Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 33

งานตัวถังและพ่นสีรถยนต์

โดย ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ

สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย โดย ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ © พ.ศ. 2556


หามคัดลอก ลอกเลียน ดัดแปลง ท�ำซ�ำ้ จัดพิมพ์ หรือกระท�ำอื่นใด โดยวิธีการใดๆ ในรูปแบบใดๆ
ไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือเล่มนี้ เพื่อเผยแพร่ในสื่อทุกประเภท หรือเพื่อวัตถุประสงค์ ใดๆ
นอกจากจะไดรับอนุญาต

ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ
ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ.
งานตัวถังและพ่นสีรถยนต์. --กรุงเทพฯ : ซี​เอ็ด​ย​เู ค​ชั่น, 2556.
336 หนา.
1. รถยนต์--งานตัวถัง. 2. รถยนต์--การพ่นสี.
I. ชื่อเรื่อง.
629.262
Barcode (e-book) : 9786160843589

ผลิตและจัดจ�ำหนายโดย

เลขที่ 1858/87–90 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาใต้ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260


โทรศัพท 0–2826–8000

หากมีค�ำแนะน�ำหรือติชม สามารถติดต่อได้ที่ comment@se-ed.com


2101–p›‚~ššp¦Ž™‡Ó‚“žŒ‹‚~× –6–3

q¡}„Œ™“pm׌›‹s›¥‡­–¨”Ô
  ¥kԛ¨q”Žšjj›Œ¨sÔ¥mŒ­–pŠ–¨‚p›‚~ššp¦Ž™‡Ó‚“žŒ‹‚~×
  ¨sÔ¥mŒ­–pŠ–€²›j›Œ„Œšƒ„Œ¡p“‰›‡~ššp¦Ž™“žŒ‹‚~×
  Šžjq ‚“‹š €ž}­ ž¨‚j›Œ€²›p›‚Œšƒ } s–ƒ„Œ™|ž~Œ–ƒm–ƒ~Œp~Ӗ¥Ž›“™–›}„Ž–}‰š‹
¦Ž™Œšj’›“‰›‡¦}ŽÔ–Š
“ŠŒŒ‚™Œ›‹s›
  ¦“}pm›ŠŒ¢¥Ô jž‹­ jšƒj›Œq²›¦‚js‚}„Œ™¥‰€j›Œ‚²›©„¨sÔp›‚kš‚® ~–‚j›ŒtӖŠ“žŒ‹‚~×
  ¥~Œž‹Š p›‚}Ԑ‹jŒŒŠž~›ŠjŒ™ƒ‚j›ŒtӖŠ“žŒ‹‚~×
  ‡Ó‚“žŒ–p‡®‚‡Ó‚“ž€šƒ”‚Ô›kš}“ž¦Ž™~}~š®p–¡„jŒ|×¥kԛjšƒŒ‹‚~×
  „Œ™Š›|Œ›m›p›‚tӖŠ“žŒ‹‚~×~›Š”Žšjj›Œ
  ƒ²›Œ¡pŒšj’›–¡„jŒ|×¥mŒ­–pŠ–p›‚~ššp¦Ž™‡Ó‚“žŒ‹‚~הŽšpj›Œ¨sÔp›‚~›Šm¢ÓŠ–
m²›–ƒ›‹Œ›‹s›
‘Ÿj’›¦Ž™„xƒ~š ¥ jž‹­ jšƒj›Œ¨sÔ¥mŒ–­ pŠ–p›‚~ššp¦Ž™‡Ó‚“žŒ‹‚~×j›Œ¥m›™kŸ‚® Œ¢„j›Œ
„™ ¡~ššp j›ŒŽ–j“ž §„А“ž j›Œkš}¥~Œž‹Š p›‚ j›Œ‡Ó‚“ž j›Œkš}“ž ¦Ž™j›Œ„Œ™Š›|Œ›m›
mӛƒŒj›Œ
คํานิยม 5

คํานิยม

หนังสือ งานตัวถังและพนสีรถยนต (2101–2111) เลมนี้ มีเนื้อหาที่ครอบคลุมในภาค


ทฤษฎีและปฏิบัติในการซอมตัวถังและสีรถยนต จึงเหมาะที่จะนํามาใชประกอบการเรียนใน วิชา
งานตัวถังและพนสีรถยนต ทัง้ นีเ้ นื1องจากอาจารยผเู ขียนหนังสือเลมนีม้ คี วามรูแ ละประสบการณ
ในวิชานี้ อีกทัง้ ยังมีความอุตสาหะทีจ่ ะจัดทําหนังสือเลมนี้ใหเปนประโยชนสาํ หรับนักเรียน นักศึกษา
และผูสนใจทั่วไป
ดวยเหตุนี้จึงกลาวไดวาหนังสือ งานตัวถังและพนสีรถยนต เลมนี้ มีเนื้อหาครอบคลุม
หลักสูตรในระดับ ปวช. สาขาชางยนต และสาขาเทคโนโลยีตัวถังและสีรถยนต ทุกประการ

(นายเวชยันต อินทรชาง)
รองผูอํานวยการ รักษาการในตําแหนSง
ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา
คํานํา 7

คํานํา

งานตัวถังและพนสีรถยนต (2101–2111) เปนวิชาชีพเฉพาะสําหรับนักศึกษาระดับ ปวช.


