Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 10

ชื่อโครงการ พัฒนาระบบบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน

แผนงาน งานบริหารวิชาการ
สนองกลยุทธ์ ข้อที่ ๔ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
มาตรฐานการศึกษา ข้อที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
ตัวบ่งชี้ข้อที่ ๒.๑ มีเป้ าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถาน
ศึกษากำหนดชัดเจน
ตัวบ่งชี้ข้อที่ ๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถาน
ศึกษา
ลักษณะของโครงการ  ใหม่  ต่อเนื่อง
ผู้รับผิดชอบ นางสาววรรณวิภา สินนุกูล
ระยะเวลาดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2567 – 15 พฤษภาคม 2568
สถานที่ดำเนินงาน โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง (ราษฎร์สามัคคี)
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………
1. หลักการและเหตุผล
การปฎิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตินั้น มีความ
มุ่งหมายที่จะจัดการเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็ นคนดีมี
ความสามารถและอยู่ร่วมกันกับสังคมได้อย่างมีความสุข การบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐานเป็ นกลยุทธ์ในการปรับปรุงการศึกษา โดยเปลี่ยนอำนาจ
หน้าที่ในการตัดสินใจจากหน่วยงานต้นสังกัดไปยังแต่ละโรงเรียน โดยให้
คณะกรรมการโรงเรียน (School Council หรือ School Board) ซึ่ง
ประกอบด้วย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้มีอำนาจในการบริหารจัดการศึกษาใน
โรงเรียนมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับงบ
ประมาณ บุคลากร และวิชาการ โดยให้เป็ นไปตามความต้องการของ
นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน โดยมีหลักการสำคัญ คือ ๑) หลักการกระจา
ยอำนาจไปยังสถานศึกษา ๒) หลักการมีส่วนร่วม ๓) หลักการคืนอำนาจการ
จัดการศึกษาให้ประชาชน และ ๔) หลักการบริหารตนเองและหลักการ
ตรวจสอบและถ่วงดุล การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน (School –
Based Management หรือ SBM) จึงเป็ นแนวทางการบริหารและจัดการ
ศึกษาที่กระจายอำนาจให้สถานศึกษา โดยผู้บริหารสถานศึกษามีอำนาจใน
การบริหารจัดการการตัดสินใจและมีอิสระในการจัดการศึกษาร่วมกับชุมชน
โดยยึดผู้เรียนเป็ นสำคัญ และให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมในการจัดการ
ศึกษาให้ประสบผลสำเร็จ รวมทั้งเป็ นไปตามความต้องการของชุมชน อัต
ลักษณ์ของท้องถิ่นและจุดเน้นของสถานศึกษา
จากความสำคัญดังกล่าว โรงเรียนบ้านหน้าควนลัง (ราษฎร์สามัคคี) จึง
ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐานขึ้น เพื่อให้
สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อ
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผู้
เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย มีการนำข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อ
เนื่อง และเป็ นแบบอย่างได้ยอดเยี่ยม

2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพ

3. เป้ าหมาย
1.1 ผลผลิต (Outputs) (ระบุตามกิจกรรม)
1.1.1 ครูร้อยละ 100 ได้รับการนิเทศภายในอย่างเป็ นระบบ
๑.๑.๒ สถานศึกษาพัฒนาการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็ น
ระบบ
๑.๑.๓ สถานศึกษาจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสอดคล้อง
กับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมาย
และตัวชี้วัด
๑.๑.๔ สถานศึกษาจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
๑.๑.๕ สถานศึกษาจัดกิจกรรมเปิ ดบ้านวิชาการ เพื่อเผยแพร่ผล
งานของนักเรียน ครู และโรงเรียน ปี การศึกษาละ ๑ ครั้ง
๑.๑.๖ สถานศึกษาพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ DMC ที่ถูกต้อง
และเป็ นปั จจุบัน
๑.๑.๗ สถานศึกษามีการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
1.2 ผลลัพธ์ (Outcomes)
1.2.1 ระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษามี
ประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีเลิศขึ้นไป
4. รายละเอียดกิจกรรม และคำชี้แจงประมาณ
ใช้งบประมาณอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัวประถม ๒๐,๐๐๐ บาท
งบประมาณ
งบ งบดำเนินงาน งบลงทุน ระยะ
รวม ผู้รับ
กิจกรรม บุคลา
เวลา ผิด
(PDCA) กร
ดำเนิน
ชอบ
การ
ค่าจ้าง ค่า ค่า ค่า ค่า ปรับป
ชั่วครา ตอบ ใช้สอ วัสดุ ครุภัณ รุง
ว แทน ย ฑ์ ต่อ
เติม

1. ขั้นวางแผน
(P) - - - - - - - พ.ค.๖ นางสาว

1.1 ประชุม วรรณ


- - - - - - - 7
วิภา นาง
1.2 แต่งตั้ง พ.ค.๖ สาวเฌ
คำสั่ง มอบ - - - - - - - 7 นิศา

หมายงาน
1.3 ปฏิทิน - - - - - - - พ.ค.๖
การดำเนินงาน 7-
1.4 ขอ - - - - - - - เม.ย.๖
อนุมัติโครงการ 8
1.5 บันทึก พ.ค.๖
เสนอขอใช้งบ 7
ประมาณใน
การดำเนินงาน พ.ค.๖
7-
เม.ย.๖
8

