Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

บทที 3

เทคนิคในการสื บค้ นข้ อมูลและการอ้างอิง


3.1 หลักการสื บค้นข้ อมูล
การสืบค้นข้อมูลมีหลาย ๆ วิธี เช่น
3.1.1 การสืบค้นบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
◦ โปรแกรม Archie
◦ บริการ WAIS (Wide Area Information Service)
◦ โปรแกรม Gopher
◦ Mailing List
◦ เวิลด์ไวด์เว็บ(WWW : World Wide Web)
3.1.2 เครืองมือทีใช้ในการสืบค้นข้อมูลบนเวิลด์ไวด์เว็บ -> search engine
3.1.3 เทคนิคและกลยุทธ์ในการสืบค้น
3.1.4 การจัดการกับผลลัพธ์ทีสืบค้น
3.1.1 การสื บค้นบนระบบเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ต
การสืบค้นข้อมูลมีหลาย ๆ วิธี เช่น
◦ โปรแกรม Archie
◦ บริการ WAIS (Wide Area Information Service)
◦ โปรแกรม Gopher
◦ Mailing List
◦ เวิลด์วายเว็บ (WWW : World Wide Web)
ในการสืบค้นข้อมูลนันจําเป็ นจะต้องมีโปรแกรมทีช่วยในการค้นหาแฟ้ มข้อมูล ซึงมีอยู่หลายประเภท ได้แก่

โปรแกรมอาร์คี (Archie) บริการ WAIS (Wide Area Information Service)


เป็ นโปรแกรมทีช่วยในการค้นหาตําแหน่งทีอยู่ของแฟ้มข้อมูล โดยการระบุชือ เป็ นโปรแกรมทีเป็ นเครืองมือในการสืบค้นข้อมูล โดยการระบคําหลักในการสืบค้น
แฟ้มข้อมูล ว่าอยู่ในเครืองบริการใดๆ ในอินเตอร์เน็ต โปรแกรมเวสจะช่วยค้นหาไปยังแหล่งข้อมูลทีเชือมต่ออยู่ภายในอินเตอร์เน็ต
โปรแกรม Gopher Mailing List โปรแกรม Search Engines
เป็ นโปรแกรมการค้นหาข้อมูลทีมีรายการเลือก เพือช่วยเหลือผูใ้ ช้งานในการค้นหา Mailing Lists คือ กลุ่มรายชือของอีเมล์ เมือมีการส่ง เป็ นโปรแกรมค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ต ทีได้รบั ความนิยมมาก โดยให้พิมพ์คาํ
ข้อมูลการใช้งานพร้อมมีเมนูเลือกการใช้งาน ผูใ้ ช้ไม่จาํ เป็ นต้องทราบ รายละเอียดของ อีเมล์ไปที mailing lists ระบบmailing lists จะ หรือข้อความทีเป็ นคําหลัก(Keyword) จากนันโปรแกรม Search
คอมพิวเตอร์ทีเชือมโยงอยู่กบั อินเตอร์เน็ตใดๆ เพียงเลือกรายการทีต้องการในรายการ ช่ ว ยทํา การกระจายอี เ มล์ที ส่ ง ไปให้กับ อี เ มล์ที อยู่ ใ นกลุ่ม Engines จะแสดงผลลัพธ์การสืบค้นด้วยการแสองรายชือของแหล่งข้อมูลต่างๆ
เลื อก เมือมี ข้อ มูล แสดงขึนมาก็ส ามารถอ่า นข้อ มูล นัน และบันทึก เก็ บ ไว้ใ นเครือง โดยอัตโนมัติ ทีีเกียวข้องขึนมา
คอมพิวเตอร์ได้

ที่มา
:http://emailserverhosting.maildee.com/2014/
09/what-is-mailing-list.html
3.1.2 เครืองมือทีใช้ในการสืบค้นข้อมูลบนเวิลด์ไวด์เว็บ(Search engines)
เสิรช์ เอนจิน (Search engine)
คือ โปรแกรมทีช่วยในการสืบค้นข้อมูลโดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
โดยครอบคลุม ทังข้อ ความ รู ป ภาพ ภาพเคลื อนไหว เพลง ซอฟต์แ วร์ แผนที
ข้อ มู ล บุ ค คล กลุ่ ม ข่ า ว และอื น ๆ ซึ งแตกต่ า งกั น ไปแล้ว แต่ โ ปรแกรมหรื อ
ผูใ้ ห้บริการแต่ละราย โดยจะค้นหาข้อมูลจากคําสําคัญ (คียเ์ วิรด์ ) ทีผูใ้ ช้ป้อนเข้า
ไป จากนันก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ทีมันคิดว่าผูใ้ ช้น่าจะต้องการขึนมาโดยจัด
อันดับหน้าทีพบตามลําดับความเกียวข้อง
Search engines N1