สาขาชางยนต และสาขาเทคโนโลยีตัวถังและสีรถยนต ซึ่งปจจุบันอาชีพในการซอมตัวถังและสี
รถยนตมีความขาดแคลนเปนอยางมาก เพราะบริษัทรถยนต ไดผลิตรถยนตออกมาจําหนSายเปน
จํานวนมาก ผูเขียนจึงไดรวบรวมเนื้อหาในดานทฤษฎีและปฏิบัติของงานตัวถังและสีรถยนตตาม
หลักสูตรระดับ ปวช. ของกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2556
ผูเ ขียนขอขอบคุณ บริษทั รถยนต โตโยตาเปนอยางยิง่ ที่ไดอนุญาตใหนาํ ขอมูลและรูปภาพ
บางสวนมาประกอบในเนื้อหา และบริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) ที่ไดจัดทําใหหนังสือ
เลมนี้จนเปนรูปเลมที่สมบูรณ
หากหนังสือเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใด ผูเขียนขออภัยมา ณ ที่นี้ และขอนอมรับคํา
ติชม เพื1อจะไดนํามาแกไขและปรับปรุงในการจัดทําในครั้งตอไป

ประสานพงษ หาเรือนชีพ
สารบัญ 9

สารบัญ

บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานซอมตัวถังและพนสีรถยนต ..................13


1.1 อุปกรณปองกันอันตรายสําหรับผูปฏิบัติงานซอมตัวถังและพนสีรถยนต 14
1.2 ความปลอดภัยตอสุขภาพของผูปฏิบัติงานซอมสีรถยนต 20
1.3 การจัดเตรียมพื้นที่ปฏิบัติงานเพื1อปองกันอันตราย 21
แบบฝกหัดทายบท 23

บทที่ 2 เครื1องมือและอุปกรณที่ ใช ในงานซอมตัวถังรถยนต ...............27


2.1 เครื1องมือพิเศษที่ใช ในการซอมตัวถังรถยนต 28
แบบฝกหัดทายบท 38

บทที่ 3 โครงสรางตัวถังรถยนต ...........................................................41


3.1 รูปแบบของโครงสรางตัวถัง 42
3.2 โครงสรางพื้นฐานของตัวถังรถยนต 44
3.3 วัสดุที่ใชผลิตตัวถังรถยนต 53
3.4 วัสดุอโลหะที่ใชผลิตตัวถังรถยนต 55
แบบฝกหัดทายบท 59

บทที่ 4 ผลจากการชนและการดึงตัวถังรถยนต ...................................63


แบบฝกหัดทายบท 75
10 งานสีตัวถังและพนสีรถยนต

บทที่ 5 การซอมชิ้นสวนตัวถังรถยนต..................................................79
5.1 ประเภทของการซอมชิ้นสวน 80
แบบฝกหัดทายบท 88

บทที่ 6 การเชื1อมตัวถังรถยนต.............................................................93
6.1 วิธีการเชื1อมตัวถังรถแบบคารบอนไดออกไซด 95
6.2 วิธีการเชื1อมตัวถังรถแบบสปอต (Resistance Spot Welding) 106
6.3 วิธีการเชื1อมตัวถังรถดวยวิธีบัดกรีแข็ง (Brazing) 113
6.4 วิธีการเชื1อมตัวถังรถแบบออกซีอะเซทิลีน 117
แบบฝกหัดทายบท 124

บทที่ 7 เครื1องมือและอุปกรณที่ ใช ในการซอมสีรถยนต....................131


แบบฝกหัดทายบท 145

บทที่ 8 ปนพนสี ................................................................................149


8.1 หลักการทํางานปนพนสี 150
8.2 ชนิดของปนพนสี 151
8.3 โครงสรางและสวนประกอบของปนพนสี 153
8.4 เทคนิคในการใชปนพนสี 160
8.5 การทําความสะอาดปนพนสี 165
แบบฝกหัดทายบท 168

บทที่ 9 การเตรียมผิวงาน ..................................................................171


9.1 วัสดุที่ใช ในการเตรียมผิวงาน 172
9.2 การเตรียมพื้นงานชั้นลาง 182
9.3 การโปสี 189
9.4 การพนสีพื้น 207
แบบฝกหัดทายบท 213
สารบัญ 11

บทที่ 10 การเทียบสีรถยนต ...............................................................219


