Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

การทดลองที่ 4

การกลันธรรมดา

(Simple Distillation)

1
วัตถุประสงค์

เข้าใจหลักการและวิธีการกลันอย่
่ างง่ายเพื่อทาสารให้บริสทุ ธ์ ิ

2
การกลัน่ (Distillation)

 เป็ นเทคนิคการแยกสารที่มีจดุ เดือดแตกต่างกันออกจากกัน


 นิยมใช้ในการทาของเหลวให้มีความบริสทุ ธ์ ิ มากขึน้

3
เทคนิคการกลัน่

เทคนิคการกลันมี่ หลายประเภท ได้แก่


1.การกลันแบบธรรมดา

2.การกลันล ่ าดับส่วน
3.การกลันด้
่ วยไอน้า
4. การกลันแบบลดความดั
่ น

4
การกลันธรรมดา

 ใช้แยกของผสมที่มีจดุ เดือดต่างกันมากๆ (> 80 oC)
หรือใช้แยกของเหลวออกจากของแข็ง

5
การกลันล
่ าดับส่วน
 ใช้แยกของเหลวผสมที่มีจดุ เดือดใกล้กนั ในช่วง 30-40 oC
 ใช้ condenser ที่บรรจุด้วยลูกปัดแก้ว เศษแก้วแตก เศษ
กระเบือ้ งเคลือบ หรือใช้ Vigreux column, Bubble plate
column เพื่อเพิ่มจานวนครัง้ และประสิทธิภาพในการแยก
สาร

6
การกลันด้
่ วยไอน้า
 ใช้แยกสารที่มีจดุ เดือดสูงและสลายตัวที่จดุ เดือด
 นิยมใช้แยกน้ามันหอมระเหย
 ไอน้าจะช่วยกลันสารออกมาที
่ ุ หภูมิตา่ กว่าจุดเดือดจริง เนื่ องจากของผสม
่อณ
ของสารกับน้าจะเดือดเมื่อความดันไอรวม (P น้า + P สาร) เท่ากับความดัน
บรรยากาศ

7
การกลันแบบลดความดั
่ น

• เป็ นเทคนิคที่เหมาะสาหรับสารที่มีจดุ เดือดสูงมากๆ ซึ่งอาจ


สลายตัวที่จดุ เดือดของมันที่ความดันบรรยากาศ
• การลดความดันเป็ นการทาให้ของเหลวเดือดที่อณ ุ หภูมิตา่ กว่า
จุดเดือดของสาร

8
อุปกรณ์สาหรับการกลัน่

Condenser

Thermometer adapter

Three-way adapter 9 distillating adapter


การต่อชุดอุปกรณ์ สาหรับการกลันธรรมดา

10
การทดลอง: การทาตัวทาละลายให้บริสทุ ธ์ ิ โดยการกลัน่
ธรรมดา

Unknown 100 mL
+ boiling chips

Distillate
ปริมาตร (mL) 0 10 20 30 40 50 60 70 80
60 mL
อุณหภูมิ (C) 11
สิง่ ที่ตอ้ งทำ
1. Plot graph

2. หาจุดเดือดของสารที่กลั่นได้โดยวิธไี มโคร (ดู Lab 1)

12
ข้อควรระวัง !
ให้วางขวดก้นกลมในอ่างน้า ห้ามต้มโดยตรง
 ตรวจสอบการต่ออุปกรณ์ให้เรียบร้อย อย่าให้มีการแยกกัน
ระหว่างข้อต่อ
 เปิดน้าที่เข้าเครือ่ งควบแน่ นก่อนจุดไฟ
 ระวังอย่าให้สารในขวดกลันไหม้ ่

13

You might also like