รายชือ Search Engine Site ทีนิยม

•Google (www.google.com)
•Bing (www.bing.com) Search engine
•Yahoo (www.yahoo.com) เทคนิคและการใช้งานก็จะแตกต่างกันออกไป
•Ask.com (www.ask.com) ขึนอยู่กบั ระบบของ Search Engine แต่ละตัว
•AOL.com (www.aol.com)
•Baidu (www.baidu.com)
•Wolframalpha
(www.wolframalpha.com)
•DuckDuckGo (duckduckgo.com)
•Internet Archive (archive.org)
สไลด ์ 7

N1 NPRU, 10/9/2564
ตัวอย่างลักษณะ ผลลัพธ์การค้นหา (search results) :
หลังจากใส่คาํ ทีต้องการค้น จะแสดงผลลัพธ์การค้นหาทีตรงกับคําทีสืบค้น โดยสามารถ
Search Engine Site แสดงเป็ น เว็ บ ไซต์ , รู ป ภาพ ,วิดีโอ และเอกสารต่า งๆ ลัก ษณะของผลลัพ ธ์จะแสดงใน
รูปแบบของลิงค์อยู่ดา้ นบนก่อนทีจะแสดงรายละเอียดของเวบไซต์นนั ๆ
ค้นหา

Keyword :
3.1.3 เทคนิคและกลยุทธ์ในการสืบค้น

หลักการใหญ่ทใช้
ี ในการสืบค้นโดยทัวไป จะมีดังนี
1. สืบค้นจากชือเว็บไซต์ในตําแหน่ง(URL)
2. สืบค้นจากคําทีมีอยู่ในชือเรือง
3. สืบค้นจากคําสําคัญ(Key Word)
3.1.3 เทคนิคและกลยุทธ์ในการสืบค้น
1. สื บค้ นจากชื อเว็บไซต์ ในตําแหน่ ง(URL)

พิมพ์ url ทีต้องการสืบค้น


3.1.3 เทคนิคและกลยุทธ์ในการสืบค้น
2. สื บค้ นจากคําทีมีอยู่ในชื อเรื อง
เช่น ชือเรือง “ ความรู้เบืองต้นเกียวกับการใช้อินเทอร์เน็ต “
การค้นหาจากคําทีมีอยู่ใน Title (ส่วนที Browser ใช้แสดงชือของเว็บเพจอยู่ทางด้าน ซ้ายบนของ
หน้าต่างทีแสดง
การค้นหาจากคําสําคัญหรือคําสัง keyword
(อยู่ใน tag คําสังใน html ทีมีชือว่า meta)

3. สื บค้ นจากคําสําคัญ(Key Word)


Keyword คือ คําหรือวลีทีคนใช้คน้ หาข้อมูลจาก Search engine ยกตัวอย่างเช่น เราอยากรูข้ อ้ มูลห้องพัก
ทีนครปฐม บรรยากาศดี ราคาไม่แพง สามารถค้นหาข้อมูลด้วยคําว่า “ทีพักนครปฐม บรรยากาศดี ”
นันคือคําว่า “ทีพักนครปฐม บรรยากาศดี” คือ Keyword
รู้จักประเภทของ Keyword เพือเลือกใช้ให้เหมาะสม

1. Seed keyword : คําค้นหาเป็ นคํากว้างๆ เช่น ค้นหาคําว่า “ เสือผ้าแฟชัน”


2. Niche keyword คือ คําซึงมีรายละเอียด มีการขยายความมากกว่า Seed keyword เช่น “เสือผ้าผูห้ ญิง ผ้าบาติค”
3. Niche Longtail keyword คือ คําทีเฉพาะเจาะจง ว่าคืออะไร แบบไหน เช่น “เสือผ้าผูห้ ญิง บาติค ขนาดไซต์ M คอปก
3.2 ประโยชน์ ของการสื บค้ นข้อมูล
1. 1. คนหาเว็บที่ตองการไดสะดวก รวดเร็ว (Time )
เสิรชเอ็นจิ้นชวยใหประหยัดเวลา สามารถจํากัดผลลัพธใหแคบลงตามคียเวิรดที่ไดระบุ และสามารถทําการคนหาไดหลายครั้งใน
เวลาไมกี่นาที