10.1 การเกิดสีบนผิวรถยนต 220
10.2 คุณสมบัติของสีรถยนต 221
10.3 วิธีการเปรียบเทียบสี 222
10.4 ขั้นตอนการเทียบสี 225
แบบฝกหัดทายบท 229

บทที่ 11 การติดกระดาษ ...................................................................235


11.1 วัสดุที่ใช ในการติดกระดาษ 236
11.2 วิธีการติดกระดาษ 238
แบบฝกหัดทายบท 246

บทที่ 12 การพนสีทับหนารถยนต ......................................................249


12.1 การเตรียมรถกอนพนสี 250
12.2 การเตรียมสีประเภท 2 องคประกอบ (2K) 252
12.3 การพนสีทับหนา 256
แบบฝกหัดทายบท 262

บทที่ 13 วิธีขัดเงาสีรถยนต ...............................................................265


13.1 อุปกรณขัดเงาสีรถยนต 266
13.2 วิธีการขัดเงา 268
แบบฝกหัดทายบท 274

บทที่ 14 การวินิจฉัยปญหาที่เกิดขึ้นกับสีรถยนต ...............................277


14.1 ปญหาสีเปนรอยสีโป 278
14.2 ปญหาสีไหลยอย 279
14.3 ปญหาสีเปนรอยรูเข็ม 281
12 งานสีตัวถังและพนสีรถยนต

14.4 ปญหาสีเปนรอยขัดกระดาษทราย 282


14.5 ปญหาสีเปนเม็ด 283
14.6 ปญหาสียน 284
14.7 ปญหาสีเปนผิวสม 285
14.8 ปญหาสีซีด 286
14.9 ปญหาสีลอก 287
14.10 ปญหาสีแตก 288
14.11 ปญหาสีเพี้ยน 289
14.12 ปญหาสีเกิดเปนผงบริเวณผิวหนาสี 290
14.13 ปญหาสีขึ้นเหลือง 291
14.14 ปญหาสีเปนเม็ดผด 292
แบบฝกหัดทายบท 294

บทที่ 15 การประมาณราคาคาซอมตัวถังและสีรถยนต ....................301


15.1 การประมาณราคาคาซอมตัวถังและสีรถยนต 302
15.2 หลักการสําคัญในการประมาณการคาซอม 304
15.3 การประเมินราคาคาซอมตัวถังและสีดวยคอมพิวเตอร 307
15.4 ระบบของคอมพิวเตอรที่ใช ในการประมาณราคาคาซอม 308
15.5 ระบบฐานขอมูลในคอมพิวเตอร 308
15.6 ประเภทของความเสียหาย 317
15.7 มาตรฐานอูซอมกลาง 318

บรรณานุกรม ......................................................................................337
ความปลอดภัย
ในงานซอมตัวถัง
และพนสีรถยนต

สาระสําคัญ
ความปลอดภัยในการพนสีรถยนตและซอมตัวถังมีความสําคัญมากสําหรับชางซอมสีรถยนตและตัว
ถัง เพื1อเปนการปองกันอุบตั เิ หตุในขณะกําลังปฏิบตั งิ าน ซึง่ จะเปนอันตรายตอรางกายและสุขภาพ
ของผูป ฏิบตั งิ าน ดังนัน้ อุปกรณปอ งกันอันตรายจึงถูกออกแบบมาใชสาํ หรับชางซอมสีรถยนต เชน
ชุดปฏิบัติงาน แวนตานิรภัย หนากากปองกันแกสพิษ หนากากเชื1อม และถุงมือหนัง ซึ่งอุปกรณ
ที่กลาวมาของชางสีและซอมตัวถังรถยนตจําเปนตองใชและปฏิบัติอยางเครงครัด เพื1อปองกัน
รางกายและสุขภาพของตัวเองในขณะปฏิบัติงาน

วัตถุประสงคทั่วไป
1. เพื1อใหมคี วามรูค วามเขาใจในความปลอดภัยของการปฏิบตั งิ านชางซอมตัวถังและพนสีรถยนต
2. เพือ1 ใหมีความรูความเขาใจในการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ
ไดอยางถูกตอง
3. เพื1อใหมีความรูความเขาใจและหาทางปองกันเมื1อไดรับสารพิษตอผิวหนังและรางกายในขณะ
ปฏิบัติงาน
4. เพื1อใหมคี วามรูค วามเขาใจในการจัดเตรียมพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน เพื1อปองกันอันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ ใน
ขณะปฏิบัติงาน

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
ภายหลังจากที่ไดศึกษาในบทเรียนนี้แลว นักศึกษาจะสามารถ
1. อธิบายวิธีการใชอุปกรณปองกันอันตรายของผูปฏิบัติงานซอมตัวถังและพนสีรถยนต
2. อธิบายการปองกันพิษภัยอันตรายของสารละลายที่ใช ในงานซอมสีที่มีตออวัยวะของผูปฏิบัติ
งานได
3. อธิบายการจัดเตรียมพื้นที่ปฏิบัติงานเพื1อปองกันอันตราย
14 งานตัวถังและพนสีรถยนต

