Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 49

กิจกรรมที่ 1 : เหนือ – ใต้ คือด้านไหนครับ

กิจกรรมที่ 2 : ดูดได้ดูดไม่ได้ และขั้วไหนที่ดูดเหล็ก (N or S)

ระยะส่งผลต่อแรงดูดอย่างไร
กิจกรรมที่ 3 : เหล็กก็ดูดเหล็กได้น้า

เหล็ก คลิปหนีบ
Magnetization
สนามของแรง
นักเรี ยนเคยสงสัยหรื อไม่ ทำไม วัตถุบำงอย่ำงถึงออกแรงกระทำวัตถุอีกชิ้นหนึ่งได้
โดยที่ไม่ตอ้ งสัมผัสกันเลย

โลกดึงแอปเปิ ลให้ร่วงลงมำ
0 แม่เหล็ก ดูด/ผลัก กันเอง ประจุ ดูด/ผลัก กันเอง

fe
a
t
กำรที่วตั ถุหนึ่งส่ งแรงหำกันได้โดยไม่สมั ผัสกันนี้เป็ นผลเนื่องมำจำกสนามของแรงนัน่ เอง
สนำม (Field) จะแผ่ออกมำรอบ ๆ แหล่ง↓กำเนิด f
Fam
=

1
d

แหล่งกำเนิดมีมวล เช่น โลก สนำมโน้มถ่วง

O
แหล่งกำเนิดมีประจุ เช่น
สนำมไฟฟ้ำ
โปรตอน

O แม่เหล็ก/แม่เหล็กไฟฟ้ำ สนำมแม่เหล็ก
กำรที่วตั ถุมีปฏิกิริยำกับสนำมของแรง จะทำให้เกิดแรงที่กระทำกับวัตถุน้ นั ๆ

-
วัตถุที่มีมวล สนำมโน้มถ่วง ⑳>
แรงโน้มถ่วง

วัตถุที่มีประจุ สนำมไฟฟ้ำ แรงทำงไฟฟ้ำ

ประจุที่เคลื่อนที่ สนำมแม่เหล็ก แรงทำงแม่เหล็ก

อำจกล่ำวได้วำ่ สนำมของแรง คือ บริ เวณที่มีแรงกระทำต่อวัตถุ


15.1 แม่ เหล็กและสนามแม่ เหล็ก

⑳ooo

ถ้ำหำกแท่งแม่เหล็กหมุนได้อย่ างอิสระ แม่เหล็กจะว่ำงตัวอย่ำงไร

N ขั้วเหนือ N
W E W E
ขั้วใต้ ขั้วเหนือ S S
ขั้วใต้
15.1.1 สนามแม่ เหล็ก

So N
->
ทราบได้อย่างไร สนามแม่เหล็กมีทิศออกจากแม่เหล็กขั้วเหนือไปยังแม่เหล็กขั้วใต้ ?
ลักษณะของเส้นสนามแม่เหล็ก

2 มิติ 3 มิติ
เส้นสนามแม่เหล็กกรณีที่เกิดจากแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง
จากรูปนี้ บางบริเวณมีสนามแม่เหล็กหนาแน่น
บางบริเวณไม่มีเส้นสนามแม่เหล็กผ่าน แสดงว่าสนามแม่เหล็กเป็นศูนย์
เรียกตำแหน่งนี้ว่า จุดสะเทิน (Neutral point)
สนามแม่ เหล็กโลก

https://www.youtube.com
/watch?v=HJfy8acFaOg

https://www.youtube.com/
watch?v=eJV_wlCm6ms
· ↑

สนำมแม่เหล็กโลก ปกป้องเรำจำกลมสุ ริยะหรื อพำยุสุริยะ


15.1.2 ฟลักซ์ แม่ เหล็ก
ฟลักซ์แม่เหล็ก (Magnetic flux) จำนวนเส้นสนามแม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่
ขนาดของสนามแม่เหล็ก/ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก
(Magnetic flux density) สัญลักษณ์ B

𝜙
𝐵=
𝐴
อัตราส่ วนระหว่าง
𝜙 = ฟลักซ์แม่เหล็ก หน่วย เวเบอร์ (weber : Wb) ฟลักซ์แม่เหล็กต่อพื้น่
𝐴 = พื้นทีท่ ี่ตั้งฉากกับฟลักซ์แม่เหล็ก หน่วย ตารางเมตร (m2)