1.2 ความเกี่ยวของ (Relevance)


เมื่อเสิรชเอ็นจิ้นสแกนเว็บไซต ระบบจะใหคะแนนเนื้อหาที่เกี่ยวของกับคําคนหาบางคํา แตก็คํานึงถึงปจจัยตางๆ เชน การกลาวซ้ําของ
คําที่เกี่ยวของและลิงกจากเว็บไซตอื่นๆ เครื่องมือคนหาจะจัดเรียงหนาผลลัพธตามความเกี่ยวของกับคียเวิรดของคําหรือสิ่งที่ใชคนหา โดย
คะแนนจะเรียงลําดับจากมากไปนอย จะเห็นเว็บไซตเรียงลําดับดานบนนั่นคือผลที่เกี่ยวของมากที่สุดลําดับถัดๆไป เว็บ ไซตจะมีความ
เกี่ยวของนอยลง

1.3 การเขาถึงใชงานไมเสียคาใชจาย (Free access)


- Google, Bing และ Yahoo การคนหาฟรีสําหรับผูใช มีการจายคาดําเนินการผานโฆษณา ทําใหเกิดประโยชน
- LexisNexis เว็บไซตกลุมนี้จะมีการเรียกเก็บคาธรรมเนียมในการใชบริการ
3.2 ประโยชน์ ของการสื บค้นข้ อมูลด้ วย search engine
4. ครบวงจร (compreshness)
เสิรชเอ็นจิ้นจะสแกนเว็บทั้งหมดและเก็บขอมูลที่ครอบคลุมในทุกหนาที่คนหา เนื่องจากบริษัทของเสิรช เอ็นจิ้น จะคนหา
เก็บขอมูลไวมากมาย จึงชวยใหพบไซตที่เกี่ยวของ ผลการคนหามีแนวโนมที่จะใหขอมูลจํานวนมากในการพิจารณาหาขอมูล

5. การคนหาขั้นสูง (Advanced Search)


การคนหาขั้นสูง จะมีตัวเลือกชวยใหการคนหา มีความซับซอนมากขึ้น เชน หากตองการยกเวนผลลัพธที่มีคําบางคํา ให
พิมพเครื่องหมายลบกอนคํานั้น หากตองการคนหาวลีที่ตรงทั้งหมด ใหลอมรอบดวยเครื่องหมายคําพูด เชน เมื่อตองการคนหา
เฉพาะไซตหรือกลุมของไซต ใหพิมพ "site:" โดยไมใสเครื่องหมายคําพูดตามดวยที่อยูเว็บของไซต ตัวอยางเชน สามารถคนหา
การกลาวถึงนกบน Facebook โดยพิมพ “bird site:www.facebook.com"
3.3 รูปแบบของ Search Engines
และเครื องมือทีใช้ในการสื บค้น
3.3.1 Crawlers
3.3.2 Directories
3.3.3 Hybrid Search Engines
3.3.4 Meta Search engines
ตัวอย่าง Search Engine
ทีนิยมใช้มีทงเว็
ั บไซต์ทเป็
ี น ของต่างประเทศ และของไทยเอง
ตัวอย่างเว็บไซต์ของต่างประเทศ ได้แก่ http://www.yahoo.com
http://www.google.com http://www.infoseek.com
http://www.ultraseek.com http://www.lycos.com
http://www.excite.com
3.3.1 Crawlers (Keyword index)
เครื่องมือคนหาที่ใชโปรแกรมซอฟตแวรอัตโนมัติ เครื่องมือคนหาประเภทนี้ใชโปรแกรมที่เรียกวา สไปเดอร บอท หรือโปรแกรมรวบรวม
ขอมูล"เพื่อคนหาทางอินเทอรเน็ต โปรแกรมรวบรวมขอมูลจะขุดผานหนาเว็บแตละหนา ดึงคําหลักออก แลวเพิ่มหนาลงในฐานขอมูลของเครื่องมือ
คนหา แมงมุมจะคน หาหนาเว็บ ดาวนโหลด และวิเคราะหขอมูลที่นําเสนอบนหนาเว็บ นี่เปนกระบวนการที่ราบรื่น หนาเว็บ จะถูกเพิ่มลงใน
ฐานขอมูลของเครื่องมือคนหา จากนั้นเมื่อผูใชทําการคนหา เครื่องมือคนหาจะตรวจสอบฐานขอมูลของหนาเว็บสําหรับคําสําคัญที่ผูใชคนหาเพื่อ
แสดงรายการผลลัพธของลิงกผลลัพธ (รายการลิงกที่แนะนําใหไปที่) จะแสดงอยูในหนาเว็บตามลําดับซึ่ง "ใกลเคียงที่สุด" (ตามที่กําหนดโดย
'บอท') กับสิ่งที่ผูใชตองการคนหาทางออนไลน โดยเสิรชเอ็นจิ้นจะใชโปรแกรมรวบรวมขอมูลกําลังคนหาอินเทอรเน็ตอยางตอเนื่องสําหรับหนาเว็บ
ใหม และอัปเดตฐานขอมูลของขอมูลดวยหนาใหมหรือหนาที่มกี ารแกไขเหลานี้
ตัวอยางเครื่องมือคนหาของโปรแกรมรวบรวมขอมูล
◦ Google (www.google.com)
◦ Yahoo (www.yahoo.com) เครืองมือทีช่วยในการค้นหาบนอินเตอร์เน็ตแบบอาศัยการบันทึกฐานข้อมูลจัดเก็บข้อมูลเป็ นหลัก
◦ Ask Jeeves (www.ask.com) จําพวก Search Engine ทีได้รบั ความนิยม ให้ผลลัพธ์ในการค้นหาค่อนข้างแม่นยํา การประ
ขอดีของ crawlers คือ มวนผลสามารถทําได้ค่อนข้างรวดเร็วและมีประสิทธิ ภาพ จึงทําให้ปัจจุบนั นีมีผเู ้ ลือกใช้มากทีสุด