ความปลอดภัยในการซอมตัวถังและพนสีรถยนตคอื การปองกันอุบตั เิ หตุทจี่ ะเกิดขึน้ ในขณะ


ปฏิบตั งิ าน ดังนัน้ ผูป ฏิบตั งิ านและผูร ว มงานในขณะปฏิบตั งิ านสามารถปองกันอุบตั เิ หตุทจี่ ะเกิดขึน้
ในขณะปฏิบตั งิ านได โดยสามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะคือ อุบตั เิ หตุทเี่ กิดขึน้ จากมนุษย และ
อุบัติเหตุที่เกิดจากสภาพแวดลอม ดวยเหตุนี้ชางซอมตัวถังและพนสีรถยนตที่ดี จึงควรคํานึงถึง
การปฏิบัติงานในดานความปลอดภัยของตัวผูปฏิบัติงานเอง และยังเปนการชวยลดอุบัติเหตุที่จะ
เกิดขึ้นได ซึ่งสามารถปฏิบัติไดดังตอไปนี้

1.1 อุปกรณปองกันอันตรายสําหรับผูปฏิบัติงานซอมตัวถัง
และพนสีรถยนต
ขณะปฏิบตั งิ านอาจเกิดอุบตั เิ หตุทาํ ใหเปนอันตรายตอรางกายและสุขภาพของผูป ฏิบตั งิ าน
ได จึงจําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองมีอปุ กรณปอ งกันอันตรายสําหรับชางซอมตัวถังและพนสีรถยนต ซึง่
ประกอบดวย
1. ชุดปฏิบตั งิ าน ชางซอมตัวถังและพนสีรถยนตทดี่ คี วรเลือกชุดในการปฏิบตั งิ านทีเ่ ขากับ
รูปรางไดอยางพอดี และควรมีสายคาดเอวติดกระดุมทีส่ ามารถปองกันการขูดขีดทีจ่ ะเกิดความเสียหาย
กับตัวถังรถในขณะปฏิบตั งิ าน อยางไรก็ตาม ผาทีใ่ ชทาํ ชุดปฏิบตั งิ านทีด่ คี วรจะตองปองกันการบาดเจ็บ
ที่เกิดจากไฟไหม และสามารถทําความสะอาดได โดยงาย ดังแสดงในรูปที่ 1.1

รูปที่ 1.1 ชุดปฏิบัติงานสําหรับชางซอมตัวถังและพนสีรถยนต


บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานซอมตัวถังและพนสีรถยนต 15

2. รองเทาปฏิบตั งิ าน หรือรองเทานิรภัย (Safety Shoes) รองเทาชนิดนีถ้ กู ออกแบบ


ใหสวนหัวบริเวณเหนือนิ้วเทามีแผนโลหะปองกันนิ้วเทา สวนพื้นรองเทาทําจากวัสดุที่สามารถ
ปองกันวัสดุขนาดใหญและหนักหลนทับ ปองกันอันตรายที่จะเกิดกับเทาของผูปฏิบัติงานไดเปน
อยางดี ดังแสดงในรูปที่ 1.2

แผนโลหะ

รูปที่ 1.2 รองเทานิรภัยหรือรองเทาหัวเหล็ก

3. แวนตานิรภัย ใชสวมสําหรับปองกันดวงตา ทําจากพลาสติกใสคุณภาพดี ปองกัน


ละอองสี ทินเนอร ผงสีโปทเี่ กิดจากการขัดกระดาษทราย และสะเก็ดไฟกระเด็นเขาตาจากการซอม
ตัวถังรถยนต ดังแสดงในรูปที่ 1.3
16 งานตัวถังและพนสีรถยนต

รูปที่ 1.3 แวนตานิรภัย

4. หนากากปองกันฝุน เปนอุปกรณปอ งกันอันตรายของจมูกจากการหายใจเอาฝุนที่เกิด


จากการขัดสีหรือโปสีเขาสูรางกาย มีใชอยู 2 แบบคือ แบบใชแลวทิ้ง และแบบเปลี่ยนกรองใหม
วัสดุที่ใชทาํ เปนกระดาษทีม่ กี ารกรองฝุน ไดดี ทําจากกระดาษ ใชสวมเขาทีจ่ มูกเพื1อปองกันฝุน ทีเ่ กิด
จากการขัดสีโป ดังแสดงในรูปที่ 1.4

