตรา ๑๑๘ ผูใดฝาฝนมา ตรา ๑๑๗ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาทและใหเจาทามีคําสั่ง
เปนหนังสือแจงใหเจาของหรือผูครอบครองอาคารหรือสิ่งลวงน้ํานั้นใหรอื้ ถอนไปใหพน แมนา้ํ ลําคลอง บึง
อางเก็บน้าํ ทะเลสาบ อันเปนทางสัญจรของประชาชน หรือทีป่ ระชาชนใหประโยชนรวมกัน หรือทะเลภายใน
- ๑๘ -

นานน้าํ ไทย ในกรณีที่ไมปรากฏตัวเจาของหรือผูครอบครอง ใหปดคําสั่งนัน้ ไว ณ อาคารหรือสิ่งลวงล้ํา และ


เมื่อครบกําหนดสิบหาวันนับแตวันที่ไดออกคําสั่งนั้นแลวยังไมมีการรือ้ ถอนอาคารหรือสิ่งลวงล้ํานั้นออกไป
ใหเจาทาจัดการรื้นถอนอาคารหรือสิ่งลวงล้ํานัน้ ได ในการนี้ใหเจาทาจัดการขายทอดตลาดทรัพยสินที่รื้อ
ถอนหรืออยูในอาคารนั้นและใหนาํ ความในประมวลกฏหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๓๒๗ มาใชบังคับ
แกเงินที่ขายทรัพยสินนั้นไดโดยอนุโลม

(ฆ) วาดวยการทิ้งอับเฉาลงในลําแมนา้ํ เขตทา หรือในทําเลทอดสมอจอดเรือ


มาตรา ๑๑๙ หามมิใหผูใด เท ทิ้ง หิน กรวด ทราย ดิน โคลน อับเฉา สิง่ ของหรือสิ่งปฏิกูลใด ๆ
รวมทัง้ น้าํ มันและเคมีภัณฑลงในแมน้ํา ลําคลอง บึง อางเก็บน้าํ ทะเลสาบอันเปนทางสัญจรของประชาชน
หรือที่ประชาชนใชประโยชนรวมกัน หรือทะเลภายในนานน้าํ ไทยอันจะเปนเหตุใหตนื้ เขินหรือตกตะกอน หรือ
ทําใหแมนา้ํ ลําคลอง บึง อางเก็บน้ํา ทะเลสาบอันเปนทางสัญจรของประชาชน หรือที่ประชาชนใชประโยชน
รวมกัน หรือทะเลภายในนานน้ําไทยสกปรกเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตหรือเปนอันตรายแกการเดินเรือ เวนแตจะ
ไดรับอนุญาตจากเจาทาผูใดฝาฝน ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาทและตองชดใชเงินคาไชจายที่เจา
ทาตองเสียในการขจัดสิ่งเหลานัน้ ดวย
มาตรา ๑๒๐ ใหเจาทามีหนาที่ดูแลรักษาและขุดคลองรองน้าํ ทางเรือเดินแมนา้ํ ลําคลอง และทะเล
ภายในนานน้าํ ไทย
หามมิใหผูใดขุดลอก แกไข เปลี่ยนแปลงรองน้าํ ทางเรือเดิน แมนา้ํ คลําคลอง หรือทะเลภายใน
นานน้าํ ไทย เวนแตจะไดรับอนุญาตจากเจาทา ผูใดฝาฝนตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท และเจาทา
มีอํานาจสั่งใหหยุดการกระทําดังกลาว

(ง) วาดวยเรือที่เปนอันตรายลง ฯลฯ


มาตรา ๑๒๑ เมื่อมีเรือไทย เรือตางประเทศหรือสิง่ อืน่ ใดจมลงหรืออยูในสภาพทีอ่ าจเปนอันตราย
แกการเดินเรือในนานน้ําไทย ใหเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือสิ่งอื่นในนัน้ จัดทําเครื่องหมายแสดง
อันตรายโดยพลัน ดวยเครื่องหมายตามทีเ่ จาทา หรือเจาพนักงานผูมหี นาที่เห็นสมควร สําหรับเปนที่สงั เกตุ
ในการเดินเรือทั้งเวลากลางวันและเวลากลางคืนจนกวาเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือสิ่งอื่นใดนั้นจะได
กู รื้อ ขน ทําลาย หรือกระทําอยางหนึ่งอยางใดแกเรือหรือสิ่งอื่นใดซึ่งไดจมลงหรืออยูในสภาพที่อาจเปน
อันตรายแกการเดินเรือออกจากทีน่ นั้ เรียบรอยแลว ซึ่งตองกระทําใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่เจาทา
กําหนด
ถามิไดจัดทําเครื่องหมายแสดงอันตราย หรือกู รื้อ ขน ทําลาย หรือกระทําการอยางหนึ่งอยางใด
ใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่เจาทากําหนดตามวรรคหนึง่ ใหเจาทาหรือเจาพนักงานผูมีอาํ นาจจัดทํา
เครื่องหมายแสดงอันตราย หรือกู รื้อ ทําลาย ขน หรือกระทําการอยางหนึง่ อยางใดแกเรือหรือสิ่งอื่นใด และ
ทรัพยสนิ ที่อยูใ นเรือหรือสิ่งอื่นใดใหพน จากสภาพที่อาจเปนอันตรายแกการเดินเรือ โดยเรียกคาใชจายจาก
เจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือสิ่งอื่นใดนั้น
- ๑๙ -

ถาเรือไทย เรือตางประเทศ หรือสิ่งอืน่ ใดตามวรรคหนึง่ มีซงึ่ สิ่งกอหรืออาจกอใหเกิดมลพิษตอสิ่ง


แวดลอม ใหเจาของหรือตัวแทนเจาของหรือสิ่งอื่นใดนัน้ ขจัดหรือปองกันมลพิษใหแลวเสร็จภายใน
ระยะเวลาที่เจาทากําหนด หากไมแลวเสร็จภายในระยะเวลาดังกลาว ใหเจาทาหรือเจาพนักงานผูม ีหนาที่มี
อํานาจกระทําการอยางหนึง่ อยางใด เพื่อขจัดหรือปองกันมลพิษนั้นได โดยเรียกคาใชจายจากเจาของหรือ
ตัวแทนเจาของเรือหรือสิ่งอืน่ ใดนัน้
ในกรณีที่เจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือสิ่งอื่นใด ไมยอมชดใชคาใชจายตามวรรคสองหรือ
วรรคสาม ภายในระยะเวลาที่เจาทากําหนดตามสมควรแกกรณี หรือไมปรากฏตัวเจาของหรือตัวแทนเจาของ
เรือหรือสิ่งอื่นใดนั้น ใหเจาทาดายความเห็นชอบของรัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม นําเรือหรือสิ่งอื่นใด
นั้นและทรัพยสินที่อยูในเรือหรือสิ่งอื่นใดนัน้ ออกขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่น
ถาเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอนื่ ยังไมเพียงพอชดใชคาใชจายเจาของหรือ
ตัวแทนเจาของเรือหรือสิ่งอืน่ ใดนัน้ ตองชดใชสวนที่ยังขาด แตถาเงินที่ไดจากการขายทอดตลาดหรือขาย
โดยวิธีอนื่ นัน้ เมื่อหักคาใชจายแลวเหลือเทาใดใหคืนเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือสิ่งอื่นใดนัน้ หรือ
เจาของทรัพยสิน เวนแตไมปรากฏตัวเจาของหรือตัวแทนเจาของเรือหรือสิ่งอื่นใดนัน้ หรือเจาของทรัพยสิน
ใหเงินทีเ่ หลือนั้นตกเปนของแผนดิน

(จ) วาดวยแตรหวีดเปาดวยแรงสตีม
มาตรา ๑๒๒ หามมิใหเรือกําปนไฟ หรือเรือกลไฟเล็กที่ทอดสมออยูก ็ดีหรือกําลังเดินอยูก็ดี เปาแตร
หวีด นอกจากเฉพาะสําหรับความสะดวกในการเดินเรือเพื่อปองกันมิใหโดนกันกับเรืออื่น และเสียงแตร
ที่เปาขึน้ นัน้ หามมิใหเปานานเกินกวาสมควร ขอบังคับทีว่ านี้ใหใชไดสาํ หรับแตรเรือยนตเหมือนกัน
มาตรา ๑๒๓ ภายในเขตทากรุงเทพ ฯ หามมิใหเรือลําใดใชแตรที่มีเสียงหาวหรือเสียงครางครวญ
เวนไวแตเรือมาจากตางประเทศที่ไมมีแตรอยางอืน่ นอกจากอยางนั้น
วาดวยการยิงปน
มาตรา ๑๒๔ ภายในเขตทากรุงเทพ ฯ นอกจากไดรับอนุญาตจากเจาทาหรือจากเจาพนักงานผูม ี
หนาที่ หามมิใหผูใดยิงปนจากเรือลํานั้น หรือเรือเล็กลําใดเปนอันขาด เวนไวแตเปนเครื่องสัญญาณวามี
เหตุรายเกิดขึ้นในเรือ
วาดวยการตีกลองตีฆองและจุดดอกไมเพลิง
มาตรา ๑๒๕ ภายในเขตทากรุงเทพ ฯ นอกจากไดรับอนุญาตจากเจาทาหรือเจาพนักงานผูมีหนาที่
หามมิใหผูใดตีกลอง ตีฆอง ปลอยหรือจุดดอกไมเพลิงในระหวางเวลาตั้งแต ๔ ทุมถึงเวลาย่ํารุง เปนอันขาด
มาตรา ๑๒๖ ผูใดละเมิดตอขอบังคับอยางหนึง่ อยางใดในมาตรา ๑๒๒,๑๒๓,๑๒๔ และ ๑๒๕
ทานวามีความผิดตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวารอยบาท

(ฉ) วาดวยทรัพยสงิ่ ของทีล่ ืมไวในเรือและทรัพยสงิ่ ของที่ลอยพลัดอยูในแมน๊ํา


- ๒๐ -

มาตรา ๑๒๗ เมื่อมีทรัพยสงิ่ ของอยางใดของคนโดยสารหรือของคนอื่นลืมไวในเรือกําปน หรือ


เรือเล็กลําใด และนายเรือลํานัน้ ไมสามารถทีจ่ ะคืนใหแกเจาของได ทานวาใหเอาไปสงไวยงั โรงพักกอง
ตะเวนตัง้ อยูใกล และทําคําชี้แจงเหตุที่เกีย่ วของยืน่ ไวดว ย
มาตรา ๑๒๘ ผูใดพบและเก็บทรัพยสิ่งของในแมน้ํา อันเปนของ ๆ คนอื่นที่หายไป เชนไมซุงหรือไม
กระดานที่เปนของพลัดจากแพ หรือเรือหรือสิ่งของอยางอืน่ ๆ ทานวาตองนําสงไวยังโรงพักกองตระเวนที่
ตั้งอยูใกล
มาตรา ๑๒๙ เมื่อมีทรัพยสินสิ่งของมาสงไวดังนั้น กองตระเวนตองคืนใหแกเจาของถาหากรูจักตัว
ถาหาเจาของไมไดก็ใหประกาศโฆษณาไว เมื่อพนกําหนดเวลา ๓ เดือนไปแลวทานวาใหขายทรัพยสิ่งของ
นั้นโดยวิธีขายทอดตลาด ขายเงินไดเทาใด ใชชักไวรอยละสิบสําหรับผูท ี่พบและเก็บทรัพยสงิ่ ของนัน้ ๆ เหลือ
จากนั้นใหสงไวเปนของรัฐบาลแตในการทีจ่ ะคืนเจาของก็ดีหรือจะขายทอดตลาดก็ดที านใหกองตระเวน
สืบใหทราบเสียกอนวาทรัพยสิ่งของนั้น ๆ จะตองเสียภาษีศุลกากร หรือไม
มาตรา ๑๓๐ ผูใดละเมิดตอขอบังคับอยางหนึง่ อยางใดในมาตรา ๑๒๗,๑๒๘ และ ๑๒๙ ทานวามี
ความผิดตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวารอยบาท

(ช) วาดวยคําเตือนสําหรับนายเรือกําปน
มาตรา ๑๓๑ เมื่อเวลาอนุญาตใหลูกเรือลาพัก นายเรือควรชี้แจงแกลูกเรือใหทราบวาเวลาขึ้นบก
อยาใหมีมีดทีม่ ีฝกหรืออาวุธที่อาจทําอันตรายไดอยางอืน่ ๆ เชน ลูกดิง่ ฯลฯ ติดตัวไปดวยเปนอันขาด
ความตามในมาตรา ๑๓๕ ขอ ๒ แหงประมวลกฎหมายลักษณะอาญา ทานวาถาผูใดมีอาวุธ อยาง
ใดเชนวามานัน้ เขาไปในสถานที่หรือสาธารณสถาน กองตระเวนมีอํานาจที่จะจับกุมผูนั้นได และถาพิจารณา
เปนสัตยตอหนาศาล ใหตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวาสิบสองบาท และใหริบอาวุธนั้นเสียดวย
มาตรา ๑๓๓ หามมิใหพาเอาศพเขามาในนานน้ําสยามจากเมืองทาตางประเทศนอกจากศพที่มหี ีบ
หรือเครื่องหุมหออยางมิดชิดแนนหนารัว่ ไมได และมีหนังสือใบพยานกํากับศพมาดวยฉบับหนึง่ ชี้แจงวา
ตามดวยเหตุอะไร เปนหนังสือใบพยานที่แพทยซงึ่ มีวฒ ุ ิสมควรตามกฎหมายไดทาํ ให และกงสุลสยามใน
เมืองทาที่มาจากนัน้ ไดลงชื่อเปนพยาน หรือถาไมมีกงสุลสยาม เจาพนักงานฝายตุลาการไดลงชื่อเปนพยาน
เมื่อศพมาถึงนานน้ําสยามนายเรือตองรีบแจงความใหผนู ํารองเจาทาหรือพนักงานแพทยสุขาทราบโดยพลัน
- ๒๑ -