- มีหนาจํานวนหลายหนา
- งายในการใชงาน
- ความคุนเคย คนสวนใหญที่คนหาทางอินเทอรเน็ตจะคุนเคยกับการใชงาน Google
ขอเสียหลายประการ คือ
- บางครั้งผลลัพธกจ็ ะมีขอมูลที่มากเกินไป
ตัวอย่าง Crawlers
Crawler Based Search Engine ได้แก่อะไรบ้าง
ได้แก่ Google , Yahoo, MSN, Live,Ask และอืนๆ

Google Yahoo

MSN
Ask
3.3.2 Directories- Subject Directory
ไดเร็กทอรี(Directories ) เป็ นเครืองมือค้นหาในลักษณะสารบัญเว็บไซต์ทีสามารถค้นหาข่าวสารข้อมูลด้วยหมวดหมู่ข่าวสาร
ข้อมูลทีเกียวข้องกันในปริมาณมากๆ คล้ายกับสมุดหน้าเหลือง ระบบจะเก็บรวบรวมลิงค์ของเว็บไซต์ต่าง ๆ ไว้เป็ นหมวดหมู่ ซึงแบ่งกลุม่
ออกเป็ นหมวดหมู่ย่อย ๆ ในแต่ละกลุม่ จะมีหวั เรืองหรือเนือหาทีสัมพันธ์กนั สามารถค้นหาข้อมูลต่างๆ ตามหมวดหมู่ทาํ ให้สามารถทีจะ
หาข้อมูลได้ง่าย และลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา

ตัวอย่างเว็บไซต์การสืบค้นในลักษณะ Directory ขอดี:


1. Yahoo Directory (www.yahoo.com) แตละหนาจะไดรับการตรวจสอบความเกี่ยวของและเนื้อหากอนที่จะ
2. Open Directory (www.dmoz.org) รวมซึ่งหมายความวาไมมีไซตลามกแปลกใจอีกตอไป ผลลัพธก็จะถูก
3. http://www.directory-index.net/ กลั่นกรองนอยลง
4. อื่นๆ ทําใหการคนหาสิ่งที่ตองการเร็วขึ้น
ขอเสีย:
http://www.siamguru.com 1. รูปแบบของการออกแบบเปนรูปแบบที่ไมคุนเคย
http://www.sanook.com 2. ความลาชาในการสรางเว็บไซต
http://www.hunsa.com 3. ขอมูลรวมอยูในไดเรกทอรีอาจมีปญ
 หากับการคนหาที่คลุมเครือมากขึ้น
http://www.thaiwebhunter.com
ตัวอย่าง web directory
http://webindex.sanook.com/ http://directory.thaiza.com/
3.3.3 Hybrid Search Engines
Hybrid Search Engines เครืองมือค้นหาแบบไฮบริดใช้ทงั
ผลลัพธ์ทีอิงตามโปรแกรมรวบรวมข้อมูลและผลลัพธ์ของไดเรกทอรี
ทุกวันนีเสิรช์ เอ็นจินเปลียนไปใช้โมเดลแบบไฮบริดมากขึนเรือยๆ