5. หนากากปองกันแกสพิษ เปนอุปกรณความปลอดภัยที่ใชสาํ หรับปองกันแกสพิษและ


ไอระเหยของสารละลาย (ทินเนอร) ที่เกิดจากการสูดดมเขาทางปากและจมูก
หนากากปองกันแกสพิษที่ใช ในงานซอมสีรถยนตมีอยู 2 แบบคือ (1) แบบมีตัวกรอง ซึ่ง
เปนแบบที่สามารถถอดเปลี่ยนออกไดตามระยะเวลาในการใชงาน มีลักษณะเปนตลับ ภายในจะ
บรรจุผงถานคารบอน ซึ่งมีคุณสมบัติในการดูดซับแกสและไอระเหยของสารละลาย (2) แบบที่
มีสายลม โดยจะใชลมที่มีกําลังเปาเขาในหนากาก เพื1อใหผูปฏิบัติงานมีความสดชื1น และปองกัน
แกสพิษและไอระเหยของสารละลายเขาสูจมูกและปากในขณะปฏิบัติงาน ดังแสดงในรูปที่ 1.5
บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานซอมตัวถังและพนสีรถยนต 17

รูปที่ 1.4 หนากากปองกันฝุน

รูปที่ 1.5 หนากากปองกันแกสพิษ

6. ถุงมือ ทําจากผาฝาย เปนอุปกรณปองกันอันตรายที่จะเกิดกับผูปฏิบัติงานในขณะใช


เครื1องขัด สีโป หรือเคลื1อนยายงาน ดังแสดงในรูปที่ 1.6
18 งานตัวถังและพนสีรถยนต

รูปที่ 1.6 ถุงมือผา

7. ถุงมือปองกันสารละลายหรือทินเนอร เปนถุงมือยางที่ทําจากวัสดุชนิดพิเศษที่
สามารถปองกันสารละลายทีเ่ ปนอันตรายกับผิวหนังในขณะทําการซอมสีหรือชีลเลอรตวั ถังรถยนต
ดังแสดงในรูปที่ 1.7

รูปที่ 1.7 ถุงมือปองกันสารละลายหรือทินเนอร

8. หนากากเชื1อม เปนอุปกรณเพื1อความปลอดภัยที่ใช ในการเชื1อมตัวถังรถ ใชปองกัน


ดวงตาจากแสงสีมวง (อัลตราไวโอเลต) ความรอน และสะเก็ดไฟที่เกิดจากการเชื1อม ดังแสดง
ในรูปที่ 1.8

รูปที่ 1.8 หนากากเชื1อม


บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานซอมตัวถังและพนสีรถยนต 19

9. หนากากใส เปนอุปกรณเพื1อความปลอดภัยที่ใชสําหรับปองกันดวงตาและใบหนาจาก
สะเก็ดหรือเศษโลหะที่เกิดจากการเจียระไน ดังแสดงในรูปที่ 1.9
10. แผนหนังหุมขอเทา เปนอุปกรณเพื1อความปลอดภัยในงานเชื1อมสําหรับขอเทา
ปองกันสะเก็ดไฟจากการเชื1อม หรือความรอนจากสะเก็ดการเชื1อม ดังแสดงในรูปที่ 1.10

รูปที่ 1.9 หนากากใส รูปที่ 1.10 แผนหนังหุมขอเทาปองกัน


สะเก็ดไฟจากการเชื1อม

11. ถุงมือหนัง ทําจากหนังและวัสดุที่ปองกันไฟและความรอน ใชปองกันมือจากความ


รอนและสะเก็ดไฟที่เกิดจากการเชื1อมและการเจียระไน ดังแสดงในรูปที่ 1.11

รูปที่ 1.11 ถุงมือหนัง


20 งานตัวถังและพนสีรถยนต

12. แผนหนังปองกันสะเก็ดไฟ ทําจากหนังและวัสดุทสี่ ามารถปองกันการไหมทเี่ กิดจาก


สะเก็ดไฟ ใชสําหรับปองกันรางกายจากความรอน สะเก็ดไฟจากการเชื1อม และการเจียระไนโลหะ
ดังแสดงในรูปที่ 1.12
13. อุปกรณปอ งกันเสียง เปนอุปกรณปอ งกันอันตรายของหู ซึง่ เกิดจากเสียงดังในขณะ
ปฏิบัติงาน มีอยู 2 แบบคือ (1) แบบครอบหู (2) แบบปลั๊กเสียบหู ใชสําหรับปองกันอันตรายหูที่
เกิดจากเสียงดังในขณะปฏิบัติงาน ดังแสดงในรูปที่ 1.13