ภาคที่ ๒
ขอบังคับสําหรับออกใบอนุญาต
การใชและการควบคุมเรือกําปนและเรือเล็กตาง ๆ
หมาดที่ ๑
วาดวยขอบังคับทั่วไป
มาตรา ๑๓๔ ถูกยกเลิกโดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้าํ สยามฉบับที่ ๖ พ.ศ.๒๔๘๑
มาตรา ๑๓๕,๑๓๖
มาตรา ๑๓๕ และมาตรา ๑๓๖ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ.
การเดินเรือในนานน้าํ สยาม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ.๒๔๘๑
มาตรา ๑๓๗ เรื่องราวขอรับใบอนุญาต หรือขอตออาวใบอนุญาตนั้นใหยนื่ ตอเจาทาหรือเจา
พนักงาน ซึ่งไดแตงตั้งขึ้นเพื่อการจดทะเบียน และตองเขียนดวยกระดาษแบบพิมพของราชการ เวลาทีย่ ื่น
เรื่องราวผูขอใบอนุญาตตองนําเงินไมตา่ํ กวากึง่ จํานวนเงินคาธรรมเนียมสําหรับออกใบอนุญาตนัน้ มาวางไว
ดวย
ถาเปนเรือกลไฟ หรือเรือยนตที่ประสงคจะเดินรับจางบรรทุกคนโดยสาร หรือสินคาหรือจูงเรือ ผูยนื่
เรื่องราวตองมาแจงใหชัดเจน ถาจะเดินรับจางเปนการประจําทางจะตองระบุดวยวาตนจะนําเรือนั้นไป
เดินทางจากตําบลใดถึงตําบลใด
เพื่อประโยชนแหงมาตรานี้ เรือกลไฟหรือเรือยนตลําใด เดินรับจางเปนการประจําระหวาง ตําบล
ใด ๆ มีกําหนดตั้งแต ๓ เดือนขึ้นไป ใหถือวาเปนเรือเดินประจําทาง
เรือกลไฟหรือเรือยนตที่ไดรับอนุญาตใหเดินรับจางบรรทุกคนโดยสารหรือสินคาหรือจูงเรือตามความ
ประสงคในวรรคกอนนี้แลว ตอมาถาจะแกทะเบียนเปลีย่ นความประสงคไดรับอนุญาตไวแตเดิมนั้นก็ได
ความในมาตรา ๑๓๗ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือ
ในนานน้ําสยาม แกไขเพิม่ เติม พ.ศ.๒๔๗๗
มาตรา ๑๓๘ เมื่อเจาพนักงานออกใบอนุญาตวินิจฉัยโดยเหตุอันสมควรเห็นวาเรือกําปนและเรือเล็ก
ลําใดมีความพิทักษรักษาและความสะอาดเรียบรอยไมพอเพียงสําหรับการที่ใชกันอยูหรือที่คิดจะใชนั้นก็ดี
ทานวาถาเปนเรือที่ยังไมมีใบอนุญาตเจาพนักงานผูน ั้นมีอํานาจที่จะไมยอมอกใบอนุญาตให ถาเปนเรือที่มี
ใบอนุญาต เจาพนักงานมีอาํ นาจที่จะเรียกคืนและริบใบอนุญาตนัน้ ได
มาตรา ๑๓๙ เมื่อจาทาตรวจพบวาเรือกําปนลําใดที่ใชในทะเลหรือเรือที่ใชในแมน้ําไมอยูในสภาพที่
ปลอดภัยหรือไมเหมาะสมสําหรับการใช ใหเจาทามีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือถึงนายเรือหามใชเรือนั้น
และสั่งใหเปลีย่ นแปลงแกไขหรือซอมแซมใหเรียบรอย จนเปนที่ปลอดภัยหรือมีสภาพเหมาะสมสําหรับการใช
- ๒๒ -

ถานายเรือนําเรือตามวรรคหนึ่งมาใช โดยมิไดปฏิบัติตามคําสัง่ ของเจาทาที่สงั่ ตามวรรคหนึง่ ให


เจาทามีอาํ นาจกักเรือนัน้ ไวจนกวาจะไดปฏิบัติใหถูกตองตามคําสัง่
ความในมาตรา ๑๓๙ เดิม ถูกยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยมาตรา ๖ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๓ ) พ.ศ.๒๕๒๕
มาตรา ๑๔๐ มาตรา ๑๔๑
มาตรา ๑๔๐ และมาตรา ๑๔๑ ถูกยกเลิกโดยมาตรา ๗ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้ําไทย
(ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ.๒๕๒๕
มาตรา ๑๔๒ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม มีอาํ นาจออกกฎกระทรวงกําหนดแบบ
ใบอนุญาตใชเรือตลอดจนหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอรับใบอนุญาตใชเรือและการออก
ใบอนุญาตใชเรือ
กฎกระทรวงนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได ความในมาตรา ๑๔๒ เดิม
ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยประกาศแกไข พ.ร.บ.วาดวยการเดินเรือในนานน้าํ ไทย พ.ศ.๒๔๕๖ ถูกยกเลิกและใช
ความใหมนี้แทนโดยมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ.๒๕๒๕
มาตรา ๑๔๓ การออกใบอนุญาต หรือการออกใบอนุญาตใหมแทนฉบับเดิมทีห่ มดอายุสําหรับเรือที่
บัญญัติไวในหมวดที่ ๓ หมวดที่ ๔ และหมวดที่ ๕ ในภาคที่ ๒ ใหเรียกคาธรรมเนียมตามทีก่ ําหนดใน
กระทรวงแตไมเกินฉบับละสองพันบาท
ใหรัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม มีอาํ นาจกําหนดหรือที่ไดรับการยกเวนคาธรรมเนียมใน
วรรคหนึง่ ไวในกฏกระทรวง
ความในมาตรา ๑๔๓ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมนแี้ ทนโดยมาตรา ๙ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ.๒๕๑๐
มาตรา ๑๔๔
ความในมาตรา ๑๔๔ ถูกยกเลิกโดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้ําสยาม (ฉบับที่ ๖)
พ.ศ.๒๔๘๑
มาตรา ๑๔๕ ใบอนุญาตนัน้ จะสับเปลีย่ นกันใชไมได แตถาในระหวางที่ใบอนุญาตยังไมหมดอายุ
เรือนั้นไดเปลีย่ นเจาของกันไปแลว ก็ใหจดั การโอนกรรมสิทธิ์กนั ได แตตองแจงความใหเจาทาทราบดวย เพื่อ
เจาทาจะไดแกใบอนุญาตเปลี่ยนชื่อในบัญชีทะเบียนไวเปนสําคัญโดยเรียกคาธรรมเนียม ถาเปนเรือเล็ก
เรือบรรทุกสินคาหรือเรือเปดทะเล ฯลฯ เปนเงินสองบาท ถาเปนเรือนอกจากที่วา มานี้เปนเงินยี่สิบบาท
ความในมาตรา ๑๔๕ เดิมถูกยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๔ พ.ร.บ.การเดินเรือใน
นานน้าํ ไทย (ฉบับที่ ๘) พ.ศ.๒๔๙๐
มาตรา ๑๔๖ เมื่อยังไมไดจัดการโอนในทะเบียนและในใบอนุญาตตามที่บงั คับไวในมาตรา ๑๔๕
ทานวาผูนนั้ จะโอนตองคงเปนผูรับผิดชอบอยูกอนตามบัญญัติมาตรา ๒๙๘ และ ๒๙๙ และใหถือวาการโอน
นั้นยังชอบดวยกฎหมายไมได สําหรับคนผูอ ื่นที่ยงั ไมรูเรือ่ งการโอนนัน้
- ๒๓ -

มาตรา ๑๔๗ ถาในระหวางอายุใบอนุญาตฉบับใด กระดาษใบอนุญาตนั้นลบเลือนจนอานไมชัดก็ดี


ทานหามมิใหใชเรือลํานัน้ จนกวาเจาทาจะไดออกสําเนาใบอนุญาตฉบับใหมไดถาเปนการสูญหายจะขอ
ใหมใหยื่นเรื่องราวเปนลายลักษณอักษร
มาตรา ๑๔๘ ใบอนุญาตฉบับใหมที่ออกใหแทนเชนวามานัน้ ใหมีอักษรวา “สําเนาใบอนุญาต”
เขียนลงไวเปนสําคัญ และใหใชไดชอบดวยกฎหมายเพียงกําหนดเวลาทีฉ่ บับเดิมยังไมหมดอายุ
มาตรา ๑๔๙ การออกสําเนาใบอนุญาต ใหเรียกคาธรรมเนียมกึ่งอัตราคาธรรมเนียมออก
ใบอนุญาต แตไมเกินหนึง่ รอยบาท
ความในมาตรา ๑๔๙ เดิม ถูกยกเลิกและใชความใหมแทนโดยมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือ
ในนานน้ําไทย (ฉบับที่ ๘) พ.ศ.๒๔๙๐ ตอมาไดถูกยกเลิกและใชความใหมแทนอีกครั้งหนึ่งโดยมาตรา ๑๐
แหง พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้าํ ไทย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ.๒๕๑๐
มาตรา ๑๕๐ ผูที่ควบคุมเรือกําปนและเรือเล็กลําใดที่ไดจดทะเบียนแลวตองรักษาใบอนุญาตไวใน
เรือนั้นเสมอ
มาตรา ๑๕๑ ผูที่ควบคุมเรือกําปน และเรือเล็กลําใดที่เปนเรือตองจดทะเบียนนัน้ เมื่อเจาพนักงาน
ออกใบอนุญาต หรือเจาพนักงานกองตระเวนหรือเจาพนักงานกรมเจาทา หรือผูที่เชาเรือลํานัน้ มีความ
ประสงคจะขอตรวจดูใบอนุญาตสําหรับเรือลํานัน้ แลว ผูค วบคุมตองนํามาแสดงใหเปนปรากฏ
มาตรา ๑๕๒ ผูใดเปนผูควบคุมเรือกําปนและเรือเล็กลําใดที่มีใบอนุญาตหรือยังไมมใี บอนุญาตก็ดี
ถาและผูนนั้ รูอ ยูแลวเอาใบอนุญาตสําหรับเรือลําอื่นออกแสดง หรือใชประหนึง่ วาเปนใบอนุญาตสําหรับเรือ
ของตนไซร ทานวามีความผิดตองระวางโทษจําคุกไมเกินกวาหกเดือน หรือปรับเปนเงินไมเกินกวาพันบาท
หรือทั้งจําทั้งปรับเชนวามาแลวทัง้ สองสถาน และผูใดแสวงหาใบอนุญาตมาสําหรับการเชนวามาแลว
ในมาตรานี้ ทานวามีความผิดตองระวางโทษดุจกัน
มาตรา ๑๕๓ หามมิใหเรือกําปนลําใดเอาชื่อของเรือลําอื่นที่ไดจดทะเบียนไวแลวมาใช ถาและเรือ
กําปนลําใดทีข่ อรับใบอนุญาตมีชื่อพองกันกับเรือลําอืน่ เจาทาตองขอใหผูที่ยนื่ เรื่องราวขอรับใบอนุญาตนัน้
เปลี่ยนชื่อเรือเปนอยางอืน่ และใหยับยั้งการออกใบอนุญาตไวจนกวาจะไดเปลี่ยนชื่อเรือนั้น
มาตรา ๑๕๔ เจาของเรือกําปนลําใดจะเปลี่ยนชื่อเรือที่จดทะเบียนไวแลว ตองนําชื่อใหมไปจด
ทะเบียนทันที และเสียคาธรรมเนียมจดทะเบียนครั้งละหาสิบบาท
มาตรา ๑๕๔ เดิม ถูกยกเลิกและใชความใหมนี้แทนโดยมาตรา ๑๑ แหง พ.ร.บ.การเดินเรือใน
นานน้าํ ไทย(ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ.๒๕๑๐
มาตรา ๑๕๕ หามมิใหเรือกลไฟลําใดบรรทุกคนโดยสารมากกวาจํานวนที่แจงในใบอนุญาตสําหรับ
เรือลํานัน้
มาตรา ๑๕๖ เรือกําปนลําใดจะใชธงพิเศษสําหรับเปนเครื่องหมายของเจาของหรือใชเครื่องหมาย
อยางใดที่ปลองเรือก็ดี ตองใหจดทะเบียนธงหรือเครื่องหมายนัน้ ไว ณ ทีว่ าการกรมเจาทา และอธิบายลงไว
ในใบอนุญาตสําหรับเรือเสียกอนจึงใหใชได
- ๒๔ -

มาตรา ๑๕๗ ตัวเลขและตัวอักษรทีเ่ ปนสวนของชื่อและเลขลําดับที่พระราชบัญญัตินี้บังคับใหเขียน