ตัวอย่างเว็บไซต์การสืบค้นในลักษณะ Hybrid
1. Yahoo (www.yahoo.com)
2. Google (www.google.com)
ขอดี:
แตละหนาจะไดรับการตรวจสอบความเกี่ยวของและเนื้อหากอน ผลลัพธก็จะถูกกลั่นกรองนอยลง
ทําใหการคนหาสิ่งที่ตองการเร็วขึ้น
ขอเสีย:
1. รูปแบบของการออกแบบเปนรูปแบบที่ไมคุนเคย
2. ความลาชาในการสรางเว็บไซต
3. ขอมูลรวมอยูในไดเรกทอรีอาจมีปญ
 หากับการคนหาคลุมเครือมากขึ้น
3.3.4 Meta Search Engines
การค้นหาข้อมูลจากหลายแหล่งข้อมูล เป็ นการค้นหาข้อมูลจากหลาย ๆ Search Engine ในเวลาเดียวกัน เพราะเว็บไซต์ที
เป็ น Meta search จะไม่มีฐานข้อมูลของตนเอง แต่จะค้นหาเว็บเพจทีต้องการ โดยวิธีการดึงจากฐานข้อมูลของ Search Site
จากหลายแหล่งมาใช้แล้วจะแสดงผลให้เลือกตามความต้องการ เช่น http://www.thaifind.com
• Search Engines ประเภทนี อาจจัดได้ว่าไม่ใช่ Search Engines ทีแท้จริง เนืองจากไม่ได้ทาํ การสืบค้นข้อมูลเองแต่จะส่ง
ต่อคําถามจากผูใ้ ช้ (query) ไปให้ Search Engines ตัวอืนผลการค้นทีได้จึงแสดงทีมา (ชือของ Search Engines) ทีเป็ น
เจ้าของข้อมูลไว้ต่อท้ายรายการทีค้นได้แต่ละรายการ
ข้อดีของ Search Engines ประเภทนีคือ
•สามารถค้นเรืองทีต้องการได้จากแหล่งเดียว ไม่ตอ้ งเสียเวลาไปค้นจากหลายที
•โดย Search Engines จะตัดข้อมูลทีมีความซําซ้อนกันออกไป
ตัวอย่าง Meta Search Engines
•เหมาะทีจะใช้ในกรณีทีต้องการรวบรวมข้อมูลทีต้องการให้ครอบคลุมมากทีสุด • Dogpile (http://www.dogpile.com)
•เนืองจาก Search Engines เพียงตัวเดียวอาจรวบรวมข้อมูลได้ไม่ครอบคลุม • Metacrawler (http://www.metacrawler.com)
ทังหมดหรือ Search Engines อาจไม่ได้ทาํ ดรรชนีให้ • ProFusion (http://www.profusion.com)
•และทีสําคัญช่วยประหยัดเวลาในการค้นให้กบั ผูใ้ ช้ • Search (http://www.search.com)
ข้อเสีย • SurfWax (http://www.surfwax.com)
•คําค้นที Search Engines แต่ละตัวใช้มีโครงสร้างประโยค (Syntax) ของตนเอง • Ixquick (http://www.ixquick.com)
ซึงแตกต่างกันไป
•แต่ผใู้ ช้จะใส่คาํ ค้นที Multi Search Engines เพียงคําค้นเดียว (Query)
•ในกรณีทคํี าค้น มีการสร้างสูตรการค้นทีซับซ้อน หรือใช้ภาษาอืนๆ ทีไม่ใช่
ภาษาอังกฤษ อาจให้ผลการค้นไม่เทียงตรงได้ เนืองจากไม่เข้าใจคําสังทีแท้จริง
3.4 เทคนิคการสื บค้ นข้ อมูล
3.4.1 การสืบค้นเว็บไซต์ข้อมูลด้วย Search Engine
ขั้นตอนการสืบคนเว็บไซตขอมูลดวย Search Engine
1. ทําการระบุเว็บไซตที่ใหบริการ เชน http://www.google.co.th/
3. พิมพ keyword (ขอความ) ที่ตองการสืบคนลงในชอง text box
4. กดที่ปุม “คนหา”
5. ระบบจะทําการคนหาเว็บไซตที่ตรงกับ keyword ที่ตองการ และแสดงผลลัพธ
ในหลายรูปแบบ เชน หากตองการใหแสดงผลเปนเวบไซตตางๆ เลือก “ทั้งหมด” หรือ
รูปภาพ เลือก“คนรูป” หรือ แสดงเปนวิดีโอ เลือก“วิดีโอ” หรือ “ขาวสาร” และอื่นๆ
ผลลัพธ์การค้นหา (search results) :
ตัวอย่าง หลังจากใส่คาํ ทีต้องการค้น จะแสดงผลลัพธ์การค้นหาทีตรงกับคําทีสืบค้น โดยสามารถ
แสดงเป็ น เว็ บ ไซต์ , รู ป ภาพ ,วิดีโอ และเอกสารต่า งๆ ลัก ษณะของผลลัพ ธ์จะแสดงใน
ค้นหา รูปแบบของลิงค์อยู่ดา้ นบนก่อนทีจะแสดงรายละเอียดของเวบไซต์นนั ๆ