รูปที่ 1.12 แผนหนังปองกันสะเก็ดไฟ รูปที่ 1.13 อุปกรณปองกันเสียง

1.2 ความปลอดภัยตอสุขภาพของผูปฏิบัติงานซอมสีรถยนต
สารละลายที่ใช ในงานซอมสีรถยนต ไดแก ทินเนอร และนํ้ายาลอกสี ถาสัมผัสถูกอวัยวะ
สวนใดสวนหนึ่งของรางกาย หรือสูดไอระเหยเขาสูรางกาย จะทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ โลหิต
จาง หรือหมดสติ และถาสะสมอยูในรางกายเปนเวลานานๆ ก็จะทําใหอวัยวะภายในรางกาย เชน
ตับ หรือไตผิดปกติ และสีประเภท 2K ซึ่งจะมีสารไอโซไซยาเนตที่ผสมอยูในฮารดเดนเนอรที่ใช
ผสมสียูรีเทน ถาสัมผัสถูกรางกายก็จะทําใหเกิดการแพ และมีอาการคันอยางรุนแรง
จากสาเหตุนี้ ผูที่ปฏิบัติงานซอมสีที่ดีจึงจําเปนตองศึกษาถึงพิษภัยอันตรายของสารเหลานี้
ใหเขาใจ เพื1อจะไดหาทางปองกันเมื1อไดรับสารพิษที่ผิวหนังและรางกายในขณะปฏิบัติงานทุกครั้ง
บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานซอมตัวถังและพนสีรถยนต 21

การดูดซับของสารเคมี การสูดดมสารพิษเขาสูปอด ผิวหนังเกิดการแพสารเคมี


เขาสูรางกาย

การหมุนเวียนของหลอดเลือด ตับอักเสบหรือตับวาย เวียนศีรษะ


รูปที่ 1.14 สารพิษที่ผสมอยูในสีจะทําใหอวัยวะภายในรางกายผิดปกติ

1.3 การจัดเตรียมพื้นที่ปฏิบัติงานเพื1อปองกันอันตราย
ในการพนสีรถยนตจาํ เปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองมีหอ งพนสีเพื1อเปรียบเทียบสี ดวยเหตุนจี้ งึ ตอง
ติดตัง้ พัดลมระบายอากาศใหไหลเวียนไดดี อยางไรก็ตาม จะตองทําการตรวจสอบและบํารุงรักษา
เพื1อใหหองพนสีและเครื1องพนสีเปรียบเทียบสีใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
22 งานตัวถังและพนสีรถยนต

ชุดแผงควบคุมหองพนสี

ประตูปองกันอากาศภายนอก หองกรองอากาศเขาหองพนสี
รูปที่ 1.15 การติดตั้งอุปกรณถายเทอากาศ

สีและสารละลายตางๆ เปนสารไวไฟตอการเกิดการลุกไหม ดวยเหตุนี้ผูปฏิบัติงานในการ


ซอมสี จึงควรพิจารณาหองเก็บสีใหหา งจากเปลวไฟ และจัดเก็บใหถกู ตอง เพื1อปองกันสารละลาย
ไดรับความรอนจนเกิดประกายไฟลุกไหมขึ้นได

รูปที่ 1.16 ตัวอยางการเก็บสีและสารละลายที่ถูกตอง


บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานซอมตัวถังและพนสีรถยนต 23

แบบฝกหัดทายบท

จงเลือกคําตอบที่ถูกตอง
1. อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงานตัวถังและพนสีรถยนตแบงไดเปนกี่ลักษณะ
ก. 1 ลักษณะ ข. 2 ลักษณะ
ค. 3 ลักษณะ ง. 4 ลักษณะ
2. รองเทาที่ใชปฏิบัติงานตัวถังรถยนตควรใชรองเทาประเภทไหน
ก. รองเทาผาใบ
ข. รองเทาแตะ
ค. รองเทาที่มีโลหะแข็งอยูบริเวณนิ้วเทาหรือรองเทาเซฟตี้
ง. รองเทาบูต
3. ในขณะปฏิบัติงานควรจะตองสวมแวนตาหรือไม เพราะอะไร
ก. ควร เพราะชวยปองกันอันตราย ข. ควร เพราะปองกันดวงตา
ค. ควร เพราะเทดี ง. ไมควร เพราะมองเห็นไมชัด
4. หนากากปองกันฝุนในขณะปฏิบัติงานตัวถังรถยนตมีกี่แบบ
ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ
ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ
5. หนากากปองกันฝุนใชสําหรับปองกันอะไรใหกับรางกายของผูปฏิบัติงานไดบาง
ก. ปองกันฝุนที่เกิดจากการขัดสีโป ข. ชวยใหหายใจไดสะดวกขึ้น
ค. ปองกันแมลงเขาจมูก ง. ชวยระบายอากาศ
24 งานตัวถังและพนสีรถยนต