ดวยสี หรือใหติดหรือสลักลงไวที่เรือกําปน และเรือเล็กตาง ๆ นัน้ จะตองเปนเลขหรืออักษรขนาดเทาใด ตอง
แลวแตเจาทาจะเห็นสมควร
มาตรา ๑๕๘ เจาทา เจาพนักงานกองตระเวนเจาพนักงานกรมเจาทา คนใดก็ดียอมมีอํานาจโดย
พระราชบัญญัตินี้ ทีจ่ ะขึ้นไปและตรวจบนเรือกําปน หรือเล็กลําใด ๆ ไดทุกลําเพื่อใหทราบวาเรือนั้นไดรับ
อนุญาตสําหรับแลวหรือไม และเพื่อใหทราบวาไดมีความละเมิดตอขอบังคับในพระราชบัญญัตินี้หรือใน
กฎขอบังคับอยางใด ๆ ซึ่งเจาทาไดออกโดยขอบดวยกฎหมายอยางหนึ่งอยางใดหรือไม
มาตรา ๑๕๙ สิ่งของใด ๆ ที่อาจทําใหเกิดอันตรายขึ้นได แมจะเปนจํานวนอยางนอยสักเพียงใดก็ดี
ทานหามมิใหบรรทุกไปในเรือกําปนหรือเรือเล็กลําใดพรอมกันกับคนโดยสารเวนไวแตเรือลํานั้น ๆ ไดจัดที่ไว
เปนพิเศษในตอนใตดาดฟาสําหรับบรรทุกน้ํามันปโตรเลียมและน้าํ มันเบนซิน และถาเจาทาเปนเปนการ
สมควรแลว จึงใหบรรทุกของสองอยางนัน้ ไปดวยได แตขอบังคับในมาตรานี้ ทานวาไมตองถือเปนการหาม
คนโดยสารคนใดที่จะพาอาวุธปนของตนกับเครื่องกระสุนปนมีจํานวนอันสมควรสําหรับใชเองไปดวย
ในเรือได
มาตรา ๑๖๐ เมื่อปรากฏวาเรือไทยที่ไดรับใบอนุญาตใชเรือมีอุปกรณ และเครื่องใชประจําเรือ
ไมถูกตองหรือไมอยูในสภาพที่ใชการไดตามใบสําคัญทีอ่ อกตามกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือตามมาตรา
๑๖๓ ใหเจาทามีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหนายเรือแกไขใหถูกตองภายในระยะเวลาที่กาํ หนด
ถานายเรือนําเรือตามวรรคหนึ่งมาใช โดยมิไดปฏิบัติตามคําสัง่ ของเจาทาที่สงั่ ตามวรรคหนึง่ ให
เจาทามีอาํ นาจสั่งพักใชใบอนุญาตใชเรือจนกวาจะไดปฏิบัติถูกตองตามคําสั่ง
เมื่อไดปฏิบัติถูกตองตามคําสั่งวรรคหนึง่ แลว ใหเจาทาออกคําสัง่ เพิกถอนคําสั่ง สัง่ พักใชใบอนุญาต
ใชเรือโดยพลัน
เมื่อเจาทาตรวจพบวาเรือตางประเทศที่เขามาในเขตทาเรือของประเทศไทย มีอุปกรณและเครื่องใช
ประจําเรือไมถกู ตองหรือไมอยูในสภาพที่ใชการไดตามใบสําคัญที่กาํ หนดในกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ
ตามมาตรา ๑๖๓ ใหเจาทามีอาํ นาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหนายเรือแกไขใหถูกตองเสียกอน เมื่อเห็นวา
ถูกตองแลว จึงจะอนุญาตใหออกเรือได
มาตรา ๑๖๑ นอกจากที่บญ ั ญัติไวโดยเฉพาะ ทานวาบรรดาความผิดตอขอบังคับอยางใด ๆ ที่
กําหนดไวในภาคที่ ๒ แหงพระราชบัญญัตินี้นนั้ ใหผกู ระทําผิดตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวา รอย
บาท
หมวดที่ ๓
วาดวยเรือกลไฟทุกอยาง
มาตรา ๑๖๖ เรือกลไฟทุกลําตองมีชื่อเรือเปนอักษรไทย และอักษรฝรั่งเขียนหรือติดไวในที่เดนชัด
แลเห็นงายทีห่ วั เรือทั้งสองแคม ถาเปนเรือกลไฟเดินทะเลตองเขียนหรือติดชื่อเรือและชื่อเมืองที่ไดจดทะเบียน
- ๒๕ -

เรือนั้นไวที่ทา ยเรือดวย ถาเปนเรือไมมีชอื่ ฉะนั้น ตองเขียนหรือติดเลขลําดับของใบอนุญาตสําหรับเรือเปน


เลขไทยและเลขฝรั่งไวที่หวั เรือทั้งสองแคม และหามมิใหเอาสิ่งใดปดบังชื่อหรือเลขที่วา นี้เปนอันขาด
มาตรา ๑๖๗ บรรดาเรือกกลไฟสําหรับใหเชาตองเอาใบอนุญาตสําหรับเรือและสําเนาขอบังคับที่
บัญญัติไวในหมวดนี้และในหมวดนี้ ๑ ใสกรอบแขวนไวในที่เดนในเรือที่คนทั้งหลายอานไดงา ย
มาตรา ๑๖๘ บรรดาเรือกลไฟสําหรับใหเชา ซึ่งมิใชเรือกลไฟเดินทะเลตองเขียนเลขลําดับของ
ใบอนุญาตสําหรับเรือเปนเลขไทย และเลขฝรั่งที่หวั เรือขนาบขางชื่อเรือและตองเขียนชื่อและเลขเชนนัน้ ไวที่
ทายเรือดวย จํานวนคนโดยสารที่อนุญาตใหบรรทุกไดนั้นตองเขียนหรือติดไวในที่เดนและเห็นไดงายจาก
ภายนอกทัง้ สองขางเรือ และหามมิใหเอาสิ่งใดที่ปดบังชื่อหรือเลขเชนวามานี้เปนอันขาด
มาตรา ๑๖๙ เนื้อที่ในเรือสําหรับใหคนโดยสารคนหนึง่ ๆ จะตองมีขนาดเทาไร นัน้ จะไดกําหนดไว
โดยชัดเจนในกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือและเรือลําใดจะยอมใหบรรทุกคนโดยสารไดกี่คนนัน้ จะได
กําหนดไวในใบอนุญาตสําหรับเรือ
มาตรา ๑๗๐ เมื่อเจาทาตรวจพบวาเรือที่ไดรับอนุญาตใหบรรทุกคนโดยสารบรรทุกสินคาหรือ
บรรทุกคนโดยสารและสินคาลําใดอยูในสภาพที่ไมปลอดภัยตอคนโดยสารมีสภาพไมเหมาะสมกับการใช ให
เจาทามีอาํ นาจสั่งหามใชเรือลํานัน้ จนกวาเจาของหรือผูครอบครองจะไดแกไขใหเรียบรอยผูใดฝาฝนใชเรือที่
เจาทาสั่งหามตามวรรคหนึ่ง จะตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท
มาตรา ๑๗๑ ในเรือลําใดถาใชเนื้อที่ทกี่ ําหนดสําหรับคนโดยสารเปนที่วางสิง่ ของกินเนื้อที่มากนอย
เทาคนโดยสารกี่คน ตองลดจํานวนคนโดยสารที่อนุญาตใหบรรทุกไดนั้นลงไปใหสมกัน
มาตรา ๑๗๒ ในใบอนุญาตตองกลาววา แรงสตีมที่หมอน้าํ ของเรือนัน้ ควรมีหรืออนุญาตใหมีได
เพียงใดเปนอยางมากที่สุด ถาเจาของหรือผูใชจักรหรือนายเรือกลไฟลําใดใชแรงสตีมเกินกวาที่อนุญาตใหใช
ก็ดี หรือเอาของหนักหรือสิ่งใดถวงหรือกดที่ (เซฟติแวฟ) คือเครื่องสําหรับใหพนสตีมไอน้าํ เพื่อปองกัน
อันตรายไวโดยมิควรก็ดี ทานวามีความผิดตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวาหารอยบาท
มาตรา ๑๗๓ ถามีอุบัติเหตุอันตรายเกิดขึน้ ในเรือกลไฟลําใดแกเรือหรือหมอน้าํ หรือเครื่องจักร หรือ
แกคนโดยสาร หรือบุคคลใด ๆ ก็ดี หรือมีอบุ ัติเหตุอันตราย ซึ่งเรือลํานัน้ เปนตนเหตุก็ดี ทานวาตองแจงความ
ไปยังเจาทาโดยพลัน
มาตรา ๑๗๔ ยกเลิก
มาตรา ๑๗๕ ผูใดใชเรือผิดจากเงื่อนไขและขอกําหนดในใบอนุญาตใชเรือตองระวางโทษปรับ
ไมเกินสองพันบาท
มาตรา ๑๗๖ เรือลําใดบรรทุกเกินกวาที่กาํ หนดไวในใบสําคัญรับรองแนวน้าํ บรรทุกเจาทามีอาํ นาจ
ที่จะกักเรือลํานั้นไว และสั่งใหนายเรือจัดการใหเรือลํานัน้ บรรทุกใหถูกตองภายในระยะเวลาทีก่ ําหนด
ถานายเรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของเจาทาตามวรรคหนึ่ง ตองระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท
- ๒๖ -

หมวดที่ ๔
วาดวยเรือใบ เรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือเปดทะเล เรืออื่น ๆ และเรือสําเภา
มาตรา ๑๗๗ ในใบอนุญาตทุกฉบับสําหรับเรือใบ เรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือเปดทะเล และ
เรืออื่น ๆ และเรือสําเภานัน้ ตองชี้แจงขนาดความยาว ลึกของเรือและเรืออาจบรรทุกของหนักไดเพียงใด
มาตรา ๑๗๙ หามมิใหเรือโปะจาย เรือลําเลียง เรือเปดทะเลและอืน่ ๆ และเรือสําเภา มีทองเรือ
ปลอม หรือมีระวาง หรือที่ลบั สําหรับซอนสินคาหรือซอนบุคคล
ฯลฯ
หมวดที่ ๗
วาดวยการจางและการเลิกจางคนสําหรับเรือตาง ๆ และการสอบไลความรูเพื่อรับประกาศนียบัตร
สําหรับทําการตามหนาที่ได
มาตรา ๒๗๗ หามมิใหผใู ดทําการในเรือกลไฟ เรือยนต เรือเดินทะเล เรือบรรทุกสินคาขนาดตั้งแต
๑๐๐ หาบขึน้ ไปซึ่งทําการติดตอกับเรือเดินทะเลหรือเรือซึ่งใชเปนเรือชูชีพประจําเรือเดินทะเล ในตําแหนงที่
กฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือกําหนดใหตองมีประกาศนียบัตร เวนแตเปนผูท ี่ไดรับประกาศนียบัตรรับรอง
ความรูความสามารถใหทาํ การเชนนั้นได
มาตรา ๒๘๗ เมื่อจะออกประกาศนียบัตรเชนวามาแลวใหแกผูใดสําหรับทําการเปนนายเรือ ตนหน
สรั่ง ไตกง นายทาย หรือตนกล คนใชเครือ่ ง ทานวาผูน นั้ ตองสอบความรูไดแลว และเมื่อยืน่ ใบสมัครสอบนั้น
ตองมีพยานหลักฐานมาแสดงใหเปนทีพ่ อใจถึงเรื่องไมเปนคนประพฤติเสเพล ติดสุรายาเมา หรือติดยา
เสพติดใหโทษ ความชํานาญการงานที่ไดทํามา และความประพฤติทั่วไปนัน้ ดวย แตถาผูน นั้ เปนนายเรือ
ตนหน สรั่ง ไตกงและนายทายจะตองแสดงวามีสายตาดีดวย
สรั่ง หมายความถึงผูทาํ การควบคุมเรือลําเลียง
ไตกง หมายความถึงผูควบคุมเรือใบเดินทะเลทีม่ ีน้ําหนักบรรทุกตั้งแต ๘๐๐ หาบขึน้ ไป
คนถือทาย หมายความถึงผูควบคุมเรือ หรือผูถือทาย หรือคนแจวทายของเรือบรรทุกสินคา
ที่ทาํ การติดตอกับเรือเดินทะเล
มาตรา ๒๗๙ ใหเจาทาโดยอนุมัติรฐั มนตรีวา การกระทรวงคมนาคม มีอํานาจออกของบังคับ
เกี่ยวกับการสอบความรูของผูทําการในเรือในเรื่องดังตอไปนี้
๑. การแบงชั้นความรู
๒. วิธีการสอบความรู
๓. หลักสูตร
๔. คุณสมบัติของผูสมัครสอบ
๕. คาธรรมเนียมในการสอบ
๖. การออกประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถ
๗. รายละเอียดอื่น ๆ เกี่ยวกับการสอบความรู
- ๒๗ -