𝐵 = ขนาดของสนามแม่เหล็ก/ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก
หน่วย เวเบอร์ต่อตารางเมตร หรือ เทสลา (T)
กรณีสนามแม่เหล็ก 𝑩 ทามุม 𝜽 กับพื้นที่ 𝑨

𝐵
จงหาฟลักซ์แม่เหล็ก ? 𝜃
𝐴

𝜙 = (𝐵𝑠𝑖𝑛𝜃)𝐴

แยกองค์ประกอบสนามแม่เหล็ก B ให้ตั้งฉากกับพื้นที่ (หน้า 12 -13)


ตัวอย่างที่ 15.1 หน้าที่ 13

ตัวอย่างที่ 15.2 หน้าที่ 13


สรุ ป

แม่ เหล็กและสนามแม่ เหล็ก

ฟลักซ์ แม่ เหล็ก 𝜙


𝐵=
𝐴
ตรวจสอบความเข้าใจ หน้า 24
คาถามท้ายบท
15.1.3 สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้า ผ่านเส้นลวดตัวนา

เมื่อกระแสผ่านขดลวดตัวนา จะเกิดสนามแม่เหล็กรอบตัวนา
กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนศึกษา กระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวดตัวนาตรง

สวิตช์ - เปิด กระแสไหลจากข้างล่าง กระแสไหลจากข้างบน


ขึ้นข้างบน ลงข้างล่าง
สรุป นักเรียน สามารถหาทิศทางของสนามแม่เหล็ก
โดยใช้กฎมือขวา

1. นิ้วหัวแม่มือชี้ตามทิศของกระแสไฟฟ้า
2. นิ้วทั้งสี่ จะบ่งบอกถึงทิศทางของสนามแม่เหล็ก
กิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนศึกษา กระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวดตัวนาวงกลม

สวิตช์ - เปิด กระแสไหลมาทางซ้าย กระแสไหลมาทางขวา

ให้นักเรียนสังเกต ณ จุดกึ่งกลางของวงกลม สนามแม่เหล็กมีทิศทางอย่างไร


สรุป นักเรียน สามารถหาทิศทางของสนามแม่เหล็ก
โดยใช้กฎมือขวาเหมือนของ ขดลวดตัวนาตรง

วิธที ี 1 วิธที ี 2

1. ใช้กฎมือขวา เหมือนกับขดลวดตัวนาตรง
2. ให้สังเกตทิศทางของเส้นสนามแม่เหล็ก บริเวณตรงกลางวงกลม
ให้นักเรียนศึกษา กระแสไฟฟ้าที่ผ่านลวดโซเลนอยด์
กิจกรรมที่ 3

สวิตช์ - เปิด กระแสไหลมาทางซ้าย กระแสไหลมาทางขวา


สรุป นักเรียน สามารถหาทิศทางของสนามแม่เหล็ก
โดยใช้กฎมือขวา

1. นิ้วทั้งสี่วนตามทิศของกระแสไฟฟ้า สังเกตุว่ากระแสวนทิศทางไหน
2. ด้านที่มีสนามแม่เหล็กพุ่งออกจะเป็นขั้วเหนือ (N)
อีกด้านที่สนามแม่เหล็กมีทิศพุ่งเข้าจะเป็นขั้วใต้ (S)
- +
ให้นักเรียนของทิศทางของสนามแม่เหล็ก

สนามแม่เหล็กจะเพิ่มเมื่อ
1. กระแสไฟฟ้าเพิ่ม
2. จำนวนรอบของขดลวดเพิ่ม

หมดสภาพทันทีเมื่อ
1. ไม่มีกระแสไฟฟ้า
ขดลวดตัวนาตรง

ขดลวดตัวนาวงกลม

ลวดโซเลนอยด์
ลวดตัวนาทอรอยด์

สนามแม่เหล็กภายในทอรอยด์มีค่า
ไม่สม่ำเสมอ โดยสนามแม่เหล็กทีข่ อบ
ด้านในมีค่าสูงกว่าสนามแม่เหล็กทีข่ อบ
ด้านนอก

1. นิ้วทั้งสี่วนตามทิศของกระแสไฟฟ้า
2. นิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศของสนามแม่เหล็ก
คาถามท้ายบท
กระแสไฟฟ้าทาให้เกิดสนามแม่เหล็ก : นาไปใช้งาน ?

สวิตซ์อตั โนมัติ สวิตซ์รเี ลย์

You might also like