6. หนากากปองกันแกสพิษที่ใชสําหรับงานพนสีรถยนตปองกันอะไรจากการพนสี
ก. ปองกันแกสพิษและไอระเหยของสารละลาย
ข. ปองกันฝุน
ค. ปองกันแมลง
ง. ปองกันกลิ่นไมพึงประสงค
7. หนากากปองกันแกสพิษมีกี่แบบ
ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ
ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ
8. เวลาเจียระไนโลหะ ควรใชอุปกรณชนิดใดสําหรับปองกันรางกาย
ก. หนากากเชื1อม ข. หนากากใส
ค. หนากากผูก ง. หนากากทอง
9. แผนหนังหุมขอเทาใชสําหรับปองกันอะไรไมให โดนรางกาย
ก. สะเก็ดไฟที่เกิดจากการเชื1อม ข. ของมีคมทิ่มตํา
ค. เหล็กหลนใส ง. ฝุนผง
10. ถาสารละลายที่ใช ในงานพนสีเขาสูรางกายมากๆ จะมีผลตออวัยวะใดมากที่สุด
ก. มาม ข. หัวใจ
ค. ปอด ง. ตับ
11. หองพนสีรถยนตควรออกแบบใหมีลักษณะอยางไร
ก. หองทึบ ไมมีการถายเทของอากาศ ข. มีอากาศถายเทไดสะดวก
ค. หองที่มีแสงจา ง. หองที่มีดทึบ
12. ในหองพนสีรถยนตจําเปนตองติดพัดลมไวดูดอากาศเพื1ออะไร
ก. ระบายอากาศ ข. ใหความเย็นแกผูปฏิบัติงาน
ค. ชวยใหสีแหงเร็ว ง. ผิดทุกขอ
บทที่ 1 ความปลอดภัยในงานซอมตัวถังและพนสีรถยนต 25

13. ทําไมจึงตองดูแลรักษาหองพนสีอยางสมํ่าเสมอ
ก. เพื1อใชประโยชนไดเต็มประสิทธิภาพ ข. ปองกันสัตวเขาไปอยู
ค. ประหยัดคาใชจาย ง. เพื1อใหมีอายุการใชงานที่สั้น
14. ทําไมจึงตองเก็บสีและสารละลายตางๆ ใหเปนระเบียบและหางจากความรอน
ก. ปองกันการเกิดอัคคีภัย ข. ใชสอยงาย
ค. สะอาด ง. ถูกทุกขอ
15. ในการเก็บรักษาสี ควรเก็บสีใหหางจากสิ่งใดมากที่สุด
ก. เปลวไฟ ข. นํ้า
ค. ตูเย็น ง. พัดลม
16. ถาสีและสารละลายถูกประกายไฟจะเกิดอะไรขึ้น
ก. เกิดไฟลุกขึ้น ข. ไมเกิดอะไร
ค. เกิดควัน ง. ประกายไฟดับ
17. อุปกรณปองกันเสียงมีกี่แบบ
ก. 2 แบบ ข. 3 แบบ
ค. 4 แบบ ง. 5 แบบ
18. อุบัติเหตุสวนใหญมักเกิดจากสาเหตุใด
ก. ความประมาท ข. ความสามารถในการทํางาน
ค. ความออนเพลีย ง. ขอ ก และ ค ถูก
19. ทําไมจึงตองสวมอุปกรณปองกันกอนปฏิบัติงาน
ก. เพื1อความปลอดภัย ข. ตามกฎของโรงงาน
ค. เพื1อไมใหถูกตัดเงินเดือน ง. ผิดทุกขอ
20. ชางพนสีที่ดีควรเลือกชุดปฏิบัติงานอยางไร
ก. พอดีกับตัว ข. หลวม
ค. คับ ง. ขอ ข และ ค ถูก
เครื1องมือและอุปกรณ
ที่ ใช ในงาน
ซอมตัวถังรถยนต

สาระสําคัญ
ในการซอมตัวถังรถยนต จําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองมีเครื1องมือพิเศษทีอ่ อกแบบเฉพาะ เพื1อใชสาํ หรับ
การเปลี่ยนตัวถังที่ไดรับความเสียหายมากเกินกวาจะซอมแซมได และเครื1องมือเคาะตัวถังขึ้นรูป
สําหรับตัวถังที่ไดรบั การเสียหายไมมาก ทัง้ นีเ้ พื1อจุดประสงคทจี่ ะทําใหเกิดความรวดเร็ว ประหยัด
เวลาและแรงงานในการขึ้นตัวถังรถยนต

วัตถุประสงคทั่วไป
1. เพื1อใหมีความรูความเขาใจเครื1องมือพิเศษที่ใช ในการเคาะตัวขึ้นรูปตัวถัง
2. เพื1อใหมีความรูความเขาใจเครื1องมือเชื1อมตัวถังแบบตางๆ

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม
ภายหลังจากที่ไดศึกษาในบทเรียนนี้แลว นักศึกษาจะสามารถ
1. บอกเครื1องมือพิเศษที่ใช ในการซอมตัวถังรถยนตได
28 งานตัวถังและพนสีรถยนต

ในการซอมตัวถังรถยนต จําเปนอยางยิ่งที่จะตองใชเครื1องมือพิเศษเคาะขึ้นรูปตัวถัง เพื1อ