ขอบังคับนั้นเมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
มาตรา ๒๘๐ ประกาศนียบัตรแสดงความรูน ั้น ตองระบุชื่อ อายุและตําหนิรปู พรรณของผูที่ถือ
ประกาศนียบัตร และขอความอื่น ๆ ตามที่จําเปน และตองมีรูปถายของผูถือประกาศนียบัตรปดไวดวย
ประกาศนียบัตรสําหรับคนถือทายใหมีอายุสามป นอกนั้นใหมีอายุหาป เมื่อครบกําหนดแลวผูถือ
ตองนํามาเปลีย่ นใหม ใหเรียกคาธรรมเนียมการเปลี่ยนประกาศนียบัตรกึ่งหนึ่งแหงอัตราคาธรรมเนียมเดิม
และถาเจาทาจะตองการใหแสดงพยานหลักฐานดังที่บญ ั ญัติไวในมาตรา ๒๘๗ ก็ทาํ ได
มาตรา ๒๘๑ บรรดาประกาศนียบัตรสําหรับความรูที่ไดออกใหไปแลวกอนเวลาประกาศใช
พระราชบัญญัตินี้นนั้ ใหเปนอันใชมีกาํ หนดหาปนับแตวนั ที่ออกประกาศนียบัตรใหไปแลว
มาตรา ๒๘๒ ผูใดทําการในเรือในตําแหนงทีก่ ฏขอบังคับสําหรับการตรวจเรือกําหนดใหตอ งมี
ประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถ โดยมิไดรับประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถอัน
ถูกตองตามบทบัญญัตินี้ หรือทําการในเรือในขณะที่ประกาศนียบัตรสิ้นอายุแลว ตองระวางโทษจําคุก
ไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งปรับทั้งจํา
มาตรา ๒๘๓ ผูใดเอาประกาศนียบัตรของคนอื่นออกอาง หรือใชสําหรับคนดวยประการใด ๆ
ทานวาผูนนั้ มีความผิดระวางโทษานุโทษเปนสามสถาน สถานหนึ่งใหจําคุกไมเกินกวาหกเดือน สถานหนึ่ง
ใหปรับไมเกินกวาพันบาท สถานหนึง่ ทัง้ จําทั้งปรับเชนวามาแลวดวยกัน และผูใดแสวงหาประกาศนียบัตร
มาใหใชสาํ หรับการเชนวามาแลวดวยกัน และผูใดแสวงหาประกาศนียบัตรมาใหใชสําหรับการเชนวามา
ในมาตรานี้ ทานวาผูน ั้นมีความผิดตองระวางโทษเชนวามาแลวดุจกัน
มาตรา ๒๘๔ ผูทําการในเรือในตําแหนงที่กฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือทีก่ ําหนดใหตองมี
ประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถตองเก็บประกาศนียบัตรของตนไวในเรือ เพื่อใหเจาทาตรวจได
ในขณะทีท่ ําการ
ถาเจาทาหรือตัวแทนเจาของเรือประสงคจะเปลี่ยนตัวผูท ําการในเรือลําใดใหเจาของหรือตัวแทน
ของเรือนําใบอนุญาตใชเรือลํานัน้ พรอมทัง้ ประกาศนียบัตรของผูที่จะทําการในเรือลํานัน้ ไปใหเจาพนักงาน
ออกใบอนุญาตบันทึกการเปลี่ยนตัวผูท ําการในเรือไวในใบอนุญาตใชเรือ ณ ที่ทาํ การเจาทาทองถิ่นที่เรือนัน้
ขึ้นทะเบียน ภายในกําหนดสิบหาวัน
มาตรา ๒๘๕ คนรับจางสําหรับทําการในเรือเดินทะเลคนใด จะเขาทําการงานหรือผูจางทําการงาน
ในเรือกําปน ชาติสยาม หรือเรือกําปน ตางประเทศชาติใดที่ไมมีกงสุลประจําอยูในกรุงสยาม ตองไดรับ
อนุญาตจากเจาทากอน จึงทําไดและเจาตองเรียกใบพยานเลิกจางที่ผูนนั้ ไดรับจากเรือที่ตนไดทําการงาน
มาแลวในหนหลังมาเก็บรักษาไวดวย ถาผูนั้นนําใบพยานเชนนั้นมาสงไมได ทานวาผูนนั้ จําเปนตองชี้แจงวา
เปนดวยเหตุใดใหเปนที่พอใจเจาทา
มาตรา ๒๘๖ คาธรรมเนียมซึ่งรัฐบาลสยามจะไดกาํ หนดตามครั่งคราวนั้นใหเรียกเก็บสําหรับการ
วาจางและการเลิกจางทุกครั้ง ใหเจาทาจัดระเบียบพิกดั คาธรรมเนียมเชนนี้ปดประกาศไวในที่แลเห็นงาย ณ
- ๒๘ -

ที่วา การกรมเจาทา และใหมีอํานาจไมยอมเปนธุระจัดการวาจางหรือการเลิกจางรายใด ๆ กอนไดรับคา


ธรรมเนียมในสวนนั้น
มาตรา ๒๘๗ เจาของเรือหรือนายเรือกําปนจะวาจางหรือเลิกจางคนการสําหรัเรือเดินทะเล ที่วา
การกรมเจาทาตองเสียเงินคาธรรมเนียมพิกัดที่ตงั้ ไว สําหรับการวาจางหรือเลิกจางนั้นทุกครั้ง
มาตรา ๒๘๘ เมื่อคนทําการในเรือเดินทะเลคนใดเลิกรับจางจากเรือกําปนสยามลําใดภายใน
พระราชอาณาเขต นายเรือกําปนลํานั้นตองทําใบพยานการเลิกจาง ใหผูนนั้ ไปฉบับหนึง่ เปนคูม ือใหทาํ ใน
เวลาที่เลิกจาง และใหเขียนความลงไวในนัน้ วาผูนนั้ ไดรับจางชานานเทาใด ประเภทการที่ไดใชใหทาํ และ
เลิกจางเมื่อวันใด และลงลายมือนายเรือเปนสําคัญ และถาผูน นั้ เลิกรับจางจะขอรองใหทาํ หนังสือชี้แจง
เพิ่มเติมคําวาไดใหคาจางหักเงินคาจางอยางนายเรือตองทําใหตามประสงค ภายในยี่สิบสี่ชวั่ โมงนับแตเวลา
ที่รองขอ
มาตรา ๒๘๙ การเลิกจางคนทําการในเรือเดินทะเลจากเรือกําปน ชาติสยามหรือจากเรือกําปน
ตางประเทศทีไ่ มมีกงสุลประจําอยูในกรุงสยามนั้นมิใหทาํ ในที่อื่นนอกจากที่วา การกรมเจาทา
มาตรา ๒๙๐ ผูใดกระทําความผิดดังที่บัญญัติไวในหมวดนี้ และความผิดนั้นมิไดมีบทกําหนด
โทษไว ตองระวางโทษปรับไมเกินหารอยบาท

หมวดที่ ๘
วาดวยการใชอํานาจทําโทษสําหรับความผิด
มาตรา ๒๙๑ ผูนํารอง นายเรือ ตนหน สรั่ง ไตกง นายทาย คนถือทาย ตนกล หรือคนใชเครื่องที่
ไดรับประกาศนียบัตร หรือใบอนุญาตผูหยอนความสามารถหรือประพฤติไมสมควรแกหนาที่ ละเลย
ไมปฏิบัติตามกฎหมายหรือขอบังคับเกี่ยวกับการเดินเรือ หรือหนาที่ของตนใหเจาทามีอํานาจที่จะสั่งงด
ไมใหใชประกาศนียบัตร หรือใบอนุญาตมีกําหนดไมเกินสองป แตไมเปนการลบลางโทษอยางอื่นซึง่ ผูนนั้
จะพึงไดรับ
ถาผูนนั้ ไมพอใจคําสั่งใหงดใชประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาต ใหผูนนั้ มีสทิ ธิทจี่ ะอุทธรณไปยัง
รัฐมนตรีเจาหนาที่ ภายในหนึ่งเดือนนับแตวันที่ไดทราบคําสั่ง คําชี้ขาดของรัฐมนตรีนนั้ เปนที่สุด แตใน
ระหวางที่รัฐมนตรียังมิไดชี้ขาด คําสัง่ ใหงดใชประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาตมีผลบังคับใช
มาตรา ๒๙๒ เจาทาทุกตําบลมีอํานาจหนาที่ที่จะงด หรือเรียกคืนประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาต
ใด ๆ ได ตามลักษณะมาตรา ๒๙๑ และเพื่อประกอบกับการเชนนัน้ ใหเจาทามีอาํ นาจทําการไตสวนและ
หมายเรียกพยาน และสืบพยานไดทุกอยาง ถาพยานคนใดไมมาเปดพยานหรือขัดขืนไมยอมเบิกพยานก็ดี
ทานวามีความผิดตองระวางโทษตอหนาศาลธรรมดาตามโทษานุโทษที่กฎหมายบัญัญติไวสําหรับความผิด
เชนนัน้
ในการไตสวนอยางใดตามทีว่ ามาแลว เจาทาจะมีผูชว ยวินิจฉัยสองนาย ซึง่ เสนาบดีกระทรวง
นครบาล จะเลือกจากจํานวนคนที่มีความรอบรูความชํานาญในการเดินเรือทะเลมานั่งพรอมดวยก็ได
- ๒๙ -

ถาผูใดตองคดีคนใดไมมีความพอใจและจะขอใหตรวจคําตัดสินของคณะที่ไตสวนเชนวามานี้ เสีย
ใหม ทานวาจะฟองอุทธรณเจาทาตอศาลอันมีหนาที่กฟ็ อ งได
มาตรา ๒๙๓ การใชอํานาจปรับโทษที่ใหไวแกเจาทาตามพระราชบัญญัตินี้ไมเกี่ยวของอยางใด
กับคดีทางอาญาหรือทางแพง ซึง่ อาจฟองรองจําเลยในความผิดอันเดียวนัน้ ตอศาลซึ่งมีหนาที่เพือ่ ใหลงโทษ
หรือปรับจําเลยใชคาเสียหาย ตามลักษณะที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎหมายอืน่ สําหรับ
ความผิดนัน้
มาตรา ๒๙๔ ผูใดซึ่งเจาทายึดหรือเรียกคืนประกาศนียบัตร หรือใบอนุญาตอยางใดตามลักษณะ
พระราชบัญญัตินี้ เมื่อมีบังคับใหสง ตองนําประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาตสําหรับตัวนั้นไปสงยังเจาทา
ถาไมสงทานวาผูนนั้ มีความผิด ตองระวางโทษปรับเปนเงินไมเกินกวาสองรอยบาท
มาตรา ๒๙๕ ประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาตใด ๆ ที่ถูกเรียกคืนนัน้ ทานใหยกเลิกเปนอันใชไมได
ตอไปทุกฉบับ
มาตรา ๒๙๖ บรรดาใบอนุญาตหรือประกาศนียบัตรทีถ่ ูกยึดไวชวั่ คราวนั้นใหรักษาไว ณ ที่วา การ
กรมเจาทา เมื่อครบกําหนดเวลาที่ใหยึดแลวใหสงคืนแกผูถือรับไปตามเดิม แตตองจดความที่ใหยึดนั้นลงไว
ในฉบับประกาศนียบัตร หรือใบอนุญาตนัน้ ดวยเปนสําคัญ

หมวดที่ ๙
ลักษณะโทษและลักษณะรับผิดชอบทางแพง
มาตรา ๒๙๗ ผูใดไมกระทําตามคําสั่ง หรือตอสูหรือขัดขวางเจาพนักงานคนใดซึ่งทําการในหนาที่
ตามพระราชบัญญัตินี้ ทานวาผูน ั้นมีความผิดตองระวางโทษานุโทษเปนสองสถาน สถานหนึ่งใหจําคุก
ไมเกินกวาหกเดือน สถานหนึง่ ใหปรับเปนเงินไมเกินกวาหารอยบาท สถานหนึ่งใหลงโทษทัง้ จําทั้งปรับ
เชนวามาแลวดวยกัน
มาตรา ๒๙๘ ในความผิดอยางใด ๆ ตอพระราชบัญญัตินี้ ถาผูท ี่ควบคุมเรือหรือควบคุมเครื่องจักร
ของเรือกําปน และเรือเล็กตาง ๆ ลําใดซึง่ เปนจําเลยนัน้ หลบหนีตามตัวไมไดทานวาศาลมีอํานาจลงโทษปรับ
แกเจาของเรือหรือแกเจาของเรือหรือแกผทู ี่ไดรับใบอนุญาตสําหรับเรือลํานัน้ ไดตามที่กฎหมายนีบ้ ัญญัติไว
สําหรับความผิดนั้น ๆ
มาตรา ๒๙๙ เจาของเรือหรือผูที่รับใบอนุญาตสําหรับเรือกําปน และเรือเล็กตาง ๆ ทุกลํา ตองเปน
ผูรับผิดชอบในการใชคาปรับตาง ๆ ซึ่งนายเรือ ตนกล ตนหน หรือลูกเรือลํานัน้ ถูกปรับโดยกระทําความผิด
อยางหนึ่งอยางใดตอพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๓๐๐ เจาของแพไมทุกแพตองเปนผูรับผิดชอบในการใชคาปรับตาง ๆ ซึ่งผูท ี่ควบคุมแพหรือ
คนประจําการในแพนัน้ ถูกปรับ โดยกระทําความผิดอยางหนึง่ อยางใดตอพระราชบัญญัติ
มาตรา ๓๐๑ ลักษณะโทษตาง ๆ ที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ทานวาไมเกี่ยวของอยางใด
กับความรับผิดชอบซึ่งจําเลยจะพึงถูกปรับในคดีสวนแพงเพราะความผิดอยางหนึง่ อยางใดตอ
พระราชบัญญัตินี้
- ๓๐ -