คําค้นหาหลัก : Keyword

หากต้องการให้แสดงผลเป็ นเวบไซต์ตา่ งๆ เลือก “ทังหมด” หรือ รูปภาพ เลือก“ค้นรูป” หรือ แสดงเป็ นวิดีโอ เลือก“วิดีโอ” หรือ
“ข่าวสาร” และอืนๆ
การค้นหาแบบขันสูง (Advanced Search)
เป็ นการค้นหาทีซับซ้อนมากกว่าแบบพืนฐาน มีเทคนิคหรือรู ปแบบการค้นทีจะช่วยให้ผคู้ น้ สามารถจํากัดขอบเขตการค้นหาหรือค้นแบบเจาะจงได้มากขึน เพือให้สามารถค้นหาข้อมูลได้ทีตรงกับ
ความต้องการมากทีสุด

รูปแบบการสืบค้นข้อมูล => โดยใช้ตรรกบูลนี (Boolean Logic) หรือการค้นหาโดยใช้ Operator เป็ นการค้นหา โดยใช้คาํ เชือม 3 ตัว คือ AND, OR, NOT ดังนี

Boolean Operators –
-AND หรือ เครืองหมาย + ใช้เมือต้องการให้คน้ เอกสารทีมีค าทังสองคํา ปรากฏ
เช่นค้นหาคําว่า Travel AND Thailand ข้อมูลทีได้จะมีเฉพาะคําว่า Travel และ Thailand อยูใ่ นเอกสาร
- OR ใช้เมือต้องการค้นหน้าเอกสารทีมีคาํ ใดคําหนึงปรากฏ
เช่น Travel OR Thailand ข้อมูลทีได้จะมีคาํ าใดคําหนึงหรือมีทงสองคํ
ั าปรากฏอยูใ่ นเอกสาร
- NOT หรือ เครืองหมาย – ใช้เมือต้องการตัดคําทีไม่ตอ้ งการให้คน้ ออก (คําหลัง NOTหรือ เครืองหมาย -)
เช่น Travel NOT Thailand ข้อมูลทีได้จะมีคาํ ว่า Travel แต่จะไม่มีคาํ ว่าThailand อยูใ่ นเอกสาร –
-NEAR ใช้เมือต้องการให้คาํ ทีกําหนดอยูห่ า่ งจากกันไม่เกิน 10 คํา ใน ประโยคเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน (อยูด่ า้ นหน้าหรือหลังก็ได้)
เช่น Travel NEAR Thailand ข้อมูลทีได้จะมีคาํ ว่า Travel และThailand ทีห่างกันไม่เกิน 10 คํา ตัวอย่างเช่น Travel on the beach in Thailand
- BEFORE ใช้เมือต้องการกําหนดให้คาํ แรกปรากฏอยูข่ า้ งหน้าคําหลังใน ระยะห่างไม่เกิน 8 คํา
เช่น Travel BEFORE Thailand
- AFTER ใช้เมือต้องการก าหนดให้คาํ แรกปรากฏอยูข่ า้ งหลังคําหลังใน ระยะห่างไม่เกิน 8 คํา
เช่น Travel AFTER Thailand - (parentheses) ใช้เมือต้องการกําหนดให้ทาํ ตามคําสังภายในวงเล็บ ก่อนคําสังภายนอกเช่น (Travel OR Beach) and
Thailand
4.2 การค้นวลี(Phrase searching)
เป็ นการใช้เครืองหมายอัญประกาศ (“ ”) เมือต้องการกําหนดให้คน้ เฉพาะหน้าเอกสารทีมีการเรียงลําดับคําตามทีกําหนดเท่านัน
เช่น “Methodology Research”
Phrase searching
4.3 การตัดคํา (Word stemming / Truncation)
เป็ นการใช้เครืองหมาย asterisk (*) ตามท้ายคํา 3 คําขึนไป เพือค้นหาคําทีขึนต้นด้วยตัวอักษรที
กําหนด เช่น Travel*