ทําใหเกิดความรวดเร็ว ประหยัดเวลาและแรงงาน

2.1 เครื1องมือพิเศษที่ ใช ในการซอมตัวถังรถยนต


เครื1องมือพิเศษที่ ใช ในการซอมตัวถังรถยนต ไดถูกออกแบบเพื1อใชเฉพาะงานเทานั้น
ประกอบดวย
1. คอน (Hammer) เครื1องมือพิเศษที่ใชสําหรับตกแตงขึ้นรูปแผงตัวถังรถยนต มีอยู
หลายแบบดวยกันคือ
1. คอนปลายขวาง ดังแสดงในรูปที่ 2.1 (ก) ลักษณะของหัวคอนกลมและปลายขวาง
ใชเคาะแตงผิวของแผนโลหะใหเรียบ แลวจึงเคาะขึ้นสันของแผนโลหะในแนวขวาง
2. คอนปลายตรง ดังแสดงในรูปที่ 2.1 (ข) ลักษณะของหัวคอนกลมและปลายตรง ใช
สําหรับเคาะแตงผิวใหเรียบและขึ้นสันในแนวตรง
3. คอนปลายแหลม ดังแสดงในรูปที่ 2.1 (ค) ลักษณะของหัวคอนเปนปลายแหลม ใช
สําหรับเคาะสวนหลังที่มีขนาดเล็กของชิ้นงาน ดังแสดงในรูปที่ 2.2

(ก) คอนปลายขวาง
รูปที่ 2.1 คอนที่ใชเคาะตัวถัง
บทที่ 2 เครื่องมือและอุปกรณที่ใช ในงานซอมตัวถังรถยนต 29

(ข) คอนปลายแหลม (ค) คอนปลายตรง


รูปที่ 2.1 (ตอ) คอนที่ใชเคาะตัวถัง

2. คอนตู (Dolly Block) เปนเครื1องมือพิเศษ ใชขนึ้ รูปชิน้ สวนของตัวถังรวมกับคอน ทํา


จากเหล็กหรือตะกั่ว มีขนาดและรูปรางที่แตกตางกัน ดังแสดงในรูปที่ 2.3

คอนตูทั่วไป คอนตูเคาะบังโคลน

คอน คอนตูเซล
คอนหัวแหลม คอนตูไดร

ผิวงานปกติ พื้นผิวที่นูน คอนตูลิ่ม

รูปที่ 2.2 การใชคอนปลายแหลมเคาะ รูปที่ 2.3 คอนตูแบบตางๆ


สวนนูนของตัวถัง

3. ชอนรอง (Spoon) เปนเครื1องมือพิเศษ ใชขึ้นรูปชิ้นสวนในสวนที่แคบๆ มีลักษณะ


รูปรางทีแ่ ตกตางกัน ทําดวยเหล็กคารบอน มีความทนทาน ตานทานการโคงงอและเสียรูปไดดี ดัง
แสดงในรูปที่ 2.4 และ 2.5
30 งานตัวถังและพนสีรถยนต

รูปที่ 2.4 ชอนรองแบบตางๆ

รูปที่ 2.5 วิธีการใชชอนรอง

4. คอนกระตุก (Sliding Hammer) เปนเครื1องมือซอมตัวถังรถยนต ใชสําหรับดึง


ชิ้นสวนที่ไดรับความเสียหายเพียงเล็กนอย ดังแสดงในรูปที่ 2.6
บทที่ 2 เครื่องมือและอุปกรณที่ใช ในงานซอมตัวถังรถยนต 31

รูปที่ 2.6 คอนกระตุก

5. เครื1องเชื1อมวอชเชอรเวลเดอร (Washer Welder) เปนเครื1องมือซอมตัวถังรถยนต


ซึ่งเปนเครื1องเชื1อมไฟฟา ใชสําหรับเชื1อมดึงตัวถังโดยไมตองเจาะรูบริเวณที่ทําการซอม ดังแสดง
ในรูปที่ 2.7

รูปที่ 2.7 เครื1องเชื1อมวอชเชอรเวลเดอร รูปที่ 2.8 การใชเครื1องเชื1อมวอชเชอรเวลเดอร


32 งานตัวถังและพนสีรถยนต

6. เครื1องขัดแบบซิงเกิลแอ็กชั่น เปนเครื1องมือซอมตัวถังและพนสีรถยนต ใชสําหรับ


ลอกสีเดิมออกกอนซอมตัวถังและซอมสีรถยนต ดังแสดงในรูปที่ 2.9 และ 2.10

รูปที่ 2.9 เครื1องขัดแบบซิงเกิลแอ็กชั่น รูปที่ 2.10 การใชเครื1องขัดแบบซิงเกิลแอ็กชั่น


ในการลอกสีเดิมออกจากตัวถังรถ

7. สวานเจาะรู เปนเครื1องมือซอมตัวถังรถยนตที่ใช ในการเจาะรูทตี่ วั ถัง มีทงั้ แบบใชไฟฟา


และลม ดังแสดงในรูปที่ 2.11 และ 2.12

รูปที่ 2.11 สวาน รูปที่ 2.12 การใชสวานเจาะรู

You might also like