หมวดที่ ๑๐
ขอบังคับทั่วไปสําหรับเมื่อมีเหตุเรือโดนกัน
มาตรา ๓๐๒ ถามีเหตุเรือโดนกันครั้งใด เปนโดยความไมไดแกลง หรือเปนโดยเหตุใด ๆ ซึ่งเหลือ
ความสามารถของมนุษยจะปองกันไดดี ทานวาอันตรายและความเสียหายที่ไดมีขึ้นแกเรือลําใดมากนอย
เทาใดตองเปนผลกับเรือลํานั้นเองทัง้ สิน้
มาตรา ๓๐๓ ถามีเหตุเรือโดนกันครั้งใด เปนดวยความผิดหรือความละเลย ทานวาอันตรายและ
ความเสียหายที่ไดมีขึ้นมากนอยเทาใด ใหปรับเอาแกเรือลําที่มีความผิดหรือมีความละเลยนัน้
มาตรา ๓๐๔ ถาเรือทีโ่ ดนกันนัน้ ตางมีความผิดหรือความละเลยทั้งสองลําทานวาไมตองปรับให
ฝายใดใชคาเสียหายอันตราย ซึ่งไดมีแกลําใดหรือทัง้ สองลําเวนไวแตถาพิจารณาไดความปรากฏวามูลเหตุที่
โดนกันไดเกิดจากฝายใดโดยมาก ฉะนั้นจึงใหศาลซึง่ มีหนาที่ตัดสินกําหนดจํานวนเงินที่ฝายนัน้ จะตองใช
คาเสียหายใหแกอีกฝายหนึง่
มาตรา ๓๐๕ เมื่อมีความผิด หรือความละเลยเกิดขึ้นอยางใด อันเรือที่เกี่ยวของมีความผิดดวยกัน
ทั้งสองฝาย ทานวาเจาของหรือนายเรือทั้งสองลํานัน้ หรือลําใดแตลําเดียวตองรับผิดชอบใชคาเสียหายหรือ
ความเสียหายที่ไดมีขึ้นแกสงิ่ ของที่บรรทุกในเรือหรือแกบุคคลเพราะความผิดหรือความละเลยที่ไดกระทํานัน้
ถาและการตองใชคาอันตรายหรือความเสียหายนัน้ ตกหนักแกเรือที่ตองคดีนั้นแตลําเดียว ทานวา
เรือลํานัน้ ยอมมีอํานาจที่จะฟองรองใหเรืออีกลําหนึง่ ที่ตอ งคดีดวยกันชวยใชเงินที่ไดเสียไปแลวนัน้ กึ่งหนึ่ง
ถาและทางพิจารณาตามกฎหมายไดพิพากษาวาความรับผิดชอบนั้นคารแบงกันเปนอ ยางอืน่
นอกจากทีว่ ามาแลวฉะนั้นทานวาการที่จะตองใชเงินคาอันตรายหรือความเสียหายตองเปนไปตาม
คําพิพากษานัน้
มาตรา ๓๐๖ การรองเอาคาเสียหายนัน้ ทานวากัปตันหรือนายเรือลําใดที่เกีย่ วในคดียอมมีอํานาจ
เปนโจทกแทนบรรดาบุคคลที่เกี่ยวของนั้นได
มาตรา ๓๐๗ ถาการที่เรือโดนกันเปนเหตุใหเสียชีวิตหรือเกิดบาดเจ็บแกบุคคลทานวาเงินคา
เสียหายที่ตัดสินใหเสียในสวนนี้ตองใชกอนคาเสียหายอยางอืน่ ๆ
มาตรา ๓๐๘ คํารองเอาคาเสียหายอยางใด ๆ ที่เนื่องจากเหตุเรือโดนกันนัน้ ทานวาตองยืน่ ภายใน
หกเดือนนับจากวันที่ผูเกี่ยวของเปนโจทยไดทราบเหตุอนั นัน้
มาตรา ๓๐๙ เมื่อไดมีคําฟองเรียกคาเสียหายอันเกิดจากเหตุเรือโดนกันยืน่ ตอศาลถาผูใดที่เกีย่ วใน
คดีรองขอขึ้น ทานวาผูพพิ ากษาที่มหี นาที่มีอาํ นาจทีจ่ ะออกคําสังใหมีการอายัดแกเรือลําเดียวหรือหลายลํา
อันตองหาวาเปนตนเหตุในการที่เรือโดนกันนั้นได
มาตรา ๓๑๐ (๑) ถามีความผิดอยางใดตอกฏของบังคับสําหรับปองกันเหตุเรือโดนกันเกิดขึน้ เพราะ
ความละเมิดของนายเรือ หรือเจาของเรือลําใดอันเปนละเมิดที่กระทําดวยความจงใจ ทานวานายเรือหรือ
เจาของเรือผูนนั้ มีความผิดตองระวางโทษานุโทษสําหรับทุกกครั้งที่ละเมิดเชนนัน้ เปนสามสถาน สถานหนึง่
- ๓๑ -

ใหจําคุกไมเกินกวาหกเดือน สถานหนึง่ ใหปรับเปนเงินไมเกินกวาพันบาท สถานหนึ่งใหทงั้ จําทัง้ ปรับเชนวา


มาแลวดวยกัน
(๒) ถามีความเสียหายเกิดขึ้นแกบุคคลหรือทรัพยสินสมบัติเพราะเหตุเรือลําใดไมปฎิบัติ
ตามขอบังคับอยางหนึ่งอยางใดในกฎของบังคับสําหรับปองกันเหตุเรือโดนกันทานวาใหถือวาความเสียหาย
อันนัน้ เทากับไดมีขึ้นจากความละเมิดอันจงใจของผูควบคุมการอยูบนดาดฟาเรือลํานั้นในขณะที่เกิดเหตุ เวน
ไวแตถาพิสูจนใหศาลเห็นเปนทีพ่ อใจวามีเหตุอันจําเปนในขณะนัน้ ที่จะตองประพฤติใหผิดจากฏขอบังคับ
ที่วา มาแลว
(๓) ในคดีเรื่องเรือโดนกัน ถาปรากฏขึ้นตอศาลซึ่งพิจารณาคดีนั้นวาไดมีความละเมิด
เกิดขึ้นตอขอบังคับขอหนึง่ ขอใดแหงกฏขอบังคับสําหรับปองกันเรือโดนกันทานใหถือวาความผิดที่เปน
มูลแหงคดีนนั้ ตกอยูกับเรือลําที่ไดมีความละเมิดอันนั้น เวนไวแตถา พิสูจนใหศาลเห็นเปนทีพ่ อใจวาไดมีเหตุ
อันจําเปนที่จะตองประพฤติใหผิดไปจากขอบังคับทีว่ ามาแลว
มาตรา ๓๑๑ เมื่อเจาของเรือหรือนายเรือลําใดตองการกฏขอบังคับสําหรับปองกันเหตุเรือโดนกัน
ก็ใหเจาทาจายใหตามความประสงค
มาตรา ๓๑๒ เมื่อเกิดเหตุเรือสองลําโดนกันขึ้นเวลาใด นายเรือหรือผูที่ควบคุมเรือทั้งสองฝายเมือ่
เห็นวาจะกระทําไดเพียงใด โดยไมเปนที่นา กลัวอันตรายจะมีขนึ้ แกเรือหรือลูกเรือหรือคนโดยสาร (ที่หาก
จะมี) ในเรือของตนทานวาเปนหนาที่ของนายเรือหรือผูค วบคุมเรือควรจะกระทําดังตอไปนี้คือ
ก. ตองชวยเหลือตามความสามารถที่จะกระทําไดเพียงใดแกเรืออีกลําหนึง่ ทีโ่ ดนกัน และ แกนายเรือ
ลูกเรือ และคนโดยสาร (ถาหากมี) ของเรือลํานัน้ เพื่อปองกันใหพนจากอันตรายทีจ่ ะพึงเกิดจากเหตุที่เรือ
โดนกันนัน้ และตองรอเรืออยูใกลกับเรือลํานัน้ จนกวาจะเปนที่แนใจวาไมตองการใหชวยเหลืออีกตอไป
(ก) ตองแจงชื่อเรือชื่อเมืองทาทีเ่ ปนสํานักของเรือตน และมาจากเมืองทาใด แกนายเรือ
หรือผูที่ควบคุมเรืออีกลําหนึง่ ที่โดนกันนัน้ ใหทราบ
ถานายเรือหรือผูที่ควบคุมเรือลําใดละเลยไมกระทําตามขอปฏิบัติที่วาในมาตรานี้และไมมีเหตุอนั
สมควรที่จะแกตัวไดวาเปนดวยเหตุใด ทานวาถาไมมสี ักขีพยานแนนอนวาเปนอยางอืน่ ตองถือวาเหตุเรือ
โดนกันนัน้ ไดเกิดขึ้นเพราะความประพฤติผิด หรือความละเลยหรือความประพฤติละเมิดฉะนัน้
ถานายเรือหรือผูที่ควบคุมเรือลําใดไมมีเหตุอันสมควรทีจ่ ะแกตัวไดและผูนั้นไมกระทําตามที่บัญญัติ
ไวในมาตรานี้ ทานวามีความผิดตองระวางโทษานุโทษเปนสามสถาน สถานทีห่ นึง่ ใหจําคุกไมเกินกวา
หกเดือน สถานหนึ่งใหปรับเปนเงินไมเกินกวาพันบาท สถานหนึ่งทั้งจําทัง้ ปรับเชนวามาแลวดวยกัน ถาและ
เปนผูทมี่ ีประกาศนียบัตรสําหรับทําการในหนาที่เชนนัน้ ทานวาตองมีการพิจารณาความที่ประพฤติผิด และ
ใหงดประกาศนียบัตรนัน้ เสียหรือหามมิใหใชอีกตอไปก็ไดสุดแตสมควรแกการ
- ๓๒ -

พระราชบัญญัติ
การเดินเรือในนานน้าํ สยาม (ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๔๘๑
ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจาอยูหวั อานันทมหิดล
คณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค
(ตามประกาศประธานสภาผูแทนราษฎร)
ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐
พล.อ.เจาพระยาพิชเยนทรโยธิน
ตราไว ณ วันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๒ เปนปที่ ๖ ในรัชกาลปจจุบนั
โดยที่สภาผูแทนราษฎรลงมติวา สมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยการเดินเรือในนานน้ําสยาม
บางมาตราทีเ่ กี่ยวกับการออกใบอนุญาต ใหเหมาะสมยิง่ ขึ้น
จึงมีพระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภา
ผูแทนราษฎร ดังตอไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําสยาม ฉบับที่ ๖
พุทธศักราช ๒๔๘๑”
มาตรา ๒ ใหใชพระราชบัญญัตินี้เมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
มาตรา ๓ ใหยกเลิกมาตรา ๑๓๔ มาตรา ๑๔๔ และมาตรา ๑๘๒ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือ
ในนานน้ําสยาม พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ และมาตรา ๑๓๕ มาตรา ๑๓๖ ซึ่งแกไขตามมาตรา ๓ แหง
พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําสยาม แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“เรือ” หมายความวา ยานพาหนะทางน้าํ ทุกชนิดที่ไมวา จะใชเพื่อบรรทุกลําเลียง ลาก จูง ดัน ยก ขุด
หรือลอก รวมทั้งยานพาหนะอยางอื่นที่สามารถใชในน้ําไดทํานองเดียวกัน
“เรือกล” หมายความถึง เรือที่เดินดวยกําลังเครื่องจักรกล จะใชกาํ ลังอืน่ ดวยหรือไมกต็ าม
มาตรา ๕ นอกจากจะมีความตกลงกับตางประเทศเปนอยางอืน่ เรือที่ใชในนานน้ําสยามตองรับ
ใบอนุญาตใชเรือ เวนแต
๑. เรือของราชนาวีสยาม
๒. เรือของรัฐบาลตางประเทศ ซึ่งเขามาในนานน้ําสยามชั่วครั้งคราว
๓. เรือตางประเทศ ซึง่ เขามาในนานน้าํ สยามชัว่ ครั้งคราว และใบอนุญาตยังไมสนิ้ อายุ
๔. เรือที่ไมใชเรือกลขนาดต่ํากวายี่สิบหาหาบ
๕. เรือซึ่งตองมีประจําเรือใหญตามกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ
มาตรา ๖ การรับในอนุญาตตามมาตรา ๕ ตองเสียคาธรรมเนียมตามมาตราแหงพระราชบัญญัติ
การเดินเรือในนานนําไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือใน
นานน้าํ ไทย ฉบับที่ ๑๐ พ.ศ.๒๕๑๐
- ๓๓ -

มาตรา ๗ ใบอนุญาตใชเรือทุกชนิด ใหมีอายุใชไดฉบับหนึง่ ไมเกิน สิบสองเดือนนับแตวนั ออก


ใบอนุญาต สวนวันสิน้ อายุของใบอนุญาตใหกําหนดไวในใบอนุญาต
มาตรา ๘ ถานายทะเบียนเรือประจําทองที่ หรือนายทะเบียนเรือซึ่งกรมเจาทาสงออกไปทําการ
ออกใบอนุญาตใชเรือตามทองที่ประจําป พิจารณาเห็นวาเรือบรรทุกสินคาและเรือเล็กลําใดใชไดไมเกินหก
เดือน ก็อาจผอนผันใหเจาของเรือรับใบอนุญาตใชเรือแตเพียงชั่วระยะเวลาไมเกินหกเดือนในเมื่อเจาของเรือ
รองขอใบอนุญาตชนิดนี้ใหมีอายุใชไดไมเกินหกเดือน โดยเรียกคาธรรมเนียมออกใบอนุญาตเพียงกึ่งอัตรา
ปกติ
มาตรา ๙ ผูใดใชเรือที่มิไดรับใบอนุญาตใชเรือ หรือใชเรือที่ใบอนุญาตใชเรือสิ้นอายุ แลวหรือใชเรือ
ผิดไปจากเขตหรือตําบลการเดินเรือที่กาํ หนดไวในใบอนุญาตใชเรือ ทัง้ นี้มกี ําหนดไมเกินหกเดือนดวยก็ได
เจาของเรือหรือเจาของกิจการเดินเรือทีถ่ ูกยึดใบอนุญาตใชเรือตามวรรคหนึง่ มีสิทธิอทุ ธรณตอ
รัฐมนตรีวาาการกระทรวงคมนาคมภายในหนึ่งเดือนนับแตวันที่ไดทราบคําสั่ง คําชี้ขาดของรัฐมนตรีเปนที่สุด
แตในระหวางรัฐมนตรียังมิไดชี้ขาดคําสั่งนั้นมีผลบังคับได
เรือใดถูกยึดใบอนุญาตใชเรือแลวยังขัดขืนเดินหรือกระทําการ นายเรือ เจาของเรือหรือเจาของ
กิจการการเดินเรือตองระวางโทษปรับไมเกินหนึง่ หมื่นบาท
มาตรา ๑๐ ใหรัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจ
ออกกฎหมายกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมอันเกี่ยวกับกฏหมายวาดวยการเดินเรือในนานน้ําไทย
กฎกระทรวงนัน้ เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