4.4 คําพ้องความหมาย (Synonym)


เป็ นการใช้คาํ เหมือนทีมีความหมาย เดียวกันหรือใกล้เคียงกันเพือช่วยให้คน้ เรืองทีครอบคลุม เช่น Ocean Sea
Marine

4.5 เขตข้อมูลเพือการค้น (Field Searching)


เป็ นการกําหนดเขตข้อมูลเพือการค้น เช่น ชนิดของข้อมูล หรือทีอยู่ของข้อมูล เป็ นต้นเช่น text: “green tea” url:
NASA

4.6 ตัวเล็กตัวใหญ่ถือว่าต่างกัน (Case sensitive) เป็ นการใช้ตวั อักษรใหญ่กบั ตัวเล็กในความหมายทีแตกต่างกัน


3.5 วิธีการสื บค้ นข้อมูล

3.5.1การสืบคนเว็บไซตขอมูลดวย Search Engine


ขั้นตอนการสืบคนเว็บไซตขอ มูลดวย Search Engine
1. ทําการเปดเว็บไซตที่ใหบริการ http://www.google.co.th/
2. เลือกหัวขอที่ตอ งการคน ในที่นี้จะเลือกหัวขอ “เว็บ”
3. พิมพ keyword (ขอความ) ที่ตองการสืบคนลงในชองกลองขอความ
4. กดที่ปุม “คนหา”
5. ระบบจะทําการคนหาเว็บไซตที่ตรงกับ keyword ที่ตองการ และแสดงผลลัพธการสืบคน
3.5 วิธีการสื บค้นข้อมูล

3.5.2 การสืบค้นรู ปภาพด้วย Search Engine

ขันตอนการสืบค้นรู ปภาพด้วย Search Engine


1. ทําการเปิ ดเว็บไซต์ที
ให้บริการ http://www.google.co.th/
2. พิมพ์ keyword (ข้อความ) สถานทีทีต้องการสืบค้นลงในช่อง text box
3. เลือกหัวข้อรู ปแบบทีต้องการค้น ในทีนีจะเลือกหัวข้อ “ค้นรู ป”
4. กดทีปุ่ ม “ค้นหา”
5. ระบบจะทําการค้นหารู ปภาพทีตรงกับ keyword ทีต้องการ และ
แสดงรูปภาพทีค้นหาพบ
3.5 วิธีการสื บค้นข้อมูล
3.5.3 การสืบค้นแผนทีด้วย Search Engine
ขันตอนการสืบค้นแผนทีด้วย Search Engine
1. ทําการเปิ ดเว็บไซต์ทีให้บริการ http://www.google.co.th/
2. พิมพ์ keyword (ข้อความ) สถานทีทีต้องการสืบค้นลงในช่อง text box
3. เลือกหัวข้อรู ปแบบทีต้องการค้น ในทีนีจะเลือกหัวข้อ “แผนที”
4. กดทีปุ่ ม “ค้นหา”
5. ระบบจะทําการค้นหาตามข้อความทีต้องการ แล้วแสดงออกมาใน
รู ปแบบ ของ แผนที รวมไปถึงลิงค์ขอ้ มูลเพิมเติมเกียวกับข้อความนัน
อีกด้วย
3.5 วิธีการสืบค้นข้อมูล
3.5.4 การสืบค้นวีดโิ อด้วย Search Engine
ขันตอนการสืบค้นวีดิโอด้วย Search Engine
1. ทําการเปิ ดเว็บไซต์ทีให้บริการ http://www.google.co.th/
2. พิมพ์ keyword (ข้อความ) ทีต้องการสืบค้นลงในช่อง text box
3. เลือกหัวข้อรู ปแบบทีต้องการค้น ในทีนีจะเลือกหัวข้อ “วิดีโอ”
4. กดทีปุ่ ม “ค้นหา”
5. ระบบจะทําการค้นหาตามข้อความทีต้องการ แล้วแสดงออกมาในรูปแบบ
ของวิดีโอรวมไปถึงลิงค์ขอ้ มูลเพิมเติมเกียวกับข้อความนันๆ อีกด้วย
3.5 วิธีการสื บค้ นข้ อมูล
3.5.5 การสืบค้นด้วยเสียง
ขันตอนการสืบค้นด้วยเสียงด้วย Search Engine