2. ขั้นดำเนิน
นางสาว
การ (D) - - - - - - -
วรรณ
2.1 วิภา

กิจกรรมการ
นางสาว
นิเทศภายใน - - - - - -
- วรรณ
2.2
วิภา นาง
กิจกรรม สาวเฌ

พัฒนาระบบ นิศา

ประกัน
คุณภาพ
ภายใน
งบประมาณ ระยะ ผู้รับ
งบ งบดำเนินงาน งบลงทุน รวม เวลา ผิดชอบ
กิจกรรม บุคลา ดำเนิน
กร การ
(PDCA)
ค่าจ้าง ค่า ค่า ค่า ค่า ปรับป
ชั่วครา ตอบ ใช้สอ วัสดุ ครุภัณ รุง
ว แทน ย ฑ์ ต่อ
เติม
2.3 - - - - - - - นางสาว
เฌนิศา
กิจกรรมการ
จัดทำแผน
พัฒนาคุณภาพ - - - ๕๐๐ - - ๕๐๐
นางสาว
เฌนิศา
การศึกษา
2.4
นางสาว
กิจกรรมการ
- - - ๑๙,๕ - - ๑๙,๕ เฌนิศา
จัดทำแผน ๐๐ ๐๐
ปฏิบัติการ - - - - - นางสาว
ธัญรัตน์
ประจำปี -
-
2.5
กิจกรรมเปิ ด - - - - - นางสาว
วรรณ
บ้านวิชาการ
- - วิภา
๒.๖
กิจกรรม
พัฒนาระบบ
ข้อมูล
สารสนเทศ
DMC
๒.๗
กิจกรรมการ
สร้างชุมชน
การเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ (PLC)
3. ขั้นตรวจ
สอบ (C) - - - - - - - ผู้

3.1 การ บริหา

นิเทศ/ - - - - - - - ร

การติดตาม
3.2 การ - - - - - - - นางสาว

ประเมินผล วรรณ
วิภา
๓.๓ นางสาว
เฌนิศา
รายงานผลการ
นางสาว
ดำเนิน ธัญรัตน์

กิจกรรม
4. ขั้นปรับปรุง
แก้ไข (A)
4.1 การ - - - - - - - นางสาว
วรรณ
ประชุม/อบรม
วิภา
/สัมมนา - - - - - - -
นางสาว
๔.๒ การ
เฌนิศา
แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ทาง
วิชาชีพ (PLC)
รวม - - - ๒๐,๐๐ - - ๒๐,๐
๐ ๐๐
หมายเหตุ ขอถัวจ่ายทุกรายการ
5. การประเมินผล
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
ผลผลิต (Outputs)
1. การพัฒนาระบบบริหาร
จัดการคุณภาพของสถาน
ศึกษาให้มีประสิทธิภาพ การนิเทศ แบบนิเทศ
1.1 ครูได้รับการนิเทศ
ภายในอย่างเป็ นระบบ การนิเทศติดตามการ แบบรายงานผลการ
1.2 สถานศึกษาพัฒนา ดำเนินงาน ดำเนินงานและสรุป
ระบบประกันคุณภาพภายใน ตามโครงการ โครงการ
อย่างเป็ นระบบ การจัดทำแผนพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพ
1.3 สถานศึกษาจัดทำ คุณภาพการศึกษา การศึกษา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธ การจัดทำแผนปฏิบัติ
กิจ เป้ าหมาย และตัวชี้วัด การประจำปี แผนปฏิบัติการประจำ
1.4 สถานศึกษาจัดทำ ปี
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๖ 7
สอดคล้องกับแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา และงบ สอบถามความพึง
ประมาณที่ได้รับการจัดสรร พอใจ แบบประเมินความพึง
1.5 สถานศึกษาจัด พอใจ
กิจกรรมเปิ ดบ้านวิชาการ
เพื่อเผยแพร่ผลงานของ การรายงานระบบ
นักเรียน ครู และโรงเรียน ปี ข้อมูลสารสนเทศ แบบรายงานระบบ
การศึกษาละ ๑ ครั้ง DMC ข้อมูลสารสนเทศ
1.6 สถานศึกษาพัฒนา การสร้างชุมชนการ DMC
ระบบข้อมูลสารสนเทศ DMC เรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบบันทึกชุมชนการ
ที่ถูกต้องและเป็ นปั จจุบัน (PLC) เรียนรู้ทางวิชาชีพ
1.7 สถานศึกษาจัด (PLC)
กิจกรรมการสร้างชุมชนการ
เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
อย่างเป็ นระบบ
ผลลัพธ์ (Outcomes)
1. ระบบบริหารจัดการ รายงานผลการ แบบรายงานผลการ
คุณภาพของสถานศึกษามี ประเมินคุณภาพ ประเมินคุณภาพ
ประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี ภายในสถานศึกษา ภายในสถานศึกษา
เลิศขึ้นไป

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
2. ครูได้รับการพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ
3. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น
4. ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา

ลงชื่อ ผู้
เสนอโครงการ
(นางสาววรรณวิภา สินนุกูล)

ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหน้าควน
ลัง (ราษฎร์สามัคคี)
ลงชื่อ ผู้อนุมัติ
โครงการ
(นางเรวดี เชาวนาสัย)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหน้า
ควนลัง (ราษฎร์สามัคคี)

You might also like