บทบัญญัติเฉพาะกาล
มาตรา ๑๑ เรือซึ่งจะตองรับใบอนุญาตกอนใชพระราชบัญญัตินี้ที่ไดใชอยูโดยมิไดรับใบอนุญาตก็ดี
หรือใบอนุญาตไดสิ้นอายุเสียแลวก็ดี ถาเจาของมาขอรับใบอนุญาต หรือขอตออายุใบอนุญาตเสียกอน
สิ้นเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๘๒ แลว จะไมตองรับโทษสําหรับการที่ไดใชเรือโดยมิไดรับใบอนุญาตหรือโดย
มิไดตออายุใบอนุญาตหรือโดยมิไดตออายุใบอนุญาตมาแลวนัน้

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
ป.พิบูลสงคราม
นายกรัฐมนตรี
- ๓๔ -

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ.๒๕๑๐)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ.๒๕๑๐
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ออกฎกระทรวงไวดังตอไปนี้
เขตทาเรือกรุงเทพ ฯ นัน้ คือ
เขตที่ ๑
ดานเหนือ – ตั้งแตปากคลองบางกระบือดานเหนือ ตําบลถนนนครชัยศรี อําเภอดุสติ จังหวัดพระนคร
เปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม
ดานใต – ตั้งแตปากคลองวัดคลองใหมดานเหนือ ตําบลโพงพาง อําเภอยานนาวา จังหวัดพระนคร
เปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม
เขตที่ ๒
ดานเหนือ – ตั้งแตปากคลองวัดคลองใหมดานเหนือ ตําบลโพงพาง อําเภอยานนาวา จังหวัดพระนคร
เปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม
ดานใต – ตั้งแตปากคลองสําโรงดานเหนือ ตําบลบางนา อําเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร เปนเสน
ฉากตรงไปฝงแมน้ําตรงกันขาม
เขตที่ ๓
ดานเหนือ – ตั้งแตปากคลองสําโรงดานเหนือ ตําบลบางนา อําเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร
เปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม
ดานใต – ตั้งแตหลักกิโลเมตร ๐ หนาปอมพระจุลจอมเกลา ตําบล แหลมฟาผา จังหวัด
สมุทรปราการ เปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม

ใหไว ณ วันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๐

พลโท พ.ปุณณกันต
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม
- ๓๕ -

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๒๑ (พ.ศ.๒๕๑๑)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึง่ แกไขเพิ่มโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย ฉบับที่๑๐ พ.ศ. ๒๕๑๐
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑ ใหยกเลิกกฎกระทรวงฉบับที่ ๑๗ (พ.ศ.๒๕๑๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือ
ในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
ขอ ๒ เขตทาเรือจังหวัดสงขลา นั้นคือ
ดานเหนือ – แนวละจิจูด ๐๗ °- ๑๗‘ - ๐๐” เหนือ ดานตะวันตกจดฝงและดานตะวันออก ลองจิจูด
๑๐๐° - ๓๘ ‘- ๐๐” ตะวันออก
ดานตะวันออก – แนวลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๘ ‘- ๐๐” ดานเหนือจด ละจิจูด ๐๗° - ๑๗‘ - ๐๐”
ดานเหนือและดานใตจดเสนเล็งผานเสาหิน บนแหลม สมิหลาไปทางทิศตะวันออก
ดานใต – เสนเล็งตรงจากเสาหินบนแหลม สมิหลาไปทางทิศตะวันออกจนจดลองจิจดู
๑๐๐° - ๓๘‘ - ๐๐” ตะวันออก
ดานใตในทะเลสาบ – เสนตรงเล็งปลายใตสุดของแหลมสนไปยังปากคลองสําโรงดานใตริมฝง
ตะวันออกของทะเลสาบสงขลา

ใหไว ณ วันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๑

พลโท พ.ปุณณกันต
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๒๔ (พ.ศ.๒๕๑๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยฉบับที่ ๑๐ พ.ศ.๒๕๑๐
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ออกกฎกระทรวงไวดังตอไปนี้
๑. เขตทาเรือจุกเสม็ดนัน้ คือ
ดานเหนือ เสนเล็งตรงจากเสาหินที่สรางไวทางใตของเขาคลองปู ไปทางทิศตะวันตก
- ๓๖ -

ดานตะวันตก เสนเล็งตรงจากปลายเหลมสุดดานตะวันตกของเกาะหมู ไปทางทิศเหนือ


ดานใต เสนเล็งตรงจากปลายแหลมสุดดานใตของเกาะหมู ไปยังปลายแหลมสุดดาน
เหนือ ของเกาะจรเข และเสนเล็งตรงจากปลายแหลมสุดดานเหนือของเกาะจรเขไปยังยอดเขา
กระทะคว่ํา
๒. เขตทาเรือทุงโปรงนัน้ คือ
ดานเหนือ เสนเล็งตรงจากยอดเขาสูง ๕๘ เมตร ทางใตของอาวหาดยาว ไปทางทิศตะวันตก
ดานตะวันตก ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๐‘ ตะวันออก
ดานใต เสนเล็งตรงจากปลายแหลมสุดดานใตของแหลมหาดสอไปทางทิศตะวันตก

ใหไว ณ วันที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๒๕

สิริลักขณ จันทรางศุ
ปลัดกระทรวงคมนาคม ผูใชอํานาจของ
รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม

กฎกระทรวง
(ฉบับที่ ๒๕ พ.ศ.๒๕๑๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย ฉบับที่ ๑๐ พ.ศ.๒๕๑๐
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้
เขตทาเรือศรีราชานั้นคือ
ดานเหนือ เสนเล็งตรงจากเสาหินที่สรางไวปลายแหลมวัง เกาะสีชัง ไปทางตะวันออกจนจดเสา
หินที่ สรางไวชายฝง
ดานตะวันออก เสนเล็งตรงเหนือ ตรงใต ผานปลายแหลมนอกสุดดานทิศตะวันออกของเกาะรานดอกไม
ดานใต เสนเล็งตรงจากเสาหินที่สรางไวชายฝง ไปทางทิศตะวันตก ตามแนวเสนขนานละจิจูด ๑๓
° เหนือ

ใหไว ณ วันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๑๕

สิริลักขณ จันทรางศุ
ปลัดกระทรวงคมนาคม ผูใชอํานาจของ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม
- ๓๗ -

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๓๒ พ.ศ.๒๕๒๑
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒ (๑) แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย ฉบับที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๑๐
รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม ออกกฎกระทรวงไวดังตอไปนี้
ขอ ๑ เขตทาเรือพัทยาคือ
ดานเหนือ เสนเล็งตรงจากฝงไปทางทิศตะวันตกตามแนวเสนขนานละจิจูด ๑๓° เหนือ
ดานตะวันตก แนวลองจิจูด ๑๐๐° - ๔๕ ‘ อ.
ดานใต เสนเล็งตรงจากฝงไปทางทิศตะวันตกตามแนวเสนขนานละจิจูด ๑๒° - ๕๐‘ น.
ขอ ๒ เขตจอดเรือพัทยาคือ
เขตที่ ๑ บริเวณหาดพัทยาดานเหนือตั้งแตสุดหาดพัทยาเหนือจนถึงแนวเสนเล็งตรงระหวางเสาหลัก
เครื่องหมายบนฝงตําบลที่ละจิจูด ๑๒° - ๕๖‘ - ๔๘” น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๓‘ -๑๖” อ.
กับทุน ตําบลทีล่ ะจิจูด ๑๒° - ๕๖‘ - ๔๘” น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๓‘ - ๑๐” อ.
เขตที่ ๒ บริเวณหาดพัทยาดานใตตั้งแตสุดหาดพัทยาใตจนถึงแนวเสนเล็งตรงระหวางเสาหลัก
เครื่องหมายบนฝงตําบล ละจิจูด ๑๒° - ๕๕‘ - ๕๖” น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๒‘ - ๕๙” อ.
ขอ ๓ เขตจอดเรือเกาะลานคือ
เขตที่ ๑ บริเวณหาดตาแหวน ใหจอดเรือหางจากแนวขอบฝงในระยะไมนอยหวา ๒๐๐ เมตร
เขตที่ ๒ บริเวณหาดแสม ใหจอดเรือหางจากแนวขอบฝง ในระยะไมนอยกวา ๒๐๐ เมตร
ขอ ๔ กฎกระทรวงนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

ใหไว ณ วันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๒๑

พลเอก ส.มัยลาย
รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๓๗ พ.ศ.๒๕๒๑
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
อาศัยอํานาจตามความสนมาตรา ๑๒ (๑) แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย พระพุทธ
- ๓๘ -

ศักราช ๒๔๕๖ ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย ฉบับที่ ๑๐ พ.ศ.๒๕๑๐


รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ออกกฎกระทรวงไวดังตอไปนี้
ขอ ๑ ใหยกเลิกกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๖ พ.ศ.๒๕๑๐ ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือ
ในนานน้ําไทยพระพุทธศักราช ๒๔๕๖
ขอ ๒ เขตทาเรือเกาะสีชงั คือ
ดานเหนือ ตั้งแตสุดเหนือกองหินสัมปะยื้อ เปนเสนเล็งตรงไปทางทิศตะวันออก
ดานตะวันออก แนวลองติจูด ๑๐๐° - ๓๐” อ.
ดานใต ตั้งแตเสาหินทีส่ รางไวปลายแหลมวัง เกาะสีชังเปนเสนเล็งตรงไปทางทิศตะวันออก
ดานตะวันตก เสนเล็งตรงผานกระโจมไฟหินสัมปะยื้อไปยังยอดเขาใหญบนเกาะสีชงั ณ จุดซึ่งอยูสงู
๑๙๒ เมตร จากระดับน้าํ ทะเลปานกลาง
ขอ ๓ เขตทาเรืออางศิลา คือ
ดานตะวันตก แนวน้าํ ลึก ๑๔ เมตร ในเวลาทีน่ ้ําทะเลลงต่ําที่สุด หนาน้ําเกิดธรรมดา
ดานใต เสนเล็งตรงไปทางทิศตะวันตก จากแหลมแทนถึงแนวน้ําลึก ๑๔ เมตร ในเวลาทะเลลงต่ํา
ที่สุดหนาน้ําเกิดธรรมดา
ขอ ๔ เขตจอดเรือตําบลนอกสันดอน คือ
ดานตะวันตก เสนเล็งตรงไปทางทิศใต จากเสาหินที่สรางไวประมาณกึง่ กลางระยะทางระหวางแมน้ํา
เจาพระยากับแมน้ําทาจีนจนถึงแนวน้ําลึก ๑๔ เมตร ในเวลาน้าํ ทะเลลงต่ําที่สุดหนาน้ําเกิด
ธรรมดา
ดานใต แนวน้าํ ลึก ๑๔ เมตร ในเวลาทีน่ ้ําทะเลลงต่ําที่สุดหนาน้ําเกิดธรรมดา
ดานตะวันออก จดเขตทาเรืออางศิลา
ขอ ๕ กฎกระทรวงนี้ใหใชตงั้ แตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ใหไว ณ วันที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๑

พลเอก สุรกิจ มัยลาภ


รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม
- ๓๙ -

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔๐ พ.ศ.๒๕๒๓
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒ (๑) แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย พระ
พุทธศักราช๒๔๕๖ ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย ฉบับที่๑๐ พ.ศ.๒๕๑๐
รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม ออกกฎกระทรวงไวดังตอไปนี้
ขอ ๑ ใหยกเลิก (๑) แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๔ พ.ศ.๒๕๑๕ ออกตามความในพระราชบัญญัติ
การเดินเรือในนานน้าํ ไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
ขอ ๒ เขตทาเรือพาณิชยสัตหีบ คือ
ดานเหนือ จากจุดพิกัด แลตจิจูด ๑๒° - ๓๘‘ น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๓‘ .๘ อ.เปนเสนเล็งตรงไปทาง
ทิศตะวันตกจนถึงจุดพิกัดแลตจิจูด ๑๒ ° - ๓๖ ‘ น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๓. ‘ ๘ อ.
ดานตะวันตก จากจุดพิกัดแลตจิจูด ๑๒° - ๓๘‘ น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๓‘ .๘ อ. เปนเสนเล็งตรงไปทาง
ทิศตะวันตกจนถึงจุดพิกัดแลตจิจูด ๑๒° - ๓๘‘ น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๔‘ .๘ อ.
ดานใต จากจุดพิกัด แลตจิจูด ๑๒° - ๓๕‘ น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๓‘ .๘ อ. เปนเสนเล็งตรงไปทาง
ทิศตะวันออกจนถึงจุดพิกัด แลตจิจูด ๑๒° - ๓๕‘ น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๓‘ .๘ อ. เปน
เสนเล็งตรงไปทางทิศตะวันออกจนถึงจุดพิกัด แลตจิจูด ๑๒° -๓๕‘ น. ลองจิจดู ๑๐๐°
- ๕๕‘ .๔ อ.
ดานตะวันออก จากจุดพิกดั แลตจิจูด ๑๒° - ๓๕‘ น. ลองจิจูด ๑๐๐° -๕๕‘ .๔ อ. เปนเสนเล็งตรงไปทาง
ทิศเหนือจนถึงจุดพิกัด แลตจิจูด ๑๒° -๓๗‘ .๑ น. ลองจิจูด ๑๐๐° -๕๕‘ .๔ อ. เลียบ
ชายฝงไปทางทิศเหนือผานทาเทียบเรือของทาเรือพาณิชยสัตหีบไปถึงชายฝง ทางทิศ
ตะวันตกของเขาคลองปู ที่จดุ พิกัด แลตจิจูด ๑๒° - ๓๘‘ น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๕๕‘ .๘ อ.
ขอ ๓ กฎกระทรวงนี้ใหใชบงั คับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจนะเบกษาเปนตนไป

ใหไว ณ วันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๓

พลเรือเอก อมร ศิริกายะ


รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม
- ๔๐ -

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔๒ พ.ศ. ๒๕๒๔
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒ (๑) แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย พระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย ฉบับที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๑๐
และมาตรา ๑๔ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย แกไขเพิ่มเติมพระพุทธศักราช ๒๔๗๗
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ออกกฎกระทรวงไวดังตอไปนี้
เขตจอดเรือของกรมทางหลวงในทะเลสาบสงขลา คือ
เขตที่ ๑ ฝงตะวันออก
ดานเหนือ จากจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° / ๑๓° - ๐๕” น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๕๖” อ.เปนเสนเล็ง
ตรงไปทางทิศตะวันตกจนถึงจุดพิกัดแลตจิจูด ๗° - ๑๒‘ - ๕๕” น.ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๔‘ -
๕๘” อ.
ดานตะวันตก จากจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๒‘ น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๕๘” อ. เปนเสนเล็งตรง
ไปทางทิศใตจนถึงจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๒‘ - ๕๕” น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๕๘” อ.
ดานใต จากจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๒‘ - ๕๕” น. ลองจิจดุ ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๕๘” อ. เปน
เสนเล็งตรงไปทางทิศตะวันออก จนถึงจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๒‘ - ๕๕” น.
ลองจิจูด
๑๐๐° - ๓๕‘ - ๐๐” อ.
ดานตะวันออก จากจุดพิกัดแลตจิจูด ๗° - ๑๒‘ - ๕๕” น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๕‘ - ๐๐” อ. เปนเสน
เล็งตรงไปทางทิศเหนือจนถึงจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๓‘ - ๐๕” น. ลองจิจุด ๑๐๐° -
๓๔‘ - ๕๖” อ.
เขต ๒ ฝงตะวันตก
ดานเหนือ จากจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๓‘ - ๑๔” น. ลองจิจดู ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๓๙” อ. เปน
เสนเล็งตรงไปทางทิศตะวันออกจนถึงจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๓‘ - ๑๔” น.
ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๔๑” อ.
ดานตะวันออก จากจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๓‘ - ๑๔” น. ลองจิจดู ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๔๑” อ. เปนเสนเล็งตรง
ไปทางทิศใตจนถึงจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๓‘ - ๐๗” น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๔๑” อ.
ดานใต จากจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๓‘ - ๑๔” น. ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๔๑” อ. เปนเสนเล็ง
ตรงไปทางทิศตะวันตก จนถึงจุดพิกัด แลตจิจูด ๗° - ๑๓‘ - ๐๗” น. ลองจิจูด ๑๐๐° -
๓๔‘ - ๓๙” อ.
- ๔๑ -

ดานตะวันตก จากจุดพิกัด แลตติจูด ๗° - ๑๓‘ - ๐๗” น. ลองจิจดู ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๓๙” อ. เปนเสนเล็งตรง
ไปทางทิศเหนือจนถึงจุดพิกดั แลตจิจูด ๗° - ๑๓‘ - ๑๔” น ลองจิจูด ๑๐๐° - ๓๔‘ - ๓๙” อ.

ให ไว ณ วันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๔

พลเรือเอก อมร ศิริกายะ


รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔๓ พ.ศ.๒๕๒๕
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๒๔๕๖
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒ (๑) แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย พระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย ฉบับที่ ๑๐ พ.ศ.๒๕๑๐
และมาตรา ๑๔ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย แกไข เพิ่มเติมพระพุทธศักราช ๒๔๗๗
รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ออกกฎกระทรวงไว
ขอ ๑ ใหยกเลิกกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๐ (พ.ศ.๒๕๑๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
การเดินเรือในนานน้าํ ไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
ขอ ๒ เขตจอดเรือของกองทัพเรือในแมน้ําเจาพระยาคือ
๑. เขตที่ ๑
ฝงตะวันตก ตั้งแตจุดกิโลเมตรที่ ๒๒.๐๐ ถึงจุดกิโลเมตรที่ ๒๔.๕๐
ฝงตะวันออก ตั้งแตจุดกิโลเมตรที่ ๒๒.๑๐ ถึงจุดกิโลเมตรที่ ๒๔.๓๐
๒. เขตที่ ๒ เฉพาะฝง ตะวันตก ตั้งแตจดุ กิโลเมตรที่ ๔.๐๐ ถึงจุดกิโลเมตร ๗.๐๐ ภายใน
แนวน้าํ ลึก ๕ เมตร
๓. เขตที่ ๓ เฉพาะฝง ตะวันออก ตั้งแตจุดกิโลเมตรที่ ๑.๕๐ ถึงจุดกิโลเมตรที่ ๓.๐๐ ภายใน
แนวน้าํ ลึก ๕ เมตร

ใหไว ณ วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๕

พลเรือเอก อมร ศิริกายะ


รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม
- ๔๒ -

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔๕ พ.ศ.๒๕๒๖
ออกตามความในพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒ (๑) แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย พระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย แกไขเพิ่มเติม พระ
พุทธศักราช ๒๔๗๗ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ออกกฎกระทรวงไวดังตอไปนี้
เขตทาเรือกันตัง มีขอบเขตเฉพาะบริเวณในทะเลแมนา้ํ ลําคลอง ภายในแนว เขตดังนี้
ดานเหนือ ตามแนว แลตจิจูด ๗° - ๒๖‘ - ๐๐” น.
ดานตะวันออก ตามแนว ลองจิจูด ๙๙° - ๓๑‘ - ๒๐” อ.
ดานใต ตามแนว แลตจิจูด ๗° - ๑๑‘ - ๑๕” น.
ดานตะวันตก ตามแนว ลองจิจูด ๙๙° - ๒๗‘ - ๐๐” อ.

ใหไว ณ วันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๒๖

บุญเทียม เขมาภิรัตน
รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม
ปฏิบัติการแทนรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม

ประกาศกรมเจาทา
ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ
เขตที่ ๑ ฉบับที่ ๑
โดยที่เห็นเปนการสมควรใหมีขอบังคับ ควบคุมการเดินเรือ เพื่อควบคุมการเดินเรือผานสะพาน
กรุงเทพ ฯ ใหเปนไปโดยปลอดภัยและเรียบรอย
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖๘ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย พระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ แกไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยแกไขเพิ่มเติม
พระพุทธศักราช ๒๔๗๗ อธิบดีกรมเจาทา โดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีเจาหนาทีแ่ ลว ขอประกาศขอบังคับ
ควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๑ ไวเพื่อปฏิบัติดังตอไปนี้
ขอ ๑ ขอบังคับนี้เรียกวา “ ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๑ (ฉบับที่ ๑) ”
ขอ ๒ ใหใชขอบังคับนี้ตั้งแตวนั ที่ ๒๔ มิถนุ ายน พุทธศักราช ๒๕๐๒ เปนตนไป
ขอ ๓ ใหมีกาํ หนดเวลาเปดสะพานกรุงเทพ ฯ ใหเรือผาน ซึง่ กรมเจาทาจะไดประกาศกําหนดเปน
ครั้งคราว
ขอ ๔ เจาหนาที่จะปดสะพานเมื่อเรือไดผานเสร็จเรียบรอยแลว
- ๔๓ -

ขอ ๕ ใหมีเขตหามเรือจอดทอดสมอในตอนใกลเคียงกับที่ตั้งของสะพาน
๑. ทางดานเหนือของสะพานกรุงเทพ ฯ ตั้งแตตัวสะพานไปจนถึงหนาสถานีศุลการักษ
เปนเสนฉากกับฝงตรงกันขาม (ประมาณทาเรียบเรือหมายเลข ๘ ซี ของบริษัทอิสตเอเซียติก วัดพระยาไกร)
๒. ทางดานใตของสะพานกรุงเทพ ฯ ตั้งแตตัวสะพานไปจนถึงสุดเขตหามจอดทอดสมอ คือ
ใตปากคลองบางปะแกว ๒๐๐ เมตร เปนสนฉากตรงกับฝงตรงกันขาม
ขอ ๖ ใหมีเขตสําหรับจอดทอดสมอรอผานสะพานกรุงเทพ ฯ คือ
๑. ทางดานเหนือของสะพานกรุงเทพ ฯ ใหจอดไดใกลฝงตะวันตก ตั้งแตหนาสถานี
ศุลการักษขึ้นไปทางเหนือระยะหวางจากฝง ตะวันตกไมเกิน ๑๐๐ เมตร
๒. ทางดานใตของสะพานกรุงเทพ ฯ ใหจอดไดใกลฝงตะวันออก ตั้งแตหนาวัดบางโคลลงไป
ทางใตระยะหางจากฝง ตะวันออกไมเกิน ๑๐๐ เมตร
ขอ ๗ ใหมีสญ
ั ญาณเปดปดสะพานกรุงเทพ ฯ เพื่อใหเรือเดินผานชองสะพานตามที่กรมเจาทาจะได
ประกาศกําหนดใหทราบเปนครั้งคราว
ขอ ๘ เรือที่มีความประสงคจะขอเดินทางผานสะพานกรุงเทพ ฯ ใหแจงความจํานงขอผานสะพาน
ตอเจาหนาที่สะพานกรุงเทพ ฯ ตามระเบียบที่กรมเจาทาจะประกาศใหทราบ
ขอ ๙ หามเรือและแพตอไปนี้ ผานชองกลางซึ่งยกได ของสะพานกรุงเทพ ฯ ทัง้ ในเวลาเปด และ
ปดสะพาน
๑. เรือกลที่จงู เรือทุกประเภทที่สามารถผานลอดสะพานชองอืน่ ได
๒. เรือกลที่จงู แพ ซุง แพไมไผ แพคนอยู หรือสิ่งอื่นที่คลายกัน
๓. แพซุง แพไมไผ หรือสิ่งอืน่ ที่คลายกันทีไ่ มมีเรือจูง
๔. เรือแจวพายทุกชนิด
ขอ ๑๐ ภายในระยะ ๓๐๐ เมตร จากตัวสะพานกรุงเทพ ฯ ทั้งทางดานเหนือและดานใตในขณะที่
สะพานเปด เพื่อใหเรือผานหามเรือหรือแพ หรือสิ่งอื่นทีค่ ลายกันเดินทางตัดขามลําแมน้ํา
ขอ ๑๑ ผูควบคุมเรือ แพ หรือสิง่ อื่นที่คลายกันผูใดฝาฝนขอบังคับนี้ จะตองไดรับโทษตาม
บทบัญญัติในมาตรา ๖๙ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือ ในนานน้าํ ไทย พุทธศักราช ๒๔๕๖ และอาจถูกสั่ง
งดไมใหใชประกาศนียบัตรหรือ ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๙๑ แกไขเพิ่มเติมพระพุทธศักราช ๒๔๗๗ อีก
สถานหนึ่ง

ประกาศ ณ วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๐๒

พลเรือตรี เอกชัย อิศรางกูร ณ อยุธยา


อธิบดีกรมเจาทา
- ๔๔ -

ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ
เขตที่ ๑ (ฉบับที่ ๒)

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖๘ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พระ


พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย แกไข
เพิ่มเติม พระพุทธศักราช ๒๔๗๗ อธิบดีกรมเจาทา โดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีเจาหนาที่แลว ขอประกาศ
ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๑ ไวเพื่อปฏิบตั ิดังตอไปนี้
ขอ ๑. ขอบังคับนี้ใหเรียกวา ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรางเทพ ฯ เขตที่ ๑ (ฉบับที่ ๒)
ขอ ๒. ใหใชขอบังคับนีน้ ับตัง้ แตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓. ในลําแมน้ําเจาพระยา หามมิใหเรือ แพ ทุน หรือสิ่งอื่น ๆ ที่คลายกันจอดเทียบทาหรือ
เทียบลําแมนา้ํ เจาพระยาฝง พระนครภายในเขตตั้งแตเครื่องหมายหามจอดเรือดานเหนือ ถึงปายเครื่องหมาย
หามจอดเรือดานใตของตําหนักทาวาสุกรี
ขอ ๔. ผูควบคุมเรือ แพ ทุน เรือสิ่งอืน่ ๆ ที่คลายกัน ผูใดฝาฝนขอบังคับนี้จะตองไดรับโทษตาม
บทบัญญัติในมาตรา ๖๙ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระพุทธศักราช ๒๔๕๖ และอาจถูก
สั่งงดไมใหใชประกาศนียบัตร หรือใบอนุญาตตามมาตรา ๒๙๑ ซึ่งแกไขเพิม่ เติมโดยมาตรา ๓ แหง
พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย แกไขเพิ่มเติม พระพุทธศักราช ๒๔๗๗ อีกสถานหนึ่ง

ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๐๖

นาวาโท พร เดชดํารง
อธิบดีกรมเจาทา

ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ
เขตที่ ๑ และเขตลําน้ําทีต่ อเนื่องในเขตจังหวัดธนบุรี