1. ทําการเปิ ดเว็บไซต์ทีให้บริการ http://www.google.co.th


2. เลือกปุ่ มไมโครโฟน

3. พูดคําทีต้องการค้น

4. ระบบจะทําการค้นหาตามข้อความทีต้องการ แล้วแสดงออกมาในรูปแบบ ของวิดีโอรวมไปถึงลิงค์ขอ้ มูลเพิมเติมเกียวกับข้อความนันๆ อีกด้วย


3.6 หลักการเขียนการอ้างอิงข้ อมูลจากเวบไซต์

การจัดการกับข้อมูลทีสืบค้น
การอ้างอิง เป็ นการเขียนแหลงอ้างอิงแหลงทีมาข้อความหรือข้อมลในบรรณานุกรม เช่นเดียวกับการ
อ้างอิง หนังสือเอกสาร ทัวไปแต่ปัจจุบนั (2548) ยังไม่มีองค์กรใดกําหนดรูปแบบสําหรับการอ้างอิงจาก
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทีเป็ นมาตรฐาน เนืองจากเอกสารจากอินเทอร์เน็ตเปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ทําให้กลับไปค้นหาแหล่งทีมาได้

รูปแบบการอ้างอิงแหล่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์มีหลายรูปแบบ ได้แก่
APA style , MLA Style , APA Style , Anthropologh Style,
WEAPAS Style และ Melvin Page Style ,Vancouver Style
ซึงในทีนีจะขอนําเสนอรู ปแบบการอ้างอิงข้อมูลออนไลน์แบบ APA Style ทีเป็ นทีนิยมแพร่หลายวิธีหนึง
ซึงมีรายละเอียด ดังนี
APA Style
เวบไซต์
ผูแ้ ต่ง./(ปี พิมพ์).//ชือบทความ./สืบค้น วันเดือนปี ,//จาก หรือ Retrieved from /http://www.xxxxxxxxxx

ตัวอย่างการอ้างอิงบรรณานุกรม
สรญา แสงเย็นพันธ์. (2561). มาทาํ ความเข้าใจระบบสี CMYK กับ RGB ภายใน 3 นาที. สืบค้น 18 กันยายน 2562, จาก
https://www.nupress.grad.nu.ac.th/cmyk-and-rgb/

American University of Sharjah. (n.d.). APA 6th Edition Citation Style. September 18, 2019,
Retrieved from https://aus.libguides.com/apa/apa-website

อ้างอิงสืบค้นจาก : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร. วิธีการเขียนบรรณานุกรม รู ปแบบ APA 6 ในงานวิชาการ. สืบค้น 18 กันยายน 2564,


จาก https://www.nupress.grad.nu.ac.th/วิธีการเขียนบรรณานุกรม/#7-website
รูปภาพ

ผูแ้ ต่ง./(ปี พิมพ์).//ชือภาพ./ [Image]. /สืบค้น วันเดือนปี ,//จาก หรือ Retrieved


from/http://www.xxxxxxxxxx

ตัวอย่างการอ้างอิงบรรณานุกรม
The White House. (2019). President Trump Meets with Chairman Kim Jong Un. [Image]. Retrieved
from https://commons.wikimedia.org/wiki/File:President_Trump_Meets_with_Chairman_Kim_
Jong_Un_(48164732021).jpg

อ้างอิงสืบค้นจาก : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร. วิธีการเขียนบรรณานุกรม รู ปแบบ APA 6 ในงานวิชาการ. สืบค้น 18 กันยายน 2564,


จาก https://www.nupress.grad.nu.ac.th/วิธีการเขียนบรรณานุกรม/#7-website
แอปพลิเคชัน

ชือผูถ้ ือสิทธิ หรือองค์กร. (ปี ของ version แอป). ชือแอปพลิเคชัน (Version แอป)
[Mobile application software]. จาก หรือ Retrieved from
http://xxxxx

ตัวอย่างการอ้างอิงบรรณานุกรม
Automattic. (2021). WordPress (Version 18.0) [Mobile application software]. Retrieved
from https://apps.apple.com/us/app/wordpress/id335703880

อ้างอิงสืบค้นจาก : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร. วิธีการเขียนบรรณานุกรม รู ปแบบ APA 6 ในงานวิชาการ. สืบค้น 18 กันยายน 2564,


จาก https://www.nupress.grad.nu.ac.th/วิธีการเขียนบรรณานุกรม/#7-website

You might also like