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖๘ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย แกไข
เพิ่มเติมพุทธศักราช ๒๔๗๗ อธิบดีกรมเจาทาและผูวา ราชการจังหวัดธนบุรี โดยไดรับอนุญาตจารัฐมนตรี
เจาหนาที่แลว ขอประกาศขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๑ และเขตลําน้าํ ตอเนื่องใน
เขตจังหวัดธนบุรี ไวเพื่อปฏิบัติดังตอไปนี้
ขอ ๑. ขอบังคับนี้ใหเรียกวา “ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๑ และเขต
ลําน้าํ ที่ตอเนืองในเขตจังหวัดธนบุรี”
ขอ ๒. ใหใชขอบังคับนี้เมื่อพนกําหนด ๓๐ วันนับแตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
- ๔๕ -

ขอ ๓. ใหกาํ หนดเขตทอดทุน ผูกจอดเรือสําหรับเดินเรือทะเลคาระหวางประทศไวดังตอไปนี้


ก. เขตดานเหนือตั้งแตปากคลองบางโคลนอยฝงใต เปนเสนฉากไปยังฝงแมน้ําตรงกันขาม
ข. เขตดานใต ตั้งแตจุดตําบลที่บนฝงตะวันออกของแมน้ํา เหนือหลักกิโลเมตรที่ ๓๖
ระยะทางตามแนวฝง ๓๕๐ เมตร เปนเสนฉากตรงไปยังฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม
ค. ตําบลที่ทอดทุนผูกจอดเรือใหอยูในเขตรองน้ําลึก ตามที่แสดงในแผนทีป่ ระกอบ
ตอทายขอบังคับนี้
ง. ใหเรือเดินทะเลคาระหวางประเทศขนาดยาวไมเกิน ๑๓๘.๐๐ เมตร ผูกจอดที่ทนุ
ดังกลาวไดเมือ่ ไดรับอนุมัติจากอธิบดีกรมเจาทา
ขอ ๔. ใหกาํ หนดเขตจอดเรือลําเลียงเหนือสะพานกรุงเทพ ฯ ไวดังตอไปนี้
ก. เขตดานเหนือ ตั้งแตแนวเขตดานเหนือของทาเทียบเรือ หมายเลข ๘ เอ (ทาของบริษัท
สามัคคีคาสัตว) เปนเสนฉากตรงไปบังฝงแมน้ําตรงกันขาม
ข. เขตดานใต ตั้งแตแนวเขตดานใตของทาเทียบเรือ หมายเลข ๘ เอ (ทาบริษัทอิสต
เอเซียติก) เปนเสนฉากไปยังฝงแมน้ําตรงกันขาม
ค. ใหจอดทอดสมอใกลฝงตะวันตกของลําแมนา้ํ ระยะหางจากฝงไมเกิน ๑๐๐ เมตร ตามที่
แสดงในแผนที่ประกอบตอทายขอบังคับนี้
ขอ ๕. การทอดทุน ผูกจอดเรือตามความในขอ ๓ ตองไดรับอนุญาตจากกรมเจาทาตามความใน
มาตรา ๑๑๗ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ และใหกําหนดเงื่อนไข
ในการอนุญาตไดเทาที่จะเปนความปลอดภัยแกการเดินเรือ และการใชทุนดังกลาว
ขอ ๖. ผูควบคุมเรือ แพ ทุน หรือสิง่ ที่คลายกัน คนใดฝาฝนขอบังคับนี้จะตองไดรับโทษตาม
พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช๒๔๕๖ และอาจถูกสั่งงดใชประกาศนียบัตร หรือ
ใบอนุญาตตามมาตรา ๒๙๑ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่ง
แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย แกไขเพิ่มเติม พระพุทธศักราช
๒๔๗๗ อีกสถานหนึ่งดวย

ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๐๗

เรือเอก ประทีป พยอมยงค


อธิบดีกรมเจาทา
- ๔๖ -

ประกาศกระทรวงคมนาคม
ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ
เขตที่ ๑ (ฉบับที่ ๑)
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖๘ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึง่ แกไขใหมตามมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทยแกไขเพิ่มเติม
พระพุทธศักราช ๒๔๗๗ อธิบดีกรมเจาทา โดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีเจาหนาทีแ่ ลว ขอประกาศขอบังคับ
ควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๒ ไวเพื่อปฏิบัติดังตอไปนี้
ขอ ๑. ขอบังคับนี้ใหเรียกวา ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๒ (ฉบับที่ ๑)
ขอ ๒. ใหใชขอบังคับนีน้ ับตัง้ แตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓. ในลําแมน้ําตั้งแตเขตทาดานเหนือถึงปากคลองเตยฝงใต เปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรง
กันขาม หามมิใหเรือ แพ ทุน หรือสิง่ อื่น ๆ ที่คลายกัน ทอดสมอในลําแมน้ํานอกจากมีเหตุฉกุ เฉิน อันจําเปน
ที่จะตองกระทําเชนนัน้ เพราะตําบลเหลานีเ้ ปนลําแมน้ําคด ซึ่งยกเวนไวสําหรับใหเปนทางเรือเดินขึน้ ลอง
ขอ ๔. ใหกาํ หนดเขตทอดจอดเรือกลางน้าํ ในลําแมนา้ํ เปน ๒ ตอน คือ
ตอนที่ ๑ ตัง้ แตเขตทาดานใต ถึงปากคลองพระโขนงฝง เหนือ เปนเสนฉากตรงไปฝงแมน้ํา
ตรงกันขาม
ตอนที่ ๒ ตั้งแตเขตดานเหนือของตอนที่ ๑ ถึงเขตหามทอดสมอดานใต
ขอ ๕. เรือเดินทะเลซึ่งมีขนาดยาวเดินกวา ๑๒๐ เมตรขึ้นไป ใหจอดทอดสมอกลางน้าํ ในตอนที่ ๒
เรือเดินทะเลทีมีขนาดยาวตัง้ แต ๗๕ เมตร ถึง ๒๐๐ เมตร ใหจอดทอดสมอกลางลําน้าํ ในตอนที่ ๑ สวน
เรือเดินทะเลซึง่ มีขนาดยาวต่าํ กวา ๗๕ ถึง ๒๐๐ เมตร ใหจอดทอดสมอกลางน้าํ ในตอนที่ ๑ สวนเรือเดิน
ทะเลซึง่ มีขนาดต่ํากวา ๗๕ เมตร และเรือลําเลียง ใหจอดทอดสมอชิดฝงขวาหรือเทียบทาในตอนที่ ๑ เวนแต
มีเหตุจําเปนซึง่ ไมสามารถจะจอดตามทีก่ าํ หนดไวนี้ได จึงใหจอดในตอนอื่นได
ขอ ๖. ผูควบคุมเรือ แพ ทุน หรือสิ่งอืน่ ๆ ที่คลายกัน คนใดฝาฝนขอบังคับนี้จะตองไดรับโทษตาม
บทบัญญัติในมาตรา ๖๙ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระพุทธศักราช ๒๔๕๖ และอาจถูก
สั่งงดไมใหใชประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาตตามมาตรา ๒๙๑ ซึ่งไดแกไขใหมตามมาตรา ๓ แหง
พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช ๒๔๗๗ อีกสถานหนึ่ง

ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ มกราคม ๒๔๙๔

น.ท.พิจารณ กลจักร
อธิบดีกรมเจาทา
- ๔๗ -

ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ
เขตที่ ๒ (ฉบับที่ ๓)
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖๘ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่งแกไขใหมโดยมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทยแกไขเพิ่มเติม
พระพุทธศักราช ๒๔๗๗ อธิบดีกรงเจาทา โดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีเจาหนาที่แลวขอประกาศควบคุม
การเดินเรือในเขตทาเรือกรุงเทพ ฯ เขตที่ ๒ ไวเพื่อปฏิบตั ิดังตอไปนี้
ขอ ๑. ขอบังคับนี้เรียกวา “ ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทาเรือกรุงเทพ ฯเขตที่ ๒ (ฉบับที่ ๓)”
ขอ ๒. ขอบังคับนี้ใหใชบงั คับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓. ใหยกเลิกขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๒ ฉบับที่ ๒
ขอ ๔. หามบรรดาเรือกลและเรือที่มิใชเรือกลทุกชนิด ทุกขนาด นอกจากเรือราชการของเจาพนักงาน
ผูมีหนาที่ เขาไปจอดเทียบหนาเขื่อนหรือหนาบริเวณทาเรือกรุงเทพ ฯ และหามมิใหเรือเชนวานีเ้ ขาไปหยุด
ลอยลําภายในระยะ ๓๐ เมตร จากแนวหนาเขื่อน หรือหนาบริเวณทาเรือกรุงเทพ ฯ เวนแตไดรับอนุญาตจาก
การทาเรือแหงประเทศไทย
ขอ ๕. ผูควบคุมเรือคนใดฝาฝนขอบังคับนี้จะตองไดรบั โทษตามบทบัญญัติในมาตรา ๖๙ แหง
พระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖

ประกาศ ณ วันที่ กรกฎาคม ๒๕๐๓

พลเรือตรี เอกชัย อิศรางกูร ณ อยุธยา

ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖๘ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยพระ
พุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทยแกไข
เพิ่มเติม พระพุทธศักราช ๒๔๗๗ อธิบดีกรมเจาทา โดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีเจาหนาที่แลวขอประกาศ
ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๒ ไวเพื่อปฏิบตั ิดังตอไปนี้
ขอ ๑. ขอบังคับนี้ใหเรียกวา “ขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเจตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๒ (ฉบับที่ ๔)
ขอ ๒. ใหใชขอบังคับนี้เมื่อพนกําหนด ๓๐ วัน นับแตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓. ใหยกเลิกขอบังคับควบคุมการเดินเรือในเขตทากรุงเทพ ฯ เขตที่ ๒ (ฉบับที่ ๑)
ขอ ๔. หามมิใหเรือ แพ ทุน หรือสิ่งอื่นที่คลายกันทอดสมอในลําแมน้ําในเขตดังตอไปนี้นอกจากมี
เหตุฉุกเฉินอันจําเปนที่จะตองกระทําเชนนัน้ หรือไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากเจาทาเปนการเฉพาะคราว
เพราะตําบลทีเ่ หลานี้เปนตอนที่ลาํ แมนา้ํ คด ซึ่งยกเวนไวสําหรับใหเปนทางเรือเดินขึ้นลองโดยสะดวก หรือ
สําหรับเปนทีก่ ลับลําเรือเดินทะเลขนาดใหญ
- ๔๘ -

๑. ตั้งแตปายหามจอดเรือทีจ่ ุดตําบลที่ใตปากคลองพระโขนงฝง ใต ระยะ ๒๕๐ เมตร เปนเสนฉาก


ตรงไปยังฝงแมน้ําตรงกันขาม ถึงเสาหินเขตทาดานใตเปนเสนฉากตรงไปฝงแมน้ําตรงกันขาม
๒. ตั้งแตเสาหินเขตทาดานเหนือ เปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม ถึงปากคลองเตยฝงใต
เปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม
ขอ ๕ หามมิใหเรือซึ่งมีความยาวต่ําหวา ๗๕ เมตร จอดทอดสมอในลําแมน้ําในเขตทากรุงเทพ ฯ
เขตที่ ๒ เวนไวแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากเจาทาเปนการเฉพาะคราว
ขอ ๖. เรือเดินทะเลซึ่งมีขนาดยาวตั้งแต ๗๕ เมตร ขึ้นไป ใหจอดทอดสมอกลางน้าํ ไดตั้งแตปาก
คลองเตยฝงใตเปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม ถึงปายหามจอดเรือที่จดุ ตําบลที่ใตปากคลองพระ
โขนงฝง ใตระยะ ๒๕๐ เมตร เปนเสนฉากตรงไปฝงแมนา้ํ ตรงกันขาม
ขอ ๗. บรรดาเรือกลและเรือที่มิใชเรือกล ที่จะเดินเขาคลองหรือเดินออกจากคลองพระโขนงนั้น
หามมิใหแลนตัดขามลําแมน้ําในแนวตัง้ ฉากกับลําแมนา้ํ ที่ปากคลอง หรือที่จุดตรงกันขามกับปากคลอง โดย
เมื่อจะออกจากคลองใหแลนเลียบริมฝง แมน้ําจนพนที่ปากคลอง เปนระยะทางไมนอยกวา ๑๐๐ เมตร
เสียกอนจึงแลนตัดขาม ถาจะเดินขามฟากเพื่อเขาคลองจากฝงตรงกันขามกับคลองเปนระยะทางไมนอยกวา
๑๐๐ เมตร ในทํานองเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อปองกันมิใหมีเหตุภยันตรายเนื่องจากการโดนกันระหวางเรือใหญ
ที่เดินขึน้ ลองตามลําแมน้ํา กับเรือที่กาํ ลังเดินขึ้นลองตามลําแมนา้ํ กับเรือที่กําลังเดินตัดขามเขาคลองหรือ
แลนตัดเขาออกจากปากคลองดังกลาวแลว
ขอ ๘. ผูควบคุมเรือ แพ ทุน หรือสิ่งอืน่ ๆ ที่คลายกัน คนใดฝาฝนขอบังคับนี้จะตองไดรับโทษตาม
บทบัญญัติในมาตรา ๖๙ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ และอาจ
ถูกสั่งงดไมใหใชประกาศนียบัตรหรือใบอนุญาตตามมาตรา ๒๙๑ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ํา
ไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่งแกไขเพิม่ เติมโดย มาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้าํ ไทย
แกไขเพิ่มเติม พระพุทธศักราช ๒๔๗๗ อีกสถานหนึ่งดวย

ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๐๔

เรือเอก ประทีป พยอมยงค


อธิบดีกรมเจาทา

You might also like